Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดทำโครงสร้าง ม.3

การจัดทำโครงสร้าง ม.3

Published by Dechnareen TheNdthunmethe, 2021-05-05 06:23:31

Description: การจัดทำโครงสร้าง ม.3

Search

Read the Text Version

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน รายวชิ า ศลิ ปะ-ดนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รหสั วชิ า ศ 23101 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษา วิเคราะห์ ระบุบรรยาย องค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศลิ ปะอน่ื ๆ อทิ ธิพลของดนตรีท่ีมีต่อ บุคคลและสังคม และวิวัฒนาการของดนตรีแต่ละยุคสมัย อภิปรายลักษณะเด่นที่ทำให้งานดนตรีนั้นได้รับการ ยอมรับ อธิบายถึงเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง เปรียบเทียบ ความแตกตา่ งระหว่างงานดนตรีของตนและผู้อ่ืน นำเสนอหรือจัดการแสดงดนตรีท่ีเหมาะสมโดยการบูรณาการกับ สาระการเรียนรู้อื่นในกลุ่มศิลปะ ร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิคการร้องการเล่นการ แสดงออก และคุณภาพเสียง แต่งเพลงสั้นๆ จังหวะง่าย ๆ โดยใช้ทักษะกระบวนการคิด ทักษะกระบวนการ แก้ปัญหา ทักษะกระบวนการใช้ชีวิต ทักษะกระบวนการสื่อสาร และทักษะกระบวนการใช้เทคโนโลยี เพื่อให้มี ความรู้ความเข้าใจ กล้าคิด กล้าแสดงออกทางศลิ ปะอยา่ งสรา้ งสรรค์ เห็นคุณคา่ ซ่อื สตั ย์สุจรติ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่ อยา่ งพอเพยี ง มุง่ ม่นั ในการทำงาน รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ รักความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ และสามารถประยุกต์ใช้ ในชวี ติ ประจำวนั รหัสตัวช้ีวัด ศ2.1ม.3/5 ศ2.1ม.3/1 ศ2.1ม.3/2 ศ2.1ม.3/3 ศ2.1ม.3/4 ศ2.1ม.3/6 ศ2.1ม.3/7 ศ2.2ม.3/1 ศ2.2ม.3/2 รวมทั้งหมด 9 ตัวชี้วดั

ผังมโนทศั น์ รายวชิ าศิลปะ-ดนตรี ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาป่ีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 สร้างสรรค์ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 ทกั ษะดนตรี องค์ประกอบดนตรี จำนวน 10 ชว่ั โมง : 25 คะแนน จำนวน 2 ช่ัวโมง : 5 คะแนน รายวิชา รายวิชาศิลปะ-ดนตรี ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 1 คาบ/สัปดาห์ จำนวน 20 คาบ/ภาคเรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 ดนตรีกบั มรดกทาง วฒั นธรรมจำนวน 8 ชั่วโมง : 20 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์องค์ประกอบดนตรี เวลา 8 ชั่วโมง ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการ ความรู้ – การศกึ ษาคน้ ควา้ – องคป์ ระกอบดนตรใี นงานศิลปะอ่นื – การวิเคราะห์ – การจาแนก – ใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรใี นการสรา้ งสรรค์ – การเปรยี บเทียบ บทเพลง – ความแตกต่างของเพลงไทยและเพลง – การอภิปราย สากล – การปฏิบตั ิ สร้างสรรค์ – การสงั เกต องคป์ ระกอบดนตรี – การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ภาระงาน/ชิน้ งาน คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม – การทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน – การแยกประเภท – มเี จตคติท่ีดที ่ีมตี อ่ การใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรี – การศกึ ษาคน้ ควา้ รว่ มกบั งานศลิ ปะอ่นื – การทาตารางเปรียบเทียบ – การทาแบบวิเคราะห์ – เห็นความสาคญั ของลกั ษณะ รูปทรง ของ – การประพนั ธเ์ พลง เคร่ืองดนตรไี ทยท่เี ป็นเอกลกั ษณข์ องชาติ – การเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรี – การทารายงาน – มีระเบียบวนิ ยั และความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ในการ – ใบงาน ปฏิบตั ิกิจกรรม – มีจติ สานึกในการอนรุ กั ษเ์ พลงไทยและดนตรี ไทย

ผงั การออกแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์องค์ประกอบดนตรี ข้ันท่ี 1 ผลลัพธ์ปลายทางทต่ี ้องการให้เกิดขนึ้ กบั นักเรียน ตวั ชี้วัดช้ันปี 1. เปรียบเทียบองคป์ ระกอบที่ใชใ้ นงานดนตรีและงานศิลปะอื่น (ศ 2.1 ม. 3/1) 2. อธิบายเหตผุ ลในการเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรีในการสร้างสรรคง์ านดนตรีของตนเอง (ศ 2.1 ม. 3/4) 3. เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งงานดนตรีของตนเองและผอู้ ่ืน (ศ 2.1 ม. 3/5) ความเข้าใจทคี่ งทนของนักเรียน คาถามสาคัญท่ีจะทาให้เกิดความเข้าใจคงทน นกั เรียนจะเข้าใจว่า... 1. องคป์ ระกอบดนตรีในงานศิลปะมีความเกี่ยวขอ้ ง 1. องคป์ ระกอบดนตรีในงานศิลปะมีความ กบั งานศิลปะแขนงใดบา้ ง เกี่ยวขอ้ งกบั สาระทศั นศิลป์ และนาฏศิลป์ 2. การเรียบเรียงทานองเพลงจาเป็นตอ้ งอาศยั สิ่งใด 2. การเรียบเรียงทานองเพลงตอ้ งอาศยั จงั หวะใน ช่วยใหบ้ ทเพลงมีความไพเราะ การทาใหบ้ ทเพลงไพเราะข้นึ 3. อะไรเป็นส่ิงท่ีทาใหเ้ พลงไทยเดิมกบั เพลงสากล 3. เพลงไทยเดิมกบั เพลงสากลแตกต่างกนั ที่เห็นได้ แตกตา่ งกนั ชดั ที่สุดคือ ทานองและสาเนียงเพลง ความรู้ของนกั เรียนทนี่ าไปสู่ความเข้าใจทค่ี งทน ทกั ษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนาไปสู่ความ นกั เรียนจะรู้ว่า... เข้าใจที่คงทน 1. คาสาคญั ที่ควรรู้ไดแ้ ก่ กระพุง้ ควนั จาก น้าแขง็ แหง้ ควนั จากน้ายาเคมี นม หยอ่ ง เมโทร นกั เรียนจะสามารถ... โนม จินตลีลา เคร่ืองราชบรรณาการ ประพาส 1. อธิบายไดว้ า่ รูปร่าง รูปทรง ลวดลาย 2. รูปร่าง รูปทรง ลวดลายบนเคร่ืองดนตรีไทยมี ของเคร่ืองดนตรีไทยสมั พนั ธก์ บั ศิลปะแขนงอื่น ความสมั พนั ธ์กบั รูปทรงทางวิชาทศั นศิลป์ อยา่ งไร 2. เลือกใชจ้ งั หวะในการเรียบเรียงทานองเพลงได้ 3. อิทธิพลของเครื่องดนตรีไทยไดร้ ับมาจากมอญ อยา่ งเหมาะสม และอินเดียเป็ นส่วนใหญ่ 3. อธิบายความแตกตา่ งระหวา่ งเพลงไทยกบั เพลง 4. จงั หวะฉิ่งเสียง “ฉ่ิง” จะเป็นจงั หวะเบา เสียง สากลได้ “ฉบั ” จะเป็นจงั หวะหนกั 5.เครื่องมือท่ีใชส้ าหรับวดั ความเร็วของจงั หวะ ในทางดนตรีสากลเรียกวา่ “เมโทรโนม” 4 4

6. จงั หวะ จะพบไดใ้ นเพลงป็อบปูล่า (เพลง ประชานิยม) ส่วนจงั หวะ 2/4 จะพบไดใ้ นเพลง มาร์ชและเพลงปลุกใจต่าง ๆ เช่น เพลงชาติ เพลง กราวกีฬา เป็นตน้ 7. เอกลกั ษณ์ของเพลงไทยที่โดดเด่นคือ การเอ้ือน 8. การประสานเสียงในดนตรีไทยจะใชเ้ ครื่องดนตรี ในการแปรทานองออกไป ส่วนดนตรีสากลการ ประสานเสียงท่ีนิยมกนั ในปัจจุบนั มีอยู่ 2 แบบคือ แบบแคนนอนและแบบราวนด์ ข้ันที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซ่ึงเป็ นหลักฐานท่ีแสดงว่านกั เรียนมผี ลการเรียนรู้ตามท่ี กาหนดไว้อย่างแท้จริง 1. ภาระงานทนี่ ักเรียนต้องปฏิบตั ิ - ทาแบบวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบดนตรี - ทาตารางเปรียบเทียบงานดนตรีและงานศิลปะอ่ืน - ประพนั ธเ์ พลงงา่ ย ๆ ในอตั ราจงั หวะ 4/4 และ 2/4 - รายงานการใชเ้ หตุผลในการเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรีสร้างสรรคเ์ พลงของตนเอง - ตารางเปรียบเทียบงานดนตรีของไทยและตา่ งชาติ 2. วธิ ีการและเคร่ืองมือประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ เคร่ืองมือประเมินผลการเรียนรู้ - การทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน - การสนทนาซกั ถามครูผสู้ อน - แบบสงั เกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรม - การแสดงความคดิ เห็น การอภิปราย - แบบประเมินการขบั ร้องประสานเยง - การฝึกปฏิบตั ิกิจกรรมระหวา่ งเรียน - แบบบนั ทึกขอ้ มูลการแสดงความคิดเห็นและการ - การประเมินตนเองของนกั เรียน อภิปราย - การประเมินผลดา้ นความรู้ - ใบงาน - การประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ - แบบประเมินผลดา้ นความรู้ ค่านิยม - แบบประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ - การประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ค่านิยม - แบบประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 3. สิ่งทม่ี ุ่งประเมิน - ความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละแยกแยะองคป์ ระกอบดน2ตรีท่ีเก่ียวข4อ้ งกบั งานศิลปะอื่น 44

- ความสามารถในการประพนั ธ์เพลงง่าย ๆ ในอตั ราจงั หวะ และ - ความสามารถในการเปรียบเทียบงานดนตรีและงานศิลปะอื่น - ความสามารถในการเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรี - ความสามารถในการวิเคราะห์องคป์ ระกอบของดนตรีไทยและดนตรีสากล - ความสามารถในการอธิบายลกั ษณะการประสานเสียงในดนตรีไทยและดนตรีสากล - พฤติกรรมในการปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกบั ผอู้ ื่นดว้ ยความซื่อสัตยค์ วามรับผดิ ชอบและการยอมรับผอู้ ่ืน ข้ันท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู้ 2 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 การใชอ้ งคป์ ระกอบในการสร้างสรรค์ 1 ชว่ั โมง 2 ชวั่ โมง งานดนตรีและศิลปะแขนงอ่ืน แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เทคนิคที่ใชใ้ นการสร้างสรรค์ 3 ชว่ั โมง งานดนตรีและศิลปะแขนงอื่น แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 การเลือกใชจ้ งั หวะในการสร้างสรรค์ บทเพลงและการเรียบเรียงทานองเพลง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 การเปรียบเทียบความแตกต่างของบทเพลง สาเนียง อตั ราจงั หวะ รูปแบบของบทเพลง การประสานเสียง เครื่องดนตรีที่ใชบ้ รรเลง

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทักษะดนตรี เวลา 8 ช่ัวโมง ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ – เทคนิคและการแสดงออกในการขบั – การศกึ ษาคน้ ควา้ –รอ้ งและบรรเลงดนตรีเด่ยี วและรวมวง – การฝึกปฏิบตั ิจรงิ – การประพนั ธเ์ พลงเบือ้ งตน้ – การคดิ วิเคราะห์ – การจดั การแสดงดนตรีในโอกาสต่าง ๆ – การอภปิ ราย – การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ทักษะดนตรี ภาระงาน/ชนิ้ งาน คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม – การทาแบบทดสอบก่อนเรยี นและ – มีเจตคติท่ีดีในการฝึกขบั รอ้ งเพลงไทยและ หลงั เรยี น เพลงสากลและการฝึกปฏิบตั ิเครื่องดนตรี – การประพนั ธเ์ พลงงา่ ย ๆ – เหน็ ความสาคญั ของเพลงไทยและดนตรี – การฝึกปฏบิ ตั ขิ ลยุ่ รคิ อรเ์ ดอร์ ไทยซง่ึ เป็นเอกลกั ษณข์ องชาติ – การทารายงาน – มรี ะเบียบวินยั และความซื่อสตั ยส์ จุ รติ ใน – การจดั งานแสดงดนตรีในโอกาสตา่ ง ๆ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม – ใบงาน – มจี ิตสานกึ ในการอนรุ กั ษเ์ พลงไทยและ – การทาโครงงาน ดนตรีไทย

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทักษะดนตรี ผงั การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ข้ันที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางท่ีต้องการให้เกิดขึน้ กบั นกั เรียน ตวั ชี้วัดช้ันปี 1. ร้องเพลง เลน่ ดนตรีเดี่ยว และรวมวงโดยเนน้ เทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออกและคุณภาพเสียง (ศ 2.1 ม. 3/2) 2. แต่งเพลงส้นั ๆ จงั หวะงา่ ย ๆ (ศ 2.1 ม. 3/3) 3. นาเสนอหรือจดั การแสดงดนตรีที่เหมาะสมโดยการบูรณาการกบั สาระการเรียนรู้อื่นในกลุม่ ศิลปะ (ศ. 2.1 ม. 3/7) ความเข้าใจท่ีคงทนของนกั เรียน คาถามสาคัญทจี่ ะทาให้เกิดความเข้าใจคงทน นักเรียนจะเข้าใจว่า... 1. เสียงท่ีเปลง่ ออกมาโดยไม่มีความหมายแต่เป็น 1. เสียงท่ีเปลง่ ออกมาโดยไม่มีความหมายแต่เป็น ทานองประกอบคาร้องในเพลงไทยเรียกวา่ อะไร ทานองประกอบคาร้องในการขบั ร้องเพลงไทย 2. แนวปฏิบตั ิในการร้องเพลงสากล และการควบคุม เรียกวา่ “การเอ้ือน” ลมหายใจมีก่ีระดบั อะไรบา้ ง 2. การควบคุมลมหายใจในการร้องเพลงมี 3 ระดบั 3. จงั หวะ 2/4 จะพบไดใ้ นเพลงแบบใดและจงั หวะ 4/4 คอื นิยมใชใ้ นเพลงรูปแบบใด 1) ระดบั ทรวงอก 2) ระดบั ไหปลาร้า 3) ระดบั กระบงั ลม 2 3. จงั หวะ 4 จะใชใ้ นเพลงมาร์ชและเพลงปลุกใจ ส่วนจงั หวะ4 จะใชใ้ นเพลงป็อบปลู ่าทว่ั ๆ ไป ทกั ษะ/ความสามารถของนักเรียนทีน่ าไปสู่ความเข้าใจ ความรู้ของ4นักเรียนที่นาไปสู่ความเข้าใจทค่ี งทน นักเรียนจะรู้ว่า... ที่คงทนนกั เรียนจะสามารถ... 1. คาสาคญั ที่ควรรู้ไดแ้ ก่ ดิสโก้ บอสโนวา่ บีกิน 1. ปฏิบตั ิขลุ่ยรีคอร์เดอร์ในสเกลเมเจอร์และไมเนอร์ ร็อก โซล ได้ และสามารถบรรเลงเพลงตามแบบฝึกหดั ที่ 2. ส่วนประกอบของขลุ่ยรีคอร์เดอร์มีอะไรบา้ ง กาหนดใหไ้ ด้ รวมท้งั วิธีการจบั และวิธีการเป่ าท่ีถูกตอ้ งควร 2. ใชเ้ ทคนิคการร้องเพลงไทยและเพลงสากลเบ้ืองตน้ ปฏิบตั ิอยา่ งไร และสามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ 3. บนั ไดเสียงเมเจอร์และไมเนอร์ ท่ีใชฝ้ ึกกบั ขลยุ่ รี 3. แตง่ ทานองและจงั หวะเพลงง่าย ๆ ในอตั ราจงั หวะ คอร์เดอร์เป็นอยา่ งไร 2/4 และ 4/4 ได้

4. ลกั ษณะเพลงที่ใชฝ้ ึกเป่ าขลุ่ยรีคอร์เดอร์อยใู่ น บนั ไดเสียงใดและใชอ้ ตั ราจงั หวะเทา่ ไร 5. การใชเ้ ทคนิคการร้องเพลงแบบตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ ง ถกู ตอ้ งและเหมาะสมมีอะไรบา้ ง 6. ความรู้เกี่ยวกบั อตั ราจงั หวะพ้ืนฐานมีอะไรบา้ ง และวธิ ีการประพนั ธ์เพลงง่าย ๆ ทาอยา่ งไร ข้ันที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึ่งเป็ นหลกั ฐานท่ีแสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามท่ี กาหนดไว้อย่างแท้จริง 1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏิบตั ิ - ฝึกปฏิบตั ิการขบั ร้องเพลงไทยและเพลงสากลตามเทคนิคการขบั ร้องเพลงพ้ืนฐาน - ฝึกปฏิบตั ิขลยุ่ รีคอร์เดอร์ตามบนั ไดเสียงรวมถึงเพลงท่ีกาหนดใหใ้ นแบบฝึกหดั เพ่อื ทาการประเมินผลการ เรียนรู้ และทารายงานเรื่อง ขลยุ่ รีคอร์เดอร์ - ประพนั ธท์ านองเพลงดว้ ยอตั ราจงั หวะ 2/4 และ 4/4 ลงในสมดุ บรรทดั 5 เส้น - จดั การแสดงดนตรีในโอกาสตา่ ง ๆ 2. วิธีการและเคร่ืองมือประเมินผลการเรียนรู้ วธิ ีการประเมินผลการเรียนรู้ เครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ - การทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน - การสนทนาซกั ถามโดยครู - แบบสงั เกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรม - การแสดงความคิดเห็นและการอภิปราย - แบบประเมินความสามารถในการร้องเพลง - การฝึกปฏิบตั ิกิจกรรมระหวา่ งเรียน - แบบประเมินทกั ษะในการประพนั ธ์เพลง - การประเมินตนเองของนกั เรียน - แบบประเมินความสามารถในการบรรเลงขลยุ่ ริ - การประเมินผลดา้ นความรู้ คอร์เดอร์ - การประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม - แบบบนั ทึกขอ้ มูลการแสดงความคิดเห็นและการ - การประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ อภิปราย - ใบงาน - แบบประเมินผลดา้ นความรู้ - แบบประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม - แบบประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 3. ส่ิงที่ม่งุ ประเมิน

- ความสามารถในการปฏิบตั ิการร้องเพลงไทยและเพลงสากลตามเทคนิคการร้องเพลงพ้นื ฐานท่ีกาหนดให้ ได้ - ความสามารถในการปฏิบตั ิขลุ่ยริคอร์เดอร์ - ความสามารถในการประพนั ธเ์ พลงง่าย ๆ ใหม้ ีทานองเพลงที่ไพเราะ - ความคดิ สร้างสรรคใ์ นการจดั รูปแบบการแสดงดนตรีในโอกาสตา่ ง ๆ - พฤติกรรมในการปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกบั ผอู้ ื่นดว้ ยความรับผิดชอบและยอมรับความคดิ เห็นของผอู้ ่ืน ข้นั ที่ 3 แผนการจดั การเรียนรู้ 4 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 เทคนิคในการแสดงออกการขบั ร้อง 2 ชวั่ โมง 2 ชวั่ โมง และบรรเลงดนตรีเด่ียวและรวมวง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 การประพนั ธเ์ พลงเบ้ืองตน้ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 การจดั การแสดงดนตรีในโอกาสตา่ ง ๆ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 ดนตรีกบั มรดกทางวฒั นธรรม ผงั มโนทศั น์เป้าหมายการเรียนรู้ ดนตรกี บั มรดกทาง เวลา 2 ช่ัวโมง ความรู้ วฒั นธรรม ทักษะ/กระบวนการ - อิทธิพลของดนตรีตอ่ บคุ คล - การศกึ ษาคน้ ควา้ - อิทธิพลของดนตรีตอ่ สงั คม - การวิเคราะห์ - ประวตั ดิ นตรีไทยในยคุ สมยั ตา่ ง ๆ - การจาแนก - ประวตั ดิ นตรตี ะวนั ตกในยคุ สมยั ตา่ ง ๆ - การเปรียบเทียบ - ลกั ษณะเด่นของดนตรีไทย - การอธิบาย - ลกั ษณะเด่นของดนตรีสากล - การบรรยาย - การอภปิ ราย ภาระงาน/ชิน้ งาน - การสงั เกต - การทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและ - การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั หลงั เรยี น - การอธิบายเก่ียวกบั อทิ ธิพลของดนตรี คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม ท่มี ีตอ่ บคุ คลและสงั คม - การบรรยายวิวฒั นาการของดนตรแี ต่ - มเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ การเรียนเรอ่ื ง ดนตรีกบั ละยคุ สมยั มรดกทางวฒั นธรรม - การอภิปรายลกั ษณะเดน่ ท่ที าใหง้ าน ดนตรนี น้ั ไดร้ บั การยอมรบั - เหน็ คณุ ค่าและความสาคญั ของประวตั ิ - การทารายงาน ดนตรไี ทยและสากล - ใบงาน - การทาโครงงาน - มรี ะเบยี บวินยั และความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ในการปฏิบตั กิ ิจกรรม - มีจติ สานกึ และหวงแหนในคณุ ค่าของ ดนตรไี ทย

ผงั การออกแบบการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 ดนตรีกบั มรดกทางวัฒนธรรม ข้นั ที่ 1 ผลลพั ธ์ปลายทางทตี่ ้องการให้เกดิ ขึน้ กบั นักเรียน ตวั ชีว้ ดั ช้ันปี 1. อธิบายเก่ียวกบั อิทธิพลของดนตรีที่มีตอ่ บุคคลและสังคม (ศ 2.1 ม. 3/6) 2. บรรยายววิ ฒั นาการของดนตรีแตล่ ะยคุ สมยั (ศ 2.2 ม. 3/1) 3. อภิปรายลกั ษณะเด่นท่ีทาใหง้ านดนตรีน้นั ไดร้ ับการยอมรับ (ศ 2.2 ม. 3/2) ความเข้าใจที่คงทนของนกั เรียน คาถามสาคญั ทจี่ ะทาให้เกดิ ความเข้าใจคงทน นกั เรียนจะเข้าใจว่า... 1. ดนตรีไทยแบง่ เป็นสมยั ใดบา้ ง 1. ประวตั ิดนตรีไทยในสมยั ต่าง ๆ แบง่ เป็น 2. ดนตรีตะวนั ตกแบ่งเป็นยคุ สมยั ใดบา้ ง ดนตรีไทยสมยั สุโขทยั ดนตรีไทยสมยั อยธุ ยา 3. อิทธิพลของดนตรีมีผลต่อส่ิงใดบา้ ง ดนตรีไทยสมยั ธนบรุ ี ดนตรีไทยสมยั รัตนโกสินทร์ 4. ปัจจยั ท่ีทาให้งานดนตรีไดร้ ับการยอมรับมีอะไรบา้ ง 2. ประวตั ิดนตรีตะวนั ตกในยคุ สมยั ตา่ ง ๆ แบ่งเป็น ยคุ กลาง ยคุ ฟ้ื นฟศู ิลปวิทยา ยคุ บาโรก ยคุ คลาสสิก ยคุ โรแมนติก ยคุ ศตวรรษที่ 20 3. อิทธิพลของดนตรี ไดแ้ ก่ อิทธิพลของดนตรีตอ่ บคุ คล อิทธิพลของดนตรีต่อสังคม 4. ปัจจยั ท่ีทาใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ ไดแ้ ก่ ลกั ษณะเด่นของดนตรีไทย ลกั ษณะเด่นของดนตรี สากล ความรู้ของนักเรียนทีน่ าไปสู่ความเข้าใจท่คี งทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนทีน่ าไปสู่ความเข้าใจ นกั เรียนจะรู้ว่า... ทค่ี งทน 1. คาสาคญั ท่ีควรรู้ไดแ้ ก่ พาทย์ สองหนา้ อินโดจีน นักเรียนจะสามารถ... 2. ดนตรีไทยสมยั สุโขทยั ท่ีสาคญั ๆ คือ 1. อธิบายเกี่ยวกบั อิทธิพลของดนตรีท่ีมีต่อบคุ คลและ วงปี่ พาทยแ์ ละวงเคร่ืองหา้ ในสมยั สุโขทยั รับ สังคมได้ อิทธิพลมาจากวงปัญจดุริยางคข์ องอินเดีย 2. บรรยายวิวฒั นาการของดนตรีแต่ละยคุ สมยั ได้ 3. ดนตรีไทยสมยั อยธุ ยาท่ีโดดเด่น ไดแ้ ก่ 3. อภิปรายลกั ษณะเด่นท่ีทาให้งานดนตรีไดร้ ับการ วงมโหรี วงเคร่ืองสาย ยอมรับได้ 4. ดนตรีไทยสมยั ธนบรุ ี มีเครื่องดนตรีของต่างชาติ มาเพม่ิ 5. ดนตรีไทยสมยั รัตนโกสินทร์ที่สาคญั ๆ คือ

1) สมยั รัชกาลที่ 1 มีการเพ่มิ กลองทดั ข้ึนในวงป่ี พาทยเ์ ป็น 2 ลกู และเพ่มิ ระนาดในวงมโหรีอีก 1 ราง 2) สมยั รัชกาลที่ 2 มีปี่ พาทยบ์ รรเลงประกอบเสภา มีเครื่องดนตรีที่เรียกวา่ สองหนา้ และเพ่ิมฆอ้ งวง ในวงมโหรี 3) สมยั รัชกาลท่ี 3 เกิดระนาดทมุ้ ฆอ้ งวงเลก็ เกิด วงป่ี พาทยเ์ คร่ืองคู่ 4) สมยั รัชกาลท่ี 4 เกิดระนาดเอกเหลก็ และ ระนาดทุม้ เหลก็ เกิดวงปี่ พาทยเ์ ครื่องใหญ่ 5) สมยั รัชกาลท่ี 5 เกิดเพลงสาเนียงภาษา ต่าง ๆ มี การร้องประสานเสียงคลา้ ยแบบตะวนั ตก มีการ ประพนั ธ์เพลงสรรเสริญพระบารมี เกิดวงป่ี พาทย์ ดึกดาบรรพ์ เกิดกลองตะโพน และฆอ้ งชยั 6) สมยั รัชกาลท่ี 6 นิยมร้องรับดนตรีเป็นเพลงเถา มีการนาเพลงชวามาดดั แปลงเป็นเพลงไทย เกิดวงป่ี พาทยม์ อญและวงเคร่ืองสายผสม 7) สมยั รัชกาลท่ี 7 เกิดบทเพลงที่มีความไพเราะ และเป็นอมตะมาจนถึงปัจจุบนั จากพระ– ราชนิพนธ์ของรัชกาลท่ี 7 คอื เพลงราตรีประดบั ดาวเถา เพลงเขมรละออองคเ์ ถา และเพลงคลื่น– กระทบฝั่ง 3 ช้นั และมีการใชต้ วั เลขบนั ทึกแทน เสียงดนตรีไทย 8) สมยั รัชกาลท่ี 8 ดนตรีไทยเขา้ สู่ภาวะซบเซา เพราะรัฐบาลไมส่ นบั สนุน และพยายามให้ ประชาชนเลน่ ดนตรีตะวนั ตก มีการนาทานองเพลง สากลมาผสมผสานกบั เพลงไทยและมีการแตง่ เพลง ปลุกใจ 9) สมยั รัชกาลท่ี 9 มีการนากฎเกณฑท์ ฤษฎีของ ดนตรีตะวนั ตกมาใชก้ บั เพลงไทยและเกิดวงดนตรี สากลข้ึนมากมาย

6. ประวตั ิของดนตรีตะวนั ตกยคุ สมยั ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ 1) ยคุ กลาง (Middle Period) ค.ศ. 500–1400 ส่วน ใหญ่เป็นเพลงท่ีใชร้ ้องในโบสถ์ เพื่อสรรเสริญ พระเจา้ เพยี งอยา่ งเดียว 2) ยคุ ฟ้ื นฟศู ิลปวทิ ยา (Renaissance Period) ค.ศ. 1400–1600 เริ่มมีการผสมผสานระหวา่ งเพลง พ้ืนบา้ นกบั เพลงที่ใชใ้ นโบสถ์ 3) ยคุ บาโรก (Baroque Period) ค.ศ. 1600–1750 มีการบรรเลงดนตรีที่หลากหลาย เริ่มมีการผสมวง ออร์เคสตร้า 4) ยคุ คลาสสิก (Classic Period) ค.ศ. 1750–1820 เคร่ืองดนตรียคุ น้ีมีวิวฒั นาการจนสมบรู ณ์ที่สุด วง ออร์เคสตร้าใชเ้ คร่ืองดนตรีครบทุกประเภท 5) ยคุ โรแมนติก (Romantic Period) ค.ศ. 1820- 1900 นาหลกั การของยคุ คลาสิกมาผสมผสานกบั การใส่อารมณ์เขา้ ไปในบทเพลง มีการเพิ่มขนาดวง ออร์เคสตร้าใหใ้ หญ่ข้นึ คีตกวีที่สาคญั คือ ลดุ วิก ฟาน เบโทเฟน 6) ยคุ ศตวรรษท่ี 20 (Modern Period) ค.ศ. 1900– ปัจจุบนั มีการนาเสียงเครื่องอิเลก็ ทรอนิกส์มาใช้ เป็นเคร่ืองดนตรี มีการผสมผสานระหวา่ งดนตรี แอฟริกา อเมริกา และยโุ รป เกิดวงดนตรีแจ๊ส (Jazz) มีการใชบ้ นั ไดเสียง 12 เสียง มีการประสาน เสียงแบบใหม่ ๆ มีการใชเ้ ทคโนโลยใี หม่ ๆ ทาให้ ดนตรีมีความหลากหลาย 7. อิทธิพลของดนตรีที่มีผลต่อบคุ คล เช่น ช่วยกระตนุ้ พฒั นาการของเด็ก ช่วยผอ่ นคลาย ความเครียด ใชบ้ าบดั รักษาอาการเจ็บป่ วย 8. อิทธิพลของดนตรีต่อสังคม เช่น การฟังเพลง จากอินเทอร์เน็ต วทิ ยุ การชมคอนเสิร์ต การแต่ง

กายตามแฟชนั่ ของนกั ร้อง การผลิต CD เพลง การ ดาวน์โหลดเพลง 9. ลกั ษณะเด่นของดนตรีไทยที่ทาใหง้ านดนตรี ไดร้ ับการยอมรับ ไดแ้ ก่ ดา้ นภาษา เน้ือร้อง ดา้ นสาเนียง 10. ลกั ษณะเด่นท่ีทาใหง้ านดนตรีสากลไดร้ ับการ ยอมรับ ไดแ้ ก่ โนต้ เพลง เคร่ืองดนตรี วงดนตรี ข้ันที่ 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรียนรู้ซ่ึงเป็ นหลักฐานทแ่ี สดงว่านักเรียนมผี ลการเรียนรู้ตามท่ี กาหนดไว้อย่างแท้จริง 1. ภาระงานทน่ี กั เรียนต้องปฏิบัติ - ศึกษาคน้ ควา้ และอธิบายอิทธิพลของดนตรีท่ีมีต่อบุคคล - ศึกษาคน้ ควา้ และอธิบายอิทธิพลของดนตรีที่มีตอ่ สังคม - ศึกษาคน้ ควา้ และบรรยายวิวฒั นาการของดนตรีไทย - ศึกษาคน้ ควา้ และบรรยายวิวฒั นาการของดนตรีสากล - ศึกษาคน้ ควา้ และอภิปรายลกั ษณะเด่นของดนตรีไทย ท่ีทาใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ - ศึกษาคน้ ควา้ และอภิปรายลกั ษณะเด่นของดนตรีสากล ท่ีทาใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ 2. วิธีการและเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ เคร่ืองมือประเมนิ ผลการเรียนรู้ - การทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน - การสนทนาซกั ถามครูผสู้ อน - แบบสงั เกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรม - การแสดงความคิดเห็นและการอภิปราย - แบบบนั ทึกขอ้ มลู การแสดงความคดิ เห็นและการ - การฝึกปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มระหวา่ งเรียน อภิปราย - การประเมินตนเองของนกั เรียน - ใบงาน - การประเมินผลดา้ นความรู้ - แบบประเมินผลดา้ นความรู้ - การประเมินผลทางดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และ - แบบประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ คา่ นิยม คา่ นิยม - การประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ - แบบประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 3. สิ่งทม่ี ุ่งประเมิน - ความสามารถในการอธิบายเก่ียวกบั อิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบคุ คลและสังคม - ความสามารถในการบรรยายววิ ฒั นาการของดนตรีแตล่ ะยคุ สมยั - ความสามารถในการอภิปรายลกั ษณะเด่นท่ีทาใหง้ านดนตรีน้นั ไดร้ ับการยอมรับ

- พฤติกรรมในการปฏิบตั ิกิจกรรมดว้ ยความมีระเบียบวินยั และความซื่อสัตยส์ ุจริต 1 ชวั่ โมง - การเห็นคณุ คา่ และความสาคญั ของดนตรีไทยและสากล 1 ชวั่ โมง ข้นั ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8 ประวตั ิดนตรี แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9 อิทธิพลของดนตรีและปัจจยั ที่ทาใหด้ นตรีไดร้ ับการยอมรับ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook