Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนการสอน

แผนการจัดการเรียนการสอน

Published by Dechnareen TheNdthunmethe, 2021-04-01 09:00:36

Description: แผนการจัดการเรียนการสอน ม.1

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 1

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 2 แผนการจดั การเรียนรู้รายช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ-ดนตรี จัดทำโดย นายเดชนรินทร์ เทิดทูนเมธา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตำบลช่างเค่ิง อำเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ สำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง วงดนตรแี ละบทเพลง เวลา 11 ช่วั โมง ผงั มโนทัศน์เป้าหมายการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ – ประเภทของวงดนตรี – การศึกษาคน้ ควา้ – เคร่ืองหมายและสัญลกั ษณ์ทางดนตรี – การคดิ วิเคราะห์ – การเทยี บเทยี บเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีใน – การจาแนก บทเพลงจากวฒั นธรรมต่าง ๆ – การเปรียบเทยี บ – บทเพลงสาหรบั การร้องและการบรรเลงเคร่ืองดนตรี – การสังเกต ประกอบการร้องเพลง – การอภปิ ราย – การใชแ้ ละบารุงรกั ษาเครื่องดนตรี – การปฏิบตั ิ – การนาความรู้ไปประโยชน์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั วงดนตรีและบทเพลง ภาระงาน/ชิ้นงาน คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม – การทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน – มีเจตคติทดี่ ีตอ่ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดนตรี – การจดั ประเภทวงดนตรี – เหน็ ความสาคญั และประโยชน์ของสญั ลกั ษณ์ – การอา่ นและเขียนโนต้ เพลงไทยในอตั ราจงั หวะ 2 ช้นั ทางดนตรีและเห็นความสาคญั ของวิธีการใชแ้ ละ – การอา่ นและเขยี นโนต้ สากลในกญุ แจซอลและฟาใน บารุงรกั ษาเคร่ืองดนตรีอยา่ งถูกวธิ ี บนั ไดเสียง C Major – มรี ะเบียบและวนิ ยั ในตนเอง – การเปรียบเทยี บเสียงรอ้ งและเสียงของเคร่ืองดนตรี – ปฏิบตั ิตนอยา่ งมีมารยาทในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม ในบทเพลง ร่วมกบั ผอู้ ่ืน – การร้องเพลงทส่ี นใจ – การบรรเลงเคร่ืองดนตรีประกอบการรอ้ งเพลง – การใชแ้ ละบารุงรักษาเคร่ืองดนตรี – การอธิบายวธิ ีการใชแ้ ละบารุงรกั ษาเคร่ืองดนตรี – ใบกิจกรรม – การทาโครงงาน

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 4 ผังการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วงดนตรแี ละบทเพลง ขั้นท่ี 1 ผลลพั ธป์ ลายทางท่ีต้องการให้เกิดกับขึ้นนักเรียน ตวั ช้ีวัดช้นั ปี 1. อา่ น เขียน ร้องโน้ตไทย และโนต้ สากล (ศ 2.1 ม. 1/1) 2. เปรียบเทียบเสยี งร้องและเสียงเคร่ืองดนตรีท่มี าจากวัฒนธรรมทตี่ า่ งกัน (ศ 2.1 ม. 1/2) 3. ร้องเพลงและใช้เคร่ืองดนตรบี รรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงทหี่ ลากหลายรปู แบบ (ศ 2.1 ม. 1/3) 4. จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรที ี่มาจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ (ศ 2.1 ม. 1/4) 5. ใช้และบำรุงรักษาเคร่อื งดนตรอี ยา่ งระมัดระวังและรับผดิ ชอบ (ศ 2.1 ม. 1/9) ความเข้าใจที่คงทนของนกั เรยี น คำถามสำคญั ที่ทำให้เกดิ ความเขา้ ใจที่คงทน นักเรยี นจะเขา้ ใจว่า... 1. วงดนตรีไทยแบง่ ออกเป็นกป่ี ระเภท อะไรบ้าง 1. วงดนตรีไทยแบง่ เปน็ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คอื 2. วงดนตรีสากลมลี กั ษณะเด่นอยา่ งไร วงเครื่องสาย วงปพี่ าทย์ และวงมโหรี 3. วงดนตรีพนื้ บา้ นของแตล่ ะภาคมวี งดนตรี 2. วงดนตรีสากลมีมากมายหลายประเภท เชน่ อะไรบ้าง วงดนตรแี จ๊ส วงคอมโบ วงสตรงิ วงโยธวาทิต 4. โนต้ ไทยมวี ิธีการอา่ นและเขียนอย่างไร เป็นตน้ 5. โน้ตสากลมวี ิธกี ารอ่านและเขยี นอยา่ งไร 3. วงดนตรพี ืน้ บ้านมีมากมายและแบง่ ตาม 6. การเปรียบเทียบลักษณะเสยี งร้องและเสยี งของ ภูมภิ าคของไทย เชน่ ภาคเหนือมวี งสะลอ้ ซอ เคร่ืองดนตรีในบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ ซงึ ภาคอีสานมวี งโปงลาง ภาคใต้มีวงปพ่ี าทย์ มีวธิ ีปฏิบตั อิ ยา่ งไร ชาตรี ภาคกลางมวี งกลองยาว เปน็ ตน้ 7. เพลงพื้นบา้ นของแต่ละท้องถ่ินทส่ี ามารถนำมา 4. การอ่านหรอื เขยี นโน้ตเพลงไทยในอตั ราจังหวะ ฝึกรอ้ งมเี พลงอะไรบา้ ง ยกตวั อยา่ งท้องถิน่ 2 ชน้ั ถอื เปน็ การฝึกทกั ษะพน้ื ฐานของเพลงไทย ละ 1 เพลง 5. การอา่ นหรอื เขียนโนต้ ในกุญแจซอลและฟาใน 8. ฉ่ิงมีวธิ กี ารบรรเลงให้เกิดเสียงฉงิ่ และฉบั บนั ไดเสยี ง C Major ถือเปน็ พื้นฐานในการ อย่างไร เรียนหรอื หัดเลน่ ดนตรสี ากล และโน้ตใน 9. เครอ่ื งดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรสี ากลแต่ละ กญุ แจซอลและฟาในบันไดเสยี ง C Major ถือ ประเภทมีวธิ บี ำรงุ รกั ษาอย่างไร เปน็ ภาษาสากลทน่ี กั ดนตรสี ามารถเขา้ ใจ ตรงกันในขณะท่รี ้องหรือบรรเลงดนตรรี ่วมกัน 6. การเปรียบเทียบเสยี งการรอ้ งเพลงและเสียง ของเคร่ืองดนตรใี นบทเพลงจากวัฒนธรรม ต่าง ๆ สามารถสงั เกตได้จากคณุ ภาพของ เสียงท่ีเกดิ จากวิธีการขบั รอ้ งและเครอ่ื งดนตรี ทใ่ี ช้บรรเลงในบทเพลง 7. การแสดงความสามารถทางดนตรสี ามารถทำ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 5 ไดห้ ลายวิธี เชน่ การรอ้ งเพลงหรือใช้เคร่ือง ทกั ษะ/ความสามารถของนกั เรยี นทน่ี ำไปสู่ความ ดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงดว้ ย เข้าใจท่ีคงทน บทเพลงทีห่ ลากหลายรปู แบบ นักเรียนจะสามารถ... 8. เครือ่ งดนตรีแตล่ ะชนิดหรือแต่ละประเภทมี 1. จดั ประเภทของวงดนตรีไทย วงดนตรีสากล วธิ กี ารใชแ้ ละบำรุงรักษาตามลักษณะเฉพาะ ของเคร่อื งน้นั ๆ และวงดนตรพี ื้นบ้านได้ถกู ตอ้ ง 9. การใชแ้ ละบำรงุ รกั ษาเครอ่ื งดนตรีอย่างถกู ตอ้ ง 2. อ่าน เขียน รอ้ งโน้ตไทยและโน้ตสากลได้ และปลอดภัยจะชว่ ยยดื อายุการใชง้ านของ เครอ่ื งดนตรีให้ยาวนานข้ึน ถกู ตอ้ งตามหลกั การ 3. เปรียบเทยี บลกั ษณะเสียงร้องและเสยี งของ ความรขู้ องนักเรยี นทีน่ ำไปสู่ความเขา้ ใจท่ีคงทน นักเรียนจะรู้วา่ ... เครื่องดนตรีในบทเพลงจากวฒั นธรรมต่าง ๆ 1. คำสำคัญทคี่ วรรู้ ได้แก่ โอเปรา สิละ สกึ และ ได้ถูกต้อง 4. รอ้ งเพลงและใชเ้ ครอ่ื งดนตรบี รรเลง วาสลนิ ประกอบการร้องเพลงไดอ้ ยา่ งหลากหลาย 2. วงเครือ่ งสายประกอบด้วยเครือ่ งสีและเคร่อื ง 5. ใชแ้ ละบำรงุ รกั ษาเคร่อื งดนตรีไดอ้ ยา่ ง ระมัดระวงั และปลอดภยั ดีดเป็นหลัก มเี ครอื่ งเปา่ และเครื่องตีเป็น สว่ นประกอบ วงป่ีพาทย์ประกอบด้วยเคร่ืองตี เปน็ หลักและมีปเี่ ป็นประธาน สว่ นวง มโหรีประกอบดว้ ยเคร่อื งดนตรีทกุ ประเภท 3. วงดนตรีสากลมีมากมายหลายประเภท เชน่ วงดนตรีแจ๊ส วงคอมโบ วงสตริง และวงโยธ- วาทติ เป็นตน้ ซง่ึ จะนยิ มใช้บรรเลงในงานรน่ื เริงและนยิ มบรรเลงประกอบกิจกรรมต่าง ๆ 4. วงดนตรพี นื้ บา้ นมมี ากมายและแบง่ ตาม ภูมิภาคของไทย ประกอบดว้ ยวงดนตรี พน้ื บา้ นภาคเหนอื วงดนตรีพืน้ บ้านภาคอสี าน วงดนตรพี น้ื บ้านภาคใต้ วงดนตรพี นื้ บา้ นภาค กลาง 5. เพลงไทยในอัตราจังหวะ 2 ชัน้ เปน็ เพลงทม่ี ี จังหวะไม่ชา้ หรือไม่เรว็ จนเกนิ ไป ร้องง่าย จึง เป็นเพลงท่นี ิยมนำมาขบั รอ้ ง 6. กญุ แจประจำหลักซอลเปน็ กุญแจท่ีใชส้ ำหรบั บันทึกโนต้ ท่มี ีระดบั เสยี งกลาง ๆ ไปหาระดับ เสียงสูง ๆ สว่ นกุญแจประจำหลักฟาเป็น กุญแจทใี่ ชส้ ำหรับบันทึกโน้ตทมี่ ีระดบั เสยี งตำ่ ๆ 7. วิธีการขบั รอ้ งที่ถูกตอ้ งจะส่งผลถงึ คณุ ภาพ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 6 ของเสยี งรอ้ งที่ดี และการใชเ้ ครอื่ งดนตรีใน การบรรเลงได้ถูกต้องเหมาะสมก็จะมผี ล ต่อคุณภาพของบทเพลง 8. บทเพลงทส่ี ามารถนำมาฝึกร้องหรอื บรรเลง ดนตรีมีหลายรูปแบบ เช่น บทเพลงพนื้ บา้ น ของแต่ละท้องถ่นิ บทเพลงปลุกใจต่าง ๆ บทเพลงประสานเสียง 2 แนว บทเพลง รปู แบบ ABA หรอื บทเพลงประกอบการเต้นรำ ต่าง ๆ เปน็ ต้น 9. การใชแ้ ละการบำรงุ รักษาเครอ่ื งดนตรไี ดอ้ ยา่ ง ถูกต้องจะช่วยใหเ้ กิดความปลอดภัยแกต่ นเอง และช่วยยืดอายุการใช้งานของเคร่อื งดนตรีได้ นานยิง่ ข้ึน ขนั้ ที่ 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ซง่ึ เปน็ หลักฐานทีแ่ สดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ ตามที่กำหนดไว้อยา่ งแทจ้ ริง 1. ภาระงานที่นักเรยี นต้องปฏบิ ัติ – จดั ประเภทวงดนตรี – อา่ นและเขียนโน้ตเพลงไทยในอตั ราจังหวะ 2 ชั้น – อ่านและเขียนโนต้ สากลในกุญแจซอลและฟาในบนั ไดเสียง C Major – เปรยี บเทียบเสียงรอ้ งและเสยี งของเคร่ืองดนตรีในบทเพลง – รอ้ งเพลงท่ีสนใจ – บรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบการร้องเพลง – ใช้และบำรงุ รักษาเครื่องดนตรี – อธบิ ายวธิ ีการใชแ้ ละบำรงุ รักษาเครอื่ งดนตรี 2. วิธกี ารและเคร่ืองมอื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วธิ ีการประเมนิ ผลการเรียนรู้ เคร่ืองมือประเมินผลการเรียนรู้ – การทดสอบ – การฝึกปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งเรียน – แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน – การตรวจใบงาน – การตรวจใบกิจกรรม – ใบกิจกรรม – การประเมนิ ความสามารถในการร้องเพลง – แบบประเมินความสามารถในการร้องเพลง – การประเมินความสามารถในการบรรเลง – แบบประเมินความสามารถในการบรรเลง เคร่ืองดนตรปี ระกอบการรอ้ งเพลง เครอื่ งดนตรปี ระกอบการร้องเพลง – การประเมนิ ผลด้านความรู้ – แบบประเมินผลดา้ นความรู้ – การประเมนิ ผลดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม – แบบประเมินผลดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และ และค่านิยม คา่ นยิ ม – การประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/กระบวนการ – แบบประเมินผลด้านทักษะ/กระบวนการ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 7 3. สิง่ ทม่ี งุ่ ประเมนิ 2 – จดั ประเภทวงดนตรีไทย วงดนตรีสากล และวงดนตรพี ้นื บ้านได้ – อา่ นและเขยี นโนต้ เพลงไทยในอตั ราจังหวะ 2 ชัน้ ไดถ้ ูกต้อง – อ่านและเขยี นโนต้ สากลในกญุ แจซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C Major ไดถ้ ูกต้อง – เปรยี บเทยี บเสียงร้องและเสยี งของเคร่ืองดนตรีในบทเพลงได้ – รอ้ งเพลงทสี่ นใจได้ – บรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบการรอ้ งเพลงได้ – ใชแ้ ละบำรุงรกั ษาเครื่องดนตรไี ด้ถูกต้อง – อธบิ ายวธิ กี ารใชแ้ ละบำรุงรักษาเครอื่ งดนตรไี ด้ – พฤตกิ รรมการปฏิบัตกิ จิ กรรมรว่ มกบั ผู้อื่นด้วยความซอ่ื สตั ย์ ความรบั ผิดชอบ และความสนกุ สนาน ขน้ั ที่ 3 แผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 ประเภทของวงดนตรี 3 ชั่วโมง แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 เครือ่ งหมายและสัญลกั ษณ์ทางดนตรี ช่ัวโมง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 การเปรยี บเทยี บเสยี งรอ้ งและเสียงของเครอื่ งดนตรี ในบทเพลงจากวฒั นธรรมต่าง ๆ 2 ช่วั โมง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 บทเพลงสำหรับฝกึ ร้องและการบรรเลง เคร่อื งดนตรปี ระกอบการรอ้ งเพลง 3 ชัว่ โมง แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 5 การใชแ้ ละบำรงุ รกั ษาเครื่องดนตรี 1 ชั่วโมง

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 8 แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1 ประเภทของวงดนตรี สาระท่ี 2 ดนตรี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 วงดนตรีและบทเพลง เวลา 3 ช่ัวโมง 1. สาระสำคญั วงดนตรีท้งั วงดนตรีไทย วงดนตรีสากล และวงดนตรพี ืน้ บ้านนน้ั ถกู จัดเปน็ ประเภทตาม ลกั ษณะเฉพาะ วิธกี ารบรรเลง และบทบาทหน้าทีใ่ นการบรรเลงของแตล่ ะวง 2. ตวั ชี้วดั ช้ันปี จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรที ่มี าจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ (ศ 2.1 ม. 1/4) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. จำแนกประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรที ่มี าจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ได้ (K) 2. บอกประเภทของวงดนตรที ี่ตนเองรจู้ กั หรอื เคยพบเห็นได้ถูกต้อง (K) 3. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมรว่ มกบั ผู้อนื่ ดว้ ยความซอื่ สัตย์ ความรบั ผดิ ชอบ และมคี วามสขุ (A) 4. จดั ประเภทของวงดนตรไี ทยและวงดนตรีทม่ี าจากวัฒนธรรมต่าง ๆ ได้ (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ 1. สังเกตจากพฤตกิ รรมขณะ แสดงความคดิ เหน็ ความกระตือรอื ร้นในการ ปฏิบัติกิจกรรมรายบคุ คล 2. จากการตรวจการวดั และ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม และปฏิบัติกจิ กรรมกลุ่ม ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ประจำ 2. สงั เกตจากความรับผิดชอบ 2. สังเกตจากการปฏิบตั ิ หน่วย และความมรี ะเบยี บขณะ กิจกรรมได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว 3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏิบัติกิจกรรม 3. สังเกตจากความตง้ั ใจและ ก่อนเรียน 3. สังเกตจากการยอมรบั ความ ปฏิบตั ิตามข้ันตอน 4. จากการตรวจใบกิจกรรม คดิ เหน็ ของผอู้ ื่นขณะปฏบิ ัติ กิจกรรม 5. สาระการเรยี นรู้ • วงดนตรพี ืน้ เมอื ง • วงดนตรีไทย • วงดนตรีสากล

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 9 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย การอ่าน การเขียน การอภปิ ราย การแสดงความคิดเห็น และการนำเสนอการ ปฏิบตั ิกจิ กรรม คณิตศาสตร์ การจำแนกประเภทวงดนตรี วิทยาศาสตร์ การสังเกตวงดนตรีประเภทตา่ ง ๆ สังคมศึกษาฯ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเปน็ กลุ่ม การสร้างมนุษยสมั พันธ์ และการศกึ ษา ประวัตขิ องวงดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ สขุ ศึกษาฯ การพัฒนาทกั ษะการฟงั ภาษาต่างประเทศ ชอื่ วงดนตรสี ากลและช่อื เคร่อื งดนตรสี ากล 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขัน้ ที่ 1 ข้นั นำเข้าส่บู ทเรียน 1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนเพอื่ ประเมนิ ความรู้ 2. สนทนาซกั ถามนักเรยี นว่า วงดนตรที ี่นกั เรยี นรูจ้ ักหรอื เคยพบเห็นมวี งดนตรอี ะไรบ้าง เพ่อื ประเมนิ ความรู้กอ่ นเรียน 3. ครูเปิดวีดทิ ัศน์การบรรเลงของวงดนตรปี ระเภทใดก็ได้ แล้วถามนักเรียนวา่ วงดนตรที บ่ี รรเลงอยู่ เป็นวงดนตรปี ระเภทใด ให้นักเรยี นช่วยกนั ตอบ และเฉลยคำตอบใหน้ ักเรียนทราบ ขน้ั ท่ี 2 ข้ันสอน 1. ครนู ำเสนอเน้ือหาเร่ือง ประเภทของวงดนตรี เกี่ยวกบั ประเภทของวงดนตรีไทยและประเภทของ วงดนตรีสากล โดยให้นักเรยี นดูภาพวงดนตรีในหนังสอื เรียนควบคูไ่ ปด้วย 2. ครูสนทนาซกั ถามนักเรียนวา่ นกั เรียนเคยเห็นวงดนตรีประเภทใดบ้างนอกจากวงดนตรีท่กี ล่าวมา ใหน้ ักเรยี นร่วมแสดงความคิดเห็น โดยครคู อยใหค้ วามรู้เสริม 3. แบ่งนกั เรียนออกเปน็ 2 กลมุ่ แล้วนำบัตรคำชือ่ เครอื่ งดนตรีทีใ่ ชบ้ รรเลงในวงดนตรีไทยและวง ดนตรีสากลต่าง ๆ ทจ่ี ดั ทำขนึ้ 2 ชดุ เหมือน ๆ กันแจกให้นักเรียนกลุ่มละชดุ จากนนั้ ครูเปน็ คนกำหนดใหแ้ ต่ ละกลมุ่ จัดประเภทของเคร่ืองดนตรตี ามท่ีครูบอก โดยกล่มุ ทจี่ ดั ไดเ้ รว็ และถูกตอ้ งเปน็ ฝ่ายชนะ (ครูสามารถ กำหนดประเภทของวงดนตรกี ี่วงกไ็ ด้ตามความเหมาะสม) 4. ครูอธบิ ายเรือ่ งวงดนตรพี ้นื บ้านของแตล่ ะท้องถนิ่ ใหน้ กั เรยี นฟังแล้วถามนกั เรยี นวา่ ในทอ้ งถ่นิ ของนกั เรยี นมีวงดนตรพี นื้ บา้ นวงใด และใชบ้ รรเลงในโอกาสใด ให้นกั เรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็น ข้นั ท่ี 3 ขัน้ สรปุ ให้นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ เรื่อง ประเภทของวงดนตรี โดยครูคอยให้ความรู้เสริมในส่วนทีน่ ักเรยี นไม่ เข้าใจหรือสรปุ ไม่ตรงกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขั้นที่ 4 ฝกึ ฝนผเู้ รยี น ให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ิ กิจกรรม จดั ประเภทของวงดนตรีไทย กิจกรรม จัดประเภทของวงดนตรสี ากล และกจิ กรรม จดั ประเภทของวงดนตรพี ้ืนบา้ น และชว่ ยกันเฉลยคำตอบ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 10 ขนั้ ที่ 5 การนำไปใช้ นักเรียนนำความรเู้ ร่อื ง ประเภทของวงดนตรี ไปใชใ้ นการศึกษาประเภทของวงดนตรีที่พบเห็นใน ชีวติ ประจำวนั ถา่ ยรูปเก็บไว้ และนำไปเผยแพร่ความรู้ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กิจกรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพิเศษ ศึกษาประวตั ิความเปน็ มาของวงดนตรที ี่สนใจจากแหลง่ การเรยี นรู้ต่าง ๆ หรอื หดั เล่นเครอื่ งดนตรี ในแต่ละประเภทท่ตี นเองสนใจ แล้วนำไปบรรเลงรวมวงกับเพื่อน ๆ ตามลักษณะของวงดนตรีแต่ละประเภท โดยขอคำแนะนำจากครดู นตรี หรือผรู้ ดู้ า้ นดนตรี 2. กิจกรรมสำหรบั ฝึกทกั ษะเพ่มิ เติม ศึกษาลักษณะเดน่ ของวงดนตรีประเภทต่าง ๆ เช่น ชนดิ และจำนวนของเครื่องดนตรี แนวเพลงทใี่ ช้ บรรเลง แหล่งท่มี าของวงดนตรี เปน็ ตน้ แลว้ สรปุ เป็นลักษณะเฉพาะของวงดนตรี และนำมาเลา่ ให้เพอ่ื น ๆ ฟงั 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. ห้องดนตรี 3. วีดิทัศน์การบรรเลงของวงดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ 4. รายการประกวดวงดนตรีประเภทต่าง ๆ ตามสถานีโทรทศั นห์ รือตามสถานทสี่ าธารณะ 5. ใบกิจกรรม 6. วงดนตรีไทย วงดนตรีสากล และวงดนตรีพนื้ บา้ น 7. บุคคลต่าง ๆ เชน่ ครสู อนวิชาดนตรี ครูสอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ผูท้ ่มี ีความรเู้ ร่อื งเสยี ง เปน็ ต้น 10. บนั ทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนร้.ู ....................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................ 2. ปญั หา/อุปสรรคในการจดั การเรยี นรู้..................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................ 3. สงิ่ ทไ่ี มไ่ ด้ปฏิบัติตามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรียนรู้........................................................................ ลงชอ่ื ..................................................(ผู้สอน) ( นายเดชนรนิ ทร์ เทิดทูนเมธา )

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 11 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เครอื่ งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี สาระท่ี 2 ดนตรี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วงดนตรแี ละบทเพลง เวลา 2 ช่ัวโมง 1. สาระสำคัญ การอ่านหรอื เขียนโนต้ เพลงไทยในอตั ราจงั หวะ 2 ชั้นถือเป็นการฝกึ ทกั ษะพน้ื ฐานของเพลงไทย เพราะเปน็ เพลงท่มี จี งั หวะไม่ชา้ หรอื ไมเ่ ร็วจนเกินไป ส่วนการอา่ นหรอื เขยี นโนต้ ในกุญแจซอลและฟาในบนั ได เสยี ง C Major ถือเปน็ พ้ืนฐานในการเรยี นหรอื หดั เล่นดนตรีสากล และโน้ตในกญุ แจซอลและฟาในบนั ได เสยี ง C Major ถือเปน็ ภาษาสากลที่นกั ดนตรีสามารถเข้าใจตรงกันในขณะทีร่ ้องหรือบรรเลงดนตรรี ว่ มกัน 2. ตวั ช้ีวัดช้ันปี อา่ น เขียน รอ้ งโน้ตไทย และโนต้ สากล (ศ 2.1 ม. 1/1) 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อา่ น เขยี น ร้องโนต้ ไทยและโนต้ สากลได้ (K) 2. อ่าน เขียนโนต้ สากลในกุญแจซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C Major ได้ (K) 3. ปฏบิ ัติกิจกรรมรว่ มกับผอู้ ืน่ ด้วยความซ่อื สัตย์และความรบั ผดิ ชอบ (A) 4. ปฏิบตั กิ จิ กรรมร่วมกับผูอ้ ื่นด้วยความสนกุ สนานและมนั่ ใจ (A) 5. มที กั ษะในการร้องเพลงไทยในอัตราจังหวะ 2 ช้ัน (P) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ 1. สงั เกตจากการปฏบิ ตั ติ าม แสดงความคิดเหน็ ความกระตอื รือรน้ ในการ กิจกรรมทกี่ ำหนด 2. จากการตรวจการวัดและ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 2. สังเกตจากด้านความคดิ ประเมนิ ผลการเรียนรปู้ ระจำ 2. สงั เกตจากความรบั ผดิ ชอบ สร้างสรรค์ในการปฏบิ ัติ หน่วย และความมีระเบยี บขณะ กจิ กรรม 3. จากการตรวจใบกจิ กรรม ปฏิบตั กิ ิจกรรม 3. สงั เกตจากความต้ังใจและ 3. สงั เกตจากการยอมรับความ การปฏบิ ัติตามขัน้ ตอน คดิ เหน็ ของผอู้ ื่นขณะปฏิบัติ กิจกรรม

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 12 5. สาระการเรยี นรู้ • เครอ่ื งหมายและสัญลกั ษณ์ทางดนตรี – โน้ตเพลงไทย อตั ราจงั หวะ 2 ช้ัน – โนต้ สากลในกุญแจซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C Major 6. แนวทางบรู ณาการ ภาษาไทย การอา่ น การเขยี น การแสดงความคิดเหน็ การอภปิ ราย และการนำเสนอการ ปฏบิ ัติกจิ กรรม คณติ ศาสตร์ การจำแนกและการนับจงั หวะ วทิ ยาศาสตร์ การสังเกตเครอื่ งหมายและสญั ลกั ษณ์ทางดนตรี สังคมศึกษาฯ การปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกลุ่มและการสร้างมนษุ ยสมั พนั ธ์ สขุ ศกึ ษาฯ การพฒั นาทกั ษะการฟงั ภาษาตา่ งประเทศ คำศัพท์ทางดนตรีและเครอ่ื งหมายและสญั ลกั ษณ์ทางดนตรี 7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้ันท่ี 1 ขนั้ นำเข้าสู่บทเรยี น ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา่ เครื่องหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรที ง้ั ของไทยและสากลมี ความสำคญั อยา่ งไร ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น เพื่อประเมนิ ความรู้กอ่ นเรยี น ขนั้ ที่ 2 ข้ันสอน 1. ครูนำเสนอเนือ้ หาเรือ่ ง เครอ่ื งหมายและสญั ลกั ษณท์ างดนตรี โดยอธิบายเกยี่ วกบั เคร่อื งหมาย และสญั ลักษณท์ างดนตรีไทยเกีย่ วกบั โน้ตบทเพลงไทยในอัตราจังหวะ 2 ช้ัน ใหน้ กั เรยี นทราบ โดยให้ นกั เรียนดหู นงั สอื เรียนประกอบ 2. ครเู ปิดเพลงแขกบรเทศ 2 ช้นั ให้นักเรียนฟังและใหน้ ักเรยี นเคาะตามจงั หวะฉ่ิง 3. ครูนำนักเรยี นฝกึ รอ้ งโน้ตเพลงแขกบรเทศ 2 ชั้นหลาย ๆ รอบจนจับทำนองได้ แล้วให้นักเรยี น รอ้ งเป็นเนอ้ื เพลง โดยครเู ปดิ เพลงคลอไปพรอ้ ม ๆ กัน 4. ครใู ห้นักเรียนรอ้ งเพลงแขกบรเทศพร้อม ๆ กนั โดยไม่เปิดเพลง 5. ครูสนทนาซักถามเกี่ยวกบั ปัญหาในการอ่านโนต้ และขบั รอ้ งเพลงแขกบรเทศ แล้วให้นกั เรียน รว่ มกันแสดงความคดิ เห็น 6. ครใู หน้ กั เรียนฝึกเขยี นโน้ตเพลงแขกบรเทศ 2 ชั้น หรอื โนต้ เพลงอืน่ ท่ีสนใจในสมุดคนละ 1 เพลง 7. ครูนำเสนอเน้ือหาเร่ือง เคร่อื งหมายและสญั ลกั ษณท์ างดนตรีสากล เกยี่ วกบั โนต้ สากลในกุญแจ ซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C Major 8. ครูขอตัวแทนนกั เรียนออกมาเขียนกญุ แจซอลและกุญแจฟาบนกระดานให้เพื่อน ๆ ดูเพ่อื เป็น การทบทวนความจำ จากนั้นครูให้นักเรยี นอ่านโน้ตตามระดบั เสยี งต่าง ๆ ในกญุ แจซอลและกญุ แจฟาพรอ้ ม ๆ กนั ท้งั หอ้ ง

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 13 9. ครสู นทนาซกั ถามเก่ยี วกับปัญหาในการอ่านโนต้ ในกุญแจซอลและกญุ แจฟา แล้วใหน้ ักเรยี น ร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น ข้ันท่ี 3 ขนั้ สรปุ นักเรยี นรว่ มกนั สรุปเร่ือง เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณท์ างดนตรี โดยครูคอยให้ความรู้เสรมิ ในส่วนที่ นักเรียนไมเ่ ข้าใจหรือสรุปไมต่ รงกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 4 ฝกึ ฝนผเู้ รียน ให้นักเรยี นปฏิบัติ กิจกรรม อา่ นโนต้ เพลงไทยในอัตราจงั หวะ 2 ชน้ั และกจิ กรรม อา่ นโนต้ สากลใน กุญแจซอลและฟาในบนั ไดเสยี ง C Major และชว่ ยกนั เฉลยคำตอบ ข้นั ท่ี 5 การนำไปใช้ นกั เรียนสามารถนำความรเู้ รอ่ื ง เคร่ืองหมายและสัญลกั ษณ์ทางดนตรี ไปใช้ในการอ่านภาษาทาง ดนตรีและใชข้ ับรอ้ งเพลงหรอื บรรเลงดนตรตี ามเครือ่ งหมายและสญั ลกั ษณ์ทางดนตรีไทยและดนตรีสากล เพ่ือจะไดถ้ กู ต้องตามความตอ้ งการของผปู้ ระพนั ธ์เพลงท่ีต้องการถา่ ยทอดอารมณ์ของบทเพลงออกมาได้ อย่างไพเราะ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กิจกรรมสำหรบั กลมุ่ สนใจพเิ ศษ – นักเรยี นฝกึ อ่านและเขยี นโน้ตเพลงไทยในอัตราจังหวะ 2 ชน้ั หรือโน้ตไทยทำนองง่าย ๆ และฝกึ รอ้ งหรอื บรรเลงเคร่ืองดนตรที ีส่ นใจใหถ้ ูกต้องตามโนต้ และจงั หวะ – นักเรียนฝึกอา่ นและเขียนโนต้ สากลในกุญแจซอลและฟาในบนั ไดเสียง C Major และฝกึ รอ้ งหรือ บรรเลงเคร่ืองดนตรีสนใจให้ถกู ตอ้ งตามโนต้ และจงั หวะ 2. กจิ กรรมสำหรับฝึกทกั ษะเพ่ิมเติม – นกั เรยี นศึกษาเคร่อื งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีไทยและทางสากลอ่นื ๆ เพิ่มเตมิ และฝึกใชใ้ ห้ ถกู ต้องเมื่อมกี ารร้องเพลงหรอื บรรเลงดนตรี – นักเรียนนำโนต้ เพลงท่ีฝกึ อา่ นและเขียนมารอ้ งเปน็ เพลงตามโน้ตให้ถูกต้องและแม่นยำ แลว้ นำไป ร้องในโอกาสตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม 9. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้ 1. เทปหรอื ซีดีเพลงแขกบรเทศ 2 ชั้น 2. เครื่องหมายและสญั ลกั ษณ์ทางดนตรตี ่าง ๆ 3. หอ้ งสมุด 4. ใบกิจกรรม 10. บันทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเร็จในการจัดการเรยี นรู.้ ....................................................................... แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปญั หา/อุปสรรคในการจดั การเรยี นรู้..................................................................... แนวทางการแกไ้ ข............................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 14 3. สิ่งทไ่ี ม่ได้ปฏิบัตติ ามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นร.ู้ ....................................................................... ลงชื่อ..................................................(ผู้สอน) ( นายเดชนรนิ ทร์ เทดิ ทูนเมธา )

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 15 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 3 การเปรียบเทยี บเสยี งรอ้ งและเสยี งของเครอื่ งดนตรใี นบทเพลงจากวฒั นธรรมต่าง ๆ สาระท่ี 2 ดนตรี ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 วงดนตรีและบทเพลง เวลา 2 ชวั่ โมง 1. สาระสำคญั การเปรียบเทียบเสียงขบั รอ้ งและเสยี งของเคร่ืองดนตรใี นบทเพลงจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ สามารถ สังเกตได้จากวธิ กี ารขับรอ้ งและลกั ษณะวิธกี ารบรรเลงของเคร่อื งดนตรที ่ีใช้ในวงดนตรแี ตล่ ะประเภท ซงึ่ จะมี ความแตกตา่ งกันออกไปตามลกั ษณะของผขู้ ับรอ้ งและลกั ษณะเฉพาะของเครอื่ งดนตรีนั้น ๆ ซึ่งสามารถ สังเกตได้ตามหลักการดังกล่าว 2. ตัวช้ีวดั ชั้นปี เปรยี บเทยี บเสียงรอ้ งและเสียงของเครือ่ งดนตรที ีม่ าจากวฒั นธรรมที่ตา่ งกัน (ศ 2.1 ม. 1/2) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. เปรยี บเทยี บเสยี งร้องและเสียงของเครอื่ งดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมทต่ี า่ งกันได้ (K) 2. ปฏิบตั กิ จิ กรรมด้วยความสนกุ สนาน มน่ั ใจ และมคี วามสขุ (A) 3. นำเสนอผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดว้ ยวิธกี ารรอ้ งเพลงหรอื วิธีการอ่ืน ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นยิ ม (A) 1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ 1. สังเกตจากการปฏบิ ัติตาม แสดงความคดิ เหน็ ความกระตอื รือร้นในการ กิจกรรมทก่ี ำหนด 2. จากการตรวจการวัดและ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 2. สังเกตจากการทำงานรว่ มกับ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ประจำ 2. สังเกตจากความรบั ผิดชอบ สมาชกิ ในกลมุ่ อยา่ ง หนว่ ย และความมีระเบยี บขณะ คลอ่ งแคล่ว 3. จากการตรวจใบกจิ กรรม ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 3. สังเกตจากการเคลือ่ นไหว 3. สังเกตจากการยอมรับความ รา่ งกายอย่างคลอ่ งแคล่วมัน่ ใจ คิดเห็นของผู้อนื่ ขณะปฏิบัติ กจิ กรรม

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 16 5. สาระการเรยี นรู้ • เสียงรอ้ งและเสยี งของเครื่องดนตรีในบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ – วธิ ีการขับรอ้ ง – เครื่องดนตรีที่ใช้ 6. แนวทางบรู ณาการ ภาษาไทย การอา่ น การเขียน การวิเคราะห์ การบันทึกขอ้ มลู การอภิปราย และการ นำเสนอการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม คณติ ศาสตร์ การจำแนกและการเปรียบเทียบเสยี งรอ้ งและเสยี งของเคร่อื งดนตรี วทิ ยาศาสตร์ การสงั เกตวธิ กี ารขับรอ้ งและวธิ กี ารบรรเลงของเคร่ืองดนตรี สังคมศึกษาฯ การปฏิบัติกิจกรรมเป็นกลุ่มและการสร้างมนษุ ยสมั พนั ธ์ สขุ ศึกษาฯ การพฒั นาทักษะการฟงั 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นท่ี 1 ข้นั นำเข้าสู่บทเรยี น ครขู อตัวแทนนักเรยี นออกมารอ้ งเพลงชาย 1 คน หญงิ 1 คน แล้วถามเพอ่ื น ๆ ในช้นั เรียนว่า เพ่ือนรอ้ งเพลงไพเราะหรือไม่ แล้วถามนกั เรยี นว่านกั เรียนรู้ได้อย่างไรวา่ เพอื่ นร้องเพลงไพเราะหรือไม่ ไพเราะ นักเรียนใช้หลักเกณฑอ์ ย่างไรบา้ ง เพอื่ เป็นการประเมินความรูค้ วามเขา้ ใจของนกั เรียนกอ่ นเรยี น ขน้ั ท่ี 2 ขั้นสอน 1. ครนู ำเสนอเน้ือหาเรอื่ ง การเปรียบเทยี บเสยี งร้องและเสียงของเครอื่ งดนตรีในบทเพลงจาก วฒั นธรรมตา่ ง ๆ โดยอธบิ ายเกย่ี วกบั วิธกี ารสังเกตลักษณะของวธิ กี ารขบั รอ้ งและการใช้เคร่อื งดนตรบี รรเลง ในบทเพลงตา่ ง ๆ วา่ จะต้องสังเกตในลกั ษณะเบือ้ งตน้ อยา่ งไรบา้ ง 2. ครูเปิดวีดิทัศนก์ ารขับร้องเพลงทค่ี รเู หน็ ว่าเหมาะสมให้นกั เรียนรว่ มกันชมและฟัง แลว้ ช่วยกนั วจิ ารณต์ ามหลกั การหรอื ตามวธิ กี ารทจ่ี ะต้องสังเกตว่ามเี สยี งรอ้ งและเสียงของเครอื่ งดนตรที ่บี รรเลงในเพลง ตรงตามหลกั การหรอื ไม่ อย่างไร โดยครูคอยให้คำแนะนำ และเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถาม ขน้ั ที่ 3 ขน้ั สรุป นกั เรียนร่วมกนั สรุปเร่ือง การเปรยี บเทยี บเสยี งรอ้ งและเสยี งของเคร่อื งดนตรีในบทเพลงจาก วฒั นธรรมต่าง ๆ โดยครูคอยให้ความรเู้ สริมในสว่ นทีน่ ักเรียนไมเ่ ข้าใจหรอื สรปุ ไม่ตรงกบั จดุ ประสงคก์ าร เรียนรู้ ขัน้ ท่ี 4 ฝกึ ฝนผู้เรยี น ให้นักเรยี นปฏิบัติ กิจกรรม เปรยี บเทียบเสียงร้องและเสยี งของเครอ่ื งดนตรใี นบทเพลง แล้วนำ ข้อมูลมาอภปิ ราย และรอ้ งหรือนำเสนอผลงานดว้ ยวธิ กี ารอื่น ๆ หนา้ ชน้ั เรยี น ขั้นท่ี 5 การนำไปใช้ นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่อง การเปรยี บเทียบเสียงร้องและเสียงของเครือ่ งดนตรีในบทเพลงจาก วัฒนธรรมตา่ ง ๆ ไปใชใ้ นการวเิ คราะหล์ กั ษณะการขบั รอ้ งและลักษณะการบรรเลงของเคร่อื งดนตรที ่ีใช้ใน บทเพลงท่ีตนสนใจวา่ เป็นอยา่ งไร ซ่งึ จะชว่ ยให้ได้รับคุณคา่ จากบทเพลงหรอื ดนตรีมากขนึ้

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 17 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กิจกรรมสำหรับกลมุ่ สนใจพเิ ศษ นักเรยี นหาโอกาสชมการแสดงดนตรีจากสถานทต่ี ่าง ๆ และสังเกตลักษณะการใชเ้ สยี งในการขับ ร้องและลกั ษณะการบรรเลงของเครอ่ื งดนตรีตามหลกั การ โดยการจดบนั ทกึ แล้วนำมาอภิปรายหรอื เลา่ ให้ เพื่อน ๆ ฟัง เพือ่ แลกเปล่ียนประสบการณ์ 2. กจิ กรรมสำหรับฝกึ ทกั ษะเพมิ่ เติม นกั เรยี นฟงั เพลงทีต่ นสนใจหลาย ๆ เพลง แล้วฝกึ วเิ คราะห์เสยี งขบั ร้องและเสียงของเคร่ืองดนตรที ่ี ใชว้ ่ามลี ักษณะอย่างไร พยายามฝกึ ฝนบอ่ ย ๆ จนเกิดความชำนาญ 9. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 1. วดี ทิ ัศน์เพลงประเภทตา่ ง ๆ 2. เคร่ืองดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ 3. ใบกจิ กรรม 4. หอ้ งสมดุ 5. การแสดงดนตรีตามสถานที่ตา่ ง ๆ 10. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้ 1. ความสำเร็จในการจดั การเรียนร.ู้ ............................................................................ แนวทางการพัฒนา.............................................................................................. 2. ปญั หา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นร้.ู ..................................................................... แนวทางการแก้ไข................................................................................................ 3. สง่ิ ท่ไี ม่ไดป้ ฏบิ ัติตามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้........................................................................ ลงชอ่ื ..................................................(ผู้สอน) (นายเดชนรนิ ทร์ เทดิ ทนู เมธา)

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 18 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 4 บทเพลงสำหรับฝกึ รอ้ งและการบรรเลงเครอื่ งดนตรปี ระกอบการร้องเพลง สาระที่ 2 ดนตรี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 วงดนตรแี ละบทเพลง เวลา 3 ช่วั โมง 1. สาระสำคัญ การร้องเพลงหรือใชเ้ ครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการรอ้ งเพลงด้วยบทเพลงทีห่ ลากหลายรูปแบบ เป็นการแสดงความสามารถทางดนตรีอีกวธิ ีหนง่ึ และบทเพลงที่สามารถนำมาฝกึ ร้องหรือบรรเลงดนตรนี ้ันมี หลายรปู แบบ เช่น บทเพลงพน้ื บา้ นของแตล่ ะทอ้ งถิ่น บทเพลงปลุกใจตา่ ง ๆ บทเพลงประสานเสยี ง 2 แนว บทเพลงรปู แบบ ABA หรอื บทเพลงประกอบการเต้นรำต่าง ๆ เป็นต้น ทั้งน้ขี นึ้ อยูก่ บั ความชอบหรือความ ถนัดของแต่ละบคุ คลทีต่ ้องการเลอื กนำมาร้องหรือบรรเลง 2. ตัวช้ีวดั ชั้นปี ร้องเพลงและใช้เครอ่ื งดนตรีบรรเลงประกอบการรอ้ งเพลงดว้ ยบทเพลงที่หลากหลายรปู แบบ (ศ 2.1 ม. 1/3) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายเหตุผลในการเลอื กบทเพลงสำหรบั ร้องหรือบรรเลงดนตรไี ด้ (K) 2. รอ้ งเพลงหรือบรรเลงดนตรดี ว้ ยความสนกุ สนาน มนั่ ใจ และมคี วามสขุ (A) 3. เลอื กบทเพลงสำหรับร้องหรอื บรรเลงดนตรีไดอ้ ย่างเหมาะสม (P) 4. รอ้ งเพลงและใชเ้ คร่ืองดนตรบี รรเลงประกอบการร้องเพลงดว้ ยบทเพลงท่ีหลากหลายรปู แบบได้ (P) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ 1. สงั เกตจากการปฏบิ ัติตาม แสดงความคดิ เห็น ความกระตือรือร้นในการ กจิ กรรมทกี่ ำหนด 2. จากการตรวจการวัดและ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 2. สังเกตจากการปฏบิ ตั ิ ประเมินผลการเรยี นรปู้ ระจำ 2. สงั เกตจากความรับผิดชอบ กิจกรรมรว่ มกับสมาชกิ ใน หน่วย และความมรี ะเบียบขณะ กลมุ่ อยา่ งคล่องแคล่ว 3. จากการตรวจใบกจิ กรรม ปฏิบตั ิกจิ กรรม 3. สังเกตจากการเคล่อื นไหว 3. สงั เกตจากการยอมรับความ รา่ งกายอย่างคล่องแคลว่ คดิ เหน็ ของผู้อน่ื ขณะปฏิบตั ิ มน่ั ใจ กจิ กรรม 4. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ ประเมนิ ความสามารถในการ ร้องเพลง

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 19 ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นยิ ม (A) 5. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ ประเมินความสามารถในการ บรรเลงเครื่องดนตรี ประกอบการร้องเพลง 5. สาระการเรียนรู้ • การรอ้ งและการบรรเลงเครอื่ งดนตรีประกอบการร้อง – บทเพลงพ้ืนบา้ น บทเพลงปลกุ ใจ – บทเพลงไทยเดิม – บทเพลงประสานเสยี ง 2 แนว – บทเพลงรูปแบบ ABA – บทเพลงประกอบการเตน้ รำ 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย การอ่าน การเขียน การบันทึกข้อมลู การอภิปราย และการนำเสนอการ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม คณติ ศาสตร์ การจำแนกบทเพลงประเภทตา่ ง ๆ วทิ ยาศาสตร์ การสงั เกตบทเพลงประเภทต่าง ๆ สงั คมศึกษาฯ การปฏบิ ัติกจิ กรรมเป็นกลุ่ม การสร้างมนษุ ยสมั พันธ์ และการศึกษาบทเพลง พื้นบา้ น สุขศกึ ษาฯ การพฒั นาทักษะการฟัง ภาษาตา่ งประเทศ คำศพั ท์ทางดนตรีสากลและเนือ้ เพลงสากล 7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขั้นที่ 1 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรยี น ครูขอตวั แทนนักเรยี นออกมาร้องเพลงหนา้ ชนั้ เรียน 1–2 คน ตามความเหมาะสม แล้วถามนกั เรียน ทงั้ หมดวา่ เพลงทเี่ พอื่ นรอ้ งจัดอย่ใู นเพลงประเภทใด ใหน้ ักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็น จากน้ันครูอธิบาย ใหน้ กั เรียนทราบวา่ เพลงที่เพื่อนออกมารอ้ งนนั้ จัดอยใู่ นเพลงประเภทใด ขน้ั ท่ี 2 ข้นั สอน 1. ครนู ำเสนอเนอ้ื หาเรอ่ื ง บทเพลงสำหรับฝกึ ร้องและการบรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบการร้อง เพลง โดยอธิบายเกีย่ วกับการร้องเพลงและการบรรเลงเคร่อื งดนตรีประกอบการรอ้ งดงั นี้ – บทเพลงพน้ื บา้ น – บทเพลงปลุกใจ – บทเพลงไทยเดมิ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 20 – บทเพลงประสานเสยี ง 2 แนว – บทเพลงรปู แบบ ABA (Ternary form) – บทเพลงประกอบการเต้นรำ 2. แบ่งกล่มุ นักเรียนเปน็ 6 กลุม่ ใหแ้ ต่ละกลุ่มจับสลากหวั ขอ้ บทเพลงสำหรับฝึกรอ้ งดงั นี้ 1) บทเพลงพนื้ บา้ น 2) บทเพลงปลกุ ใจ 3) บทเพลงไทยเดิม 4) บทเพลงประสานเสยี ง 2 แนว 5) บทเพลงรูปแบบ ABA (Ternary form) 6) บทเพลงประกอบการเตน้ รำ 3. ให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ออกมารอ้ งเพลงทกี่ ลุม่ จับสลากได้หนา้ ชนั้ เรยี น ขน้ั ที่ 3 ขนั้ สรุป นักเรยี นร่วมกันสรุปเร่ือง บทเพลงสำหรบั ฝึกรอ้ งและการบรรเลงเครอ่ื งดนตรปี ระกอบการร้องเพลง โดยครูคอยใหค้ วามร้เู สริมในสว่ นที่นกั เรยี นไมเ่ ขา้ ใจหรือสรุปไมต่ รงกับจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขั้นท่ี 4 ฝกึ ฝนผู้เรียน ใหน้ ักเรียนปฏบิ ัติ กิจกรรม รอ้ งเพลงท่สี นใจ และกจิ กรรม บรรเลงเครอ่ื งดนตรีประกอบการรอ้ ง เพลงท่ีตนใจ แล้วออกมานำเสนอขอ้ มลู พร้อมทั้งบอกเหตผุ ลในการเลือกรอ้ งเพลงนนั้ ข้ันท่ี 5 การนำไปใช้ นักเรียนสามารถนำความรเู้ ร่ือง บทเพลงสำหรบั ฝึกรอ้ งและการบรรเลงเคร่อื งดนตรปี ระกอบการ รอ้ งเพลง ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการเลือกบทเพลงต่าง ๆ มาฝึกร้องและฝึกบรรเลงเครื่องดนตรปี ระกอบการร้อง เพลง เพื่อใชแ้ สดงความสามารถของตนเองในโอกาสต่าง ๆ และยงั ช่วยผ่อนคลายความเครยี ดได้ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กิจกรรมสำหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ นักเรยี นร่วมกนั จัดประกวดร้องเพลงเพลงพน้ื บ้าน เพลงปลกุ ใจ เพลงไทยเดิม เพลงประสาน เสยี ง 2 แนว เพลงรูปแบบ ABA เพลงประกอบการเต้นรำ หรือเพลงรอ้ งท่วั ไป โดยผูเ้ ขา้ ประกวดจะตอ้ งเลน่ เครอ่ื งดนตรีประกอบด้วย เคร่ืองดนตรชี นิดใดก็ได้อย่างน้อย 1 ชน้ิ และเชญิ ครูหรอื ผรู้ ้ดู ้านดนตรใี นชุมชน รว่ มเปน็ คณะกรรมการในการตัดสนิ 2. กจิ กรรมสำหรับฝึกทกั ษะเพ่มิ เตมิ นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 4–5 คน ร่วมกันฝกึ รอ้ งเพลงตามตวั อยา่ งในหนังสือเรยี นหรอื เพลงอน่ื ๆ ทสี่ นใจ พรอ้ มทั้งบรรเลงเครอ่ื งดนตรีประกอบการร้องเพลงด้วย โดยใชเ้ คร่ืองดนตรีที่สมาชิกในกลุ่มเลน่ ได้ และหาโอกาสแสดงความสามารถให้ผอู้ ืน่ ไดฟ้ ังและชมในโอกาสตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม 9. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้ 1. บทเพลงประเภทต่าง ๆ 2. เครอ่ื งดนตรชี นิดต่าง ๆ 3. ผู้รู้ด้านดนตรีในชมุ ชน

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 21 4. ใบกจิ กรรม 5. ห้องสมดุ 10. บันทึกหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรยี นร.ู้ ....................................................................... แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู้..................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................ 3. สง่ิ ที่ไม่ไดป้ ฏิบัตติ ามแผน..................................................................................... เหตผุ ล............................................................................................................... 4. การปรับปรงุ แผนการจดั การเรยี นรู้........................................................................ ลงช่ือ..................................................(ผ้สู อน) ( นายเดชนรนิ ทร์ เทิดทูนเมธา )

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 22 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 5 การใชแ้ ละบำรุงรกั ษาเครอ่ื งดนตรี สาระท่ี 2 ดนตรี ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วงดนตรีและบทเพลง เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสำคญั เครื่องดนตรีแตล่ ะชนิดหรอื แตล่ ะประเภทมีวธิ กี ารใช้และการดแู ลรักษาตามลกั ษณะเฉพาะของ เคร่อื งนัน้ ๆ การใช้และการดูแลรักษาเครอื่ งดนตรตี ามหลกั วิธไี ด้อยา่ งถกู ต้องจะชว่ ยยืดอายุการใชง้ านของ เครอ่ื งดนตรีได้นานยงิ่ ขึน้ 2. ตัวชี้วัดช้ันปี ใช้และบำรงุ รกั ษาเคร่อื งดนตรอี ย่างระมดั ระวงั และรบั ผดิ ชอบ (ศ 2.1 ม. 1/9) 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายวิธกี ารใช้และบำรุงรกั ษาเครอ่ื งดนตรไี ด้ถูกตอ้ ง (K) 2. ปฏบิ ัติกจิ กรรมร่วมกบั ผู้อื่นด้วยความซ่ือสตั ย์และมีความรับผดิ ชอบ (A) 3. ใช้และบำรุงรักษาเคร่อื งดนตรีอย่างระมดั ระวงั และปลอดภัย (P) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) และค่านยิ ม (A) 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ 1. สงั เกตจากการปฏิบัติตาม แสดงความคดิ เห็น ความกระตอื รอื รน้ ในการ กิจกรรมทีก่ ำหนด 2. จากการตรวจการวดั และ ปฏบิ ัติกจิ กรรรม 2. สงั เกตจากการทำงานร่วมกับ ประเมินผลการเรยี นรูป้ ระจำ 2. สังเกตจากความรับผดิ ชอบ สมาชกิ ในกลมุ่ อยา่ ง หน่วย และความมรี ะเบยี บในการ คลอ่ งแคลว่ 3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏิบัตกิ ิจกรรม 3. สังเกตจากการเคล่อื นไหว หลังเรียน 3. สังเกตจากการยอมรบั ฟัง รา่ งกายอยา่ งคล่องแคลว่ 4. จากการตรวจใบกจิ กรรม ความคิดเห็นของผอู้ ืน่ ขณะ มั่นใจ ปฏิบตั ิกจิ กรรม 4. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ 4. ประเมนิ พฤติกรรมตามแบบ การประเมินผลด้านทักษะ/ การประเมินผลด้านคุณธรรม กระบวนการ จรยิ ธรรม และค่านยิ ม 5. สาระการเรยี นรู้ • การใชแ้ ละบำรงุ รักษาเครอื่ งดนตรีของตน

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 23 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย การอา่ น การเขียน การอภิปราย และการนำเสนอการปฏิบัตกิ จิ กรรม คณิตศาสตร์ การจับคูแ่ ละการจำแนกชนิดของเคร่ืองดนตรี วทิ ยาศาสตร์ การสงั เกตลักษณะเครอ่ื งดนตรี สังคมศึกษาฯ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเปน็ กลุ่มและการสร้างมนษุ ยสัมพนั ธ์ สุขศกึ ษาฯ การพัฒนาทักษะการฟงั การงานอาชพี ฯ การใช้และการดูแลรกั ษาเครื่องดนตรี ภาษาตา่ งประเทศ ชือ่ ของเครอ่ื งดนตรสี ากลชนดิ ตา่ ง ๆ 7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขน้ั ท่ี 1 ขั้นนำเขา้ สู่บทเรยี น ครแู บ่งนักเรียนออกเปน็ 2 กลุ่ม ให้แตล่ ะกลุม่ เลน่ เกมแขง่ ขนั กนั เขียนชอ่ื เครอ่ื งดนตรไี ทยและ เครอื่ งดนตรีสากลในเวลาทีค่ รกู ำหนด กลุม่ ใดเขยี นได้มากกว่าเปน็ ฝ่ายชนะ (นบั เฉพาะช่ือเครอ่ื งดนตรที ไ่ี ม่ซ้ำ กัน) ขน้ั ที่ 2 ข้ันสอน 1. ครูนำเคร่ืองดนตรีหรอื ภาพเครือ่ งดนตรมี าให้นักเรียนดู หรือพานักเรียนไปดูเคร่อื งดนตรีในห้อง ดนตรี และถามนักเรยี นเกีย่ วกบั ช่ือเครอื่ งดนตรีแตล่ ะช้นิ และวิธีการเล่น เพือ่ ทบทวนความจำ 2. ครูนำเสนอเนือ้ หาเรื่อง การใช้และบำรุงรักษาเครอ่ื งดนตรี เก่ยี วกบั วิธกี ารใชแ้ ละการดแู ลและ บำรุงรกั ษาเครอื่ งดนตรไี ทยและเครื่องดนตรสี ากลแต่ละชนิดใหน้ ักเรียนทราบ และให้นกั เรยี นดหู นงั สอื เรยี น ประกอบ 3. ครูนำภาพเคร่ืองดนตรมี าใหน้ ักเรยี นดทู ีละชนิด แลว้ ใหน้ กั เรียนรว่ มกันหรือเลือกสุ่มตวั แทนบอก วธิ ีการใช้และการดแู ลรักษาเครือ่ งดนตรีทีอ่ ยใู่ นภาพ โดยครคู อยอธบิ ายเพม่ิ เติม 4. ให้นกั เรยี นทดลองใชแ้ ละดแู ลรกั ษาเคร่ืองดนตรเี บ้ืองตน้ ตามที่ครคู ิดว่าเหมาะสม โดยครูคอยให้ คำแนะนำ ขน้ั ท่ี 3 ข้ันสรุป ใหน้ ักเรียนร่วมกนั สรปุ เรอื่ ง การใช้และบำรุงรกั ษาเคร่อื งดนตรี โดยครูคอยให้ความรู้เสริมในสว่ นท่ี นกั เรียนไมเ่ ขา้ ใจหรอื สรุปไมต่ รงกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ข้ันท่ี 4 ฝึกฝนผเู้ รยี น 1. ให้นกั เรยี นปฏบิ ัติ กจิ กรรม การใช้และบำรุงรกั ษาเครอ่ื งดนตรีไทยและกิจกรรม การใชแ้ ละ บำรงุ รกั ษาเครื่องดนตรสี ากล แล้วขอตวั แทนนกั เรียนออกมาสาธติ การปฏบิ ตั กิ ารใช้และบำรงุ รักษาเคร่อื ง ดนตรี 2. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 3. ให้นกั เรยี นทำโครงงานตามความสนใจ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 24 ขนั้ ท่ี 5 การนำไปใช้ นกั เรยี นสามารถนำความรู้เร่อื ง การใช้และการดแู ลรกั ษาเครื่องดนตรีเบอ้ื งตน้ ไปใช้ในการบรรเลง และดูแลรกั ษาเคร่ืองดนตรขี องตนเองตามหลักปฏบิ ตั ทิ ่ีถูกต้อง รวมทัง้ นำความรเู้ ก่ียวกบั การใชแ้ ละการดูแล รักษาเครือ่ งดนตรีในระดบั เบื้องต้นไปแนะนำใหผ้ อู้ ื่นทราบได้อย่างถูกต้อง 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กจิ กรรมสำหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ นกั เรียนศึกษาเก่ียวกับวิธีการใช้และการดแู ลรักษาเครือ่ งดนตรแี ตล่ ะชนิดเพม่ิ เติมจากครูดนตรีหรือ ผูร้ ู้ดา้ นดนตรี แลว้ ปฏบิ ตั ิตามเพอ่ื เป็นการรักษาและถนอมเครื่องดนตรใี ห้มีอายกุ ารใชง้ านที่ยาวนาน 2. กิจกรรมสำหรบั ฝกึ ทักษะเพิม่ เติม นักเรียนฝกึ ทำความสะอาดเครอ่ื งดนตรีแต่ละชนิดหรอื ประเภทตามหลักปฏบิ ตั ิอย่างถกู วิธี หรือหลัง การบรรเลงเครือ่ งดนตรี ใหป้ ฏบิ ัตติ ามวิธกี ารดูแลรักษาเคร่ืองดนตรีเบ้ืองตน้ กอ่ นเป็นลำดบั แรก เพือ่ ใหเ้ ครื่อง ดนตรีมีอายุการใช้งานทน่ี านขึ้น 9. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. เครอื่ งดนตรไี ทยและเคร่ืองดนตรีสากลชนดิ ต่าง ๆ 2. ภาพเครอ่ื งดนตรีไทยและเครอื่ งดนตรสี ากลชนดิ ตา่ ง ๆ 3. ใบกิจกรรม 4. หอ้ งดนตรี 5. หอ้ งสมดุ 10. บันทึกหลงั การจัดการเรยี นรู้ 1. ความสำเร็จในการจดั การเรียนรู.้ ....................................................................... แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นร้.ู .................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................ 3. สิ่งทไ่ี มไ่ ด้ปฏิบัตติ ามแผน..................................................................................... เหตผุ ล............................................................................................................... 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้........................................................................ ลงชอื่ ..................................................(ผู้สอน) ( นายเดชนรินทร์ เทิดทนู เมธา )

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 25 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี ผังมโนทัศนเ์ ปา้ หมายการเรยี นรู้ เวลา 4 ชัว่ โมง ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ – การถา่ ยทอดอารมณ์ของบทเพลง – การศกึ ษาคน้ ควา้ – การนาเสนอบทเพลงที่ตนเองสนใจ – การคดิ – การประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลง – การปฏิบตั ิ – กระบวนการกลุ่ม วเิ คราะห์ – การอภิปราย องค์ประกอบดนตรี – การนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ใน ชีวิตประจาวนั ภาระ/ชิ้นงาน คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยม – การทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน – มีเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดนตรี – การวิเคราะหล์ กั ษณะการสื่ออารมณ์ของบทเพลง – เหน็ ความสาคญั และประโยชน์ของการถา่ ยทอด – การคดิ ประดิษฐท์ า่ ทางเก่ียวกบั ระดบั เสียง อารมณเ์ พลง – การปฏิบตั ิท่าทางตามระดบั เสียง – มีระเบยี บและวินยั ในตนเอง – การอภปิ รายลกั ษณะความแตกตา่ งของอารมณเ์ พลง – ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งมมี ารยาทในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม – การร้องเพลงหรือเล่นดนตรีประกอบการร้องเพลง ร่วมกบั ผอู้ ื่น – การประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลงหรือดนตรี – ใบกิจกรรม – การทาโครงงาน

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 26 ผงั การออกแบบการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี ข้ันท่ี 1 ผลลพั ธ์ปลายทางท่ตี ้องการใหเ้ กิดขึ้นกับนักเรยี น ตวั ชี้วัดช้นั ปี 1. แสดงความคิดเหน็ ท่มี ีต่ออารมณข์ องบทเพลงทีม่ คี วามเรว็ ของจังหวะ และความดัง–เบาแตกต่างกัน (ศ 2.1 ม. 1/5) 2. เปรียบเทียบอารมณ์ ความรสู้ ึกในการฟงั ดนตรีแต่ละประเภท (ศ 2.1 ม. 1/6) 3. นำเสนอตวั อย่างเพลงทต่ี นเองชนื่ ชอบและอภปิ รายลกั ษณะเด่นท่ีทำให้งานนัน้ น่าชน่ื ชม (ศ 2.1 ม. 1/7) 4. ใชเ้ กณฑ์สำหรบั ประเมินคณุ ภาพงานดนตรหี รือเพลงทฟ่ี ัง (ศ 2.1 ม. 1/8) ความเข้าใจท่ีคงทนของนักเรยี น คำถามสำคญั ทท่ี ำให้เกิดความเขา้ ใจที่คงทน นักเรียนจะเขา้ ใจวา่ ... 1. จงั หวะดนตรมี ีส่วนสัมพนั ธก์ ับอารมณ์เพลง 1. บทเพลงแต่ละบทเพลงมีการถ่ายทอดอารมณ์ อย่างไร เพลงโดยอาศยั องค์ประกอบต่าง ๆ เช่น 2. ความดงั –เบามสี ่วนสมั พนั ธ์กบั อารมณเ์ พลง จงั หวะและความดัง–เบาของเสียง เป็นตน้ อย่างไร 2. การนำเสนอบทเพลงทต่ี นเองสนใจสามารถทำ 3. นักเรียนมีวิธกี ารนำเสนอบทเพลงท่ีตนเอง ได้หลายวิธี เช่น การรอ้ งเพลง การบรรเลง สนใจให้ผู้อืน่ รับรู้ได้อยา่ งไร เคร่ืองดนตรี การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของ 4. นักเรยี นมเี กณฑ์ในการประเมินคณุ ภาพของ เพลงแลว้ นำมาอภปิ ราย เปน็ ต้น งานดนตรหี รือบทเพลงทฟ่ี ังอยา่ งไร 3. บทเพลงแตล่ ะเพลงจะมลี ักษณะเด่นแตกต่าง กันไปดังน้ี ด้านเน้อื หา ดา้ นแนวเพลง และ ดา้ นองคป์ ระกอบดนตรี 4. คณุ ภาพของบทเพลงมสี ่วนช่วยทำให้บทเพลงมี คุณคา่ และเกดิ ความไพเราะได้ ความรขู้ องนกั เรียนทีน่ ำไปสู่ความเขา้ ใจทีค่ งทน ทกั ษะ/ความสามารถของนักเรียนทน่ี ำไปสู่ความ นกั เรยี นจะรวู้ ่า... เข้าใจทค่ี งทน 1. คำสำคัญท่คี วรรู้ ได้แก่ เอกภาพและอมตะ นกั เรยี นจะสามารถ... 2. ลลี าจังหวะสามารถทำให้เกดิ ความร้สู ึกหรอื 1. แสดงความคิดเห็นท่ีมีตอ่ อารมณ์ของบทเพลง อารมณต์ า่ ง ๆ ได้ เชน่ เพลงทมี่ จี ังหวะชา้ ที่มีความเร็วของจงั หวะแตกต่างกันได้ สามารถถ่ายทอดอารมณเ์ ศร้า ออ่ นหวาน หรือ 2. แสดงความคิดเห็นที่มตี ่ออารมณ์ของบทเพลง ทอ้ แทส้ ้นิ หวงั ได้ดกี วา่ เพลงทม่ี ีจังหวะเร็ว ท่มี คี วามดัง–เบาของเสยี งแตกต่างกันได้ 3. ความดงั –เบาของเสยี งรอ้ งหรือเสียงดนตรี 3. เปรยี บเทยี บอารมณแ์ ละความรู้สึกในการฟัง สามารถถ่ายทอดอารมณ์ตา่ ง ๆ ได้ เชน่ เพลง เพลงหรอื ดนตรแี ตล่ ะประเภท ที่มกี ารรอ้ งโดยใชเ้ สียงดัง ๆ กจ็ ะทำใหเ้ พลง 4. นำเสนอตัวอย่างเพลงท่ีตนเองชนื่ ชอบ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 27 นัน้ ถ่ายทอดอารมณท์ ี่ดดุ ันเขม้ แข็งมากกวา่ 5. อภิปรายลกั ษณะเด่นของเพลงที่ตนเองชื่นชอบ เพลงทใี่ ชเ้ สยี งรอ้ งเบานุ่มนวล 6. ประเมินคณุ ภาพงานดนตรหี รอื เพลงทฟ่ี งั ได้ 4. ลกั ษณะเด่นของเพลงดา้ นเนื้อหาจะต้องมีความ อยา่ งถูกต้องและเหมาะสมตามเกณฑ์ เป็นเอกภาพ ลกั ษณะเด่นของเพลงด้านแนว เพลงตรงตามกล่มุ คนฟัง และลักษณะเดน่ ของ เพลงด้านองค์ประกอบดนตรีครบ เหมาะสม และมีความสมบูรณ์ เปน็ ต้น 5. การประเมินคุณภาพของบทเพลงตอ้ งประเมิน คุณภาพดา้ นเนอ้ื หา คุณภาพดา้ นเสียง และ คุณภาพด้านองค์ประกอบดนตรี ขัน้ ท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนร้ซู ึ่งเป็นหลกั ฐานทีแ่ สดงว่านักเรยี นมผี ลการเรียนรู้ ตามท่ีกำหนดไว้อยา่ งแท้จริง 1. ภาระงานท่ีนักเรียนตอ้ งปฏบิ ัติ – วิเคราะห์จงั หวะกับการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง – วเิ คราะห์ความดัง–เบากบั การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง – ปฏิบตั ทิ ่าทางตามระดบั เสียงดังและเสียงเบา – อภปิ รายลกั ษณะการถา่ ยทอดอารมณ์ของบทเพลงที่สนใจ – ร้องเพลงหรอื นำเสนอผลการวเิ คราะห์ดว้ ยวิธกี ารต่าง ๆ – รอ้ งเพลงหรือเลน่ ดนตรปี ระกอบการร้องเพลง – อภปิ รายลักษณะเดน่ ของบทเพลงที่นำเสนอ – ประเมินคุณภาพของบทเพลงดา้ นเนื้อหา ด้านเสียง และดา้ นองค์ประกอบดนตรี 2. วธิ ีการและเคร่ืองมอื ประเมินผลการเรียนรู้ วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เครือ่ งมือประเมนิ ผลการเรียนรู้ – การทดสอบ – แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น – การสนทนาซักถามโดยครู – ใบกิจกรรม – การแสดงความคิดเห็น การอภิปราย – แบบประเมนิ ผลด้านความรู้ – การฝกึ ปฏบิ ตั ริ ะหว่างเรยี น – แบบประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ – การประเมนิ ผลดา้ นความรู้ ค่านิยม – การประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม – แบบประเมินผลด้านทักษะ/กระบวนการ และค่านยิ ม – การประเมินผลดา้ นทักษะ/กระบวนการ 3. สิ่งที่มุง่ ประเมนิ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 28 – วิเคราะห์จังหวะกับการถา่ ยทอดอารมณข์ องบทเพลงได้ – วิเคราะหค์ วามดัง–เบากับการถา่ ยทอดอารมณ์ของบทเพลงได้ – ปฏิบตั ทิ ่าทางตามระดบั เสยี งดังและเสียงเบาไดถ้ ูกตอ้ ง – อภิปรายลกั ษณะการถา่ ยทอดอารมณข์ องบทเพลงทส่ี นใจได้ – ร้องเพลงหรือนำเสนอผลการวิเคราะห์ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ ได้ – รอ้ งเพลงหรอื เล่นดนตรีประกอบการร้องเพลงได้ – อภปิ รายลกั ษณะเด่นของบทเพลงที่นำเสนอได้ – ประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลงด้านเนื้อหา ดา้ นเสียง และดา้ นองค์ประกอบดนตรไี ด้ – พฤติกรรมการปฏิบัตกิ จิ กรรมร่วมกับผอู้ ่ืนดว้ ยความซอื่ สัตย์ ความรบั ผิดชอบ และความสนุกสนาน ข้นั ที่ 3 แผนการจดั การเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 การถา่ ยทอดอารมณ์ของบทเพลง 1 ชัว่ โมง แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 การนำเสนอบทเพลงทต่ี นเองสนใจ 2 ช่วั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8 การประเมินคณุ ภาพของบทเพลง 1 ชว่ั โมง

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 29 แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 6 การถา่ ยทอดอารมณข์ องบทเพลง สาระท่ี 2 ดนตรี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 วเิ คราะห์องค์ประกอบดนตรี เวลา 1 ชวั่ โมง 1. สาระสำคญั บทเพลงแต่ละบทเพลงมกี ารถ่ายทอดอารมณ์โดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น จังหวะ ความดัง– ของเสียง เปน็ ตน้ เมือ่ บทเพลงมีการเปลยี่ นแปลงจังหวะหรือความดัง–เบาของเสยี งดนตรี ก็สามารถทำให้ เกิดความแตกต่างทางดา้ นอารมณ์เพลงได้ 2. ตวั ชี้วัดช้ันปี 1. แสดงความคิดเหน็ ท่มี ตี อ่ อารมณข์ องบทเพลงทม่ี คี วามเรว็ ของจังหวะ และความดงั –เบาแตกต่าง กัน (ศ 2.1 ม. 1/5) 2. เปรียบเทียบอารมณ์ ความรสู้ กึ ในการฟังดนตรแี ต่ละประเภท (ศ 2.1 ม. 1/6) 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. วเิ คราะหว์ า่ เพลงทีม่ ีจงั หวะท่ีตา่ งกันสามารถสอ่ื อารมณต์ ่าง ๆ ได้ (K) 2. วิเคราะหว์ า่ เพลงท่ีมีเสียงดังและเบาตา่ งกนั สามารถสอ่ื อารมณต์ า่ ง ๆ ได้ (K) 3. อภปิ รายลกั ษณะการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงทีส่ นใจได้ (K) 4. คิดประดษิ ฐ์ท่าทางเกยี่ วกบั เสียงดังและเบาได้ (K) 5. ปฏิบัติกจิ กรรมดนตรีด้วยความสนุกสนานและมนั่ ใจ (A) 6. นำบทเพลงไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ (P) 7. ปฏบิ ตั ิทา่ ทางที่คิดข้นึ ตามระดบั เสียงดังและเบาได้ (P) 8. นำเสนอผลงานโดยวธิ กี ารร้องหรือวิธีการอน่ื ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. สงั เกตจากพฤตกิ รรมขณะ ปฏบิ ัติกจิ กรรมรายบุคคล 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจ และปฏิบัติกิจกรรมกลมุ่ แสดงความคิดเห็น และความกระตือรือรน้ ใน 2. สงั เกตจากการปฏิบัติ กจิ กรรมได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว 2. จากการตรวจแบบทดสอบ การปฏบิ ัติกจิ กรรม 3. สังเกตจากความต้ังใจและ กอ่ นเรยี น 2. สังเกตจากความรบั ผดิ ชอบ ปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอน 3. จากการตรวจการวัดและประ และความมีระเบยี บขณะ เมนิ ผลการเรียนร้ปู ระจำ ปฏิบัติกิจกรรม หนว่ ย 3. สังเกตจากการยอมรบั ความ คดิ เห็นของผ้อู ่ืนขณะปฏิบัติ กิจกรรม

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 30 5. สาระการเรยี นรู้ • การถา่ ยทอดอารมณ์ของบทเพลง – จงั หวะกบั อารมณ์เพลง – ความดงั –เบากบั อารมณ์เพลง – ความแตกตา่ งของอารมณเ์ พลง 6. แนวทางบรู ณาการ ภาษาไทย การอา่ น การเขียน การวเิ คราะห์ การอภิปราย การแสดงความคิดเห็น และ การนำเสนอการปฏิบตั ิกจิ กรรม วิทยาศาสตร์ การสังเกตลกั ษณะของความดัง–เบาของเสียง สงั คมศึกษาฯ การปฏิบตั ิกจิ กรรมเปน็ กลมุ่ และการสร้างมนษุ ยสัมพนั ธ์ สขุ ศกึ ษาฯ การพัฒนาทกั ษะการฟงั 7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้นั ที่ 1 ขัน้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนเพือ่ ประเมนิ ความรู้ 2. ครเู ปิดเพลงที่มจี ังหวะช้า จงั หวะปานกลาง จังหวะเรว็ และเพลงทีม่ กี ารใช้เสยี งร้องหรอื เสียงดนตรีที่มีความดงั –เบาแตกต่างกันไปใหน้ ักเรยี นฟัง แล้วถามนกั เรียนวา่ เพลงท่มี จี ังหวะและความดัง– เบาของเพลงแบบใดท่สี ามารถถา่ ยทอดอารมณส์ นกุ สนานได้ดี ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น ขน้ั ที่ 2 ขั้นสอน 1. ครูนำเสนอเนอ้ื หาเรอ่ื ง การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง เกี่ยวกบั จงั หวะกบั อารมณข์ องบท เพลง และความดงั –เบากบั อารมณข์ องบทเพลง โดยอธบิ ายใหน้ ักเรียนทราบถึงลกั ษณะของการถ่ายทอด อารมณ์เพลงทเี่ กิดจากจังหวะและความดงั –เบาของบทเพลง แล้วเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นซักถาม และอธบิ าย เพม่ิ เตมิ พร้อมทัง้ ยกตัวอยา่ ง 2. แบง่ นักเรยี นออกเป็น 2 กลมุ่ เทา่ ๆ กัน โดยกลุ่มที่ 1 ศกึ ษาเรอื่ งการถา่ ยทอดอารมณข์ องจงั หวะ และกลุ่มท่ี 2 ศกึ ษาเร่ืองการถา่ ยทอดอารมณ์ของความดงั –เบาของเสยี งดนตรี แลว้ ร่วมกนั อภปิ รายหน้าชน้ั เรียน 3. ครูต้งั คำถามนักเรียนว่าจังหวะแบบใดท่สี ื่ออารมณ์เศร้าได้ดีท่สี ุด หรอื เพลงทีม่ กี ารใช้ระดับเสียง แบบใดที่สามารถถ่ายทอดอารมณ์และความรู้สึกเศร้าได้ดีท่สี ดุ เพื่อเปน็ การประเมินความเข้าใจของนักเรยี น ใหน้ ักเรยี นช่วยกันตอบและแสดงความคดิ เหน็ 4. ครอู ธิบายเกีย่ วกับความแตกตา่ งของอารมณ์เพลง ว่ามอี ารมณเ์ พลงแบบใดบา้ งทเี่ กดิ จากความ ไพเราะของดนตรหี รือบทเพลงต่าง ๆ แลว้ ให้นักเรยี นชว่ ยกนั ยกตัวอยา่ งชือ่ เพลงท่รี ูจ้ ักพรอ้ มทง้ั บอกว่าเพลง นน้ั สื่อหรือถา่ ยทอดอารมณใ์ ดออกมา

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 31 ขั้นที่ 3 ข้นั สรุป นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายสรุปเรอ่ื ง การถ่ายทอดอารมณข์ องบทเพลง โดยครูคอยให้ความรูเ้ สริมใน ส่วนทน่ี กั เรียนไมเ่ ขา้ ใจหรือสรุปไม่ตรงกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขนั้ ท่ี 4 ฝกึ ฝนนกั เรียน 1. ให้นกั เรยี นปฏิบัติ กิจกรรม ส่อื อารมณด์ ้วยจงั หวะเพลงและกจิ กรรม สอ่ื อารมณ์ด้วยความดงั – เบาของบทเพลง และช่วยกนั เฉลย 2. ใหน้ ักเรียนปฏบิ ัติ กิจกรรม ความแตกตา่ งของอารมณ์เพลง แล้วให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ ผลงานหน้าชนั้ เรียน ขน้ั ท่ี 5 การนำไปใช้ นกั เรียนสามารถนำความรู้เรือ่ ง การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง ไปใชใ้ นการเลือกฟงั เพลงท่ีมกี ารใช้ องค์ประกอบดนตรีท่สี ามารถสอื่ อารมณอ์ อกมาได้ตรงกบั อารมณ์ของตนเองในขณะทต่ี อ้ งการฟงั เพลงได้อยา่ ง เหมาะสมและไดร้ ับประโยชน์อย่างแทจ้ รงิ เชน่ วนั ทน่ี กั เรียนรสู้ กึ อารมณด์ ีกต็ ้องเลอื กฟังเพลงทมี่ ีจงั หวะคกึ คกั และมเี สียงดังพอสมควร เพ่ือใหเ้ ข้ากับบรรยากาศในขณะนั้น เปน็ ตน้ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กจิ กรรมสำหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ ใชจ้ ังหวะและระดบั เสยี งดงั –เบาของเพลงท่ตี นเองชน่ื ชอบสื่ออารมณข์ องตนเองให้เพ่อื น ๆ ทาย โดยอาจสรา้ งสรรคจ์ งั หวะและระดบั ความดงั –เบาของเสยี งขึ้นเองตามอารมณ์ท่ีตนเองตอ้ งการถา่ ยทอดให้ เพ่อื น ๆ ทายก็ได้ 2. กิจกรรมสำหรับฝึกทกั ษะเพม่ิ เตมิ นักเรียนแบ่งกล่มุ กลุม่ ละ 4–5 คน รว่ มกนั ศกึ ษาลักษณะการถา่ ยทอดอารมณ์ของบทเพลงทสี่ นใจ หลาย ๆ เพลง แล้วเปรยี บเทียบอารมณแ์ ละความรสู้ ึกของบทเพลงแตล่ ะบทเพลงว่าแตกต่างกนั อย่างไร แล้ว นำมาอภิปรายหน้าชนั้ เรียน 9. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ห้องสมุด 2. หอ้ งดนตรี 3. รายการประกวดขับร้องเพลงหรอื ดนตรีทางสถานีโทรทัศน์ 4. บทเพลงประเภทต่าง ๆ 5. ใบกิจกรรม

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 32 10. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ 1. ความสำเร็จในการจัดการเรยี นร้.ู ....................................................................... แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปญั หา/อปุ สรรคในการจดั การเรยี นรู้..................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................ 3. สงิ่ ท่ีไม่ได้ปฏบิ ัติตามแผน..................................................................................... เหตผุ ล............................................................................................................... 4. การปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนร้.ู ....................................................................... ลงชอ่ื ..................................................(ผสู้ อน) ( นายเดชนรนิ ทร์ เทดิ ทูนเมธา )

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 33 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 7 การนำเสนอบทเพลงทต่ี นเองสนใจ สาระท่ี 2 ดนตรี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 วิเคราะหอ์ งค์ประกอบดนตรี เวลา 2 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ ในการนำเสนอบทเพลงที่ตนเองสนใจสามารถทำได้หลายวธิ ี เชน่ การร้องเพลง การบรรเลงเคร่อื ง ดนตรี การนำเพลงมาอภปิ ราย และวิธีการอนื่ ๆ ซึ่งจำเปน็ จะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจในลักษณะเด่นของบทเพลงท่ี ตนเองสนใจดว้ ย 2. ตัวชี้วัดช้ันปี นำเสนอตวั อย่างเพลงที่ตนเองชืน่ ชอบและอภิปรายลกั ษณะเดน่ ทีท่ ำให้งานนนั้ น่าชน่ื ชม (ศ 2.1 ม. 1/7) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อภปิ รายลักษณะเด่นของบทเพลงทนี่ ำเสนอได้ (K) 2. ปฏบิ ัติกิจกรรมดนตรดี ้วยความสนุกสนานและมน่ั ใจ (A) 3. ร้องเพลงหรือเล่นดนตรปี ระกอบการรอ้ งเพลงได้ (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ 1. สงั เกตจากพฤตกิ รรมขณะ แสดงความคิดเหน็ ความกระตือรือร้นในการ ปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคล 2. จากการตรวจการวดั และ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลมุ่ ประเมินผลการเรียนรู้ประจำ 2. สงั เกตจากความรับผดิ ชอบ 2. สงั เกตจากการปฏบิ ัติ หนว่ ย และความมีระเบยี บขณะ กิจกรรมไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว 3. จากการตรวจใบกิจกรรม ปฏิบตั ิกิจกรรม 3. สงั เกตจากความตั้งใจและ 3. สงั เกตจากการยอมรับความ ปฏบิ ัตติ ามขนั้ ตอน คดิ เหน็ ของผ้อู ่ืนขณะปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม 5. สาระการเรียนรู้ • การนำเสนอบทเพลงทีต่ นเองสนใจ 6. แนวทางบรู ณาการ

ภาษาไทย แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 34 วทิ ยาศาสตร์ การอา่ น การเขียน การอภปิ ราย การแสดงความคิดเหน็ และการนำเสนอการ สังคมศึกษาฯ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม สุขศึกษาฯ การสังเกตลกั ษณะเด่นของบทเพลง การปฏิบัตกิ ิจกรรมเปน็ กลุม่ และการสรา้ งมนุษยสมั พนั ธ์ การพฒั นาทักษะการฟัง 7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้นั ที่ 1 ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรียน ครูขอตวั แทนนักเรียนออกมาร้องเพลงหนา้ ชน้ั เรียน 1 เพลง แลว้ สมั ภาษณ์นักเรียนวา่ เพลงทีร่ ้อง ชอ่ื เพลงอะไร มีลกั ษณะเดน่ ทใี่ ด และทำไมจึงเลือกร้องเพลงน้ี ขน้ั ที่ 2 ข้นั สอน 1. ครนู ำเสนอเนอ้ื หาเร่อื ง การนำเสนอบทเพลงที่ตนเองสนใจ เกีย่ วกบั ลักษณะเดน่ ของเพลงท่ีเรา ต้องการนำเสนอในดา้ นของเน้อื หา ดา้ นแนวเพลง และด้านองคป์ ระกอบดนตรใี หน้ ักเรียนฟงั ว่ามลี กั ษณะ อย่างไร 2. ครูยกตวั อย่างเพลง 1 เพลงท่ีมีลักษณะเดน่ ของเพลงตามลกั ษณะเดน่ ด้านเนือ้ หา ดา้ นแนวเพลง และด้านองคป์ ระกอบดนตรี และอธบิ ายให้นักเรียนเขา้ ใจ พรอ้ มทั้งเปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามในสงิ่ ที่ สงสยั 3. แบง่ กลุม่ นกั เรียน กลมุ่ ละ 4–5 คน ให้แต่ละกลุม่ รว่ มกันเลือกเพลงท่กี ลุ่มสนใจ 1 เพลง แล้ว ชว่ ยกันบอกลกั ษณะเดน่ ของเพลง โดยเขยี นลงในกระดาษตามหัวขอ้ ดงั น้ี  ชื่อเพลง  ลักษณะเดน่ ด้านเนื้อหา  ลกั ษณะเดน่ ด้านแนวเพลง  ลักษณะเด่นด้านองค์ประกอบดนตรี 4. ให้แตล่ ะกลุ่มออกมานำเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น และใหต้ วั แทนหรือกลมุ่ ร้องเพลงใหเ้ พือ่ น ๆ ฟัง ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั สรปุ เรือ่ ง การนำเสนอบทเพลงท่ีตนเองสนใจ โดยครคู อยใหค้ วามรู้เสริมในส่วนท่ี นกั เรียนไมเ่ ข้าใจหรือสรุปไมต่ รงกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ขัน้ ท่ี 4 ฝึกฝนผเู้ รียน ให้นกั เรียนปฏิบัติ กิจกรรม นำเสนอบทเพลงท่ตี นเองสนใจ แลว้ นำเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรยี นทีละ คน

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 35 ขัน้ ที่ 5 การนำไปใช้ นกั เรียนสามารถนำความรู้เรอื่ ง การนำเสนอบทเพลงทต่ี นเองสนใจ ไปใช้ในเลอื กเพลงทม่ี ลี ักษณะ เดน่ ตรงตามลักษณะเดน่ ด้านเนือ้ หา ด้านแนวเพลง และด้านองค์ประกอบดนตรี เพอ่ื นำมาขบั รอ้ งหรือ บรรเลงให้ผู้อนื่ ฟงั ได้อย่างไพเราะและมคี วามหมาย 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กจิ กรรมสำหรับกลมุ่ สนใจพิเศษ จดั ประกวดรอ้ งเพลงเพื่อสรา้ งความกลา้ แสดงออก และสร้างความม่นั ใจใหต้ นเอง 2. กจิ กรรมสำหรบั ฝกึ ทักษะเพมิ่ เติม ฟังเพลงหลาย ๆ เพลง และหลาย ๆ แนว แลว้ สรุปลกั ษณะเดน่ ของแตล่ ะเพลง และนำมาเลา่ แลกเปลยี่ นประสบการณก์ ับเพื่อน ๆ หรอื ผทู้ ่สี นใจ 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. หอ้ งดนตรี 3. รายการประกวดขับรอ้ งเพลงหรือดนตรที างสถานีโทรทัศน์ 4. บทเพลงประเภทตา่ ง ๆ 5. ใบกจิ กรรม 10. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้ 1. ความสำเร็จในการจดั การเรยี นร.ู้ ....................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................ 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู.้ .................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................ 3. ส่งิ ทีไ่ มไ่ ด้ปฏิบัติตามแผน..................................................................................... เหตผุ ล............................................................................................................... 4. การปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนร.ู้ ....................................................................... ลงช่อื ..................................................(ผู้สอน) ( นายเดชนรนิ ทร์ เทดิ ทนู เมธา )

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 36 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 8 การประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลง สาระท่ี 2 ดนตรี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบดนตรี เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ บทเพลงแตล่ ะเพลงมีความไพเราะทีแ่ ตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะของการสรา้ งสรรค์และจินตนาการ ของผปู้ ระพนั ธ์ แตก่ ็มเี กณฑใ์ นการประเมินคุณภาพของบทเพลงหรอื ดนตรีทฟี่ งั เช่นกัน คอื เกณฑใ์ นการ ประเมินคุณภาพดา้ นของเน้อื หา คณุ ภาพดา้ นเสียง และคุณภาพดา้ นองคป์ ระกอบดนตรี 2. ตวั ชี้วดั ชั้นปี ใชเ้ กณฑส์ ำหรับประเมนิ คุณภาพงานดนตรหี รือเพลงที่ฟงั (ศ 2.1 ม. 1/8) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลงด้านเน้อื หา ด้านเสียง และดา้ นองคป์ ระกอบดนตรไี ด้ (K) 2. ปฏิบตั ิกจิ กรรมดนตรีด้วยความสนกุ สนานและมนั่ ใจ (A) 3. ใช้เกณฑ์สำหรบั ประเมนิ คุณภาพงานดนตรีหรือเพลงท่ีฟังได้อย่างเหมาะสม (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นยิ ม (A) 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ 1. สังเกตพฤตกิ รรมขณะปฏิบตั ิ แสดงความคิดเหน็ ความกระตอื รือรน้ ในการ กิจกรรมรายบคุ คล และ 2. จากการตรวจการวัดและ ปฏิบตั กิ ิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมกลุม่ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ประจำ 2. สงั เกตจากความรับผดิ ชอบ 2. สงั เกตการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมได้ หนว่ ย และความมีระเบยี บขณะ อยา่ งคล่องแคลว่ 3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏิบตั ิกิจกรรม 3. สังเกตความต้ังใจและปฏบิ ตั ิ หลงั เรียน 3. สงั เกตจากการยอมรบั ความ ตามขัน้ ตอน 4. จากการตรวจใบกจิ กรรม คดิ เหน็ ของผอู้ น่ื ขณะปฏบิ ตั ิ 4. ประเมนิ พฤตกิ รรมตามแบบ กจิ กรรม การประเมินผลด้านทกั ษะ/ 4. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ กระบวนการ การประเมินผลด้านคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม 5. สาระการเรียนรู้ • การประเมนิ คุณภาพของบทเพลง – คณุ ภาพด้านเนือ้ หา – คุณภาพด้านเสียง – คุณภาพด้านองคป์ ระกอบดนตรี

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 37 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย การอ่าน การเขยี น การอภปิ ราย และการนำเสนอการปฏิบตั ิกิจกรรม คณติ ศาสตร์ การจำแนกคุณภาพของบทเพลง วทิ ยาศาสตร์ การสังเกตลักษณะการใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรี สังคมศกึ ษาฯ การปฏิบัติกจิ กรรมเปน็ กลุม่ และการสรา้ งมนุษยสัมพนั ธ์ สุขศึกษาฯ การพัฒนาทักษะการฟัง ภาษาตา่ งประเทศ เน้ือเพลงสากล 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 ขั้นนำเข้าส่บู ทเรยี น ครูเปดิ เพลงให้นกั เรียนฟัง 1 เพลง แลว้ ถามนกั เรียนวา่ เพลงทคี่ รูเปิดนนั้ มคี วามไพเราะหรอื ไม่ และนกั เรยี นทราบไดอ้ ยา่ งไร ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั ตอบเพ่อื ประเมนิ ความร้กู อ่ นเรยี นของนักเรยี น ขน้ั ที่ 2 ข้นั สอน 1. ครนู ำเสนอเนือ้ หาเรื่อง การประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลง โดยอธบิ ายเก่ยี วกบั ความไพเราะ วา่ เปน็ สิง่ ที่เกิดข้ึนภายในความรู้สกึ ของแตล่ ะบคุ คล แต่ก็มเี กณฑใ์ นการประเมินคุณภาพของบทเพลงหรอื ดนตรี ทฟ่ี งั เช่นกนั คอื เกณฑ์ในการประเมินคุณภาพด้านของเน้ือหา คุณภาพดา้ นเสียง และคณุ ภาพด้าน องคป์ ระกอบดนตรี โดยใหน้ กั เรียนดเู น้ือหาในหนังสอื เรยี นประกอบ 2. ครถู ามนกั เรียนว่าเพลงทน่ี กั เรียนคดิ วา่ ดีมีคณุ ภาพ ควรจะมีเนื้อหาของเพลง เสยี งร้องหรือเสียง ของเครอ่ื งดนตรี และลักษณะของการใชอ้ งค์ประกอบดนตรีเป็นอยา่ งไร ตามลำดบั ใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบ และแสดงความคิดเห็น 3. ครยู กตวั อย่างเพลงทเ่ี ปิดใหน้ ักเรียนฟังหรือใหน้ ักเรียนรว่ มยกตัวอย่าง 1 เพลง แลว้ อธิบาย คุณภาพของเพลงทงั้ 3 ดา้ นใหน้ กั เรียนเขา้ ใจย่งิ ขึน้ แล้วเปดิ โอกาสให้นกั เรียนซกั ถาม ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั สรุป นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายสรปุ เร่อื ง การประเมินคุณภาพของบทเพลง โดยครคู อยให้ความรู้เสรมิ ใน สว่ นทนี่ กั เรียนไมเ่ ขา้ ใจหรอื สรปุ ไม่ตรงกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ข้นั ที่ 4 ฝกึ ฝนนกั เรียน 1. ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัติ กจิ กรรม ประเมินคณุ ภาพด้านเน้อื หาของเพลง กิจกรรม ประเมินคุณภาพ ดา้ นเสียงของเพลง และกิจกรรม ประเมินคณุ ภาพดา้ นองค์ประกอบดนตรี แล้วแตล่ ะคนออกมานำเสนอ ผลงานหนา้ ช้ันเรียน 2. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน 3. ให้นกั เรยี นทำโครงงานตามความสนใจ ขั้นที่ 5 การนำไปใช้ นกั เรยี นสามารถนำความรเู้ ร่ือง การประเมินคณุ ภาพของบทเพลง ไปใชใ้ นการประเมนิ คณุ ภาพของ ผลงานดนตรีตา่ ง ๆ ที่สนใจ และนำไปใช้เป็นมาตรฐานเพ่ือฝึกฝนผลงานดนตรีของตนเองให้ได้ตามมาตรฐาน และมคี ณุ ภาพ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 38 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กจิ กรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพิเศษ ฝกึ ประเมินคณุ ภาพของบทเพลงหรือดนตรีหลาย ๆ เพลงโดยใช้เกณฑ์การประเมินคณุ ภาพของบท เพลง และสรปุ เปน็ ข้อมลู แล้วนำเสนอหน้าช้นั เรยี น 2. กจิ กรรมสำหรับฝกึ ทกั ษะเพ่ิมเตมิ นักเรยี นแบง่ กลุม่ กล่มุ ละ 4–5 คน รว่ มกนั ศึกษาคณุ ภาพของเพลงทเ่ี ปน็ ทนี่ ยิ มในขณะนน้ั โดยการ สมั ภาษณผ์ ูท้ ่ีชืน่ ชอบหลาย ๆ คน แลว้ ใชเ้ กณฑ์การประเมินคณุ ภาพของบทเพลง และสรุปเป็นขอ้ มลู แล้ว นำเสนอหนา้ ชน้ั เรียน 9. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. หอ้ งสมดุ 2. หอ้ งดนตรี 3. รายการประกวดขับร้องเพลงหรือดนตรที างสถานโี ทรทศั น์ 4. เพลงประเภทตา่ ง ๆ 5. เคร่ืองดนตรีประเภทต่าง ๆ 6. ใบกิจกรรม 10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 1. ความสำเร็จในการจดั การเรียนรู้........................................................................ แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปญั หา/อุปสรรคในการจดั การเรยี นร.ู้ .................................................................... แนวทางการแกไ้ ข............................................................................................ 3. สิง่ ทีไ่ ม่ได้ปฏิบัตติ ามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรบั ปรุงแผนการจัดการเรยี นรู้........................................................................ ลงชอื่ ..................................................(ผสู้ อน) (นายเดชนรินทร์ เทิดทนู เมธา)

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 39 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 เร่ือง ดนตรกี บั มรดกทางวัฒนธรรม ผงั มโนทัศนเ์ ปา้ หมายการเรียนรู้ เวลา 3 ชัว่ โมง ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ – องคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ละวฒั นธรรม – การศกึ ษาคน้ ควา้ – บทบาทและอิทธิพลของดนตรี – การคดิ วิเคราะห์ – การสืบคน้ ดนตรีกับมรดก – การปฏบิ ตั ิ ทางวัฒนธรรม – การอภิปราย – การนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชนใ์ น ชีวติ ประจาวนั ภาระ/ชิ้นงาน คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม – การทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน – มเี จตคติท่ดี ีต่อการปฏบิ ตั ิกิจกรรมดนตรี – การฟังเพลงแลว้ วเิ คราะห์ความแตกต่างของ – เหน็ ความสาคญั และประโยชน์ขององคป์ ระกอบ องคป์ ระกอบดนตรี ดนตรีในแตล่ ะวฒั นธรรม – การอภปิ ราย – เหน็ คุณค่าของความสัมพนั ธแ์ ละอิทธิพลของ – การนาเสนอผลงานโดยการร้องเพลงหรือ ดนตรีที่มีตอ่ สังคมหรือชุมชนของตนเอง วธิ ีการอน่ื ทีเ่ หมาะสม – มรี ะเบียบและวนิ ยั ในตนเอง – ใบกิจกรรม – ปฏิบตั ติ นอยา่ งมีมารยาทในการปฏิบตั กิ ิจกรรม – การทาโครงงาน ร่วมกบั ผอู้ ืน่

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 40 ผังการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 ดนตรกี ับมรดกทางวัฒนธรรม ขนั้ ที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ตอ้ งการให้เกดิ ขึ้นกับนักเรียน ตวั ชวี้ ัดชัน้ ปี 1. อธบิ ายบทบาทความสัมพันธแ์ ละอิทธิพลของดนตรีทม่ี ีตอ่ สงั คมไทย (ศ 2.2 ม. 1/1) 2. ระบุความหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรีในวัฒนธรรมต่างกนั (ศ 2.2 ม. 1/2) ความเข้าใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคัญที่ทำให้เกดิ ความเขา้ ใจที่คงทน นักเรยี นจะเขา้ ใจวา่ ... 1. องคป์ ระกอบของดนตรีไทยตา่ งจาก 1. องคป์ ระกอบดนตรีเปน็ ส่วนสำคัญในการ องคป์ ระกอบของดนตรสี ากลอยา่ งไร สร้างสรรค์ผลงานทางดนตรี และมีความ 2. ดนตรีพืน้ บ้านมอี งค์ประกอบหลกั ร่วมกนั คอื แตกต่างกนั ไปในแต่ละวฒั นธรรม ได้แก่ อะไรบา้ ง องค์ประกอบของดนตรไี ทย องคป์ ระกอบของ 3. ดนตรหี รือบทเพลงมบี ทบาทต่อสงั คมไทย ดนตรสี ากล และองคป์ ระกอบของดนตรีพื้นบา้ น อย่างไร 2. ดนตรหี รอื บทเพลงมบี ทบาทในสังคมมากมาย 4. ดนตรตี ะวันตกหรือดนตรีของชาตอิ ืน่ ๆ มี ถือเป็นสว่ นหน่งึ ในชีวติ ประจำวัน เปน็ สง่ิ จรรโลง อิทธพิ ลต่อสงั คมไทยอย่างไร ใจให้เกิดความรัก ขจดั ความกลวั ได้ 3. ดนตรีเป็นสง่ิ มคี ณุ ค่าและสามารถเสรมิ สร้างให้ มนษุ ยม์ ีความสขุ ได้ ความร้ขู องนกั เรยี นที่นำไปสู่ความเข้าใจท่คี งทน ทักษะ/ความสามารถของนกั เรียนทน่ี ำไปสู่ความ นักเรยี นจะรู้ว่า... เข้าใจท่ีคงทน 1. คำสำคัญทีค่ วรรู้ ได้แก่ เพลงประเภททยอย นกั เรียนจะสามารถ... ดุรยิ างคศลิ ปไ์ ทย ขัน้ คเู่ สียง และกลุม่ คอรด์ 1. บอกหรือระบุความหลากหลายของ 2. องคป์ ระกอบของดนตรีไทย เชน่ บันไดเสียง องค์ประกอบดนตรใี นแต่ละวัฒนธรรม จงั หวะเพลงไทย ทำนองเพลงไทย การประสาน 2. วิเคราะหค์ วามแตกต่างในการเลือกใช้ เสยี ง รูปแบบ อารมณเ์ พลง สว่ นองค์ประกอบ องค์ประกอบดนตรีในเพลงแต่ละประเภท ของดนตรสี ากล เช่น เสียง จงั หวะดนตรี 3. ประยกุ ตใ์ ชด้ นตรรี ว่ มกับกจิ กรรมใน ทำนองเพลง เสยี งประสาน พืน้ ผิวของดนตรี ชวี ติ ประจำวนั ของตนเองได้อยา่ งเหมาะสม สสี ันของเสยี ง รปู แบบของเพลงหรือคตี ลกั ษณ์ 4. อธบิ ายบทบาทความสมั พันธแ์ ละอิทธิพลของ และองคป์ ระกอบของดนตรีพืน้ บ้านจะมี ดนตรที ีม่ ีต่อสังคมไทย ลกั ษณะหลกั ร่วมกนั คอื ไมม่ ีระบบกฎเกณฑ์ที่ ชัดเจนตายตัว แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะถิน่ มีทว่ งทำนองสน้ั ๆ จดจำงา่ ย 3. บทบาทของดนตรีในสงั คมมีมากมาย ไดแ้ ก่ ใช้ เพ่ือการผ่อนคลายความเครียด ใชใ้ นงานรื่นเริง ใชป้ ระกอบกิจกรรมการแสดงต่าง ๆ ใช้ในพิธี

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 41 การ และใช้ประกอบพิธกี รรมทางศาสนา 4. การรอ้ งรำทำเพลง การฟังเพลง ตลอดจนการ ชมการแสดงตา่ ง ๆ ถือเปน็ สิง่ ช่วยบรรเทาหรอื ช่วยลดความเครียดของคนได้ดที ส่ี ดุ ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรียนรู้ซง่ึ เป็นหลกั ฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรตู้ ามท่ี กำหนดไวอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ 1. ภาระงานทีน่ กั เรยี นต้องปฏิบตั ิ – ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรใี นแต่ละวัฒนธรรม – วเิ คราะหค์ วามแตกต่างของเพลงในการเลอื กใช้องค์ประกอบของดนตรีไทย ดนตรสี ากล และดนตรี พืน้ บ้าน – รอ้ งเพลงหรือนำเสนอผลการวเิ คราะหด์ ้วยวิธีการต่าง ๆ – อธบิ ายบทบาทความสมั พันธแ์ ละอทิ ธพิ ลของดนตรีทม่ี ีต่อสงั คมไทย – อธิบายบทบาทความสัมพันธแ์ ละอทิ ธพิ ลของดนตรีทมี่ ตี อ่ สงั คมหรอื ชมุ ชนของตนเอง – ประยุกตใ์ ช้ดนตรีร่วมกับกิจกรรมในชวี ิตประจำวนั ของตนเองและครอบครวั 2. วธิ ีการและเคร่ืองมอื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธกี ารประเมินผลการเรยี นรู้ เครื่องมอื ประเมินผลการเรยี นรู้ – การทดสอบ – แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น – การสนทนาซกั ถามโดยครู – ใบกจิ กรรม – การอภปิ รายหนา้ ชน้ั เรียน – แบบประเมนิ ผลดา้ นความรู้ – การประเมนิ ผลด้านความรู้ – แบบประเมนิ ผลดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ – การประเมนิ ผลด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ คา่ นิยม คา่ นิยม – แบบประเมินผลด้านทกั ษะ/กระบวนการ – การประเมินผลดา้ นทักษะ/กระบวนการ 3. ส่ิงทีม่ ่งุ ประเมิน – ระบุความหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรีในแต่ละวฒั นธรรมได้ – วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของเพลงในการเลอื กใช้องคป์ ระกอบของดนตรีไทย ดนตรีสากล และดนตรี พ้ืนบา้ นได้ – ร้องเพลงหรือนำเสนอผลการวิเคราะหด์ ว้ ยวิธีการต่าง ๆ ได้ – อธิบายบทบาทความสมั พนั ธแ์ ละอิทธพิ ลของดนตรที ี่มีต่อสงั คมไทยได้ – อธบิ ายบทบาทความสัมพนั ธ์และอทิ ธิพลของดนตรที มี่ ีตอ่ สังคมหรอื ชุมชนของตนเองได้ – ประยุกตใ์ ชด้ นตรรี ่วมกับกจิ กรรมในชวี ติ ประจำวนั ของตนเองและครอบครวั ได้ – พฤติกรรมการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมรว่ มกับผอู้ ่นื ดว้ ยความซื่อสตั ย์ ความรบั ผดิ ชอบ และความสนกุ สนาน ขั้นท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 9 องคป์ ระกอบของดนตรใี นแต่ละวฒั นธรรม 2 ชั่วโมง

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 10 บทบาทและอิทธิพลของดนตรี แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 42 ชว่ั โมง 1

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 43 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 9 องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละวฒั นธรรม สาระที่ 2 ดนตรี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 ดนตรกี บั มรดกทางวัฒนธรรม เวลา 2 ช่ัวโมง 1. สาระสำคัญ องค์ประกอบของดนตรีไม่ว่าจะเป็นดนตรีไทย ดนตรีสากล หรือดนตรพี น้ื บา้ น ต่างก็มบี ทบาท หนา้ ท่แี ละมคี วามสำคญั ในแต่ละวฒั นธรรม ซง่ึ มสี ว่ นทำให้เกดิ เปน็ บทเพลงหรอื เกดิ เปน็ ดนตรีท่มี ีความ ไพเราะ 2. ตวั ช้ีวดั ช้ันปี ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรใี นแตล่ ะวัฒนธรรม (ศ 2.2 ม. 1/2) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบุความหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรใี นแต่ละวฒั นธรรมได้ (K) 2. วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งของเพลงในการเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบของดนตรีได้ (K) 3. ปฏิบัตกิ จิ กรรมด้วยความซื่อสัตยแ์ ละความรบั ผิดชอบ (A) 4. ปฏิบัติกิจกรรมดว้ ยความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ และมัน่ ใจ (A) 5. เหน็ ความสำคญั และประโยชน์ขององคป์ ระกอบดนตรใี นแต่ละวัฒนธรรม (A) 6. เปรียบเทยี บความแตกตา่ งระหวา่ งองค์ประกอบดนตรีตา่ ง ๆ ได้ (P) 7. สืบคน้ ข้อมลู เพลงหรือดนตรีได้ตรงตามลักษณะขององค์ประกอบดนตรี (P) 8. รอ้ งเพลงหรอื นำเสนอผลการวิเคราะห์ดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ ได้ (P) 4. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นยิ ม (A) 1. สงั เกตจากพฤตกิ รรมขณะ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมรายบคุ คล 1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ และปฏบิ ัติกิจกรรมกล่มุ แสดงความคดิ เหน็ ความกระตอื รอื ร้นในการ 2. สังเกตจากการปฏบิ ัติ กจิ กรรมไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ 2. จากการตรวจการวดั และ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 3. สังเกตจากความตงั้ ใจและ ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ประจำ 2. สังเกตจากความรับผดิ ชอบ ปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอน หน่วย และความมรี ะเบยี บขณะ ปฏิบัติกิจกรรม 3. จากการตรวจแบบทดสอบ 3. สังเกตจากการยอมรบั ความ กอ่ นเรียน คดิ เหน็ ของผู้อื่นขณะปฏิบตั ิ 4. จากการตรวจใบกิจกรรม กจิ กรรม

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 44 5. สาระการเรยี นรู้ • องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม 6. แนวทางบรู ณาการ ภาษาไทย การอา่ น การเขยี น การบันทึกข้อมลู การอภิปราย และการนำเสนอการ ปฏบิ ตั ิกิจกรรม คณิตศาสตร์ การจำแนกองค์ประกอบดนตรี วทิ ยาศาสตร์ การสังเกตองคป์ ระกอบดนตรี สงั คมศกึ ษาฯ การปฏิบัตกิ จิ กรรมเปน็ กลมุ่ การสรา้ งมนุษยสมั พนั ธ์ และการศึกษา องค์ประกอบดนตรใี นแตล่ ะวฒั นธรรม สุขศึกษาฯ การพฒั นาทักษะการฟงั ภาษาต่างประเทศ คำศัพทท์ างดนตรี เคร่อื งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี และเนอื้ เพลงสากล 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 1 ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรยี น 1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเพอ่ื ประเมนิ ความรู้ 2. ครูสนทนาซักถามนกั เรียนว่ารจู้ กั องคป์ ระกอบดนตรขี องดนตรไี ทย องคป์ ระกอบดนตรีของ ดนตรีสากล และองคป์ ระกอบดนตรีของดนตรพี ้ืนบ้านอะไรบ้าง แลว้ ให้นักเรียนช่วยกนั ตอบและรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น ขนั้ ที่ 2 ขั้นสอน 1. ครนู ำเสนอเนอื้ หาเร่อื ง องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม เกยี่ วกับองค์ประกอบดนตรี ไทย องค์ประกอบดนตรสี ากล และองค์ประกอบดนตรพี ้นื บ้าน ว่าประกอบไปด้วยองค์ประกอบใด และมี ความสำคญั ตอ่ บทเพลงหรอื ดนตรอี ยา่ งไร 2. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลมุ่ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มศกึ ษาความรเู้ ร่ืององคป์ ระกอบของดนตรีในแตล่ ะ วฒั นธรรม ดงั น้ี • กล่มุ ท่ี 1 เรอ่ื ง องคป์ ระกอบของดนตรีไทย • กลุ่มท่ี 2 เรอื่ ง องคป์ ระกอบของดนตรสี ากล • กลุ่มที่ 3 เรื่อง องคป์ ระกอบของดนตรพี ื้นบ้าน 3. ให้แตล่ ะกลมุ่ ออกมาอภปิ รายลกั ษณะเดน่ ของเร่ืองทก่ี ลมุ่ ไดไ้ ปศกึ ษาคน้ คว้าให้ครูและ เพ่ือน ๆ ในชน้ั เรียนฟัง แลว้ รว่ มกนั แลกเปลี่ยนแสดงความคดิ เห็น ขน้ั ท่ี 3 ข้นั สรปุ ใหน้ กั เรียนรว่ มกันสรุปเรือ่ ง องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละวฒั นธรรม โดยครคู อยให้ความรู้เสรมิ ในสว่ นทีน่ กั เรยี นไมเ่ ข้าใจหรือสรปุ ไม่ตรงกบั จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขัน้ ที่ 4 ฝึกฝนผ้เู รียน ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม วิเคราะห์ความแตกตา่ งของเพลงในการเลอื กใช้องคป์ ระกอบของดนตรี ไทย กิจกรรม วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของเพลงในการเลอื กใช้องคป์ ระกอบของดนตรสี ากล และกิจกรรม

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 45 วเิ คราะห์ความแตกตา่ งของเพลงในการเลอื กใชอ้ งคป์ ระกอบของดนตรีพ้นื บ้าน แลว้ ชว่ ยกนั เฉลยหนา้ ชัน้ เรยี น ขนั้ ที่ 5 การนำไปใช้ นกั เรยี นสามารถนำความร้เู รอ่ื ง องคป์ ระกอบของดนตรใี นแต่ละวัฒนธรรม ไปใช้ในการระบุความ หลากหลายขององค์ประกอบดนตรี และเปรียบเทยี บความแตกต่างของลกั ษณะขององคป์ ระกอบของดนตรี ในแต่ละวัฒนธรรม เพอ่ื เปน็ ความรเู้ สรมิ ในการเรียนหรอื หดั เล่นดนตรีไทย ดนตรีสากล และดนตรพี ้นื บา้ นที่ สนใจในโอกาสต่อไป 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. กจิ กรรมสำหรับกลมุ่ สนใจพิเศษ ศกึ ษาลกั ษณะองคป์ ระกอบของดนตรีไทย องคป์ ระกอบของดนตรีสากล และองค์ประกอบของ ดนตรพี ื้นบา้ นเพมิ่ เติมอยา่ งละเอียด แล้วฝกึ บรรยายเพลงไทย เพลงไทยสากล เพลงสากล และเพลงพน้ื บา้ น ท่ีฟัง ตามลักษณะขององค์ประกอบดนตรีแตล่ ะประเภท 2. กิจกรรมสำหรบั ฝกึ ทกั ษะเพม่ิ เตมิ นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 4–5 คน ร่วมกนั จำแนกองค์ประกอบของดนตรีไทย องค์ประกอบของ ดนตรสี ากล และองคป์ ระกอบของดนตรีพื้นบา้ นจากเพลงทก่ี ลมุ่ สนใจ โดยเขยี นว่าท่อนเพลงทอ่ นใดท่ีมี ลกั ษณะตรงตามองคป์ ระกอบของดนตรเี บ้ืองต้น สรปุ แลว้ นำมาอภิปราย 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. เพลงไทย เพลงไทยสากล เพลงสากล และเพลงพน้ื บา้ น 2. ใบกิจกรรม 3. หอ้ งสมดุ 4. หอ้ งดนตรี 5. ผู้รูด้ ้านดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ ในชุมชน 10. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจัดการเรียนร้.ู ....................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................ 2. ปญั หา/อุปสรรคในการจัดการเรียนร.ู้ .................................................................... แนวทางการแกไ้ ข............................................................................................ 3. สิ่งท่ีไม่ไดป้ ฏิบัตติ ามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู้........................................................................ ลงช่อื ..................................................(ผ้สู อน) ( นายเดชนรินทร์ เทิดทูนเมธา )

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 46 แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 10 บทบาทและอิทธิพลของดนตรี สาระท่ี 2 ดนตรี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 ดนตรกี บั มรดกทางวัฒนธรรม เวลา 1 ชว่ั โมง 1. สาระสำคัญ ดนตรหี รือบทเพลงมบี ทบาทสำคัญและมีอิทธิพลต่อสงั คมไทย เช่น ใช้เพื่อการผอ่ นคลาย ความเครยี ด ใช้ในงานร่ืนเรงิ ใช้ประกอบกจิ กรรมการแสดงต่าง ๆ ใชใ้ นพธิ กี าร ใช้ประกอบพธิ ีกรรมทาง ศาสนา เปน็ ต้น ดงั นนั้ ดนตรจี ึงเป็นสิง่ ท่ีมคี ุณคา่ และมปี ระโยชน์ต่อมนุษย์ 2. ตัวชี้วัดชั้นปี อธิบายบทบาทความสมั พนั ธแ์ ละอทิ ธพิ ลของดนตรที ี่มีตอ่ สงั คมไทย (ศ 2.2 ม. 1/1) 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายบทบาทความสัมพนั ธแ์ ละอิทธิพลของดนตรที ีม่ ตี อ่ สงั คมไทยได้ (K) 2. อธบิ ายบทบาทความสัมพนั ธ์และอทิ ธพิ ลของดนตรที มี่ ตี อ่ สังคมหรอื ชมุ ชนของตนเองได้ (K) 3. เหน็ คณุ คา่ ของความสัมพนั ธแ์ ละอิทธิพลของดนตรที ีม่ ีต่อสงั คมหรอื ชุมชนของตนเอง (A) 4. ปฏิบัติกิจกรรมด้วยความซอ่ื สัตยแ์ ละความรับผดิ ชอบ (A) 5. ประยุกตใ์ ช้ดนตรีรว่ มกบั กจิ กรรมในชวี ติ ประจำวนั ของตนเองและครอบครัวได้ (P) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และค่านิยม (A) 1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ 1. สังเกตจากพฤติกรรมขณะ แสดงความคดิ เหน็ ความกระตอื รือร้นในการ ปฏิบตั กิ จิ กรรมรายบุคคล 2. จากการตรวจการวัดและ ปฏบิ ัติกจิ กรรม และปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุ่ม ประเมินผลการเรียนรู้ประจำ 2. สังเกตจากความรบั ผิดชอบ 2. สังเกตจากการปฏบิ ตั ิ หน่วย และความมีระเบยี บขณะ กิจกรรมไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ 3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏิบตั กิ ิจกรรม 3. สงั เกตจากความต้ังใจและ หลังเรยี น 3. สงั เกตจากการยอมรับความ ปฏบิ ัตติ ามขั้นตอน 4. จากการตรวจใบกิจกรรม คิดเหน็ ของผ้อู ่นื ขณะปฏิบตั ิ กิจกรรม 4. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ 4. ประเมนิ พฤติกรรมตามแบบ การประเมินผลดา้ นคุณธรรม การประเมินผลดา้ นทักษะ/ จรยิ ธรรม และคา่ นิยม กระบวนการ

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 47 5. สาระการเรยี นรู้ • บทบาทและอิทธพิ ลของดนตรี – บทบาทดนตรใี นสังคม – อทิ ธพิ ลของดนตรีในสงั คม 6. แนวทางบูรณาการ ภาษาไทย การอ่าน การเขียน การบนั ทึกขอ้ มูล การอธบิ าย การอภปิ ราย และการ นำเสนอการปฏิบตั ิกิจกรรม คณติ ศาสตร์ การจำแนกบทบาทและอทิ ธิพลของดนตรี วทิ ยาศาสตร์ การสังเกตและการสืบค้นขอ้ มลู สงั คมศึกษาฯ การเลอื กเพลงหรือวงดนตรที ม่ี ีบทบาทและอิทธพิ ลต่อสงั คมหรอื ชุมชน สุขศกึ ษาฯ การพฒั นาทักษะการฟัง การงานอาชพี ฯ การประยุกต์ใชก้ จิ กรรมทางดนตรกี ับชวี ติ ประจำวันของตนเอง และการ สบื ค้นข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ต ภาษาตา่ งประเทศ คำศัพทท์ างดนตรหี รอื เนอ้ื เพลงสากล 7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี 1 ข้นั นำเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนาซักถามนกั เรยี นวา่ ในชีวิตประจำวันของนกั เรียนมีการนำดนตรีหรือบทเพลงมาใช้ในกจิ กรรม ใดบ้าง ครูสมุ่ เลือกตัวแทนนกั เรยี นตอบคำถามพรอ้ มท้งั แสดงความคิดเหน็ ให้เพ่อื น ๆ ในหอ้ งฟงั หลังจากน้ันครู ยกตวั อย่างการนำดนตรหี รอื บทเพลงไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั 1–2 ตัวอยา่ ง เพอื่ ใหน้ ักเรียนเข้าใจยง่ิ ข้นึ เชน่ การฟงั เพลงระหวา่ งรอรถรบั สง่ นักเรยี น การเตน้ แอโรบิกตามจังหวะดนตรี เป็นต้น ขน้ั ท่ี 2 ขั้นสอน 1. ครูนำเสนอเน้อื หาเรือ่ ง บทบาทและอิทธิพลของดนตรี โดยอธิบายเกี่ยวกับบทบาทของดนตรีใน สงั คมทีเ่ ราสามารถพบเห็นในปัจจุบนั เชน่ การใชด้ นตรีเพอ่ื ผอ่ นคลายความเครียด การใชด้ นตรใี นงานรนื่ เรงิ การใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมการแสดงต่าง ๆ การใชด้ นตรใี นพธิ ีการ การใช้ดนตรปี ระกอบพิธีกรรมทาง ศาสนา เปน็ ต้น โดยให้นักเรียนดูเนื้อหาในหนังสอื เรยี นประกอบ 2. ครูสนทนาซกั ถามนกั เรียนเกีย่ วกับบทบาทของดนตรใี นชมุ ชนของนกั เรยี น ท่ีเคยเห็นการใช้ ดนตรใี นกิจกรรมต่าง ๆ และใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ ง ขั้นท่ี 3 ขน้ั สรปุ ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั สรุปเรอื่ ง บทบาทและอทิ ธิพลของดนตรี โดยครูคอยให้ความรู้เสริมในสว่ นท่ี นักเรยี นไมเ่ ขา้ ใจหรือสรุปไม่ตรงกับจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขน้ั ที่ 4 ฝกึ ฝนนักเรยี น 1. ให้นกั เรยี นปฏบิ ัติ กจิ กรรม ประยกุ ต์ใช้ดนตรีรว่ มกับกิจกรรมในชีวิตประจำวนั ของตนเอง และ กิจกรรม อธิบายบทบาทของดนตรที ่ีมีต่อสงั คม แล้วใหแ้ ตล่ ะคนออกมานำเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น 2. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน

แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะ-ดนตรี ม. 1 48 3. ใหน้ ักเรยี นทำโครงงานตามความสนใจ ขั้นท่ี 5 การนำไปใช้ นกั เรยี นสามารถนำความรเู้ รือ่ ง บทบาทและอิทธพิ ลของดนตรี ไปใช้เปน็ แนวทางในการเลือกชม การแสดงดนตรีต่าง ๆ ไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสม เพือ่ ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ครอบครัว และชุมชนของ ตนเอง 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. กจิ กรรมสำหรบั กลมุ่ สนใจพเิ ศษ ศึกษาลกั ษณะการประยกุ ต์ใช้ดนตรีหรือบทเพลงของสมาชิกในครอบครวั และสรุปว่าสมาชกิ แต่ละคนใช้ดนตรหี รือบทเพลงประกอบกจิ กรรมใดบา้ งในแต่ละวัน แล้วนำมาเลา่ ให้ครแู ละเพื่อน ๆ ฟงั 2. กจิ กรรมสำหรบั ฝกึ ทกั ษะเพ่ิมเติม นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน รว่ มกันศึกษาช่ือเพลงหรอื วงดนตรีท่ใี ชส้ ำหรับฟังและร้องใน งานรืน่ เรงิ ใชป้ ระกอบกจิ กรรมการแสดง ใช้ในพธิ ีการ และใชใ้ นการประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนาในชุมชน ของตนเองหรอื ชุมชนใกลเ้ คียง แล้วเขียนสรุปมาเป็นขอ้ ๆ ใหไ้ ดม้ ากทสี่ ุด นำมาอภปิ รายใหค้ รแู ละเพอื่ น ๆ ฟงั 9. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้ 1. กจิ กรรมการแสดงดนตรใี นชุมชน 2. บทเพลงและวงดนตรตี ่าง ๆ 3. ใบกิจกรรม 4. ห้องสมุด 5. ห้องดนตรี 6. ผ้รู ูด้ า้ นดนตรีประเภทตา่ ง ๆ ในชุมชน 10. บนั ทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจัดการเรยี นร.ู้ ....................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................ 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจดั การเรยี นร.ู้ .................................................................... แนวทางการแกไ้ ข............................................................................................ 3. สิ่งทไี่ ม่ได้ปฏิบัตติ ามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรยี นร.ู้ ....................................................................... ลงช่ือ..................................................(ผสู้ อน) ( นายเดชนรินทร์ เทิดทนู เมธา )

แผนการจดั การเรียนรู้ ศลิ ปะ-ดนตรี ม. 1 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook