Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสาร 4 คู่มืออบรม

เอกสาร 4 คู่มืออบรม

Published by khunphaen, 2022-05-07 09:38:26

Description: เอกสาร 4 คู่มืออบรม

Search

Read the Text Version

คู่มือการฝึ กอบรม หลกั สูตร การขับขี่ บารุงรักษารถยกเคร่ืองยนต์ อย่างถูกวธิ ีและปลอดภัยระดบั 1 บริษทั พทั ยาฟู้ดอนิ ดสั ตรี จากดั Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 90/6 ม.7 ถ. เศรษฐกจิ 1 ต. ท่าทราย อ. เมือง สมุทรสาคร 74000 โทร. 034-816-244 www. patayafood.com

คู่มือการฝึ กอบรม หลกั สูตร การขบั ขี่ บารุงรักษารถยกเคร่ืองยนต์ อย่างถูกวธิ ีและปลอดภัยระดบั 1

คานา ตามที่กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดั การ ด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานเก่ียวกับ เครื่องจกั ร ป้ันจน่ั และหมอ้ น้า พ.ศ. 2564 หมวด 1 ส่วนที่ 4 รถยก ขอ้ 40 นายจา้ งตอ้ งจดั ใหล้ ูกจา้ งซ่ึงจะทาหนา้ ท่ีเป็ นผขู้ บั รถยก ผา่ นการฝึ กอบรม “เก่ียวกบั การใชร้ ถยกตามประเภท ความปลอดภยั ในการใชร้ ถยก การตรวจสอบ และการบารุงรักษารถยก” บริษทั พทั ยาฟู้ดอินดสั ตรี จากดั จึงไดจ้ ดั ทาคู่มือการ ฝึ กอบรมเล่มน้ีเพื่อใช้ประกอบการฝึ กอบรม คู่มือเล่มน้ีมีเน้ือหาที่จาเป็ นและ เหมาะสมที่ผขู้ บั ขี่รถยก สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชส้ าหรับการใช้กบั รถยกตามท่ี กฎหมายกาหนดไวอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ บริษทั พทั ยาฟู้ดอินดสั ตรี จากดั หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ คูม่ ือการฝึ กอบรม เล่มน้ีจะช่วยใหผ้ ขู้ บั ขี่รถยก สามารถใชเ้ ป็ นแนวทางในการทางานไดอ้ ยา่ งถูกวธิ ี และปลอดภยั หากมีขอ้ เสนอแนะที่เป็ นประโยชน์ต่อการปรับปรุงคู่มือเล่มน้ี ขอน้อมรับไวด้ ้วยความยินดีและพร้อมท่ีจะปรับปรุงแก้ไข เพ่ือความถูกต้อง สมบูรณ์ตอ่ ไป แผนกความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน บริษทั พทั ยาฟู้ดอินดสั ตรี จากดั Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC

สารบัญ เนื้อหา หน้า หมวดท่ี 1 ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั เครื่องจกั รรถยก 1 1.1 กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั รถยก 1 1.2 ประเภทและชนิดของเครื่องจกั ร 3 1.3 ชื่อและโครงสร้างส่วนประกอบของรถยกเคร่ืองยนต์ 4 1.4 ความมนั่ คงในการรับน้าหนกั 8 1.5 การอ่านคา่ ตารางพกิ ดั การยก และการประเมินน้าหนกั สิ่งของ 11 1.6 ระบบเคร่ืองยนตเ์ บ้ืองตน้ 12 1.7 ระบบไฮดรอลิกเบ้ืองตน้ 13 หมวดที่ 2 การตรวจสอบและการบารุงรักษาเคร่ืองจกั รรถยกตามคู่มือ 14 2.1 การตรวจสอบประจาวนั 14 2.2 การบารุงรักษารถยกตามระยะเวลาที่กาหนด 21 หมวดท่ี 3 ความปลอดภยั ในการใชง้ านเคร่ืองจกั รรถยก 22 3.1 กฎระเบียบพ้นื ฐานในการใชร้ ถยก 22 3.2 มาตรฐานสญั ลกั ษณ์ความปลอดภยั 27 หมวดที่ 4 วธิ ีการขบั และการใชเ้ ครื่องจกั รรถยก 29 4.1 คุณสมบตั ิและบทบาทหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบของผขู้ บั ขี่ 29 4.2 เทคนิควธิ ีการขบั เคร่ืองจกั รรถยก 29 4.3 เทคนิคการตกั สินคา้ การเคลื่อนยา้ ยสินคา้ และการวางสินคา้ 32 4.4 ข้นั ตอนการปฏิบตั ิเมื่อเลิกใชง้ าน 36 ภาคผนวก 37 Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC

หมวดที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกบั Forklift 1.1 กฎหมายทเี่ กยี่ วข้องกบั รถยก รถยก หรือ ฟอร์คลิฟต์ (Forklift) ตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานใน การบริหารและจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มใน การทางานเกี่ยวกบั เคร่ืองจกั ร ป้ันจนั่ และหมอ้ น้า พ.ศ. 2564 หมายความวา่ “รถท่ีติดต้งั อุปกรณ์ที่ใชส้ าหรับการยกหรือเคลื่อนยา้ ยสิ่งของ เช่น ฟอร์คลิฟต์ หรือรถท่ีทางานในลกั ษณะเดียวกนั ” รถยกเป็ นเคร่ืองจกั ร อีกประเภทหน่ึงที่อานวยความสะดวกอย่างมาก สามารถยกวตั ถุหรือสิ่งของไดอ้ ยา่ งง่ายดาย (ข้ึน-ลงแนวดิ่ง) ซ่ึงคนไม่สามารถ ยกได้ และเคล่ือนยา้ ยสิ่งของไดจ้ านวนมาก (เคลื่อนยา้ ยแนวนอน) เพ่ิมประสิทธิภาพในการทางาน ลดการใชแ้ รงงานโดยไมจ่ าเป็น Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 1

หมวดที่ 1 ความรู้ทว่ั ไปเกยี่ วกบั Forklift เพิ่มความปลอดภยั ในการทางาน ลดความเม่ือยลา้ หรือการบาดเจบ็ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 2

หมวดที่ 1 ความรู้ทัว่ ไปเกยี่ วกบั Forklift 1.2 ประเภทและชนิดของเคร่ืองจักรรถยก ปกติรถยกจะแบ่งออกตามชนิดของตน้ กาลงั ขบั เคล่ือนได้ 2 ชนิดคือ ชนิดใชเ้ คร่ืองยนตเ์ ป็นตน้ กาลงั โดยแบง่ ตามระบบส่งกาลงั ได้ 2 แบบคือ - ระบบส่งกาลงั ดว้ ยทอร์ค (Toro flow Ttransmission) - ระบบส่งกาลงั ดว้ ยคลทั ช์ (Direct Drive) โดยมีการใชเ้ ช้ือเพลิงจาก น้ามนั ดีเซล แกส๊ โซลีน และแอลพีจี เป็ นตน้ รถยกไฟฟ้าใช้มอเตอร์เป็ นตน้ กาลงั ขบั เคลื่อนโดยได้รับกระแสไฟฟ้ามา จากแบตเตอรี่ ระบบไฟฟ้าสามารถแบ่งตามลกั ษณะโครงสร้างภายนอกไดห้ ลาย แบบไดแ้ ก่ - แบบนงั่ ขบั (Counter Balance) - แบบยนื ขบั (Reach Trucks) แบบนงั่ ขบั แบบยนื ขบั Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 3

หมวดที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกบั Forklift 1.3 ชื่อและโครงสร้างส่วนประกอบของรถยกเครื่องยนต์ 1 2 13 3 12 4 11 5 6 10 7 9 8 1.ไฟหนา้ (Headlamp) สาหรับส่องเวลากลางคืน หรือตอ้ งการเพ่มิ แสง 2.ไฟเล้ียวหนา้ (Front turn signal) สาหรับแสดงทิศทาง 3.คนั ควบคุมไฮดรอลิค (Cargo-handling control lever) ใหข้ ้ึน-ลง และคว่า-หงายงา 4.เบาะนง่ั (Seat) สาหรับนง่ั ขบั ขี่ สามารถปรับได้ 5.เขม็ ขดั นิรภยั (Seat belt) ป้องกนั อนั ตรายที่จะเกิดข้ึน เช่นรถควา่ 6.ฝากระโปรง (Top panel) ป้องกนั ความร้อนจากเคร่ืองและยดึ เบาะนงั่ 7.ชุดคอนโซลหนา้ (Instrument frame) ติดต้งั แผงควบคุม 8.กระบอกคว่าหงายงา (Tilt cylinder) บงั คบั เสาใหค้ วา่ -หงาย ระหวา่ งการยก 9.งา (Fork) ตกั สินคา้ และรับน้าหนกั 10.แผงงา (Backrest) กนั สินคา้ ตกหล่นขณะยก เคล่ือนยา้ ย 11.รางเลื่อนงา (Front bar) สาหรับปรับระยะงา เขา้ -ออก 12.เสา (Mask) ค้ายนั ระบบยก 13.กระบอกยกงา (Lift cylinder) Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 4

หมวดที่ 1 ความรู้ท่วั ไปเกยี่ วกบั Forklift 1.3 ชื่อและโครงสร้างส่วนประกอบของรถยกเคร่ืองยนต์ (ต่อ) 20 14 15 16 17 18 19 14.ไฟทา้ ย ไฟเบรก ไฟเล้ียว ไฟถอย (Rear combination lamp) เพ่อื แสดงการทางาน 15.กระจกมองขา้ ง (Rear-view mirror) ใชม้ องเวลาถอยหลงั 16.พวงมาลยั (Steering wheel) บงั คบั รถใหเ้ ล้ียว 17.เบรกมือ (Parking brake) หยดุ รถป้องกนั เล่ือนไหล 18.น้าหนกั ถว่ ง (Counterweight) ป้องกนั อนั ตรายที่จะเกิดข้ึน 19.เพลาหลงั (Rear axle) รับน้าหนกั และระบบบงั คบั เล้ียว 20.โครงหลงั คา (Overheard guard) ป้องกนั ส่ิงของหลน่ ทบั Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 5

หมวดท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกบั Forklift 1.3 ชื่อและโครงสร้างส่วนประกอบของรถยกเครื่องยนต์ (ต่อ) 1.แตร (Horn) สาหรับเตือน 2.กญุ แจ 3.สวติ ชไ์ ฟหนา้ ไฟเล้ียว 4.สวติ ชเ์ ปล่ียนระบบเช้ือเพลิง 5.สวติ ชไ์ ฟส่องหลงั 6.สวติ ชเ์ ลือกความเร็ว 7.สวติ ชป์ รับความเร็วคนั เร่ง 8.สวติ ชส์ ญั ญาณถอยหลงั 9.คนั เร่ง 10.เบรก 11.คลตั ช์ 12.เบรกมือ 13.คนั เปลี่ยนเกียร์เดินหนา้ -ถอยหลงั (เกียร์ธรรมดา) 14.คนั เปล่ียนเกียร์เดินหนา้ -ถอยหลงั (เกียร์ Automatic) 15.คนั เปลี่ยนเกียร์ 1-2 (เกียร์ธรรมดา) เพอื่ เลือกความเร็ว Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 6

หมวดที่ 1 ความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกบั Forklift 1.3 ช่ือและโครงสร้างส่วนประกอบของรถยกเครื่องยนต์ (ต่อ) 1 2 345 67 PATAYA 89 10 11 12 13 14 15 16 1.หลอดไฟเตือนเบรกมือ (บางรุ่นใชเ้ ตือนระดบั น้ามนั เบรก) 2.หลอดไฟเตือนระบบลอ็ คเสาอตั โนมตั ิ (ถา้ คนขบั ไมน่ งั่ อยทู่ ่ีเบาะ) 3.หลอดไฟเตือนการทางานหวั เผา (เฉพาะเคร่ืองยนตด์ ีเซล) 4.หลอดไฟเตือนขาดเขม็ ขดั นิรภยั 5.หลอดไฟเตือนอเนกประสงค์ (หากเคร่ืองยนตม์ ีปัญหาผดิ ปกติ) 6.หลอดไฟเตือนระบบชาร์จ 7.หลอดไฟเตือนแรงดนั น้ามนั เคร่ือง (น้ามนั หล่อล่ืน) 8.หลอดไฟแสดงตาแหน่งเกียร์วา่ ง 9.เกจวดั ระดบั น้ามนั เช้ือเพลิง 10.สญั ญาณเตือนอณุ หภูมิน้ามนั เกียร์ออโตเมติก 11.สญั ญาณเตือนผา้ คลตั ชส์ ึกหรอ (เสริม) 12.สญั ญาณเตือนระดบั น้าในถงั พกั น้า (เสริม) 13.สญั ญาณเตือนมีน้าปนในไสก้ รองน้ามนั เช้ือเพลิง 14.สญั ญาณเตือนไสก้ รองอากาศตนั (เสริม) 15.ตวั เลขชวั่ โมงการทางานของรถยก 16.เกจวดั อุณหภมู ิเครื่องยนต์ (อณุ หภมู ิน้าหลอ่ เยน็ ) Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 7

หมวดท่ี 1 ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกบั Forklift 1.4 ความม่นั คงในการรับนา้ หนักของรถยก (Forklift Stability) รถยกจะเกดิ การพลกิ คา่ รถบรรทุกจะไม่มพี ลกิ คา่ เมื่อมกี ารบรรทุกเกนิ อตั รา แม้ว่ามกี ารบรรทุกเกนิ อตั รา ความรู้พ้นื ฐานของความมน่ั คงในการรับน้าหนกั (Fundamentals of Stability) 14.1 การยกสินคา้ ตอ้ งใชง้ าและเสายกสินคา้ ตามทิศทางที่ตอ้ งการโดยมีลอ้ หนา้ เป็นจุด ศูนยก์ ลางและน้าหนกั ถว่ งอยทู่ า้ ย 14.2 ในการยกสินคา้ ที่ไมป่ ลอดภยั น้นั เกิดจากยกของเกินพิกดั ยกและการซอ้ นสูงท่ีไม่ ถูกตอ้ งส่งผลต่อความสมดุลของรถ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 8

หมวดที่ 1 ความรู้ท่ัวไปเกยี่ วกบั Forklift ความสามารถในการยกของอย่างปลอดภัย จากสมการ Load Capacity (W) คือจุดศูนยถ์ ่วงของรถ และ L คือจุดศูนยถ์ ว่ งของวตั ถุ ตาม หลกั การใชย้ กอยา่ งปลอดภยั ถา้ L x B > W x C จะมีผลทาใหร้ ถเกิดความไม่สมดุล (รถกระดกได)้ ตวั อยา่ งคานวณหาความไม่มนั่ คง ถา้ ยกของหนกั 1000 กก. วางบนพาเลทยาว 120 มม. โดยมีระยะ B 1.2 ม. ระยะ C 0.8 ม. น้าหนกั รถ 2500 กก. จากสมการจะไดด้ งั น้ี L x B = W x C แทนคา่ ได้ 1000 กก. x 1.2 ม. = 2500 กก. x 0.8 ม. เพราะฉะน้นั 1200 < 2000 รถยกน้ีมีความมน่ั คง 0.8 ม. และระยะของ Load Center (A) มีผลต่อความมน่ั คง ในการยก 1.2 ม. Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 9

หมวดท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเกยี่ วกบั Forklift 1.4.3 จุดศูนย์ถ่วงรถ จุดศูนย์ถ่วงสินค้า และจุดศูนย์ถ่วงรวม ในการยกตอ้ งคานึงความสมดุลของจุดศูนยถ์ ว่ งตวั รถ (CG Truck) และจุดศูนยถ์ ่วงสินคา้ (CG Load) กรณีรถอยกู่ บั ที่และไมม่ ีการยก ความมนั่ คงรถจะอยู่ จุดศูนยถ์ ่วงตวั รถ (CG Truck) หากมีการยกและเคลื่อนที่จะทาใหค้ ่าตา่ งๆ เปลี่ยนแปลง มุมมองดา้ นบน เม่ือมีการยกสินคา้ ข้ึนจะทาให้ จุดศูนยถ์ ว่ งรวม (Combined CG) สูงข้ึนจะส่งผลให้ เกิดความไม่มนั่ คง CG Load Combined CG CG Truck มมุ มองดา้ นขา้ ง Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 10

หมวดท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเกยี่ วกบั Forklift 1.5 การอ่านตารางพกิ ดั ยก และการประเมินนา้ หนักส่ิงของ ตวั อยา่ งป้ายตารางพิกดั ยก จากป้ายพบวา่ การยกอยา่ งปลอดภยั ตอ้ งยกตามขอ้ มูลของรถยกท่ีผผู้ ลิตกาหนดไว้จากแผน่ ป้ายน้ี รถขนาด 2.5 ตนั ที่จุดศูนยถ์ ่วงรถ (Load Center) 500 มม.จะสามารถยกได้ 1850 กก. ท่ีความสูงยกได้ 5000 มม. และถา้ (Load Center) 700 มม. ยกได้ 1560 กก. ท่ีความสูง 5000 มม. เป็ นตน้ PATAYA PATAYAFOOD INDUSTRIES CO.,LTD Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 11

หมวดท่ี 1 ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกบั Forklift 1.6 ระบบเคร่ืองยนต์เบื้องต้น เครื่องยนต์ หมายถึง เคร่ืองจกั รหรือเคร่ืองมือกลที่สามารถเปล่ียนพลงั งานความร้อนเป็ น พลงั งานกลสามารถแบ่งออกตามลกั ษณะการเผาไหมไ้ ด้ 2 แบบคือ 16.1 เครื่องยนตช์ นิดสนั ดาปภายนอก (External Combustion Engine) การเผาไหมจ้ ะเกิดข้ึน นอกเครื่องยนต์ เช่น เครื่องจกั รไอน้า โดยใชเ้ ช้ือเพลิงจากถ่านหิน ไม้ หรือน้ามนั ไปตม้ น้าให้เดือด กลายเป็ นไอ แลว้ นาไอน้าไปดนั ลูกสูบทาใหเ้ กิดการเคล่ือนที่และหมุนเพลาใหเ้ กิดพลงั งานกล 16.2 เครื่องยนตช์ นิดสนั ดาปภายใน (Internal Combustion Engine) การเผาไหมจ้ ะเกิดข้ึน ภายในเคร่ืองยนต์ เช่น เคร่ืองยนตเ์ บนซิน ดีเซล แอลพจี ี เมื่อมีการเผาไหมท้ าใหเ้ กดิ พลงั งานความ ร้อนในกระบอกสูบ แรงดนั จากการระเบิดจะกระทาบนหวั ลกู สูบหรือ Turbine โดยตรงเพ่อื เปล่ียน พลงั งานความร้อนเป็ นพลงั งานกล Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 12

หมวดท่ี 1 ความรู้ทัว่ ไปเกย่ี วกบั Forklift 1.7 ระบบไฮดรอลกิ รถยกเบือ้ งต้น เม่ือบงั คบั กา้ นคนั ควบคุม (Cargo-handling control lever) ไปยงั ตาแหน่งข้ึนหรือลง จะทาใหม้ ี การไหลเวยี นของน้ามนั ไฮดรอลิก 17.1 ป๊ัมน้ามนั ไฮดรอลิกทางานจากขบั เคลื่อนของเคร่ืองยนต์ หรือมอเตอร์หากเป็ นรถยกไฟฟ้า 17.2 วาลว์ จะเปิ ดและปิ ดน้นั มาจากกา้ นคนั ควบคุม (Cargo-handling control lever) โดยวาลว์ น้ี กาหนดทิศทางการไหลของน้ามนั ไฮดรอลิกแรงดนั สูงจากป๊ัมน้ามนั ไฮดรอลิก 17.3 วาลว์ ควบคุม (Control valve) จะควบคุมน้ามนั ไฮดรอลิกแรงดนั สูงไปตามกระบอก ไฮดรอลิก 17.4 เสาจะเคลื่อนท่ีโดยแรงดนั น้ามนั ไฮดรอลิกท่ีถูกส่งมาตามกระบอกไฮดรอลิก Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 13

หมวดที่ 2 การตรวจสอบและบารุงรักษาเคร่ืองจกั รรถยก 2.1 การตรวจสอบและบารุงรักษาประจาวนั การบารุงรักษา จะช่วยยดื อายขุ องรถยกใหย้ าวนาน โดยการตรวจสอบตามโปรแกรม ของรถยกเป็ นประจา สาเหตขุ องการเส่ือมสภาพ  เสื่อมจากการใชง้ าน จะมากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั วธิ ีการใชง้ าน  เส่ือมตามสภาพ มาจากความแขง็ แรง ความลา้ การผกุ ร่อน  เส่ือมจากภยั ธรรมชาติ เช่น น้าท่วม พายุ แผน่ ดินไหว ทาใหเ้ ครื่องจกั รและอุปกรณ์เส่ือมลง การบารุงรักษาสามารถแบ่งได้ 2 ชนิด โดยพนกั งานขับ โดยช่างเทคนิค • ก่อนติดเคร่ือง • ตามโปรแกรม เช่น ทุกๆ วนั • ขณะติดเครื่อง ทุกสปั ดาห์ ทุกเดือน ทกุ ๆ 3 • หลงั ติดเครื่อง เดือน หรือทุกๆ ปี เป็ นตน้ • หลงั การใชง้ าน Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 14

หมวดที่ 2 การตรวจสอบและบารุงรักษาเครื่องจกั รรถยก การตรวจประจาวนั ลาดบั ตรวจสอบก่อนตดิ เคร่ือง ปกติ ไม่ปกติ ผดิ ปกตอิ ะไร ปกติ ไม่ปกติ ผดิ ปกตอิ ะไร 1 ระดบั น้าในหมอ้ น้าและถงั พกั น้า 2 ระดบั น้ามนั เคร่ือง และเช้ือเพลิง 3 ระดบั น้ากลน่ั ในแบตเตอร่ี 4 ความตึงของสายพาน 5 ระดบั น้ามนั เบรก 6 ระดบั น้ามนั ไฮดรอลิก 7 เบรกมือ และแป้นเบรก 8 เสียงแตร ไฟเล้ียว ไฟถอย ไฟส่องสวา่ ง 9 ความตึงของโซ่ยก 10 ยางและลมยาง 11 สภาพงายก 12 ระดบั น้ามนั เกียร์พวงมาลยั ลาดบั หลงั ตดิ เคร่ือง 1 เสียงดงั ผิดปกติ 2 การทางานของชุดควบคุมยกทางาน 3 ระบบเบรก 4 ระยะฟรีพวงมาลยั และการบงั คบั เล้ียว 5 สญั ญาณไฟควบคุมหนา้ ปัดรถ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 15

หมวดท่ี 2 การตรวจสอบและบารุงรักษาเครื่องจกั รรถยก การตรวจสอบเบือ้ งต้นก่อนใช้งานประจาวนั 1. ระดบั น้าหล่อเยน็ และรอยรั่วถงั อยา่ ใหร้ ะดบั น้าต่ากวา่ MIN ควรอยรู่ ะดบั MAX หา้ มเปิ ดฝาหมอ้ น้าขณะเคร่ืองยนตย์ งั ร้อนอยู่ 2. ระดบั น้ามนั เครื่องโดยให้ ระดบั น้ามนั อยรู่ ะหวา่ ง “ L” กบั “ H ” และเชค็ รอยรั่ว Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 16

หมวดที่ 2 การตรวจสอบและบารุงรักษาเครื่องจกั รรถยก 3. ระดบั น้ากลน่ั แบตเตอรี่ โดยใหร้ ะดบั น้าอยเู่ หนือ Upper Level ถา้ ลดตอ้ งเติมดว้ ยน้ากลน่ั เท่าน้นั 4. ความดึงของสายพาน กดสายพานโดยตอ้ งหยอ่ นประมาณ 11-13 มม. 5. ระดบั น้ามนั เบรก ตอ้ งอยชู่ ่วงระหวา่ ง “ Max ” กบั “ Min ” และเชค็ รอยร่ัวตามท่อและ ขอ้ ต่อตา่ งๆ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 17

หมวดที่ 2 การตรวจสอบและบารุงรักษาเคร่ืองจกั รรถยก 6.ระดบั น้ามนั ไฮดรอลิก ใหร้ ะดบั น้ามนั อยรู่ ะหวา่ ง “ L ” และ “ H ” 7.เบรกมือ แป้นอินชิ่งเบรก และเบรก รถตอ้ งหยดุ เม่ือดึงเบรกมือ และแป้นอินชิ่งตอ้ งเป็นคลตั ชก์ ่อนเบรก 8.เสียงแตร ไฟเล้ียว ไฟถอย ไฟส่องสวา่ ง ตรวจสอบ ทดสอบวา่ ยงั ระบบดงั กล่าวยงั สามารถใชง้ านไดห้ รือไม่ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 18

หมวดที่ 2 การตรวจสอบและบารุงรักษาเคร่ืองจกั รรถยก 9.ความตึงของโซ่ยก ยกงาขนานพ้ืนห่างประมาณ 20 ซม. 10.ยางและลมยาง ใชม้ ือดึงหรือกดวา่ โซ่หยอ่ นเทา่ กนั หรือไม่ เชค็ นอตยดึ แน่น ยางแนบสนิทกบั ขอบลอ้ การชารุดของดอกยาง และยางอ่อนหรือไม่ 11.ระดบั น้ามนั เกียร์พวงมาลยั ใหร้ ะดบั น้ามนั อยรู่ ะหวา่ ง “ L ” และ “ H ” Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 19

หมวดที่ 2 การตรวจสอบและบารุงรักษาเคร่ืองจกั รรถยก 12.จุดร่ัวซึมต่าง ๆ ตรวจสอบบริเวณ เฟื องทา้ ย กระบอกไฮดรอลิก 13.การทางานของคนั เปล่ียนเกียร์ ตรวจสอบ คนั เขา้ เกียร์นุ่มนวล และ ตาแหน่งคนั เขา้ เกียร์ถูกตอ้ ง 14.การทางานของวาลว์ ควบคุมไฮดรอลิก ตรวจสอบ คนั ควบคุมเด่ียว คนั ควบคุมคู่ 1.งาข้ึน-ลงใหส้ ุด 2 รอบ 2.หงาย-ควา่ งาใหส้ ุด 2 รอบ 3.และอุปกรณ์เสริม เช่น งาสไลด์ ตวั หนีบ ตวั หมนุ หรือเล่ือนงา เขา้ -ออก เพ่ือสงั เกต วา่ เคล่ือนที่ไดถ้ กู และมี เสียงผิดปกติหรือไม่ในการทางาน Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 20

หมวดท่ี 2 การตรวจสอบและบารุงรักษาเครื่องจกั รรถยก 2.2 การบารุงรักษารถยกตามระยะเวลาทก่ี าหนด ส่วนใหญเ่ ป็ นเร่ืองของช่างซ่อมบารุงหรือศูนยบ์ ริการ พนกั งานขบั จะมีหนา้ ท่ีตรวจสอบ ตามรายงานตรวจสอบ เช่น การหล่อลื่น หยอดน้ามนั เติมน้ากลนั่ เป็ นตน้ ในการบารุงรักษา ตามระยะเวลาสาหรับรถยกจะคิดเป็ นชวั่ โมงงาน เช่น ที่ระยะทุกๆ 200 ชว่ั โมงหรือ 1 เดือน ตวั อยา่ งแผนซ่อมบารุง Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 21

หมวดที่ 3 ความปลอดภยั ในการใช้งานเคร่ืองจกั รรถยก 3.1 ป้ายความปลอดภยั ป้ายจราจรและการประยุกต์ใช้ o ความหมายและตวั อยา่ งป้ายความปลอดภยั ตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ชง้ าน Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 22

หมวดท่ี 3 ความปลอดภยั ในการใช้งานเครื่องจกั รรถยก o ตวั อย่างสารเคมีอนั ตรายตามระบบ UN สาหรับการขนส่ง สัญลกั ษณ์ ความหมาย อนั ตราย ระเบิดไดเ้ ม่ือถูกกระแทกเสียดสี หรือถูก - รังสีความร้อน ความร้อน เช่น ทีเอน็ ที ดินปื น ดอกไมไ้ ฟ - แรงอดั อากาศ - สะเก็ดระเบิด ไมไ่ วไฟไม่เป็นพิษแต่อาจเกิดระเบิดได้ - บาดแผลจากของเหลว เยน็ จดั หากภาชนะบรรจุถูกกระแทกอยา่ งแรง - แรงอดั อากาศ หรือ ไดร้ ับความร้อนสูงจากภายนอก - สะเกด็ เศษชิ้นส่วนภาชนะบรรจุ เช่น ก๊าซออกซิเจน - รังสีความร้อน แรงอดั อากาศ ติดไฟง่ายเมื่อถูกประกายไฟ เช่น ก๊าซหุง - สะเกด็ ชิ้นส่วนภาชนะบรรจุ ตม้ ก๊าซไฮโดรเจน ก๊าซมเี ทน ก๊าซอะเซที - อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน ลีน อาจทาใหเ้ สียชีวติ หรือบาดเจบ็ อยา่ ง -ความเป็ นพษิ รุนแรงจากการกิน สูดดม หรือสัมผสั ทาง -อนั ตรายต่อระบบทางเดินหายใจ ผวิ หนงั เช่น อาร์ซีนิค ไซยาไนด์ ผวิ หนงั หรือการกิน สามารถแผร่ ังสีที่เป็น อนั ตรายต่อร่างกาย - เป็นอนั ตรายต่อผวิ หนงั เช่น โคบอลต์ เรเดียม พลูโตเนียม - มผี ลต่อเมด็ เลือด ยเู รเนียม กดั กร่อนผวิ หนงั และเป็นอนั ตราย ต่อ - กดั กร่อนผวิ หนงั ระคายเคือง ระบบทางเดินหายใจ เช่น กรดกามะถนั ต่อระบบ ทางเดินหายใจ โซเดียมไฮดรอกไซด์ แคลเซียมไฮเปอร์ คลอไรด์ - ทาปฏิกิริยากบั โลหะ ทาใหเ้ กิด ก๊าซไวไฟ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 23

หมวดที่ 3 ความปลอดภยั ในการใช้งานเคร่ืองจกั รรถยก o ความหมายและตวั อย่างป้ายความปลอดภัยสาหรับสารเคมีอนั ตราย ระบบสัญลกั ษณ์แสดงระดบั ความรุนแรงของสารเคมี Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 24

หมวดท่ี 3 ความปลอดภยั ในการใช้งานเครื่องจกั รรถยก o ตัวอย่างเครื่องหมายการขนส่ง (Shipping Mark) ระวังของแตก วางต้ังขนึ้ ด้านบน ขนย้ายให้ระวงั ยดึ หนีบตามที่ระบุไว้ ห้ามโยน เกบ็ ไว้ในท่ีแห้ง ห้ามใช้ตะขอเกย่ี ว จุดศุนย์ถ่วงวสั ดุ บรรจุภัณฑ์นี้ใช้ซ้าได้ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 25

หมวดที่ 3 ความปลอดภยั ในการใช้งานเครื่องจกั รรถยก ตวั อย่างป้ายเตือนต่างๆ ในรถยกเคร่ืองยนต์ รายละเอียดงั น้ี 1. ป้ายเตือนและวธิ ีการปฏิบตั ิเม่ือรถพลิกควา่ • เตือนชะลอความเร็ว คาดเขม็ ขดั นิรภยั • หากรถพลิกคว่า ใหเ้ อียงตวั ดา้ นตรงขา้ ม จบั พวงมาใหแ้ น่น หา้ มกระโดดออกจากรถฯ 2. ระวงั อนั ตรายเสาและแผงงาหนีบมือ 3. หา้ มยนื บนงา และลอดใตง้ า 4. ป้ายแนะนาอุปกรณ์ เบรก คนั เร่ง และ อินช่ิง 5. ป้ายเตือนแบตเตอรี่ฯ 6. ป้ายแนะนาเปิ ดฝากระโปรงรถ 7. ระวงั อนั ตรายน้าร้อนจากหมอ้ น้า Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 26

หมวดท่ี 3 ความปลอดภยั ในการใช้งานเคร่ืองจกั รรถยก 3.2 กฎระเบียบพนี้ ฐานในการใช้งานรถยก o พนกั งานขบั ตอ้ งแต่งกายใหพ้ รอ้ มก่อนใชร้ ถยก หมวกนิรภยั ชุดทางานท่ีรัดกมุ รองเทา้ นิรภยั o ผา่ นหลกั สูตรการขบั และบารุงรักษารถยกอยา่ งถกู วธิ ีและปลอดภยั มีวฒุ ิบตั ร o ตรวจสอบรถก่อนใชง้ าน o หา้ มยกของเกินพกิ ดั รถ o หา้ มใหโ้ ดยสาร o หา้ มขบั ไปดา้ นหนา้ หากสิ่งของบงั สายตา o กรณีถอยหลงั ตอ้ งมองดา้ นหลงั o ปฏิบตั ิตามป้ายความปลอดภยั หรือป้ายอ่ืนๆ ท่ีโรงงานจดั ไว้ o ทางานบนท่ีสูงตอ้ งใชก้ ระเชา้ ท่ีโรงงานอนุญาตใหใ้ ช้ o บีบแตรเตือน หากมีพนกั งานใชเ้ สน้ ทาง เขา้ -ออกตามประตู มุมอบั ต่าง ๆ ตามอาคาร o ใชค้ วามเร็วไมเ่ กิน 10 กม./ชม. ไม่ขบั ซ่ิงวาดเสียว o หา้ มใชม้ ือถือขณะขบั Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 27

หมวดที่ 3 ความปลอดภยั ในการใช้งานเคร่ืองจกั รรถยก o คุณสมบตั ิของผขู้ บั ขี่  ตอ้ งเป็ นพนกั งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย แตง่ ต้งั หรือรับมาโดยตรงเท่าน้นั  ตอ้ งผา่ นการฝึ กอบรมฯ และมีวฒุ ิบตั ร  มีสุขภาพร่างกายแขง็ แรง  ตอ้ งตรวจรถก่อนใชง้ านเป็นประจา o การควบคุมการใชร้ ถยก  ทุกสงั กดั ตอ้ งควบคุมการทางานของพนกั งานตามกฎความปลอดภยั o บทลงโทษ  ตามระเบียบต่าง ๆ ของบริษทั พทั ยาฟ้ดู อินดสั ตรี จากดั o การตรวจสอบรถก่อนใช้2 ข้นั ตอน  ก่อนติดเครื่อง 1. ระดบั น้าในหมอ้ น้าและถงั พกั น้า 2. ระดบั น้ามนั เครื่อง และเช้ือเพลิง 3. ระดบั น้ากลนั่ ในแบตเตอรี่ 4. ความตึงของสายพาน 5. ระดบั น้ามนั เกียร์อตั โนมตั ิ 6. ระดบั น้ามนั ไฮดรอลิก 7. เบรกมือ และแป้นเบรก 8. เสียงแตร ไฟเล้ียว ไฟถอย ไฟส่องสวา่ ง 9. ความตึงของโซ่ยก 10. ยางและลมยาง 11. จุดร่ัวซึมต่างๆ 12. ระดบั น้ามนั เกียร์พวงมาลยั  หลงั ติดเคร่ือง 1. เสียงดงั ผดิ ปกติ 2. การทางานของชุดควบคุมยกทางาน 3. ระบบเบรก 4. ระยะฟรีพวงมาลยั และการบงั คบั เล้ียว 5. สญั ญาณไฟควบคุมหนา้ ปัดรถ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 28

หมวดที่ 4 วธิ ีการขบั และการใช้งานเคร่ืองจกั รรถยก 4.1 คุณสมบตั ิและบทบาทหน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบของพนักงานขับรถยก  ตอ้ งเป็ นพนกั งานท่ีไดร้ ับมอบหมาย แต่งต้งั หรือรับมาโดยตรงเทา่ น้นั  ตอ้ งผา่ นการฝึ กอบรมฯ และมีวฒุ ิบตั ร  มีสุขภาพร่างกายแขง็ แรง  ตอ้ งตรวจรถก่อนใชง้ านเป็นประจา  ตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎความปลอดภยั ของโรงงาน 4.2 เทคนิควธิ ีการขบั รถยก 4.2.1 ก่อนขนึ้ -ลงรถ ตอ้ งเดินตรวจรอบรถ และข้ึนรถดา้ นซา้ ยเท่าน้นั ใชม้ ือซา้ ยจบั หูจบั และมือขวาจบั ที่เบาะ เทา้ ซา้ ยเหยยี บบนั ไดข้ึนรถ เนื่องจากดา้ นขวามีคนั เร่ง อปุ กรณ์คนั โยกไฮดรอลิก และคนั เกียร์ (เกียร์ธรรมดา) ติดต้งั อยซู่ ่ึงอาจจะเกิดอนั ตรายได้ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 29

หมวดที่ 4 วธิ ีการขบั และการใช้งานเครื่องจกั รรถยก 4.2.2 การออกตวั รถ  เกยี ร์ธรรดา 1. เหยยี บคลตั ชใ์ หส้ ุด เล่ือนคนั เกียร์ เลือกจะเดินหนา้ หรือถอยหลงั 2. เลื่อนคนั เกียร์ ไปที่เกียร์ 1 3. ปลดเบรกมือ 4. เหยยี บแป้นคนั เร่งเบาๆ พร้อมกบั ปลอ่ ยแป้นคลตั ชช์ า้ ๆ  เกยี ร์ออโตเมตกิ 1. เหยยี บแป้นอินชิ่งตามทิศทาง 2. เลื่อนคนั เกียร์เดินหนา้ หรือถอยหลงั 3. ปลดเบรกมือ 4. เหยยี บแป้นคนั เร่งเบาๆ พร้อมกบั ปลอ่ ยแป้นอินชิ่งชา้ ๆ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 30

หมวดท่ี 4 วธิ ีการขบั และการใช้งานเครื่องจกั รรถยก 4.2.3 การเปลย่ี นเกยี ร์  เกยี ร์ธรรดา 1. ปลอ่ ยแป้นคนั เร่งและเหยยี บแป้นคลตั ชใ์ หส้ ุด 2. เล่ือนคนั เกียร์จาก 1 ไป 2 หรือจาก 2 ไป 1 เหยยี บแป้นคนั เร่งเบาๆ พร้อมกบั ปล่อยคลตั ช์ 3. การเปลี่ยนเกียร์เดินหนา้ ไปถอยหลงั หรือถอยหลงั ไปเดินหนา้ ตอ้ งหยดุ รถ  เกยี ร์ออโตเมตกิ 1. ใชค้ นั เร่งเพ่มิ ความเร็ว ใชเ้ บรกชะลอความเร็วและหยดุ รถ 2. หา้ มเลื่อนเกียร์ไปตาแหน่งเกียร์วา่ งระหวา่ งขบั เพราะรอบเครื่องจะสูง 3. การเปลี่ยนเกียร์เดินหนา้ ไปถอยหลงั หรือถอยหลงั ไปเดินหนา้ ตอ้ งหยดุ รถ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 31

หมวดที่ 4 วธิ ีการขบั และการใช้งานเครื่องจกั รรถยก 4.2.4 การบังคบั เลยี้ ว การเล้ียวของรถยก แตกตา่ งจากรถยนตท์ ว่ั ไป “ รถยกเล้ียวดว้ ยลอ้ หลงั เพอื่ ใหว้ งเล้ียว แคบท่ีสุดโดยใชว้ ธิ ีปฏิบตั ิดงั น้ี ” 1. มือซา้ ยจบั ป่ ุมที่พวงมาลยั ส่วนมือขวาบงั คบั คนั ควบคุมงา 2. ขบั รถใหช้ ิดขอบทางดา้ นใดดา้ นหน่ึงตามทิศท่ีตอ้ งการเล้ียว  เล้ียวซา้ ยใหข้ บั รถชิดขอบทางดา้ นซา้ ย  เล้ียวขวาใหข้ บั รถชิดขอบทางดา้ นขวา 3. ลดความเร็วก่อนเล้ียวและใหล้ อ้ หนา้ อยกู่ ่อนถึงมมุ เลก็ นอ้ ย 4. หา้ มเล้ียวขณะยกสูง 5. หา้ มเล้ียวดว้ ยความเร็วสูง 6. ขณะเล้ียวทา้ ยจะเหวยี่ งตอ้ งไม่มีสิ่งกีดขวาง 4.3 เทคนิควธิ ีการตกั สินค้า เคล่ือนย้ายสินค้าและวางสินค้า 4.3.1 การตกั สินค้า 1. ปรับระยะงาใหพ้ อดีกบั ส่ิงของท่ีจะยก 2. ลอ็ คสลกั งาก่อนยก Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 32

หมวดท่ี 4 วธิ ีการขบั และการใช้งานเคร่ืองจกั รรถยก 3. หยดุ รถปลายงาขนานพ้ืน ห่างสินคา้ 4. เสียบงาเขา้ ไปชา้ ๆ ตกั สินคา้ ใหช้ ิดแผงงา 20-30 ซม. และยกงาข้ึน 5. ยกสูงประมาณ 10 ซม. ดูหลงั แลว้ ถอย 6. ปลายงาห่างสินคา้ 20-30 ซม.ใหล้ ดงา ลงชา้ ๆ พร้อมกบั หงายงา 7. ปรับงาใหส้ ูง 15-20 ซม. พร้อม 8. ดูความปลอดภยั ก่อนออกตวั รถทุกคร้ัง กบั หงายงาก่อนขบั Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 33

หมวดที่ 4 วธิ ีการขบั และการใช้งานเคร่ืองจกั รรถยก 4.3.2 การวางสินค้า 1. หยดุ รถปลายงาห่างสินคา้ 20-30 ซม. และปรับงาใหข้ นานพ้นื 2. ยกงาใหส้ ูงกวา่ สินคา้ ที่จะวางซอ้ นประมาณ 15 ซม. 3. เคลื่อนรถไปดา้ นหนา้ วางสินคา้ ชา้ ๆ 4. ตาแหน่งของท่ีจะวางใหต้ รงกนั และวางลงชา้ ๆ 5. ยกงาข้ึนเลก็ นอ้ ย และดูหลงั ก่อนถอย 6. ปรับงาสูงจากพ้ืน 15-20 ซม. และหงายงาข้ึนเลก็ นอ้ ย 7. เชค็ ความปลอดภยั ก่อนออกตวั Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 34

หมวดที่ 4 วธิ ีการขบั และการใช้งานเคร่ืองจกั รรถยก 4.3.3 การขึน้ -ลงทางลาดชัน 1. ถา้ ยกสินคา้ ข้ึนใหเ้ ดินหนา้ และถา้ มียกสินคา้ ลงใหถ้ อยหลงั 2. ไมม่ ีสินคา้ ใหถ้ อยหลงั ข้ึน และเดินหนา้ ลง 3. หา้ มเล้ียวหรือกลบั รถบนทางลาดชนั 4. หา้ มเบรกตอ่ เน่ืองเป็นเวลานานๆ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 35

หมวดท่ี 4 วธิ ีการขบั และการใช้งานเคร่ืองจกั รรถยก ข้อปฏิบัตเิ ม่ือรถพลกิ ควา่ 12 34 5 1. หา้ มกระโดดออกจากรถ 2. จบั พวงมาลยั ใหแ้ น่น 3. เทา้ กางยนั พ้ืน 4. เอียงตวั ฝ่ังตรงขา้ มกบั ดา้ นท่ีพลิกควา่ 5. โนม้ ตวั ไปดา้ นหนา้ 4.4 ข้อปฏบิ ตั หิ ลงั เลกิ ใช้ 1. หา้ มจอดบนที่ลาดชนั อยา่ จอดกีดขวาง และลอ้ หนา้ ตรง 2. ปลดเกียร์วา่ ง และดึงเบรกมือ 3. งาวางราบเสมอพ้นื 4. หากรถผิดปกติ หรือมีเสียงดงั ปกติตา่ งๆ แจง้ หวั หนา้ งาน 5. ปิ ดเครื่อง เก็บกญุ แจ 6. ดูการร่ัวซึมของน้ามนั เคร่ืองรวมท้งั ซีลตา่ งๆ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 36

ภาคผนวก Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 37

ความปลอดภยั ในการทางานกบั LPG เบื้องต้น ขอ้ แตกต่างระหวา่ ง LPG รถยก กบั LPG ในครัวเรือน ถงั LPG สาหรับครัวเรือน ถงั LPG สาหรับรถยก Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 38

ความปลอดภยั ในการทางานกบั LPG เบื้องต้น วธิ ีการใชถ้ งั LPG อยา่ งปลอดภยั เพ่อื ความปลอดภยั ในการใชง้ าน 1 การเปล่ียนถงั • ถงั ประเภทน้ีสาหรับวางแนวนอนเท่าน้นั • เคลื่อนยา้ ยถงั อยา่ ใหต้ กหล่น กระแทก • ปิ ดวาลว์ แก๊สก่อนเปลี่ยนถงั • ยดึ จบั ถงั ใหแ้ น่นกระชบั ทุกคร้ัง 2 การติดต้งั สายส่งแก๊ส • ใหเ้ กจแรงดนั ใชง้ านอยดู่ า้ นบนเสมอ • สวมสายส่งแก๊สเขา้ กบั วาลว์ ส่งแกส๊ • หมนุ ลอ็ ค Screw handle ใหแ้ น่น 3 การอา่ นเกจแรงดนั ใชง้ าน หมดเขม็ ช้ีตวั E เตม็ เขม็ ช้ี F ใชง้ านอยู่ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 39

ความปลอดภยั ในการทางานกบั LPG เบื้องต้น การเปลี่ยนระบบเช้ือเพลิงจาก Gasoline เป็น LPG  จากน้ามนั เป็ น LPG 1. กดสวติ ชไ์ ปตาแหน่งตรงกลาง 2. เร่งเครื่องไมเ่ กิน 2000 รอบ จนเครื่องดบั 3. กดสวติ ชไ์ ปตาแหน่ง LPG และเปิ ดวาลว์ บริเวณถงั 4. สตาร์ทเครื่องใหมอ่ ีกคร้ัง  จาก LPG เป็ นน้ามนั 1. ปิ ดวาลว์ ถงั ใหส้ นิท 2. กดสวติ ชไ์ ปตาแหน่งตรงกลาง 3. เร่งเครื่องไม่เกิน 2000 รอบและรอจนเครื่องดบั 4. กดสวติ ชไ์ ปตาแหน่ง Gasoline หาก LPG หมดระหวา่ งใช้ ใหก้ ดสวทิ ชไ์ ปตาแหน่ง Gasoline หมายเหตุ : 1. รถที่ใช้ LPG ใหอ้ ่นุ เครื่องท่ีระบบน้ามนั 2. การเปลี่ยนระบบเช้ือเพลิงท่ีถกู ตอ้ งจะช่วยยดื อายกุ ารใชง้ านรถ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 40

ความปลอดภยั ในการทางานกบั LPG เบื้องต้น Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 41

ความปลอดภยั ในการทางานกบั LPG เบื้องต้น Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 42

ความปลอดภยั ในการทางานกบั LPG เบื้องต้น Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 43

บนั ทกึ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 44

บนั ทกึ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 45

บนั ทกึ Patayafood Forklift Driving Training Center : PFDTC 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook