Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore culture

culture

Published by panadda, 2019-02-23 02:34:55

Description: culture

Search

Read the Text Version

วฒั นธรรมของคนจีน ปัจจยั แห่งความสาเร็จของการลงทุนน้นั นอกเหนือจากมีเป้าหมายในการลงทุนท่ีชดั เจน ความสามารถในการบริหารจดั การประสบการณ์ความพร้อมในปัจจยั การผลิต ความรู้และความ เขา้ ในกฎหมาย กฎระเบียบ และกฎเกณฑก์ ติกาต่าง ๆ ท้งั ในประเทศและระหวา่ งประเทศแลว้ ประเดน็ สาคญั ที่นกั ลงทุนไม่ควรมองขา้ ม คือความเขา้ ใจในวฒั นธรรม ธรรมเนียมปฏิบตั ิ วถิ ี ชีวติ และความเป็นอยขู่ องประเทศน้นั ๆ บ่อยคร้ังท่ีความร่วมมือทางธุรกิจสาเร็จไดด้ ว้ ยเร่ือง ละเอียดอ่อนเหล่าน้ีการดาเนินธุรกิจกบั ชาวจีนกเ็ ช่นกนั เน่ืองจากจีนเป็นประเทศที่มีความเป็น ชาตินิยมสูง มีประวตั ิศาสตร์และอารยธรรมยาวนานกวา่ 7,000 ปี ชาวจีนจึงมีความภาคภูมิใจใน ความเป็นชนชาติของตน และคิดวา่ ตนเป็นศนู ยก์ ลางของอาณาจกั ร (中 国 ตวั หนงั สือ 中 หมายถึง ศนู ยก์ ลางหรือกลาง ตวั หนงั สือ 国 หมายถึงประเทศ)1 ประกอบกบั ลกั ษณะของความ หวาดระแวงและไม่กลา้ ติดต่อกบั คนแปลกหนา้ ท่ีเป็นผลมาจากการปฏิวตั ิวฒั นธรรม ชาวจีนจึง ใหค้ วามสาคญั กบั เรื่อง “ความสัมพนั ธ์” หรือ “กวานซิ 关 系 ” (Connecton) อยา่ งมาก หลกั สากลต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการติดต่อกบั นกั ธุรกิจประเทศอ่ืน จึงไม่เพียงพอที่จะสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีและส่งผลถึงการประสบความสาเร็จในการดาเนินธุรกิจในจีนได้ ดงั น้นั การเรียนรู้และเขา้ ถึง วฒั นธรรมและธรรมเนียมปฏิบตั ิของชาวจีนจึงเป็นส่ิงสาคญั ช่วยสร้างความสัมพนั ธแ์ ละความ ไวเ้ น้ือเช่ือใจในการทาธุรกิจร่วมกนั ระบบ “ความสัมพนั ธ์” หรือ “กวานซิ” แบบไม่เป็นทางการ

(Informal Relations) หรือความสมั พนั ธ์ส่วนบุคคล ไดร้ ับอิทธิพลจากลทั ธิขงจ๊ือและอยคู่ ู่กบั สงั คมจีนมาเป็นเวลานาน ท้งั น้ีโดยเนน้ หนา้ ที่และความรับผดิ ชอบระหวา่ งบุคคลตามสถานภาพ ระดบั ต่าง ๆ เป็นสิ่งสาคญั เพื่อจดั ระเบียบสังคมอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข ระบบ “ความสัมพนั ธ์” น้ีเป็นการสร้างสายสมั พนั ธอ์ นั ดีงามใหต้ ่อเนื่อง สนิทสนมและคุน้ เคย เอ้ือเฟ้ื อ และช่วยเหลือเก้ือกลู กนั ถือเป็นวถิ ีชีวติ ของจีน การสร้างสัมพนั ธ์ท้งั ระหวา่ งผคู้ นและการงานจะ ช่วยสร้างความสัมพนั ธ์ทางดา้ นธุรกิจไดเ้ ป็นอยา่ งดี โดยทวั่ ไปแลว้ คนจีนส่วนมากคาดหวงั วา่ ชาวต่างชาติจะเขา้ ใจถึงคาวา่ “สมั พนั ธ์” และปฏิบตั ิตวั ตาม นอกจากน้ี การที่ประเทศจีนมีขนาดพ้นื ที่ใหญ่มาก คนในแต่ละพ้ืนท่ีของประเทศยอ่ มมี ลกั ษณะเฉพาะตวั มีลกั ษณะทางสงั คม วฒั นธรรม วถิ ีชีวติ ความเป็นอยู่ รวมถึงค่านิยมเก่ียวกบั การทางานท่ีแตกต่างกนั นอกจากตอ้ งคานึงถึงกฎหมาย กฎระเบียบและกฎเกณฑแ์ ลว้ การเรียนรู้ ลกั ษณะเฉพาะถ่ินดงั กล่าว ลว้ นเป็นสิ่งสาคญั ที่นกั ลงทุนจาเป็นตอ้ งศกึ ษา ทาความเขา้ ใจและ เขา้ ถึงเพื่อประโยชนต์ ่อความสาเร็จในการลงทุน 1. วฒั นธรรมและธรรมเนียมปฏิบตั ิทวั่ ไป ธรรมเนียมปฏิบตั ิเป็นหน่ึงในขอ้ มูลที่นกั ลงทุนควรทราบก่อนการเขา้ ไปติดต่อธุรกิจใด ๆ ตวั อยา่ งธรรมเนียมปฏิบตั ิที่สาคญั ของประเทศจีน มีดงั น้ี 1.1 การพบปะและการทกั ทายกบั คนจีน การรักษาหนา้ ตาและใหเ้ กียรติซ่ึงกนั และกนั เป็นสิ่งสาคญั ในชีวติ ประจาวนั ของชาวจีน ดงั น้นั ควรปฏิบตั ิตนตามธรรมเนียมที่เหมาะสม และไม่ควรกระทาการใดๆ ท่ีจะสร้างความเสื่อม เสียแก่คู่สนทนาในที่สาธารณะ เพ่ือเป็นการสร้างความสัมพนั ธ์อนั ดีระหวา่ งกนั ขอ้ พงึ ปฏิบตั ิ • เลือกคาทกั ทายหรือคาสรรพนามที่เหมาะสม ควรนาหนา้ ดว้ ย “Mister / Miss” แลว้ ตามดว้ ย นามสกลุ ไม่ควรเรียกแซ่เฉยๆ โดยไม่มีคาลาดบั อาวโุ สหรือคาแสดงตาแหน่งใดๆ หากเป็นการ เรียกชื่อเฉยๆ จะตอ้ งเป็นผใู้ หญ่เรียกผนู้ อ้ ยหรือเป็นการเรียกระหวา่ งเพ่อื นฝงู ซ่ึงมีความสนิท สนมกนั

• อาจเรียกช่ือโดยใชต้ าแหน่งหนา้ ที่ เช่น “Director” หรือ “Manager” แลว้ ตามดว้ ยนามสกลุ บางคร้ังอาจจะเรียกเพยี งตาแหน่งเท่าน้นั กไ็ ดแ้ ละไม่จาเป็นตอ้ งมีคาวา่ “ผชู้ ่วย” หรือ “รอง” นาหนา้ เช่น ถา้ จะเรียก “Vice Minister Li” ควรเรียกวา่ “Minister” • ผทู้ ่ีอาวโุ สนอ้ ยกวา่ ควรเป็นฝ่ ายทกั ทายผอู้ าวโุ สก่อน หรือถา้ แนะนาตอ้ งแนะนาผนู้ อ้ ยใหผ้ ใู้ หญ่ รู้จกั ก่อน และตอ้ งลุกข้ึนยนื จนเสร็จสิ้นการทาความรู้จกั ท้งั สองฝ่ าย หากมีการพยกั หนา้ กม้ หวั ควรคอ้ มลงใหร้ ะดบั หนา้ อก หรือหากมีการจบั มือพงึ ระมดั ระวงั เป็นพเิ ศษ ควรจบั มือฝ่ ายหญิง เบาๆ และพอเป็นพธิ ี ไม่ควรกมุ หรือบีบเพ่ือแสดงความมนั่ ใจ เนื่องจากชาวจีนเห็นวา่ การจบั มือ แน่นเกินไป อาจเหมือนการประลองกาลงั หรือลองเชิงกนั แต่หากฝ่ ายตรงขา้ มใชส้ องมือกมุ มือ อีกฝ่ ายหมายถึงการแสดงความอบอุ่นเป็นกนั เอง • การทกั ทายดว้ ยการไถ่ถามวา่ “ทานขา้ วแลว้ หรือยงั ” นบั เป็นการเอาใจใส่อยา่ งหน่ึงแต่ปัจจุบนั กไ็ ม่นิยมทกั ทายแบบน้ีมากนกั • ไม่ควรใชม้ ือปิ ดปาก ป้องปาก หรือทาปากขมุบขมิบ เพราะไม่สุภาพ ไม่ควรพูดเสียงเบาไป เพราะอาจหมายถึงการนินทา แต่กไ็ ม่ควรส่งเสียงดงั เกินไป เพราะแสดงถึงอานาจ • การใชม้ ือประกอบคาอธิบายไม่ควรออกท่าทางมากนกั เพราะอาจสร้างความราคาญแก่ฝ่ ายตรง ขา้ ม ไมค่ วรช้ีนิ้วไปยงั ส่ิงต่างๆ เพอ่ื อธิบาย หรือเพ่อื เรียกใคร ไม่ควรดีดนิ้วและผวิ ปากระหวา่ ง การสนทนา • พึงสารวมและอ่อนนอ้ มถ่อมตนในการพูดคุยกบั ชาวจีน ไม่ควรพดู ตลกลามกแบบสกปรก หาก ตอ้ งการเล่าเร่ืองขาขนควรเลือกเรื่องท่ีคมคายแฝงขอ้ คิด • ชาวจีนถือวา่ การตรงต่อเวลาเป็นการใหเ้ กียรติอยา่ งหน่ึง ดงั น้นั ควรไปถึงก่อนเวลานดั หมาย

1.2 วฒั นธรรมการกินและธรรมเนียมบนโตะ๊ อาหาร ชาวจีนใหค้ วามสาคญั กบั การกินมากเป็นพิเศษ เนื่องจากในอดีตเคยเผชิญกบั ภาวะแร้นแคน้ อยา่ ง มาก อาหารจึงมิใช่เพยี งส่ิงดารงชีพอยา่ งเดียว แต่ยงั เป็นสญั ลกั ษณ์ของความอิ่มหนาไม่ขาด แคลน และกลายเป็นประเพณีท่ีจะมีการเล้ียงดูปูเสื่อแขกผมู้ าเยอื น ชาวจีนยงั ใชก้ ารกินเป็นการ พบปะพดู คุย เพื่อแสดงความเอาใจใส่ในช่วงระหวา่ งการกินถือเป็นช่วงเวลาแห่งความสุข ไม่ ควรพูดคุยเร่ืองหนกั 2 โดยหากมีเร่ืองหนกั หรือเรื่องที่ตอ้ งใชก้ ารพดู คุยท่ีจริงจงั ควรจะเริ่มคุย ตอนทานอาหารใกลเ้ สร็จแลว้ การศกึ ษาและทาความเขา้ ใจธรรมเนียมค่านิยม และศลิ ปะบนโต๊ะอาหารท่ีแสดงถึงความ ละเอียดอ่อนและละเมียดละไม เพือ่ สร้างความประทบั ใจและป้องกนั ความผดิ พลาดท่ีอาจส่งผล กระทบกระเทือนความรูสึกอนั ดี จะเป็นการสร้างความสัมพนั ธท์ ่ีดีและส่งผลทางบวกต่อการ ดาเนินธุรกิจได้ นอกจากน้ี การรู้ถึงรสนิยมในการรับประทานอาหารของชาวจีนกช็ ่วยสร้าง โอกาสทางธุรกิจไดเ้ ช่นกนั

ขอ้ พงึ ปฏิบตั ิ • หากมีโอกาส ควรเตรียมสถานที่และรายการอาหารล่วงหนา้ โดยปรึกษาผเู้ ช่ียวชาญคนจีน ทอ้ งถ่ินท่ีรู้จกั หรือผจู้ ดั การของภตั ตาคาร ควรส่ังอาหาร 8 หรือ 10 หรือ 12 อยา่ ง ซ่ึงอาจ ปรับเปลี่ยนไดต้ ามความเหมาะสม รายการอาหารจะไม่รวมเครื่องดื่มและแอลกอฮอล์ • ประธานมกั จะนงั่ เกา้ อ้ีตรงกลางตรงขา้ มกบั ประตู หวั หนา้ คณะของอีกฝ่ ายจะนง่ั ขวามือของ ประธาน ซา้ ยมือของประธานจะเป็นท่ีของตาแหน่งรองลงมาของคณะน้นั ๆ และนงั่ สลบั กนั ไป เร่ือย ๆ ท้งั สองฝ่ าย โดยที่นงั่ ตรงขา้ มของประธานจะเป็นที่นง่ั ของรองเจา้ ภาพ ท้งั น้ีในบาง ภตั ตาคารใชก้ ารจดั โตะ๊ บอกตาแหน่งท่ีนงั่ เช่น พบั ผา้ กนั เป้ื อนของประธานแตกต่างจากของผู้ ร่วมคณะทว่ั ไป เป็นตน้ • ควรใหแ้ ขกเป็นฝ่ ายสง่ั อาหารก่อนหลงั จากน้นั เจา้ ภาพสง่ั อาหารท่ีเหลือให้ หากชาวจีนเป็น เจา้ ภาพและยน่ื รายการอาหารให้ อาจรับมาดูเป็นพิธีและส่งกลบั ใหเ้ จา้ ภาพส่งั อาหารแทน อาหารหลกั (Main Dish) ของจีนไม่นบั รวมออเดิร์ฟ ขา้ ว ขา้ วผดั และน้าแกง การนบั จานวน ชนิดอาหารท่ีสั่งตอ้ งนบั แต่อาหารหลกั เท่าน้นั (ขา้ วไม่ใช่อาหารหลกั เพราะชาวจีนนิยมทาน อาหารพร้อมเหลา้ ) • ควรส่ัง “ปลา” เพราะคาวา่ ปลาพอ้ งเสียงกบั คาวา่ “เหลือกินเหลือใช”้ จึงเป็นความหมายที่ดี นอกจากน้ี ตามธรรมเนียมจีนเรา (หรือบริกร) จะเป็นคนตกั ส่วนหวั และหางปลาแบ่งไวใ้ นจาน ใหแ้ ก่ประธานต่างหาก ซ่ึงมีความหมายวา่ “ความสมั พนั ธแ์ ละธุรกิจดาเนินอยา่ งราบร่ืนต้งั แต่ตน้ จนจบ ไม่มีอุปสรรคขดั ขวางตรงกลาง”4

การรับประทานอาหารของชาวจีนแบ่งเป็น 4 ช่วง คือ 1. ออเดิร์ฟ 2. อาหารจานร้อน 3. อาหารประเภทขา้ วหรือแป้ง เช่น ขา้ วผดั บะหม่ี ก๋วยเต๋ียว ซาลาเปา เป็นตน้ (หากแขกไม่ ตอ้ งการอาจขา้ มได)้ และ 4. ของหวาน ซ่ึงหากมีผลไมร้ วมอยดู่ ว้ ยจะดีมาก • การเล้ียงอาหารจานวนมากเป็นเร่ืองปกติของบางทอ้ งถ่ิน เน่ืองจากแสดงถึงความปกติของบาง ทอ้ งถิ่น เนื่องจากแสดงถึงความมงั่ คง่ั แขกควรรับประทานใหม้ ากท่ีสุด เพราะถือวา่ ใหเ้ กียรติ แต่ ไม่จาเป็นตอ้ งกินทุกอยา่ งใหห้ มด อยา่ งไรกต็ ามปัจจุบนั มีความระมดั ระวงั เรื่องการสงั่ อาหาร มากข้ึน โดยส่งั ใหพ้ อกินหรือเหลือไม่มากจนเกินไป • ชาวจีนรับประทานอาหารร่วมกนั เหมือนคนไทย โดยเจา้ ภาพจะเป็นผเู้ ร่ิมคีบอาหารใหแ้ ขก ก่อน แต่จะใชต้ ะเกียบหรือชอ้ นกลาง ปกติงานเล้ียงจะเสร็จสิ้นในเวลาประมาณ 1 ชวั่ โมงสาหรับ อาหารกลางวนั และ 2 ชวั่ โมงสาหรับอาหารเยน็ และระหวา่ งม้ืออาหาร การช่วยเติมเคร่ืองดื่ม ใหก้ บั ผอู้ ื่น เป็นสิ่งท่ีเหมาะสมและควรทาท้งั น้ี ระหวา่ งการรับประทานอาหารน้นั การเค้ียวไป คุยไปหรือเรอเสียงดงั ของชาวจีนเป็นเร่ืองปกติ • หลงั ม้ืออาหารมกั จะมีการดื่มเหลา้ เน่ืองจากคาวา่ “เหลา้ ” ในภาษาจีนพอ้ งเสียงกบั คาที่มี ความหมายวา่ “ยง่ั ยนื นาน” ท้งั น้ี ตอ้ งเทใหเ้ จา้ ภาพก่อน จากน้นั เจา้ ภาพจะยกแกว้ ข้ึนพร้อมกล่าว นา ในการชนแกว้ น้นั ผนู้ อ้ ยจะชนแกว้ โดยใหต้ าแหน่งแกว้ ของตนต่ากวา่ แต่หากอีกฝ่ าย ตอ้ งการแสดงความเคารพจะลดแกว้ ใหต้ ่ากวา่ เอง หากไม่สะดวกเดินไปชนแกว้ ใหช้ นกน้ แกว้ กบั กระจกบนโตะ๊ เบา ๆ (โต๊ะกลมท่ีมีถาดหมุน) ทว่าผนู้ อ้ ยควรผลดั กนั เดินชนแกว้ เพอื่ คารวะ ผใู้ หญ่

• ควรหาคนท่ีดื่มเหลา้ คล่องมาร่วมโตะ๊ เพือ่ เป็นคนเช้ือเชิญอีกฝ่ ายใหด้ ่ืม และชนแกว้ เป็นระยะๆ จะไม่ทาใหช้ าวจีนท่ีชื่นชอบการด่ืมเหลา้ รู้สึกเขินที่จะตอ้ งเร่ิมหรือด่ืมเพยี งลาพงั ท้งั ยงั สร้าง บรรยากาศการรับประทานอาหารใหเ้ ป็นไปอยา่ งราบรื่นและเป็นกนั เอง ซ่ึงจะเป็นผลดีต่อการ สร้างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกนั แต่หากเคร่ืองดื่มเป็นน้าหรือน้าอดั ลม เราควรเป็นฝ่ ายเชิญดื่ม ก่อนเอง • เมื่อชาวจีนใหด้ ่ืมหมดแกว้ ควรรินเหลา้ ใหค้ นรอบขา้ งก่อนรินใหต้ นเอง แต่หากอีกฝ่ ายรินเหลา้ ให้ ควรกล่าวขอบคุณหรือใชท้ ้งั นิ้วช้ีและนิ้วกลางเคาะโตะ๊ 2 – 3 คร้ังแทนคาขอบคุณ • การเกบ็ เงินควรใหผ้ ชู้ ่วยเดินออกไปจ่ายท่ีเคานเ์ ตอร์ หรือเคลียร์ค่าใชจ้ ่ายหลงั จากส่งแขกผใู้ หญ่ เรียบร้อย ไม่ควรเกบ็ เงินที่โตะ๊ สาหรับการใหท้ ิปน้นั บางสถานท่ีเกบ็ ค่า Service Charge แลว้ บางที่ไม่รับทิปเพราะถือเป็ นการดูถูก

ขอ้ ควรระวงั ที่พงึ หลีกเล่ียง • ไม่ควรคุยธุรกิจบนโต๊ะอาหารโดยเฉพาะกบั เจา้ ภาพหรือแขกที่ยงั ไม่คุน้ เคยกนั มาก่อน เพราะ ชาวจีนถือวา่ ช่วงเวลาอาหารเป็นช่วงเวลาท่ีตอ้ งสนุกสนาน ไม่ควรคุยเร่ืองเครียดควรสนทนา เรื่องทวั่ ไป เช่น การเทา้ ความถึงความเป็นเครือญาติ การดูแลสุขภาพ โภชนาการ เป็นตน้ หรือ เร่ืองที่แสดงความยงิ่ ใหญ่ของชาวจีน เช่น การเป็นเจา้ ภาพกีฬาโอลิมปิ ก 2008 หรือ งาน Shanghai World Expo ที่จดั ข้ึนในปี 2010 เป็นตน้ • ไม่ควรส่งั จานวนอาหารจานหลกั (Main Dish) เท่ากบั เลข 7 เพราะอาหาร 7 อยา่ งน้นั เป็น จานวนที่ใชใ้ นการเซ่นไหวบ้ รรพบุรุษ มีไวส้ าหรับคนตายเท่าน้นั • ไม่ควรปักตะเกียบลงบนชามขา้ วเพราะเป็นประเพณีการวางถว้ ยขา้ วสาหรับเซ่นไหวค้ นตาย และระมดั ระวงั อยา่ ทาตะเกียบตกพ้ืน เพราะเป็นความเชื่อวา่ จะทาใหโ้ ชคร้าย • ไม่ควรใชต้ ะเกียบตวั เองคีบอาหารใหค้ นอื่น ควรใชช้ อ้ นกลางหรือตะเกียบกลางสาหรับตกั หรือคีบอาหารใหผ้ อู้ ่ืน • ไม่ควรพลิกปลา เพราะปลาเป็นสัญลกั ษณ์แห่งโชคลาภ การพลกั ปลาจึงมีความหมายเหมือน เรือล่ม ไปไม่รอด

• ไม่ควรกล่าวคาปฏิเสธบนโตะ๊ อาหาร เช่น อาหารที่ทานไม่เป็น ท้งั น้ี เพราะถือเป็นการไม่ให้ เกียรติ ควรเล่ียงดว้ ยการตอบวา่ กินนอ้ ยซ่ึงหากตอบแลว้ จะไม่รับประทานกไ็ ม่เป็นไร • การเล้ียงสุก้ีตอ้ นรับอาจไม่ไดร้ ับความประทบั ใจจากชาวจีน (ยกเวน้ ชาวเสฉวน) เนื่องจากชาว จีนรู้สึกวา่ เป็นอาหารทว่ั ไป ไม่ใช่อาหารสาหรับเล้ียงแขก • หากไม่ด่ืมเหลา้ ควรปฏิเสธแต่แรกโดยอา้ งเหตุผลดา้ นสุขภาพ ท้งั น้ีตอ้ งพดู วา่ “ไม่สามารถดื่ม ได”้ จะดีกวา่ กล่าววา่ “ไม่ด่ืม” เพราะฟังดูไม่ค่อยสุภาพ อยา่ งไรกต็ าม หากเริ่มด่ืมแกว้ แรกแลว้ ไม่ควรปฏิเสธแกว้ ต่อไป เพราะถือเป็นการไม่ใหเ้ กียรติ หรืออาจใชว้ ธิ ีจิบทีละเลก็ นอ้ ยแทนการ ดื่มทีละแกว้ • ปัจจุบนั ในงานเล้ียงที่เป็นทางการมกั จะไม่มีการชวนดื่มเหลา้ ใหเ้ มาคาโต๊ะอยา่ งเช่น ในอดีต หากแขกปฏิเสธวา่ ไม่สามารถดื่มไดเ้ จา้ ภาพกม็ กั จะไม่รบเร้ามาก เน่ืองจากการรบเร้าแขกใหด้ ่ืม เหลา้ ใหเ้ มา กไ็ ดร้ ับการวิพากษว์ จิ ารณ์มากในกลุ่มชาวจีนที่เขา้ ใจวฒั นธรรมของต่างประเทศ โดยเห็นวา่ วฒั นธรรมการดื่มเหลา้ ของจีน ไม่ควรท่ีจะคะย้นั คะยอเรื่องการดื่มใหแ้ ก่ชาวต่างชาติ ท่ีไม่คุน้ เคยกบั วฒั นธรรมน้ี • วฒั นธรรมการด่ืมเหลา้ ของชาวจีนในภาคใต้ จะนิยมการดื่มนอ้ ยกวาชาวจีนในภาคเหนือ 1.3 การใชภ้ าษา ปัจจุบนั ชาวจีนจานวนไม่นอ้ ยท่ีไดร้ ับการศึกษาจากต่างประเทศ มีความรู้ความเขา้ ใจและ สามารถสื่อสารดว้ ยภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ภาษาองั กฤษ แต่ยงั มีชาวจีนอีกจานวน มากท่ีไม่สามารถสื่อสารดว้ ยภาษาต่างประเทศได้ ดงั น้นั นกั ลงทุนและนกั ธุรกิจที่รู้และสามารถ ส่ือสารดว้ ยภาษาจีนไดจ้ ะไดเ้ ปรียบคู่แข่ง และเป็นประโยชนใ์ นการเจรจาธุรกิจมากกวา่ การ เจรจาผา่ นล่าม นอกจากน้ีแมว้ า่ ภาษาจีนกลางจะเป็นภาษาราชการ อยา่ งไรกต็ าม ชาวจีนใน มณฑลต่างๆ มีภาษาพดู ทอ้ งถิ่นที่แตกต่างกนั การรู้และสามารถส่ือสารดว้ ยภาษาทอ้ งถิ่นเพ่มิ เติม จึงเป็นประโยชนม์ ากสาหรับการติดต่อส่ือสาร และการเจรจาธุรกิจกบั ชาวจีน อยา่ งไรกต็ าม การ

พูดภาษาจีนไดเ้ ป็นเพียงขอ้ ไดเ้ ปรียบในการสื่อสารเท่าน้นั จาเป็นอยา่ งยง่ิ ท่ีตอ้ งเรียนรู้ และเขา้ ใจ ธรรมเนียมปฏิบตั ิของชาวจีนอีกมาก ท้งั น้ี เพราะการรู้ขอ้ ปฏิบตั ิต่าง ๆ จะช่วยใหก้ ารติดต่อธุรกิจ มีความราบรื่น เกร็ดเลก็ เกร็ดนอ้ ย 1.การตอบรับ หรือ “Yes” อาจมิไดห้ มายถึง การตอบตกลง ยอมรับ หรือเห็นดว้ ยในหลายๆ กรณี แต่เพอื่ เป็นการรักษาหนา้ เนื่องจากชาวจีนมกั จะไม่ตอบปฏิเสธตรงๆ ตวั อยา่ งคาพดู เลี่ยง เช่น “พอไหว” “พอได”้ เป็นตน้ 2. การพยกั หนา้ รับของคนจีนขณะท่ีสนทนากนั ไม่ไดห้ มายถึง การเห็นดว้ ย แต่เป็นการ แสดงออกวา่ กาลงั ต้งั ใจฟังอยู่ ประโยคท่ีควรหลีกเล่ียง นกั ลงทุนพงึ ระมดั ระวงั การใชค้ าพดู หรือประโยคบางชนิดท่ีอาจสร้างความเขา้ ใจผดิ ระหวา่ งกนั ได้ ตวั อยา่ งเช่น ประโยคท่ีวา่ “ไทย – จีนมิใช่อื่นไกล เป็นพน่ี อ้ งกนั จีนเป็นพใี่ หญ่ ไทยเป็นนอ้ งเลก็ ” อาจสร้างความเขา้ ใจผดิ วา่ เป็นการตาหนิจีน เนื่องจากจีนใชค้ าวา่ “พี่ใหญ่” เรียกรัสเซีย ซ่ึงในขณะน้นั มีความขดั แยง้ กบั จีนโดยรัสเซียทาท่าที เหนือประเทศอื่น ประโยคดงั กล่าวจึงควรหลีกเล่ียง หรือกล่าวเพียงวา่ “ไทย-จีน มิใช่อื่นไกล เป็นพ่ีนอ้ งกนั ”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook