Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ม.3

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.3

Published by Dechnareen TheNdthunmethe, 2021-05-07 17:45:11

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ ม.3

Search

Read the Text Version

ค่มู ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 1

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 2 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 การใช้องค์ประกอบในการสร้างสรรค์ดนตรีและงานศิลปะแขนงอื่น สาระท่ี 2 ดนตรี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สร้างสรรค์องค์ประกอบดนตรี เวลา 2 ชั่วโมง 1. สาระสาคัญ การจดั ฉาก แสงสี และรูปทรง รูปร่างของเคร่ืองดนตรี มีความเก่ียวขอ้ งโดยตรงกบั ทศั นศิลป์ และจงั หวะลีลาของ บทเพลงสามารถใชป้ ระกอบการแสดงนาฏศิลป์ 2. ตัวชีว้ ดั ช้ันปี เปรียบเทียบองคป์ ระกอบท่ีใชใ้ นงานดนตรีและงานศิลปะอ่ืน (ศ 2.1 ม. 3/1) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. รู้และเขา้ ใจเกี่ยวกบั การแสดงดนตรีประกอบแสง สี ฉากในแตล่ ะรูปแบบ (K) 2. รู้และเขา้ ใจที่มาของรูปร่าง รูปทรงและลวดลาย ของเครื่องดนตรีไทย (K) 3. จาแนกลกั ษณะการผสมผสานระหวา่ งดนตรีไทยกบั ดนตรีสากลได้ (P) 4. เห็นถึงความงดงามของการผสมผสานในการบรรเลงดนตรีไทยประกอบกบั การแสดงทางนาฏศิลป์ ได้ (A) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ค่านิยม (A) 1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากการเห็นถึงความ 1. สงั เกตจากการจดั ฉาก แสง สี แสดงความคดิ เห็น งดงามของการบรรเลงดนตรีไทย และออกแบบรูปร่าง รูปทรงของ 2. สังเกตจากการตรวจการวดั ประกอบการแสดงทางนาฏศิลป์ เคร่ืองดนตรีไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและ และประเมินผลการเรียนรู้ประจา 2. สังเกตจากความสนใจและ สวยงาม หน่วย ความกระตือรือร้นในการปฏิบตั ิ 2. สังเกตจากพฤติกรรมขณะ 3. สังเกตจากการตรวจ กิจกรรม ปฏิบตั ิกิจกรรมรายบุคคลและ แบบทดสอบก่อนเรียน 3. สงั เกตจากความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่ม และความมีระเบียบขณะปฏิบตั ิ 3. สังเกตจากการปฏิบตั ิกิจกรรม กิจกรรม ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ 4.สงั เกตจากการยอมรับความ 4. สังเกตจากความต้งั ใจและ คดิ เห็นของผอู้ ่ืนขณะปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิกิจกรรมตามข้นั ตอน กิจกรรม 5. สงั เกตจากการนาไปใชใ้ น ชีวติ ประจาวนั

ค่มู ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 3 5. สาระการเรียนรู้ • การจดั ฉาก แสงสี ในการแสดงดนตรีและการใชร้ ูปร่าง รูปทรงทางทศั นศิลป์ ในการสร้างสรรค์ เคร่ืองดนตรีไทย 6. แนวทางการบูรณาการ ภาษาไทย การอา่ น การเขยี น การบนั ทึกขอ้ มูล การเปรียบเทียบ การสรุป และการนาเสนอ ผลงาน คณติ ศาสตร์ รูปร่าง รูปทรงของเคร่ืองดนตรีท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยกบั รูปทรงเรขาคณิต สังคมศึกษาฯ การทางานเป็นกล่มุ และรับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี ศิลปะ (ทศั นศิลป์ ) การออกแบบเครื่องดนตรี การจดั แสง สี และฉากบนเวที ภาษาต่างประเทศ การอ่านออกเสียงคาศพั ทด์ นตรีตา่ ง ๆไดถ้ กู ตอ้ ง 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพอ่ื ประเมินความรู้ 2. ครูถามนกั เรียนวา่ การใชแ้ สง สี และฉากบนเวทีมีความสาคญั อยา่ งไร และนกั เรียนพบเห็นอะไรบา้ งในการ แสดงดนตรี เช่น บนเวทีฉากแบบใด และมีความสวยงามมากนอ้ ยเพยี งใด เป็นตน้ ขน้ั ท่ี 2 ข้นั สอน 1. ครูอธิบายถึงหลกั การจดั ฉาก แสง สีในการแสดงดนตรีไทยและดนตรีสากล รวมถึงอธิบายความสาคญั ของการ จดั ฉาก แสงสีในการแสดงดนตรี 2. ครูนาภาพตวั อยา่ งหรือ VCD DVD การจดั แสง สีบนเวทีที่สวยงามมาใหน้ กั เรียนชม แลว้ อธิบายถึง องคป์ ระกอบทางศิลปะท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั วิชาทศั นศิลป์ 3. ครูอธิบายเกี่ยวกบั รูปร่าง รูปทรง ลวดลายเครื่องดนตรีพร้อมภาพประกอบและเลา่ ถึงที่มาของรูปทรงน้นั ๆ และเช่ือมโยงเน้ือหาใหเ้ ก่ียวขอ้ งกบั การออกแบบรูปร่าง รูปทรง ลวดลายน้นั ๆ วา่ สมั พนั ธ์กบั วชิ าทศั นศิลป์ อยา่ งไร 4. ครูแบ่งกลมุ่ นกั เรียน กลุ่มละ 4–5 คน แลว้ ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งและบรรยายความงามของฉาก แสง สี และ รูปร่าง รูปทรง ลวดลายของเคร่ืองดนตรี 5. ใหน้ กั เรียนศึกษาขอ้ มูลเพ่ิมเติมจากหนงั สือเรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพ์ วฒั นาพานิช จากดั ขน้ั ที่ 3 ข้ันสรุป ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สรุปเรื่อง การใช้องค์ประกอบในการสร้างสรรค์งานดนตรีและศิลปะแขนงอื่น เป็นความคดิ ของช้นั เรียน โดยครูคอยใหค้ วามรู้เสริมในส่วนที่นกั เรียนไมเ่ ขา้ ใจ หรือสรุปไม่ตรงกบั เน้ือหา ขน้ั ที่ 4 ฝึ กฝนนักเรียน

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 4 1. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ร่วมกนั ออกแบบเวทีการแสดงดนตรีที่มีแสง สีและฉากหลงั ท่ีสวยงาม 2. นกั เรียนออกแบบรูปร่าง รูปทรงเคร่ืองดนตรีตามจินตนาการของนกั เรียนโดยสร้างสรรคจ์ ากลวดลายของ ศิลปะไทย 3. ครูใหน้ กั เรียนออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียนทุกคน เม่ือนาเสนอเสร็จแลว้ ครูคอยใหค้ าแนะนาและช้ีแนะ นกั เรียน 4. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั คดั เลือกและตดั สินผลงานที่สวยงามที่สุดของเพือ่ นในช้นั เรียน โดยมีรางวลั มอบแก่ผลงาน ท่ีไดร้ ับการตดั สินใหช้ นะเลิศ 5. ใหน้ กั เรียนฝึ กฝนเพิ่มเติมโดยใชก้ ิจกรรมที่ 1 และกิจกรรมท่ี 2 ในแบบฝึ กทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ดนตรี– นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพ์ วฒั นาพานิช จากดั ข้นั ท่ี 5 การนาไปใช้ นกั เรียนนาความรู้ไปใชใ้ นการออกแบบรูปร่าง รูปทรง และลวดลายเคร่ืองดนตรีตา่ ง ๆ ตามจินตนาการ และ นาไปใชอ้ อกแบบเวทีในการแสดงต่าง ๆ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กจิ กรรมสาหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ 1) นกั เรียนฝึกจดั แสง สี และฉากในการแสดงต่าง ๆ 2) นกั เรียนประดิษฐ์เครื่องดนตรีข้นึ ตามจินตนาการของตวั เองโดยใชร้ ูปร่าง รูปทรง ลวดลายของเครื่องดนตรี ไทยเป็ นหลกั 2. กิจกรรมสาหรับฝึ กทักษะเพมิ่ เติม นกั เรียนร่วมกนั นารูปร่าง รูปทรงเรขาคณิตมาเปรียบเทียบกบั รูปร่าง รูปทรงของเครื่องดนตรีไทยวา่ มีความ เหมือนหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. VCD, DVD การแสดงดนตรีตา่ ง ๆ ท้งั ดนตรีไทยและดนตรีสากล 2. ใบงาน 3. ภาพการแสดงดนตรีในรูปแบบต่าง ๆ 10. บนั ทกึ หลังการจัดการเรียนรู้

คู่มอื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 5 1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้........................................................................ แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจดั การเรียนรู้..................................................................... แนวทางการแกไ้ ข............................................................................................ 3. สิ่งที่ไม่ไดป้ ฏิบตั ิตามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้........................................................................ ลงชื่อ..................................................(ผสู้ อน) ( นายเดชนรินทร์ เทิดทนู เมธา )

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 6 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เทคนิคท่ีใช้ในการสร้างสรรค์งานดนตรีและศิลปะแขนงอื่น สาระที่ 2 ดนตรี ช้ันมัธยมศึกษาปี่ ท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์องค์ประกอบดนตรี เวลา 1 ช่ัวโมง 1. สาระสาคัญ การแสดงดนตรีไทยนอกจากจะบรรเลงเฉพาะดนตรีไทยอยา่ งเดียวแลว้ ยงั มีการนาเอาดนตรีไทยมาผสมกบั ดนตรีสากลประกอบกบั การแสดงนาฏศิลป์ จินตลีลาต่าง ๆ ซ่ึงเป็นเทคนิคผสมผสานระหวา่ งดนตรีไทยกบั ดนตรีสากล และดนตรีกบั นาฏศิลป์ ไดอ้ ยา่ งลงตวั 2. ตัวชี้วดั ช้ันปี 1. เปรียบเทียบองคป์ ระกอบท่ีใชใ้ นงานดนตรีและศิลปะอ่ืน (ศ 2.1 ม. 3/1) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. รู้และเขา้ ใจเทคนิคการผสมระหวา่ งดนตรีไทยและดนตรีสากล (K) 2. รู้และเขา้ ใจเทคนิคการนาดนตรีกบั นาฏศิลป์ มาผสมผสานกนั (K) 3. บอกและสามารถปฏิบตั ิตามวิธีการและหลกั การในการนาดนตรีกบั นาฏศิลป์ มาผสมกนั ได้ (P) 4. มีความภาคภมู ิใจในดนตรีไทยท่ีสามารถนามาผสมกนั ไดอ้ ยา่ งลงตวั กบั ดนตรีสากล (A) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ค่านยิ ม (A) 1. สังเกตจากการถามและแสดง 1. สังเกตจากความสนใจในการ 1. สังเกตจากการนาดนตรีไทยผสมผสาน ความคดิ เห็น ปฏิบตั ิกิจกรรมและปฏิบตั ิ กบั ดนตรีสากลไดถ้ กู ตอ้ งและนาดนตรีกบั 2. จากการตรวจการวดั และ กิจกรรมอยา่ งมีความสุข นาฏศิลป์ มาผสมผสานกนั ไดถ้ ูกตอ้ ง ประเมินผลการเรียนรู้ประจา 2. สงั เกตจากความรับผิดชอบ 2. สังเกตจากพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิกิจกรรม หน่วย และความมีระเบียบขณะปฏิบตั ิ รายบคุ คลและปฏิบตั ิกิจกรรมกลมุ่ 3. จากการตรวจใบงาน กิจกรรม 3. สังเกตจากการปฏิบตั ิกิจกรรมไดอ้ ยา่ ง 3. สังเกตจากการยอมรับความ คลอ่ งแคลว่ คิดเห็นของผอู้ ื่นขณะปฏิบตั ิ 4. สังเกตจากความต้งั ใจและปฏิบตั ิกิจกรรม กิจกรรม ตามข้นั ตอน 4. สังเกตจากความภาคภูมิใจใน 5. สงั เกตจากการนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ดนตรีไทย

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 7 5. สาระการเรียนรู้ • เทคนิคการนาดนตรีไทยมาผสมกบั ดนตรีสากลและการนาดนตรีมาผสมกบั การแสดงนาฏศิลป์ 6. แนวทางการบูรณาการ ภาษาไทย การอา่ น การเขียน การออกเสียง และการเปรียบเทียบ วทิ ยาศาสตร์ การจาแนกเสียงเครื่องดนตรี สังคมศึกษาฯ การปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกลมุ่ และการสร้างมนุษยส์ มั พนั ธ์ สุขศึกษาฯ การเคล่ือนไหวร่างกายในการบรรเลงดนตรีและการเคลื่อนไหวร่างกายในทาง นาฏศิลป์ ศิลปะ (นาฏศิลป์ ) การแสดงนาฏศิลป์ ภาษาต่างประเทศ ศพั ทเ์ ฉพาะทางดนตรีสากล 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขัน้ ท่ี 1 ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูอธิบายถึงวิธีการและประเภทของวงดนตรีไทยและดนตรีสากลท่ีนามาใชบ้ รรเลงผสมผสานกนั และชนิด หรือประเภทของวงดนตรีไทยที่นามาใชผ้ สมผสานกบั การแสดงนาฏศิลป์ 2. ครูใหน้ กั เรียนจินตนาการถึงภาพของการบรรเลงรวมกนั ของวงดนตรีและการแสดงนาฏศิลป์ วา่ ควรมีลกั ษณะ อยา่ งไร แลว้ สุ่มตวั อยา่ งนกั เรียน 3 คนออกมาเล่าใหเ้ พอ่ื น ๆ ฟัง ขน้ั ท่ี 2 ข้ันสอน 1. ครูอธิบายถึงการนาวงดนตรีไทยมาบรรเลงร่วมกบั วงซิมโฟนีออร์เคสตราพร้อมท้งั ใหน้ กั เรียนดูภาพประกอบ ท่ีครูเตรียมมาพร้อมกบั ยกตวั อยา่ งวงดนตรีไทยท่ีมีลกั ษณะการผสมวงตามท่ีครูอธิบาย 2. ครูเปิ ด VCD การแสดงดนตรีประกอบการแสดงนาฏศิลป์ หรือดนตรีไทยผสมกบั ดนตรีสากล แลว้ อธิบายถึง บทเพลงและช่ือการแสดงใน VCD น้นั พร้อมท้งั บอกเทคนิคที่ใชใ้ นการแสดงลงในใบงานที่ 1 เรื่อง เทคนิคท่ีใชใ้ นการ แสดงวงดนตรีไทยกบั วงดนตรีสากล 3. ใหน้ กั เรียนศึกษาขอ้ มูลเพ่ิมจาหนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นา พานิช จากดั ข้ันที่ 3 สรุป ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาเร่ือง เทคนิคที่ใช้ในการสร้างสรรค์งานดนตรีและศิลปะแขนงอ่ืน แลว้ แจกใบ งานให้นกั เรียนทาแลว้ ประเมินผล ขั้นที่ 4 ข้นั ฝึ กฝนนกั เรียน 1. ครูนาภาพการแสดงดนตรีไทยร่วมกบั ดนตรีสากลมาใหน้ กั เรียนจาแนกช่ือของเครื่องดนตรีไทยและเคร่ือง ดนตรีสากล

คมู่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 8 2. ครูใหน้ กั เรียนฝึกการผสมวงดนตรีไทยกบั วงดนตรีสากลหรือดนตรีกบั การแสดงนาฏศิลป์ ตามจินตนาการ แลว้ ให้ออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 3. ใหน้ กั เรียนฝึกฝนเพิม่ เติมโดยใชก้ ิจกรรมที่ 3 ในแบบฝึ กทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั ข้นั ท่ี 5 การนาไปใช้ นกั เรียนสามารถนาไปใชไ้ ดโ้ ดยการนาเคร่ืองดนตรีหลายชนิดมาบรรเลงร่วมกนั ตามจินตนาการของนกั เรียน เพ่อื แสดงความสามารถหรือพฒั นาทกั ษะทางดนตรี 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กจิ กรรมสาหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ นกั เรียนรวมกลมุ่ กนั บรรเลงดนตรีโดยผสมผสานดนตรีไทยกบั ดนตรีสากลแลว้ จดั เวทีแสดง เพอื่ พฒั นาทกั ษะ ทางดนตรี 2. กิจกรรมสาหรับฝึ กทกั ษะเพมิ่ เตมิ นกั เรียนแบ่งกลุ่มกนั รวบรวมช่ือวงดนตรีที่มีการผสมผสานระหวา่ งดนตรีไทยและดนตรีสากลในประเทศไทย โดยทาเป็ นโครงงาน 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพวงดนตรี ภาพการแสดงนาฏศิลป์ VCD DVD การแสดงดนตรี 2. บุคคลตา่ ง ๆ เช่น ครูสอนดนตรี นกั ดนตรี 3. ใบงาน 10. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ 1. ความสาเร็จในการจดั การเรียนรู้........................................................................ แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนรู้..................................................................... แนวทางการแกไ้ ข............................................................................................ 3. ส่ิงที่ไม่ไดป้ ฏิบตั ิตามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้........................................................................ ลงชื่อ..................................................(ผสู้ อน) ( นายเดชนรินทร์ เทิดทนู เมธา )

คมู่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 9 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 การเลือกใช้จงั หวะในการสร้างสรรค์บทเพลงและการเรียบเรียงทานองเพลง สาระท่ี 2 ดนตรี ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์องค์ประกอบดนตรี เวลา 2 ช่ัวโมง 1. สาระสาคัญ จงั หวะ หมายถึง การบรรเลงเป็นระยะ ๆ สม่าเสมอกนั ในทางดนตรีจงั หวะ หมายถึง การเคล่ือนที่ของแนว ทานองหรือเสียงในช่วงเวลาหน่ึง 2. ตวั ชี้วดั ช้ันปี อธิบายเหตผุ ลในการเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรีในการสร้างสรรคง์ านดนตรีของตนเอง (ศ 2.1 ม. 3/4) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. รู้และเขา้ ใจความหมายของจงั หวะสามญั และลกั ษณะทวั่ ไปของจงั หวะฉิ่ง (K) 2. รู้และเขา้ ใจในลกั ษณะของเครื่องหมายกาหนดอตั ราจงั หวะแต่ละประเภท (K) 3. มีความรู้สึกภาคภูมิใจในผลงานของตนเองและช่ืนชมในผลงานของผอู้ ื่น(A) 4. มีทกั ษะในการเคาะจงั หวะในกลุ่ม 2, 3, 4 จงั หวะท่ีเป็นจงั หวะหนกั ในทางดนตรีสากลได้ (P) 5. เขา้ ใจในอารมณ์เพลงแตล่ ะประเภทและสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานเพลงตามจินตนาการและความคดิ สร้างสรรคไ์ ด้ (P) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ค่านิยม (A) 1. สังเกตจากการถามและการ 1.สงั เกตจากความสนใจและ 1. สังเกตจากการเลือกใชจ้ งั หวะในการ แสดงความคดิ เห็น ความกระตือรือร้นในการปฏิบตั ิ สร้างสรรคบ์ ทเพลงและการเรียบเรียงทานอง 2. จากการตรวจการวดั และ กิจกรรม เพลงไดถ้ ูกตอ้ ง ประเมินผลการเรียนรู้ประจา 2. สังเกตจากความรับผิดชอบ 2. สงั เกตจากพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิกิจกรรม หน่วย และมีระเบียบในการปฏิบตั ิ รายบคุ คลแลปฏิบตั ิกิจกรรมรายกล่มุ 3. จากการตรวจใบงาน กิจกรรม 3. สังเกตจากการปฏิบตั ิกิจกรรมไดอ้ ยา่ ง 3. สังเกตจากการยอมรับความ คลอ่ งแคลว่ คิดเห็นของผอุ้ ื่นขณะปฏิบตั ิ 4. สงั เกตจากความต้งั ใจและปฏิบตั ิกิจกรรม กิจกรรม ตามข้นั ตอน 5. สังเกตจากการนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 10 5. สาระการเรียนรู้ • จงั หวะในทางดนตรีไทย จงั หวะในทางดนตรีสากล การเรียบเรียงทานองเพลง 6. แนวทางการบูรณาการ ภาษาไทย การอ่าน การเขียน และการพดู คณิตศาสตร์ การนบั จงั หวะและอตั ราความเร็วของจงั หวะตา่ ง ๆ สังคมศึกษาฯ การทางานเป็นกล่มุ และรับผิดชอบต่อหนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย ภาษาต่างประเทศ การอ่านออกเสียงคาศพั ทท์ างดนตรีตา่ ง ๆ 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ ที่ 1 ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสุ่มสอบถามนกั เรียนวา่ ใครรู่วา่ จงั หวะหมายถึงอะไร ใหน้ กั เรียนที่เขา้ ใจอธิบายใหเ้ พื่อน ๆ ฟัง 2. ครูอธิบายถึงความหมายของจงั หวะในทางดนตรีไทยและดนตรีสากลเพมิ่ เติมจากนกั เรียน ข้นั ท่ี 2 ข้ันสอน 1. ครูอธิบายถึงรูปแบบของจงั หวะที่ใชใ้ นดนตรีไทยวา่ ในดนตรีไทยมีลกั ษณะอยา่ งไร อตั ราจงั หวะท่ีชา้ ที่สุดใน ดนตรีไทยคือ อตั ราจงั หวะ 3 ช้นั อตั ราจงั หวะที่มีความเร็วปานกลางคอื อตั ราจงั หวะ 2 ช้นั และอตั ราจงั หวะท่ีเร็วท่ีสุด ในทางดนตรีไทยคอื อตั ราจงั หวะช้นั เดียว และอธิบายถึงความหมายของอตั ราจงั หวะสามญั จงั หวะฉิ่ง และจงั หวะหนา้ ทบั 2. ครูสาธิตวิธีการเคาะจงั หวะฉ่ิงใหน้ กั เรียนดูเป็นตวั อยา่ ง เร่ิมจากจงั หวะ 3 ช้นั 2 ช้นั และช้นั เดียว ตามลาดบั พร้อมท้งั ยกตวั อยา่ งเพลงในอตั ราจงั หวะตา่ ง ๆ มาใหน้ กั เรียนไดฟ้ ัง 3. ครูอธิบายลกั ษณะจงั หวะทางดนตรีสากล กลุม่ ของจงั หวะหนกั เร่ิมจากกลุ่ม 2 จงั หวะ 3 จงั หวะ และ 4 จงั หวะ ตามลาดบั แลว้ ใหค้ รูใชเ้ ครื่องเคาะจงั หวะ เช่น ไมก้ ลองหรือกลองสแนร์สาธิตการเคาะจงั หวะในกลุ่มต่าง ๆ แลว้ ให้ นกั เรียนปฏิบตั ิตามเป็นรายบคุ คล 4. ครูอธิบายเร่ือง เคร่ืองหมายกาหนดจงั หวะ ลกั ษณะของตวั เลข เช่น จงั หวะ 4 บอกความหมายของเลขตวั บน และเลขตวั ลา่ ง อธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจแลว้ ใหน้ กั เรียนฝึกปฏิบตั ิตามแบบทดสอบท่ีค4รูกาหนด 5. ครูอธิบายเร่ือง ความเร็วของจงั หวะ บอกคาศพั ทท์ ่ีเป็นช่ือของความเร็วจงั หวะ เช่น Adagio หมายถึง อตั รา จงั หวะชา้ มาก มีความเร็วของจงั หวะที่ 72–90 เป็นตน้ 6. ครูอธิบายเกี่ยวกบั เคร่ืองมือท่ีใชน้ บั จงั หวะ “เมโทรโนม” พร้อมสาธิตและบอกเหตุผลที่ตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือในการ กาหนดอตั ราความเร็วของจงั หวะ 7. ครูยกตวั อยา่ งการเรียบเรียงทานองเพลงในแต่ละแบบวา่ เพลงในจงั หวะชา้ จงั หวะปานกลาง และจงั หวะเร็วให้ อารมณ์เพลงที่แตกต่างกนั อยา่ งไร เช่น เพลงจงั หวะชา้ สามารถถา่ ยทอดอารมณ์เศร้า เหงา ออกมาไดด้ ี และใหน้ กั เรียน ปฏิบตั ิใบงานที่ 2 เรื่อง การเรียบเรียงทานองเพลง

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 11 8. ใหน้ กั เรียนศึกษาขอ้ มลู เพิ่มเติมจาหนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นา พานิช จากดั ขั้นที่ 3 ข้ันสรุป ครูและนกั เรียนสรุปเน้ือหาเร่ือง การเลือกใช้จังหวะในการสร้างสรรค์บทเพลงและการเรียบเรียงทานองเพลง เป็นความคิดของช้นั เรียน โดยครูคอยใหค้ วามรู้เสริมในส่วนท่ีนกั เรียนไม่เขา้ ใจหรือสรุปไม่ตรองกบั เน้ือหา ขัน้ ที่ 4 ฝึ กฝนนักเรียน 1. ใหน้ กั เรียนฝึ กปฏิบตั ิการเคาะจงั หวะทางดนตรีไทยและดนตรีสากลในรูปแบบของจงั หวะต่าง ๆ และแจกใบ งานให้นกั เรียนทา โดยใหน้ กั เรียนเลือกบทเพลงที่ชื่นชอบมา 1 บทเพลง แลว้ บอกวา่ บทเพลงน้ีอยใู่ นอตั ราจงั หวะใด 24 และมีอารมณ์เพลงแบบใด ปละรวบรวมบทเพลงอตั ราจงั หวะ และ 2. ใหน้ กั เรียนฝึ กฝนเพ่ิมเติมโดยใชก้ ิจกรรมที่ 4 และกิจกรรมท่ี 5 ในแบบฝึ กทกั ษะ 4รายวิชาพ4้นื ฐาน ดนตรี– นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั ข้ันที่ 5 การนาไปใช้ นกั เรียนสามารถนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดโ้ ดยสร้างสรรคบ์ ทเพลงในจงั หวะตา่ ง ๆ ในการส่ืออารมณ์ ความรู้สึกของตนเอง เพอื่ พฒั นาทกั ษะความสามารถดา้ นดนตรี 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. กิจกรรมสาหรับกล่มุ สนใจพเิ ศษ นกั เรียนฟังเพลงแลว้ วิเคราะหว์ า่ เพลงท่ีฟังมีอตั ราจงั หวะเท่าใดและมีอารมณ์เพลงแบบใดโดยทาเป็นรายงานส่ง ครู 2. กจิ กรรมสาหรับฝึ กทักษะเพม่ิ เตมิ นกั เรียนรวบรวมบทเพลงที่อยู่ในอตั ราจงั หวะ 2/4 และ 4/4 โดยรวบรวมเป็นชื่อบทเพลงพร้อมเน้ือเพลงใน ลกั ษณะสื่อเทคโนโลยี เช่น ไฟลเ์ พลง Mp3 หรือในรูปแบบของแผน่ CD Audio เป็นตน้ 9. ส่ือการเรียนรู้ 1. เครื่องมือเคาะจงั หวะ เช่น ไมก้ ลอง กลองสแนร์ เป็นตน้ 2. CD เพลงตวั อยา่ งในลกั ษณะอตั ราจงั หวะตา่ ง ๆ 3. ใบงาน 4. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั 5. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั

คู่มอื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 12 10. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้ 1. ความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้........................................................................ แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปญั หา/อุปสรรคในการจัดการเรียนร.ู้ .................................................................... แนวทางการแกไ้ ข............................................................................................ 3. สิ่งท่ีไม่ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนร.ู้ ....................................................................... ลงชอื่ ..................................................(ผู้สอน) ( นายเดชนรินทร์ เทิดทูนเมธา )

ค่มู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 13 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 การเปรียบเทยี บความแตกต่างของบทเพลง สาเนียง อัตราจังหวะ รูปแบบของบทเพลง การประสานเสียง เคร่ืองดนตรีที่ใช้บรรเลง สาระที่ 2 ดนตรี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สร้างสรรค์องค์ประกอบดนตรี เวลา 3 ชั่วโมง 1. สาระสาคัญ บทเพลงจะมีความแตกตา่ งกนั ในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น สาเนียง อตั ราจงั หวะ รูปแบบของบทเพลง การประสานเสียง เครื่องดนตรีท่ีใชบ้ รรเลง เป็นตน้ 2. ตัวชี้วดั ช้ันปี เปรียบเทียบความแตกต่างระหวา่ งงานดนตรีของตนเองและผอู้ ื่น (ศ 2.1 ม. 3/5) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. รู้และเขา้ ใจในเอกลกั ษณ์เฉพาะของเพลงไทยเดิม วิธีการประพนั ธ์เพลง ลกั ษณะของเพลงที่บรรเลงในรูปแบบ ตา่ ง ๆ (K) 2. รู้และเขา้ ใจลกั ษณะการบรรเลงของดนตรีสากล อารมณ์เพลงหลากหลายแบบ ซ่ึงแทนดว้ ยเสียงเคร่ืองดนตรี ชนิดตา่ ง ๆ (K) 3. รู้และเขา้ ใจในรูปแบบของการประสานเสียงในดนตรีไทยและดนตรีสากล (K) 4. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของบทเพลงไทยและมีจิตสานึกในการอนุรักษเ์ คร่ืองดนตรีไทยและเพลงไทย (A) 5. จาแนกรูปแบบของเพลงไทยได้ (P) 6. รู้และเขา้ ใจประเภทของเครื่องดนตรีไทยประเภทตา่ ง ๆ และจาแนกประเภทของเครื่องดนตรีสากลได้ (P) 7. ขบั ร้องเพลงประสานเสียงได้ (P) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ค่านยิ ม (A) 1. สงั เกตจากการถามและแสดง 1. สงั เกตจากการตระหนกั ถึง 1. สังเกตจากความสามารถในการจาแนกรูปแบบ ความคดิ เห็น ความสาคญั ของเพลงไทยและมี ของเพลงไทยถูกตอ้ ง 2. จากการตรวจการวดั และ จิตสานึกในการอนุรักษเ์ คร่ือง 2. สงั เกตจากการขบั ร้องประสานเสียงไดถ้ กู ตอ้ ง ประเมินผลการเรียนรู้ประจา ดนตรีไทยและเพลงไทย หน่วย

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 14 ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ค่านยิ ม (A) 3. จากการตรวจแบบทดสอบ 2. สงั เกตจากความสนใจและ 3. สงั เกตจากการรู้จกั เครื่องดนตรีไทยประเภทตา่ ง หลงั เรียน ความกระตือรือร้นในการปฏิบตั ิ ๆ และจาแนกประเภทของเคร่ืองดนตรีสากลได้ 4. จากการตรวจใบงาน กิจกรรม ถูกตอ้ ง 3. สงั เกตจากความรับผิดชอบ 4. สงั เกตจากพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิกิจกรรม และความมีระเบียบขณะปฏิบตั ิ รายบคุ คลและปฏิบตั ิกิจกรรมกลมุ่ กิจกรรม 5. สงั เกตจากการปฏิบตั ิกิจกรรมไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ 4. สงั เกตจากการยอมรับความ 6. สงั เกตจากความต้งั ใจและปฏิบตั ิกิจกรรมตาม คิดเห็นของผอู้ ื่นขณะปฏิบตั ิ ข้นั ตอน กิจกรรม 7. สังเกตจากการนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั 5. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ 8. ประเมินพฤติกรรมตามแบบประเมินการขบั ร้อง การประเมินผลดา้ นคณุ ธรรม ประสานเสียง จริยธรรม และค่านิยม 9. ประเมินพฤติกรรมตามแบบการประเมินผลดา้ น ทกั ษะ/กระบวนการ 5. สาระการเรียนรู้ • เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหวา่ งดนตรีไทยกบั ดนตรีสากล 6. แนวทางการบูรณาการ ภาษาไทย การพูด การอ่าน การเขียน และการเปรียบเทียบ คณติ ศาสตร์ การนบั จงั หวะในอตั ราจงั หวะตา่ ง ๆ วทิ ยาศาสตร์ การสงั เกตและจาแนกรูปแบบและลกั ษณะของเพลงไทยและเครื่องดนตรีสากล และลกั ษณะของเสียงท่ีเกิดจากการร้องประสานเสียง สังคมศึกษาฯ การปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกลุม่ และการสร้างมนุษยสมั พนั ธ์ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน ครูพดู คุยกบั นกั เรียนโดยการเล่าถึงลกั ษณะเด่นของเพลงไทยเดิมและลกั ษณะของการแตง่ เพลง รูปแบบของบท เพลงไทยและเพลงพ้นื บา้ น การประสานเสียง และประเภทของเคร่ืองดนตรี ขน้ั ท่ี 2 ข้นั สอน 1. ครูอธิบายลกั ษณะการเอ้ือนในเพลงไทยเดิมและใชส้ ่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น CD เพลงหรือ

คมู่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 15 วดี ิทศั น์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การร้องเพลงไทยโดยเปิ ดใหน้ กั เรียนชมแลว้ อธิบายถึงท่ีมาของการใชเ้ ทคนิค “การเอ้ือน” และ ที่มาของบทเพลงวา่ การประพนั ธ์เพลงไทยเน้ือร้องส่วนใหญ่ที่ประพนั ธข์ ้นึ มาจากที่ใด และใชอ้ ตั ราจงั หวะใดในการ บรรเลง อธิบายถึงประเภทและความหมายของ เพลงเกร็ดและ เพลงตบั 2. ครูเปิ ดเพลงสากลที่บรรเลงโดยวงซิมโฟนีออร์เคสตรา แลว้ อธิบายถึงอารมณ์เพลงวา่ ในบทเพลงของวง ซิมโฟนีออร์เคสตราใชค้ วามดงั –เบาเป็นตวั กาหนดอารมณ์เพลง และในวงซิมโฟนีออร์เคสตราจะใชเ้ คร่ืองดนตรีชนิด ตา่ ง ๆ ส่ือถึงอารมณ์เพลง เช่น ใชไ้ วโอลินแทนสาเนียงของเพลงท่ีมีความโศกเศร้า เป็นตน้ 3. ครูยกตวั อยา่ งบทเพลงที่อยใู่ นอตั ราจงั หวะ 2 และ 4 แลว้ อธิบายวา่ จงั หวะ 2 และ 4 ต่างกนั และมีวิธีการนบั แบบง่าย ๆ อยา่ งไร 4. ครูอธิบายรูปแบบของบทเพลงพ้นื บา้ นวา่ ล4กั ษณะขอ4งดนตรีพ้นื บา้ นมีจุดเด่นอ4ยา่ งไร พร้อ4มท้งั ยกตวั อยา่ ง ผลงานเพลงพ้ืนบา้ นมาให้นกั เรียนฟัง 5. ครูอธิบายเกี่ยวกบั วิธีการประสานเสียงในดนตรีไทย พร้อมท้งั ยกตวั อยา่ ง 6. ครูอธิบายเกี่ยวกบั วิธีการประสานเสียงในดนตรีสากล พร้อมท้งั ยกตวั อยา่ งโนต้ เพลงและเสียงเพลงการขบั ร้อง ประสานเสียง ดงั น้ี 1) การประสานเสียงแบบแคนนอน (Canon) 2) การประสานเสียงแบบราวน์ด (Round) 7. ครูใหน้ กั เรียนฝึกร้องเพลงประสานเสียงท้งั 2 แบบแลว้ ประเมินผลเป็นรายกลุ่ม 8. ครูนาภาพเคร่ืองดนตรีไทยและสากลมาให้นกั เรียนศึกษาโดยอธิบายวา่ ในดนตรีไทยจะแบง่ ออกเป็น 4 ประเภท คอื เครื่องดีด เครื่องตี เคร่ืองสี เครื่องเป่ า เครื่องดนตรีสากลแบ่งเป็น 5 ประเภทคือ เคร่ืองสาย เครื่องลมไม้ เครื่องลมทองเหลือง เคร่ืองล่ิมนิ้ว เคร่ืองกระทบ แลว้ ให้นกั เรียนตอบคาถามโดยครูสุ่มรูปภาพของเคร่ืองดนตรีข้ึนมา 1 ชนิด แลว้ ใหน้ กั เรียนตอบวา่ ช่ือเครื่องดนตรีอะไรอยใู่ นกลุ่มเคร่ืองประเภทใด เช่น ปิ กโกโลเป็นเคร่ืองเป่ า อยใู่ นกลุ่ม เครื่องลมไม้ เป็นตน้ 9. ใหน้ กั เรียนศึกษาขอ้ มลู เพ่ิมเติมจากหนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พมิ พ์ วฒั นาพานิช จากดั ขัน้ ท่ี 3 สรุป ใหน้ กั เรียนสรุปเน้ือหาเรื่อง การเปรียบเทียบความแตกต่างของบทเพลง สาเนียง อัตราจังหวะ รูปแบบของบท เพลง การประสานเสียงเคร่ืองดนตรีที่ใช้บรรเลง โดยครูคอยใหค้ วามรู้เสริมท่ีนกั เรียนไม่เขา้ ใจหรือสรุปไม่ตรงกบั เน้ือหา ขน้ั ท่ี 4 ฝึ กฝนนักเรียน 1. นกั เรียนแบง่ กลุ่มกนั แลว้ ฝึกขบั ร้องเพลงประสานเสียงในแบบแคนนอนและแบบราวน์ด 2. นกั เรียนนาภาพเคร่ืองดนตรีชนิดตา่ ง ๆ มาจดั ต้งั เป็นวงดนตรีตามจินตนาการของนกั เรียนแลว้ ต้งั ช่ือวง

ค่มู ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 16 3. นกั เรียนรวบรวมบทเพลงที่ใชอ้ ตั รา 2/4 และ 4/4 มาอยา่ งนอ้ ยอตั ราจงั หวะละ 10 เพลง โดยทาเป็น ใบงานท่ี 3 เร่ืองรวบรวมบทเพลงอตั ราจงั หวะ 2/4 และ 4/4 ส่งครู 4. ใหน้ กั เรียนฝึ กฝนเพิ่มเติมโดยใชก้ ิจกรรมท่ี 6ในแบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 5. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน 6. ใหน้ กั เรียนทาโครงงานตามความสนใจ ขัน้ ที่ 5 การนาไปใช้ นกั เรียนสามารถนาไปใชใ้ นการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งบทเพลงไทยกบั เพลงสากล และสามารถนาไปต่อยอดในช้นั เรียนท่ีสูงข้ึนไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กจิ กรรมสาหรับกล่มุ สนใจพเิ ศษ นกั เรียนรวมกลุ่มกนั 6–8 คน แลว้ ฝึกขบั ร้องเพลงประสานเสียงในแบบแคนอนและแบบราวน์ด โดยครูคอยสอนและใหค้ าปรึกษาช้ีแนะแลว้ นาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 2. กิจกรรมสาหรับฝึ กทักษะเพมิ่ เติม นกั เรียนจดั วงดนตรีตามจินตนาการโดยใชภ้ าพเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ในหนงั สือเรียนมา ผสมกนั แลว้ นาเสนอผลงานพร้อมเสียงเพลงประกอบ 9. ส่ือการเรียนรู้ 1. ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ต่าง ๆ เก่ียวกบั การขบั ร้องเพลงไทยและการขบั ร้องเสียงประสานในดนตรีสากล 2. ใบงาน 3. ภาพเคร่ืองดนตรีประเภทตา่ ง ๆ 10. บันทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเร็จในการจดั การเรยี นร.ู้ ....................................................................... แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู.้ .................................................................... แนวทางการแกไ้ ข............................................................................................ 3. ส่งิ ที่ไมไ่ ดป้ ฏิบตั ติ ามแผน..................................................................................... เหตผุ ล............................................................................................................... 4. การปรบั ปรุงแผนการจดั การเรียนร.ู้ ....................................................................... ลงชอ่ื ..................................................(ผูส้ อน) ( นายเดชนรินทร์ เทิดทนู เมธา )

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 17 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 เทคนิคในการแสดงออก การขบั ร้อง และบรรเลงดนตรีเดี่ยว และรวมวง สาระท่ี 2 ดนตรี ช้ันมัธยมศึกษาปี่ ท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทักษะดนตรี เวลา 4 ช่ัวโมง 1. สาระสาคญั การขบั ร้อง และบรรเลงดนตรีเดี่ยว และรวมวงไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งไพเราะตอ้ งรู้และปฏิบตั ิตามเทคนิคตา่ ง ๆ ให้ ถูกตอ้ ง 2. ตวั ชี้วดั ช้ันปี ร้องเพลง เล่นดนตรีเด่ียว และรวมวง โดยเนน้ เทคนิคการร้อง การเลน่ การแสดงออก และคุณภาพเสียง (ศ 2.1 ม. 3/3) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. รู้และเขา้ ใจในการร้องเพลงไทยและเพลงสากลตามเทคนิคการร้อง (K) 2. รู้และเขา้ ใจเทคนิคการบรรเลงดนตรีเด่ียวและรวมวง (K) 3. มีความรับผดิ ชอบต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่ม ตรงตอ่ เวลา และรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น (A) 4. มีวินยั ในการฝึกซอ้ มและหมน่ั ฝึกฝนจนเกิดความชานาญและคอยช่วยเหลือผอู้ ื่น (A) 5. ปฏิบตั ิการเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง (P) 6. ร้องเพลงไทยและเพลงสากลไดถ้ ูกตอ้ งไพเราะ (P) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ค่านยิ ม (A) 1. สังเกตจากการถามและแสดง 1. สงั เกตจากการมองเห็นคุณคา่ 1. สงั เกตจากการหมน่ั ฝึ กซอ้ มอยา่ งมีข้นั ตอน ความคดิ เห็น ของบทเพลงไทยและบทเพลง และจดั เวลาซอ้ มอยา่ งเป็นระบบ 2. จากการตรวจการวดั และ สากล 2. สงั เกตจากพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิกิจกรม ประเมินผลการเรียนรู้ประจา 2. สงั เกตจากความสนใจและ รายบุคคลและปฏิบตั ิกิจกรรมกลุม่ หน่วย ความกระตือรือร้นในการปฏิบตั ิ 3 สังเกตจากการปฏิบตั ิกิจกรรมไดอ้ ยา่ ง 3. จากการตรวจแบบทดสอบ กิจกรรม คล่องแคล่ว ก่อนเรียน 3. สงั เกตจากการยอมรับความ 4. สงั เกตจากความต้งั ใจและปฏิบตั ิกิจกรรม คดิ เห็นของผอู้ ่ืนขณะปฏิบตั ิ ตามข้นั ตอน กิจกรรม 5. สังเกตจากการนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 6. ประเมินทกั ษะการปฏิบตั ิการร้องเพลงและ เป่ าขลุ่ยริคอร์เดอร์

คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 18 ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ค่านยิ ม (A) 4. สงั เกตจากความรับผดิ ชอบ และความมีระเบียบขณะปฏิบตั ิ กิจกรรม 5. สาระการเรียนรู้ • เทคนิคในการร้องเดี่ยว บรรเลงดนตรีเด่ียว และการบรรเลงดนตรีรวมวง 6. แนวทางการบูรณาการ ภาษาไทย การออกเสียงที่ถกู ตอ้ งในการร้องเพลง คณิตศาสตร์ การนบั จงั หวะ สังคมศึกษาฯ การทางานเป็นกลุม่ และรับผิดชอบต่อหนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย สุขศึกษาฯ การเคลื่อนไหวร่างกาย การดูแลสุขภาพเสียง และสุขภาพร่างกาย ภาษาต่างประเทศ การออกเสียงคาศพั ทท์ างดนตรีตา่ ง ๆ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขัน้ ท่ี 1 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพ่ือประเมินความรู้ 2. ครูพูดคยุ กบั นกั เรียนเกี่ยวกบั หลกั การร้องเพลงไทยและเพลงสากลโดยสนทนาซกั ถามประสบการณ์ในการ ร้องเพลงของนกั เรียน รวมถึงประสบการณ์ในการเล่นดนตรีเด่ียวและรวมวง 3. ครูแนะนานกั เรียนในการเลือกขลุย่ ริคอร์เดอร์ในการเรียนเร่ือง เทคนิคการบรรเลงดนตรีเดี่ยวและรวมวงเพื่อ ใชฝ้ ึกปฏิบตั ิ ขัน้ ท่ี 2 ข้นั สอน 1. ครูอธิบายเทคนิคการขบั ร้องเพลงไทยและเพลงสากล โดยครูอาจจะสาธิตใหน้ กั เรียนดูเองหรือใชส้ ื่อการ เรียนรู้ต่าง ๆ เช่น วีดิทศั นห์ รือแถบบนั ทึกเสียงเปิ ดใหน้ กั เรียนชมและฟัง 2. ครูนานกั เรียนฝึกขบั ร้องเพลงไทยเพลงลาวดวงเดือนโดยปฏิบตั ิตามข้นั ตอน 1) ครูนาแผนภูมิเพลงลาวดวงเดือนติดบนกระดานแลว้ อา่ นเน้ือร้องให้นกั เรียนฟัง 1 เที่ยว 2) ใหน้ กั เรียนอา่ นตามครูทีละวรรคตอนจนจบเพลง 3) ใหน้ กั เรียนอา่ นพร้อมกนั จนนกั เรียนส่วนใหญจ่ าเน้ือได้ 4) ครูเปิ ดเพลงลาวดวงเดือนให้นกั เรียนฟัง 1 เที่ยว 5) ครูขบั ร้องเพลงลาวดวงเดือนให้นกั เรียนฟังทีละวรรค 6) ใหน้ กั เรียนขบั ร้องตามครูจนจบเพลง

คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 19 7) ใหน้ กั เรียนขบั ร้องใหช้ านาญจนส่วนใหญข่ บั ร้องได้ 3. แลว้ ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มกนั ฝึกขบั ร้องเพ่อื เก็บคะแนน 4.ใหน้ กั เรียนฝึกขบั ร้องเพลงสากล โดยครูคอยแนะนานกั เรียนฝึกปฏิบตั ิโดยออกเสียงให้ถูกตอ้ งและกาหนดลม หายใจตามหลกั การร้องเพลงสากล 5. ครูใหน้ กั เรียนนาขลยุ่ รีคอร์เดอร์มาปฏิบตั ิการบรรเลงดนตรีเดี่ยว โดยครูอธิบายถึงประวตั ิของขลยุ่ ริคอร์เดอร์ และแนะนาวธิ ีการจบั ท่ีถูกตอ้ ง สาธิตใหน้ กั เรียนดู แลว้ ใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิตามและฝึกเป่ าตามวิธีการให้ถูกตอ้ ง 6. ครูสอนนกั เรียนเร่ิมจากการเป่ าในตาแหน่งของเสียงแรกคอื เสียงโดต่า โดยครูอธิบายวิธีการใชน้ ิ้วและต่า แหน่งของนิ้วในการปิ ดรูของขลุ่ยดว้ ย จากน้นั ใหน้ กั เรียนฝึ กเป่ าโนต้ สูงข้ึนเป็นลาดบั ตามบนั ใดเสียง โด เมเจอร์ คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โดสูง ใหน้ กั เรียนฝึกเป่ าใหค้ ล่องและให้นกั เรียนฝึกจาตาแหน่งเสียงโดยครูอาจจะบอกใหน้ กั เรียน เป่ าเสียง ลา ในทนั ทีทนั ใดกไ็ ด้ เพ่ือเป็นการฝึกนกั เรียนใหจ้ าตาแหน่งเสียง 7. เมื่อนกั เรียนฝึ กปฏิบตั ิข้นั พ้ืนฐานไดแ้ ลว้ ตอ่ ไปครูก็จะให้นกั เรียนเป่ าตามแบบฝึ กหดั ที่ครูกาหนดใหแ้ ลว้ สอบ เกบ็ คะแนน จากน้นั ครูใหน้ กั เรียนฝึกปฏิบตั ิบทเพลง In the woods แลว้ สุ่มนกั เรียนออกมาเป่ าใหเ้ พื่อนฟังหนา้ ช้นั เรียน จานวน 3–5 คน 8. ครูใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มกลมุ่ ละ 5 คนบรรเลงขลุ่ยโดยใหน้ กั เรียนฝึกเป่ าเพลง Silent night และบทเพลงอิสระ 1 บทเพลงโดยใหน้ กั เรียนจดั เวลาซอ้ มเอง แลว้ ครูนดั วนั เพ่ือทดสอบและเก็บคะแนน ระหวา่ งท่ีใหน้ กั เรียนฝึกซ้อมครูคอย ใหค้ าปรึกษาและช้ีแนะแนวทางใหน้ กั เรียนดว้ ย 9. ใหน้ กั เรียนศึกษาขอ้ มูลเพิ่มเติมจากหนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พมิ พ์ วฒั นาพานิช จากดั ขั้นท่ี 3 ข้นั สรุป 1. ร่วมกนั สรุปวิธีการขบั ร้องเพลงไทย เพลงสากล และการฝึกเป่ าขลุย่ ริคอร์เดอร์ รวมท้งั ปัญหาที่พบแลว้ ร่วมกนั คิดวธิ ีแกไ้ ขเพือ่ ปฏิบตั ิใหด้ ีข้นึ 2. ใหน้ กั เรียนตอบคาถามหลงั เรียนโดยครูคดิ คาถามและคาตอบท่ีครอบคลมุ เน้ือหามาถามนกั เรียนอยา่ งนอ้ ย 5 ขอ้ เพื่อเป็นการสรุปความเขา้ ใจของนกั เรียน ขนั้ ที่ 4 ฝึ กฝนนักเรียน 1. นกั เรียนแบง่ กลุ่มกนั 5 คนแลว้ ฝึกขบั ร้องเพลงไทยโดยครูคอยช้ีแนะแนวทางท่ีถกู ตอ้ ง 2. นกั เรียนแบ่งกลุ่มกล่มุ ละ 5 คน แลว้ ฝึกขบั ร้องเพลงสากลโดยครูคอยช้ีแนะแนวทางท่ีถูกตอ้ ง 3. นกั เรียนฝึกเป่ าขลุ่ยริคอร์เดอร์โดยขอคาแนะนาจากครูผสู้ อน เพือ่ เป็นแนวทางในการฝึกฝีมือใหเ้ กิดทกั ษะและ ความเชี่ยวชาญ 4. นกั เรียนรวมกลุ่มกนั เป่ าขล่ยุ ริคอร์เดอร์ เพอื่ ทดสอบทกั ษะการปฏิบตั ิงานกลุ่มและพฒั นาทกั ษะในการเป่ าขลุย่ ของตวั เอง

คู่มอื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 20 5. ใหน้ กั เรียนฝึ กฝนเพิ่มเติมโดยใชก้ ิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 8 กิจกรมท่ี 9 และกิจกรรมท่ี 10 ในแบบฝึ กทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั ขั้นท่ี 5 การนาไปใช้ นกั เรียนสามารถนาความรู้ที่ไดไ้ ปใชเ้ พือ่ พฒั นาทกั ษะดา้ นดนตรีของตวั เองและเป็นพ้ืนฐานท่ีใชใ้ นการปฏิบตั ิ เคร่ืองดนตรีเบ้ืองตน้ เพอ่ื จะนาไปต่อยอดในการปฏิบตั ิดนตรีในข้นั สูงต่อไป 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. กจิ กรรมสาหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ นกั เรียนรวมกลุ่มกนั ไม่เกิน 3 คนแลว้ แต่งเพลงงา่ ย ๆ ดว้ ยขลยุ่ ริคอร์เดอร์เป็นงานกลุ่ม แลว้ นาเสนอผลงานให้ เพ่อื น ๆ ชม 2. กิจกรรมสาหรับฝึ กทกั ษะเพมิ่ เตมิ นกั เรียนทารายงานเรื่อง ขลุย่ ริคอร์เดอร์ เป็นงานเดี่ยวส่งครู 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น วดี ิทศั น์ แถบบนั ทึกเสียง หรือ CD เพลงไทยและเพลงสากล 2. ใบงาน 3. หนงั สือเพลงต่าง ๆ 4. ผรู้ ู้ดา้ นดนตรีไทยและสากล 5. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 6. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 10. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจัดการเรียนรู.้ ....................................................................... แนวทางการพัฒนา............................................................................................ 2. ปญั หา/อุปสรรคในการจดั การเรยี นร.ู้ .................................................................... แนวทางการแกไ้ ข............................................................................................ 3. ส่งิ ทไี่ ม่ไดป้ ฏิบัตติ ามแผน..................................................................................... เหตผุ ล............................................................................................................... 4. การปรับปรงุ แผนการจดั การเรยี นรู.้ ....................................................................... ลงช่ือ..................................................(ผู้สอน) ( นายเดชนรินทร์ เทิดทูนเมธา )

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 21 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การประพนั ธ์เพลงเบื้องต้น สาระท่ี 2 ช้ันมธั ยมศึกษาป่ี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทักษะดนตรี เวลา 2 ชั่วโมง 1. สาระสาคญั 2 4 4 4 อตั ราจงั หวะ และ คือ อตั ราจงั หวะพ้นื ฐานท่ีนิยมใชใ้ นการประพนั ธ์เพลง ตวั ชี้วดั ช้ันปี 2. แต่งเพลงส้ัน ๆ ง่าย ๆ (ศ 2.1 ม. 3/3) 3. จดุ ป231ร...ะตรปสู้แรรงละะคหะพ์กเนนขัารกาั้ธเใถ์บรจึงียทอคนเงพวรคา้ลู ป์มงรสจะางั กคหอญัวบะข24ขอองแงอลจตัะงั รหา44วจะงั หด42วว้ ะยตแคล่าวงะาๆ44มสทน่ีใ(ชุกKใ้ส)นนบาทนเแพลละงมแนั่ ตใล่ จะ(รKูป)แบบ (A) 4. สามารถประพนั ธเ์ พลงในอตั ราจงั หวะ2 และ 4 ได้ (P) 44 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ค่านิยม (A) 1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากการเห็นความสาคญั 1. สังเกตจากความมงุ่ มน่ั เอาใจใส่ แสดงความคดิ เห็น ของอตั ราจงั หวะ ต่าง ๆ ที่ใชใ้ น และหมนั่ ฝึกฝนแตง่ เพลง 2. จากการวดั และประเมินผลการ การประพนั ธ์เพลง 2. สังเกตจากพฤติกรรมขณะ เรียนรู้ประจาหน่วย 2. สังเกตจากความสนใจและ ปฏิบตั ิกิจกรรมรายบคุ คลและ 3. จากการตรวจใบงาน ความกระตือรือร้นในการปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่ม กิจกรรม 3. สังเกตจากการปฏิบตั ิกิจกรรม 3. สังเกตจากความรับผดิ ชอบ ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่ว และความมีระเบียบขณะปฏิบตั ิ 4. สังเกตจากความต้งั ใจและ กิจกรรม ปฏิบตั ิกิจกรรมตามข้นั ตอน 4. สงั เกตจากการยอมรับความ 5. สังเกตจากการนาไปใชใ้ น คดิ เห็นของผอู้ ่ืนขณะปฏิบตั ิ ชีวิตประจาวนั กิจกรรม 6. ประเมินทกั ษะการประพนั ธ์ เพลง 5. สาระการเรียนรู้ 2 4 4 4 • เทคนิคการประพนั ธ์เพลงง่าย ๆ ดว้ ยอตั ราจงั หวะ และ

คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 22 6. แนวทางการบูรณาการ ภาษาไทย การสื่อสารกนั ในกลุ่ม การอ่าน การเขยี น คณิตศาสตร์ การนบั จงั หวะและค่าของอตั ราจงั หวะ สังคมศึกษาฯ การทางานเป็นกลมุ่ และรับผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ีที่ไดร้ ับมอบหมาย ภาษาต่างประเทศ ศพั ทเ์ ฉพาะทางดนตรีสากล 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสนทนากบั นกั เรียนถึงการนบั จงั หวะ 2 และจงั หวะ 4 โดยยกตวั อยา่ งเพลง เช่น เพลงกราวกีฬา วา่ 4 4 อยใู่ นอตั ราจงั หวะใดประกอบการอธิบาย 2. ครูช้ีแจงนกั เรียนถึงการเรียนการสอนในหน่วยการเรียนรู้น้ีวา่ นกั เรียนตอ้ งซ้ือสมุดบรรทดั 5 เสน้ เพอื่ ใชใ้ นการ ประพนั ธ์เพลง ข้ันท่ี 2 ข้นั สอน 1. ครูเปิ ดเพลงท่ีใชอ้ ตั ราจงั หวะ 2 ใหน้ กั เรียนฟัง แลว้ ถามวา่ ใครรู้จกั เพลงที่เปิ ดใหฟ้ ังบา้ ง และให2น้ .กัคเรรูอียธนิบเคาายะถจึงงั กหาวระใชตอ้ามตั เรพา่ือจเงั ปห็นวกะา4รฝ42ึกวทา่ กันษิยะมขใช้นั ใ้พน้ืนเพฐาลนงสาหรับการเดินแถวสวนสนามหรือท่ีเรียกว่า เพลงมาร์ช 3. ครูเปิ ดเพลงท่ีใชอ้ ตั ราจงั หวะ 4 ใหน้ กั เรียนฟัง แลว้ ถามวา่ ใครรู้จกั เพลงที่เปิ ดใหฟ้ ังบา้ ง 4. ครูอธิบายถึงอตั ราจงั หวะ 4 4วา่ นิยมใช่ในบทเพลงป๊ อบปูล่าทวั่ ๆ ไป ยกตวั อยา่ งเพลงมาใหน้ กั เรียนฟัง 1 แ5ล.ว้ คใรหูสค้ อรนูอนธิบกั เารยียวนิธเีกร่ืาอรงนกบั าจรากกา4นห้นันใดหอน้ตั กัราเรจียงั นหฝวึกะขเคอางะจจงังั หหววะะตา24ม เพลง เพ่ือเป็นการฝึกทกั ษะข้นั พ้ืนฐาน แลว้ ใหน้ กั เรียนสร้างหอ้ งเพลงข้ึนมา 4 หอ้ ง เพลง ใหน้ กั เรียนเขียนและทาความเขา้ ใจไปดว้ ยและเปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนไดซ้ กั ถามทุกขอ้ สงสัย ครูใหน้ 6กั .เครีรยูสนอเขนียนนกัแเลรีะยทนาเรค่ือวงามกเาขรา้กใาจหไนปดดอว้ ยตั แรลาจะงัเปหิ ดวโะอขกอางสจใงั หหน้วะกั เรี44ยนไแดลซ้ ว้ กั ใถหาน้ มกัทเกุรียขนอ้ สสรงส้างัยหอ้ งเพลงข้ึนมา 4 หอ้ ง 7. ใใคหหรูในน้้ หกกัั น้เเรรกัีียยเนนรียแศนสึกฝษดึกงาขคกอาว้ รามปมลู ครเพะดิ พิ่มเหเนั ต็นธิมว์เจพา่ เาลพกงลหงง่านใยงันสๆอือตัคเรรนีายลจนะงั หร1า6วยะหวชิอ้ าง24พเพน้ื ลฐแงาลแนะลอว้ดตัในหรตาอ้ รจอี–งั กนหมาวฏาะนศาิลเ44สป์ นมแอ.ตผ3กลบตงา่รางิษนกทัหนั นสอา้ายชนา่ ้นังกั ไเพรรียิมนพ์ 8. 9. วฒั นาพานิช จากดั ขั้นท่ี 3 สรุป ครูและนกั เรียนสรุปเน้ือหาในบทเรียนและอภิปรายถึงปัญหาที่เกิดข้ึนในการประพนั ธ์เพลง และแนวทางในการ แกไ้ ขเพ่อื ปฏิบตั ิใหด้ ีข้นึ ขน้ั ท่ี 4 ข้นั ฝึ กฝนนกั เรียน

คมู่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 23 1. นกั เรียนรวมกลุ่มกนั 4–5 คน แลว้ ช่วยกนั ประพนั ธเ์ พลงข้ึนมา 1 เพลงโดยเพลงน้นั จะตอ้ งมีความยาวไม่นอ้ ย กวา่ 2 นาทีและนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียนใหค้ รูและเพ่ือน ๆ ฟังแลว้ ช่วยกนั ประเมินผล 2. ใหน้ กั เรียนฝึ กฝนเพิ่มเติมโดยใชก้ ิจกรรมท่ี 11 และกิจกรรมท่ี 12 ใบแบบฝึ กทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี– นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั ข้ันท่ี 5 การนาไปใช้ นกั เรียนสามารถนาความรู้ท่ีไดไ้ ปใชเ้ พ่ือพฒั นาทกั ษะของตวั เองในการประพนั ธ์เพลง และเป็นพ้ืนฐานในการ เรียนดนตรีในข้นั สูงต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กิจกรรมสาหรับกล่มุ สนใจพเิ ศษ นกั เรียนประพนั ธเ์ พลงในอตั ราจงั หวะ 4 1 เพลง โดยบทเพลงจะตอ้ งมีความไพเราะและมี เมโลด้ีที่ฟังติดหู หรือสนุกสนานร่าเริง 1 เพลง แลว้ บรรเลงใหเ้ พื่อ4นฟังหนา้ ช้นั เรียน 2. กจิ กรรมสาหรับฝึ กทกั ษะเพม่ิ เติม นกั เรียนร่วมกนั วจิ ารณ์ผลงานเพลงป๊ อบปลู า่ ร์ถึงวิธีการแตง่ ความหมาย ความไพเราะของเมโลด้ี จุดเด่นและสิ่งท่ี ควรปับปรุงในใบงานท่ี 4 เร่ือง วิจารณ์ผลงานเพลงป๊ อบปูล่าร์ ส่งครู 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือทฤษฏีดนตรีเบ้ืองตน้ 2. แถบบนั ทึกเสียงเพลงอตั ราจงั หวะ 2 และ 4 44 3. สมุดบรรทดั 5 เสน้ 4. ใบงาน 5. ผรู้ ู้ดา้ นดนตรีสากล 10. บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเร็จในการจัดการเรียนร้.ู ....................................................................... แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นรู.้ .................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................ 3. ส่ิงทไี่ ม่ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนรู.้ ....................................................................... ลงชอื่ ..................................................(ผู้สอน) ( นายเดชนรนิ ทร์ เทิดทนู เมธา )

คมู่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 24 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การจัดการแสดงดนตรีในโอกาสต่าง ๆ สาระที่ 2 ดนตรี ช้ันมัธยมศึกษาปี่ ท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทักษะดนตรี เวลา 2 ช่ัวโมง 1. สาระสาคญั การจดั การแสดงดนตรีต่าง ๆ ตอ้ งมีการเตรียมการ เช่น การจดั หาวงดนตรี การจดั เตรียมสถานที่ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีเป็น ส่ิงสาคญั ที่จะนาไปใชใ้ ห้งานแสดงดนตรีออกมาดีที่สุด 2. ตัวชีว้ ดั ช้ันปี นาเสนอหรือจดั การแสดงดนตรีท่ีเหมาะสมโดยบรู ณาการกบั สาระการเรียนรู้อ่ืนในกลุ่มศิลปะ (ศ 2.1 ม. 3/7) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. รู้และเขา้ ใจหลกั การเลือกวงดนตรีใหเ้ หมาะสมกบั การแสดงและลกั ษณะของงาน (K) 2. รู้และเขา้ ใจถึงหลกั การเลือกเพลงสาหรับการแสดงในงานรูปแบบตา่ ง ๆ (K) 3. สามารถทางานที่ไดร้ ับมอบหมายในการจดั การแสดงร่วมกบั ฝ่ ายตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ และรับฟังความ คดิ เห็นของคนอ่ืน (A) 4. มีทกั ษะในหนา้ ที่ของตนเองในการจดั การแสดงดนตรีในโอกาสตา่ ง ๆ (P) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ค่านยิ ม (A) 1. สังเกตจากการถามและแสดง 1. สงั เกตจากความสนใจและ 1. สงั เกตจากพฤตกรรมขณะปฏิบตั ิกิจกรรมรายบคุ คล ความคดิ เห็น ความกระตือรือร้นในการปฏิบตั ิ และปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่ม 2. จากการวดั และประเมินผลการ กิจกรรม 2. สงั เกตจากการปฏิบตั ิกิจกรรมไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ เรียนรู้ประจาหน่วย 2. สังเกตจากความรับผิดชอบ 3. สังเกตจากความต้งั ใจและปฏิบตั ิกิจกรรมตาม 3. จากการตรวจแบบทดสอบ และความมีระเบียบขณะปฏิบตั ิ ข้นั ตอน หลงั เรียน กิจกรรม 4. สงั เกตจากการนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 3. สงั เกตจากการยอมรับความ 5. ประเมินพฤติกรรมตามแบบการประเมินผลดา้ น คดิ เห็นของผอู้ ื่นขณะปฏิบตั ิ ทกั ษะ/กระบวนการ กิจกรรม 4. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ การประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม

คมู่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 25 5. สาระการเรียนรู้ • หลกั การจดั แสดงดนตรีและการจดั เตรียมบุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ ง 6. แนวทางการบูรณาการ ภาษาไทย การอ่าน การพดู และการแสดงความคดิ เห็น สังคมศึกษาฯ การทางานเป็นกลมุ่ และรับผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ศิลปะ (ทศั นศิลป์ ) การออกแบบเวทีการแสดง การงานอาชีพฯ การดูแลรักษาเคร่ืองดนตรี ภาษาต่างประเทศ เพลงสากล 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ ที่ 1 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสนทนากบั นกั เรียนวา่ ใครเคยชมคอนเสิร์ตบา้ ง นกั เรียนคิดวา่ ก่อนท่ีจะมีการแสดงควรมีการเตรียมการ อยา่ งไรบา้ ง ใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเห็นอยา่ งอิสระ 2. ครูสนทนากบั นกั เรียนถึงการจดั การแสดงดนตรีในโอกาสตา่ ง ๆ การเลือกเพลง การเลือกวงดนตรี รวมไปถึง การเลือกสถานท่ีและหนา้ ที่ของฝ่ ายต่าง ๆ วา่ ตอ้ งทาหนา้ ที่อะไรบา้ งคร่าว ๆ ขนั้ ท่ี 2 ข้นั สอน 1. ครูเปิ ดวีดิทศั น์คอนเสิร์ตใหน้ กั เรียนดูและอธิบายในเร่ืองของหลกั การจดั องคป์ ระกอบของการแสดงตา่ ง ๆ เช่น ประเภทของงาน สถานท่ีในการจดั งาน เป็นตน้ 2. ครูทาแผนผงั หนา้ ที่การทางานออกเป็น 5 ฝ่ าย และแจกแจงวา่ แต่ละฝ่ ายตอ้ งทาหนา้ ท่ีอะไร ทาอยา่ งไร แลว้ ให้ นกั เรียนเลือกวา่ จะอยฝู่ ่ ายไหน 3. ครูอธิบายเกี่ยวกบั การซกั ซอ้ มควิ การแสดง และจา่ ยงานให้กบั ฝ่ ายต่าง ๆ เพือ่ เตรียมการแสดงแลว้ นดั หมายวนั เวลาทาการแสดง 4. ใหน้ กั เรียนศึกษาขอ้ มูลเพ่ิมเติมจากหนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพ์ วฒั นาพานิช จากดั ขั้นท่ี 3 ข้นั สรุป ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาในบทเรียนแลว้ ตกลงวนั เวลาและนดั หมายจ่ายงานให้กบั ฝ่ ายตา่ ง ๆ เพือ่ เตรียมการแสดงดนตรี ขัน้ ที่ 4 ข้ันฝึ กฝนนักเรียน 1. นกั เรียนร่วมกนั จดั งานแสดงดนตรีเนื่องในโอกาสตา่ ง ๆ โดยใชห้ ลกั การตามท่ีไดร้ ะบุไวใ้ นหนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั

ค่มู ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 26 2. ใหน้ กั เรียนฝึ กฝนเพ่ิมเติมโดยใชก้ ิจกรรมที่ 13 ในแบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั 3. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน 4. ใหน้ กั เรียนทาโครงงานตามความสนใจ ขน้ั ที่ 5 การนาไปใช้ นกั เรียนสามารถนาความรู้ท่ีไดไ้ ปใชใ้ นการพฒั นาทกั ษะของตวั เองในช้นั เรียนที่สูงข้นึ ไป และนาไปใชใ้ นการจดั งานสังสรรค์ เช่น งานข้นึ ปี ใหม่ เป็นตน้ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. กิจกรรมสาหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ นกั เรียนแบง่ กลุ่มจดั การแสดงดนตรี 1 ชุด โดยแบง่ หนา้ ท่ีออกเป็นฝ่ ายตา่ ง ๆ แลว้ เปิ ดทาการแสดงใหเ้ พื่อน ๆ และบุคลากรในโรงเรียนเขา้ ชมการแสดง แลว้ ให้ประเมินผลการแสดง 2. กิจกรรมสาหรับฝึ กทกั ษะเพมิ่ เติม นกั เรียนเขียนแผนผงั จดั การแสดงดนตรีเนื่องในโอกาสตา่ ง ๆ ต้งั แต่ตน้ จนถึงการแสดงจริงแลว้ นาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพการจดั การแสดงคอนเสิร์ต 2. วีดิทศั นก์ ารจดั การแสดงคอนเสิร์ต/เบ้ืองหลงั การแสดงและการเตรียมงาน 10. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเร็จในการจัดการเรยี นรู้........................................................................ แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปัญหา/อปุ สรรคในการจดั การเรียนร.ู้ .................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................ 3. สง่ิ ทไ่ี มไ่ ดป้ ฏิบตั ติ ามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้........................................................................ ลงชือ่ ..................................................(ผูส้ อน) ( นายเดชนรนิ ทร์ เทิดทนู เมธา )

คูม่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 27 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8 ประวัติดนตรี สาระที่ 2 ดนตรี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ดนตรีกบั มรดกทางวฒั นธรรม เวลา 1 ช่ัวโมง 1. สาระสาคญั ดนตรีไทยและดนตรีตะวนั ตกต่างก็มีวิวฒั นาการมายาวนาน ดนตรีไทยน้นั พบวา่ มีการบนั ทึกเร่ืองราวของดนตรี มาต้งั แต่สมยั สุโขทยั ส่วนดนตรีตะวนั ตกมีววิ ฒั นาการมาต้งั แตย่ คุ กลาง ประมาณ ค.ศ. 500–1400 เรื่อยมาจนปัจจุบนั 2. ตัวชีว้ ดั ช้ันปี บรรยายววิ ฒั นาการของดนตรีแต่ละยคุ สมยั (ศ 2.2 ม. 3/1) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. รู้และเขา้ ใจวิวฒั นาการของดนตรีไทยต้งั แต่สมยั สุโขทยั จนถึงปัจจุบนั (K) 2. รู้และเขา้ ใจวิวฒั นาการของดนตรีตะวนั ตกต้งั แต่ยคุ กลางจนถึงยคุ ปัจจุบนั (K) 3. เห็นคณุ ค่าและความสาคญั ของดนตรีไทย (A) 4. เห็นคุณคา่ และความสาคญั ของดนตรีตะวนั ตก (A) 5. ปฏิบตั ิกิจกรรมดว้ ยความสนุกสนานเพลิดเพลิน (A) 6. มีทกั ษะในการบรรยายวิวฒั นาการของดนตรีไทยต้งั แต่สมยั สุโขทยั จนถึงปัจจุบนั ไดถ้ ูกตอ้ ง (P) 7. มีทกั ษะในการบรรยายววิ ฒั นาการของดนตรีตะวนั ตกต้งั แต่ยคุ กลางจนถึงยคุ ปัจจุบนั ไดถ้ ูกตอ้ ง (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยม (A) ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความรู้สึกตระหนกั ถึง 1. สงั เกตจากความสามารถในการบรรยาย แสดงความคิดเห็น ความสาคญั และเห็นคุณค่าของดนตรีไทย วิวฒั นาการของดนตรีไทยและดนตรี 2. จากการตรวจวดั และการ และดนตรีตะวนั ตก ตะวนั ตก ประเมินผลการเรียนรู้ประจา 2. สงั เกตจากความสนใจและความ 2. สงั เกตจากพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิ หน่วย กระตือรือร้นในการปฏิบตั ิกิจกรรม กิจกรรมรายบุคคลและปฏิบตั ิกิจกรรม 3. จากการตรวจแบบทดสอบ 3. สงั เกตจากความรับผดิ ชอบและความมี กลุ่ม ก่อนเรียน ระเบียบขณะปฏิบตั ิกิจกรรม 3. สงั เกตจากการปฏิบตั ิกิจกรรมไดอ้ ยา่ ง 4. จากการตรวจใบงาน 4. สังเกตจากการยอมรับความคดิ เห็น คลอ่ งแคลว่ ของผอู้ ่ืนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม 4. สงั เกตจากการนาไปใชใ้ น ชีวิตประจาวนั 5. สงั เกตจากความต้งั ใจในการปฏิบตั ิ กิจกรรมตามข้นั ตอน

คมู่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 28 5. สาระการเรียนรู้ • ประวตั ิดนตรีไทยยคุ สมยั ตา่ ง ๆ • ประวตั ิดนตรีตะวนั ตกยคุ สมยั ต่าง ๆ 6. แนวทางการบูรณาการ ภาษาไทย การอา่ น การเขยี น การพูดแสดงความคดิ เห็น และการบรรยาย สังคมศึกษาฯ การปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกลุม่ มนุษยส์ ัมพนั ธใ์ นการปฏิบตั ิกิจกรรม ยคุ สมยั ของไทย และตะวนั ตก การงานอาชีพฯ การสืบคน้ ขอ้ มูลจากอินเทอร์เนต็ ภาษาต่างประเทศ ชื่อเครื่องดนตรีสากล ช่ือยคุ สมยั ของดนตรีตะวนั ตก 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้ันท่ี 1 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพือ่ ประเมินความรู้ 2. ใหค้ รูสุ่มสอบถามนกั เรียนวา่ ใครทราบบา้ งวา่ ดนตรีไทยน่าจะมีหลกั ฐานบนั ทึกมาต้งั แต่สมยั ใด โดยให้ นกั เรียนแสดงความคิดเห็นอยา่ งอิสระ 3. ใหค้ รูสุ่มสอบถามนกั เรียนว่า ระหวา่ งดนตรีไทยกบั ดนตรีสากลมีวิวฒั นาการการเกิดพร้อมกนั หรือไม่ โดยให้ นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายอยา่ งอิสระ ขน้ั ท่ี 2 ข้นั สอน 1. ใหค้ รูอธิบายเน้ือหาของประวตั ิดนตรีไทยในยคุ สมยั ต่าง ๆ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจตามลาดบั ดงั น้ี 1) ดนตรีไทยสมยั สุโขทยั ใหน้ กั เรียนอ่านขอ้ ความที่ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลกั ท่ี 1 จากหนงั สือเรียนรายวิชา พ้ืนฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั เกี่ยวกบั หลกั ฐานดา้ นดนตรีท่ีปรากฎอยใู่ นหลกั ศิลา จารึก รวมท้งั การรับวฒั นธรรมทางดนตรีของอินเดีย 2) ดนตรีไทยสมยั อยุธยา ใหค้ รูอธิบายให้นกั เรียนเขา้ ใจวา่ สมยั น้ีวงดนตรีไทยที่โดดเด่น คือ วงมโหรีและวง เคร่ืองสาย 3) ดนตรีไทยสมยั ธนบรุ ี ใหค้ รูอธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ สมยั น้ีวงดนตรียงั เหมือนกบั สมยั อยุธยา เพยี งแตม่ ี ดนตรีของต่างชาติเขา้ มา 4) สมยั รัตนโกสินทร์ ใหค้ รูอธิบายววิ ฒั นาการของดนตรีไทยต้งั แต่สมยั รัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 9 ตามลาดบั วา่ เกิดเหตกุ ารณ์อะไรข้นึ ในแต่ละสมยั โดยใชภ้ าพเครื่องดนตรี ภาพวงดนตรี แถบบนั ทึกเสียงหรือวดี ิทศั นป์ ระกอบการ อธิบาย 2. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุม่ จบั ฉลากเลือกศึกษาคน้ ควา้ เพอื่ ทารายงานพร้อมภาพประกอบ ดงั น้ี กลมุ่ ท่ี 1 ศึกษาคน้ ควา้ ดนตรีไทยสมยั สุโขทยั

คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 29 กลมุ่ ที่ 2 ศึกษาคน้ ควา้ ดนตรีไทยสมยั อยธุ ยา กล่มุ ท่ี 3 ศึกษาคน้ ควา้ ดนตรีไทยสมยั ธนบรุ ี กลมุ่ ท่ี 4 ศึกษาคน้ ควา้ ดนตรีไทยสมยั รัตนโกสินทร์ 3. ใหน้ กั เรียนออกมาบรรยายหนา้ ช้นั เรียนใหค้ รูและเพือ่ น ๆ ฟัง ถึงวิวฒั นาการของดนตรีไทยแตล่ ะสมยั 4. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นวา่ เพ่อื นอธิบายถกู ตอ้ งและเขา้ ใจหรือไม่ 5. หลงั จากการเรียนววิ ฒั นาการของดนตรีไทยในสมยั ตา่ ง ๆ แลว้ ใหค้ รูอธิบายวิวฒั นาการของดนตรีตะวนั ตกใน ยคุ สมยั ตา่ ง ๆ โดยใชภ้ าพเครื่องดนตรี ภาพวงดนตรี แถบบนั ทึกเสียง หรือวดี ิทศั น์ประกอบการอธิบาย ตามลาดบั ยคุ สมยั 6. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลมุ่ จบั ฉลากเลือกศึกษาคน้ ควา้ เพื่อทารายงานพร้อมภาพประกอบ ดงั น้ี กลุ่มท่ี 1 ศึกษาคน้ ควา้ ดนตรียคุ กลาง กลมุ่ ที่ 2 ศึกษาคน้ ควา้ ดนตรียคุ ฟ้ื นฟูศิลปวิทยา กลุ่มที่ 3 ศึกษาคน้ ควา้ ดนตรียคุ บาโรก กลุ่มท่ี 4 ศึกษาคน้ ควา้ ดนตรียคุ คลาสสิก กลุ่มที่ 5 ศึกษาคน้ ควา้ ดนตรียคุ โรแมนติก กลุ่มท่ี 6 ศึกษาคน้ ควา้ ยคุ ศตวรรษที่ 20 7. ใหน้ กั เรียนออกมาบรรยายหนา้ ช้นั เรียนใหค้ รูและเพื่อน ๆ ฟังถึงวิวฒั นาการของดนตรีตะวนั ตกในแต่ละสมยั 8. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นวา่ เพอ่ื นอธิบายถกู ตอ้ งหรือไม่ 9. ใหค้ รูอธิบายเพมิ่ เติมในส่วนท่ีนกั เรียนไมเ่ ขา้ ใจหรืออธิบายไมต่ รงกบั เน้ือหา ขั้นท่ี 3 ข้นั สรุป 1. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สรุปววิ ฒั นาการของดนตรีไทยและดนตรีสากลโดยสรุปลงในใบงานท่ี 6 เรื่อง สรุป วิวฒั นาการของดนตรีแต่ละยคุ สมยั ส่งครู 2. ครูอธิบายและสรุปเสริมในส่วนที่นกั เรียนไมเ่ ขา้ ใจหรือสรุปไม่ตรงประเดน็ ข้นั ที่ 4 ฝึ กฝนนักเรียน 1. นกั เรียนรวมกลุ่มกนั แลว้ หาภาพวงดนตรีไทยท่ีสนใจพร้อมบอกประวตั ิและบทเพลงท่ีบรรเลงกบั วงดนตรี 2. นกั เรียนศึกษาประวตั ิคีตกวีของโลกท่ีนกั เรียนสนใจแลว้ เขียนเป็นเรียงความส่งครู วา่ คีตกวีคนดงั กล่าวอยใู่ น ยคุ ใด ผลงานโดดเด่นมีผลงานใดบา้ ง 3. ใหน้ กั เรียนฝึ กฝนเพิ่มเติมโดยใชก้ ิจกรรมที่ 14 กิจกรมท่ี 15 กิจกรมท่ี 16 กิจกรมที่ 17 กิจกรรมที่ 18 ในแบบฝึก ทกั ษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั ขน้ั ที่ 5 การนาไปใช้ นกั เรียนสามารถนาความรู้ท่ีไดจ้ ากการเรียน ประวตั ิดนตรีในสมยั ตา่ ง ๆ ท้งั ดนตรีไทยและดนตรีตะวนั ตก ไป เป็นพ้ืนฐานในการเรียนดนตรีในช้นั ที่สูงข้นึ รวมท้งั สามารถนาความรู้ที่ไดไ้ ปอธิบายใหผ้ สู้ นใจรับฟัง

คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 30 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. กิจกรรมสาหรับกลุ่มสนใจพเิ ศษ นกั เรียนรวมกลุ่มกนั แลว้ ทารายงานเร่ือง ดนตรีไทยหรือดนตรีตะวนั ตก ในยคุ ที่ตนเองช่ืนชอบโดยในรายงาน จะตอ้ งประกอบดว้ ย 1) ประวตั ิ 2) ชื่อวงดนตรี 3) ชื่อเพลงท่ีประพนั ธ์ในยคุ น้ี 4) ช่ือคีตกวสี าคญั 5) เครื่องดนตรีที่เกิดข้ึนในยคุ น้ี 2. กจิ กรรมสาหรับฝึ กทกั ษะเพม่ิ เติม นกั เรียนทาตารางเปรียบเทียบยุคสมยั ที่ใกลเ้ คียงกนั ระหวา่ งดนตรีไทยกบั ดนตรีสากลในใบงานท่ี 5 เรื่อง ตาราง เปรียบเทียบยคุ สมยั ของดนตรีไทยที่ใกลเ้ คยี งกบั ยคุ สมยั ของดนตรีสากล ส่งครู 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือลกั ษณะไทย 2. หนงั สือประวตั ิศาสตร์ดนตรีสากล 3. อินเทอร์เนต็ 4. ใบงาน 5. ภาพวงดนตรี เคร่ือวงดนตรี และคีตกวี 6. แถบบนั ทึกเสียง วีดิทศั น์ ดนตรีไทยและตะวนั ตก 10. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู้........................................................................ แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้..................................................................... แนวทางการแก้ไข............................................................................................ 3. สิง่ ที่ไมไ่ ดป้ ฏบิ ัตติ ามแผน..................................................................................... เหตผุ ล............................................................................................................... 4. การปรบั ปรุงแผนการจดั การเรียนรู้........................................................................ ลงชื่อ..................................................(ผู้สอน) ( นายเดชนรินทร์ เทดิ ทูนเมธา )

คู่มอื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 31 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 อิทธพิ ลของดนตรีและปัจจัยที่ทาให้ดนตรีได้รับการยอมรับ สาระที่ 2 ดนตรี ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ดนตรีกบั มรดกทางวัฒนธรรม เวลา 1 ช่ัวโมง 1. สาระสาคญั ดนตรีมีอิทธิพลต่อบคุ คลและสังคม เช่น ช่วยกระตนุ้ พฒั นาการของเดก็ ใชฟ้ ังเพ่ือคลายเครียด ใชบ้ าบดั รักษา อาการเจบ็ ป่ วย นอกจากน้นั นกั ร้องหรือนกั ดนตรียงั เป็นแบบอยา่ งของวยั รุ่นในสังคม เป็นตน้ และเหตทุ ี่งานดนตรีไดร้ ับ การยอมรับเกิดจากปัจจยั ต่าง ๆ ซ่ึงเป็นลกั ษณะเด่นของดนตรีไทย ไดแ้ ก่ ดา้ นภาษา เน้ือร้อง ดา้ นสาเนียง ดา้ น องคป์ ระกอบเพลง ในขณะท่ีลกั ษณะเด่นของดนตรีสากล ไดแ้ ก่ โนต้ เพลง เครื่องดนตรี และวงดนตรีซ่ึงมีคนนิยมกนั ทวั่ โลก 2. ตัวชีว้ ดั ช้ันปี 1. อธิบายเกี่ยวกบั อิทธิพลทางดนตรีที่มีตอ่ บคุ คลและสงั คม (ศ 2.1 ม. 3/6) 2. อภิปรายลกั ษณะเด่นท่ีทาให้งานดนตรีน้นั ไดร้ ับการยอมรับ (ศ 2.2 ม. 3/2) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. รู้และเขา้ ใจวา่ ดนตรีมีอิทธิพลต่อบคุ คลตา่ ง ๆ (K) 2. รู้และเขา้ ใจวา่ ดนตรีมีอิทธิพลตอ่ สงั คม (K) 3. รู้และเขา้ ใจในลกั ษณะเด่นของดนตรีไทยซ่ึงเป็นปัจจยั ใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ (K) 4. รู้และเขา้ ใจในลกั ษณะเด่นของดนตรีสากลซ่ึงเป็นปัจจยั ให้งานดนตรีไดร้ ับการยอมรับ (K) 5. เห็นคณุ ค่าและประโยชนข์ องดนตรีท้งั ดนตรีไทยและสากล (A) 6. ปฏิบตั ิกิจกรรมดว้ ยความสนุกสนานเพลิดเพลิน (A) 7. มีทกั ษะในการอธิบายเกี่ยวกบั อิทธิพลของดนตรีท่ีมีต่อบคุ คลและสังคม (P) 8. มีทกั ษะในการอภิปรายลกั ษณะเด่นท่ีทาใหง้ านดนตรีน้นั ไดร้ ับการยอมรับ (P) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ค่านิยม (A) 1. สังเกตจากการถามและแสดง 1. สังเกตจากการเห็นคุณค่าและ 1. สังเกตจากทกั ษะในการอธิบายและอภิปรายได้ ความคดิ เห็น ความสาคญั ของดนตรี ถูกตอ้ ง 2. จากการตรวจการวดั และ 2. สงั เกตจากความรับผดิ ชอบ 2. สังเกตจากพฤติกรรมขณะปฏิบตั ิกิจกรรม ประเมินผลการเรียนรู้ประจา และความมีระเบียบขณะปฏิบตั ิ รายบุคคลและปฏิบตั ิกิจกรรมกล่มุ หน่วย กิจกรรม 3. สังเกตจากการปฏิบตั ิกิจกรรมไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ 3. จากการตรวจใบงาน 4. สงั เกตจากความต้งั ใจและการปฏิบตั ิตามข้นั ตอน

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 32 ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ค่านยิ ม (A) 4. จากการตรวจแบบทดสอบ 3. สังเกตจากความสนใจและ 5. สงั เกตจากการนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั หลงั เรียน ความกระตือรือร้นในการปฏิบตั ิ 6. ประเมินพฤติกรรมตามแบบการประเมินผลดา้ น กิจกรรม ทกั ษะ/กระบวนการ 4. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ การประเมินผลดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม 5. สาระการเรียนรู้ • อิทธิพลของดนตรีท่ีมีตอ่ ตวั บคุ คลและสังคม • ปัจจยั ที่ทาใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ 6. แนวทางการบูรณาการ ภาษาไทย การอ่าน การเขยี น การอธิบาย การอภิปราย และการนาเสนอการปฏิบตั ิกิจกรรม สังคมศึกษาฯ มนุษยสมั พนั ธ์ในการการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกลุ่ม บุคคล และสภาพสงั คม สุขศึกษา สภาพจิตใจและสุขภาพร่างกาย การงานอาชีพ การสืบคน้ ขอ้ มูลจากอินเทอร์เนต็ 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 1 ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 1. ใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเห็นวา่ ในปัจจุบนั คนในสังคมมีปัญหาดา้ นสุขภาพอะไรบา้ ง ใหน้ กั เรียนนาดนตรีไป ใชใ้ นการรักษาสุขภาพจะทาไดอ้ ยา่ งไรบา้ งตามความคิดเห็นของนกั เรียน 2. ใหค้ รูเปิ ดเพลงคลาสสิกหรือเพลงอ่ืน ๆ ท่ีครูเห็นวา่ เหมาะสมให้นกั เรียนฟัง ใหน้ กั เรียนหลบั ตาฟังเพลง แลว้ ใหน้ กั เรียนบอกวา่ รู้สึกอยา่ งไรต่อเพลง 3. ครูอธิบายใหน้ กั เรียนเห็นถึงประโยชน์ของเพลงท่ีช่วยใหเ้ รารู้สึกผอ่ นคลายจากเพลงท่ีครูเปิ ดใหฟ้ ัง ขัน้ ที่ 2 ข้ันสอน 1. ครูอธิบายใหน้ กั เรียนทราบถึงประโยชนข์ องดนตรีที่มีต่อบุคคลวา่ ในปัจจุบนั ดนตรีนอกจากจะใชฟ้ ังเพอ่ื ความ สนุกสนานเพลิดเพลิน ช่วยผอ่ นคลายความเครียดแลว้ การท่ีใหเ้ ดก็ ฟังเพลงคลาสสิกยงั ช่วยกระตุน้ พฒั นาการของเด็ก ดว้ ย 2. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั อภิปรายวา่ สิ่งที่ครูอธิบายนกั เรียนคดิ จริงหรือไม่ เพราะเหตุใด 3. ครูถามนกั เรียนวา่ เคยไดย้ นิ คาวา่ “ดนตรีบาบัด” หรือไม่ โดยใหน้ กั เรียนที่เคยไดย้ นิ และเขา้ ใจอธิบายใหเ้ พื่อน ฟัง

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 33 4. ครูอธิบายเสริมถึงประโยชน์ของการใชด้ นตรีบาบดั ซ่ึงครูอาจจะใชส้ ่ือวีดิทศั นห์ รือแผน่ ภาพเก่ียวกบั ดนตรี บาบดั ประกอบการอธิบาย 5. ครูต้งั คาถามวา่ นอกจากดนตรีจะมีอิทธิพลต่อบคุ คลแลว้ ดนตรียงั มีอิทธิพลตอ่ สังคมอยา่ งไรใหน้ กั เรียน ร่วมกนั แสดงความคิดเห็น 6. ครูอธิบายถึงอิทธิพลของดนตรีที่มีตอ่ สังคม โดยต่อยอดความคิดจากคาตอบของนกั เรียน 7. แบ่งนกั เรียนเป็น 2 กลุ่ม ใหท้ ารายงานพร้อมภาพประกอบในหวั ขอ้ ต่อไปน้ี กลุ่มที่ 1 อิทธิพลของดนตรีตอ่ บุคคล กลุม่ ที่ 2 อิทธิพลของดนตรีต่อสังคม 8. หลงั จากที่ครูสอนเรื่องอิทธิพลของดนตรีแลว้ ใหค้ รูเช่ือมโยงเขา้ สู่เร่ือง ปัจจยั ท่ีทาให้งานดนตรีไดร้ ับการ ยอมรับ โดยเปิ ดวดี ิทศั นก์ ารแสดงดนตรีไทย และดนตรีสากลให้นกั เรียนชม โดยครูสามารถเลือกใชส้ ื่อวดี ิทศั นต์ ามท่ีครู เห็นวา่ เหมาะสม 9. หลงั จากใหน้ กั เรียนชมส่ือวีดิทศั น์แลว้ ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นอยา่ งอิสระถึงปัจจยั ที่ทาใหง้ าน ดนตรีไดร้ ับการยอมรับ 10. ครูอธิบายเสริมตอ่ ยอดความคิดของนกั เรียนวา่ ปัจจยั ท่ีทาใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับเพราะเกิดจาก ลกั ษณะเด่นของดนตรี 11. สุ่มนกั เรียนใหอ้ อกมาแสดงความคดิ เห็นหนา้ ช้นั เรียนวา่ ลกั ษณะเด่นของดนตรีไทยและดนตรีสากลมี อะไรบา้ ง โดยครูคอยอธิบายเสริมจากการแสดงความคิดเห็นของนกั เรียน ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี 1) ลกั ษณะเด่นของดนตรีไทย ไดแ้ ก่ (1) ดา้ นภาษาเน้ือร้อง (2) ดา้ นสาเนียง (3) ดา้ นองคป์ ระกอบเพลง 2) ลกั ษณะเด่นของดนตรีสากล ไดแ้ ก่ (1) โนต้ เพลง (2) เครื่องดนตรี (3) วงดนตรี 12. แบ่งนกั เรียนเป็น 2 กลุ่มใหท้ ารายงานพร้อมภาพประกอบในหวั ขอ้ ต่อไปน้ี กลมุ่ ที่ 1 ลกั ษณะเด่นของดนตรีไทย กล่มุ ที่ 2 ลกั ษณะเด่นของดนตรีสากล 13. ใหน้ กั เรียนท่ีมีขอ้ สงสัยซกั ถาม โดยแสดงความคิดเห็นร่วมกนั 14. ใหน้ กั เรียนศึกษาขอ้ มูลเพิ่มเติมจากหนงั สือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พมิ พ์ วฒั นาพานิช จากดั

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 34 ขัน้ ท่ี 3 สรุป เลือกนกั เรียน 4 คนออกมาสรุปความรู้ใหเ้ พอื่ นฟังหนา้ ช้นั เรียน คนท่ี 1 สรุปอิทธิพลของดนตรีต่อบุคคล คนที่ 2 สรุปอิทธิพลของดนตรีที่มีตอ่ สังคม คนที่ 3 สรุปลกั ษณะเด่นของดนตรีไทย คนที่ 4 สรุปลกั ษณะเด่นของดนตรีสากล ขนั้ ท่ี 4 ข้นั ฝึ กฝนนักเรียน 1. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุม่ แลว้ เปลี่ยนกนั อธิบายใหเ้ พื่อนฟังวา่ อิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบคุ คลและสงั คมมีอะไรบา้ ง สรุปความรู้จากที่เพอื่ นอธิบายลงในใบงานท่ี 7 เร่ือง อิทธิพลดนตรีท่ีมีต่อบคุ คลและสงั คม ส่งครู 2. นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายลกั ษณะเด่นท่ีทาใหง้ านดนตรีน้นั ไดร้ ับการยอมรับ แลว้ สรุปผลการอภิปรายลงในใบ งานท่ี 8 เร่ือง อภิปรายลกั ษณะเด่นท่ีทาใหง้ านดนตรีไดร้ ับการยอมรับ ส่งครู 3. ใหน้ กั เรียนฝึ กฝนเพ่ิมเติมโดยใชก้ ิจกรรมท่ี 19 และกิจกรรมท่ี 20 ในแบบฝึ กทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ดนตรี– นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั 4. ใหน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน 5. ใหน้ กั เรียนทาโครงงานตามความสนใจ หรือโครงงานในกิจกรรมที่ 21 ในแบบฝึ กทกั ษะ รายวิชาพ้นื บาน ดนตรี–นาฏศิลป์ ม. 3 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั ขั้นที่ 5 การนาไปใช้ 1. นกั เรียนนาความรู้ที่ไดไ้ ปเป็นพ้ืนฐานในการเรียนดนตรีระดบั สูงข้ึนในช้นั ต่อไป 2. นกั เรียนนาความรู้ไปอธิบายใหผ้ ทู้ ่ีสนใจฟัง 3. นกั เรียนนาประโยชน์ของดนตรีไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ตามความเหมาะสม 8. กิจกรรมเสนอแนะ 1. กิจกรรมสาหรับกล่มุ สนใจพเิ ศษ นกั เรียนรวมกลุ่มกนั ศึกษาคน้ ควา้ จากแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น ผรู้ ู้ดา้ นดนตรี แพทยใ์ นทอ้ งถิ่น อินเทอร์เนต็ วา่ ประโยชน์ของดนตรีบาบดั มีอะไรอีกบา้ ง แลว้ นามาเลา่ ใหเ้ พื่อนฟัง ๆ 2. กจิ กรรมสาหรับฝึ กทักษะเพม่ิ เติม นกั เรียนยกตวั อยา่ งอิทธิพลของดนตรีในชีวติ ประจาวนั ของนกั เรียนมา 1 อยา่ งแลว้ เขียนเป็นเรียงความอา่ นให้ เพื่อนและครูฟังหนา้ ช้นั เรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพกิจกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ดนตรีบาบดั 2. วีดิทศั นก์ ารแสดงดนตรีไทยและดนตรีสากล 3. วดี ิทศั นท์ ี่เก่ียวขอ้ งกบั การใชด้ นตรีบาบดั

ค่มู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ ดนตรี–นาฏศลิ ป์ ม. 3 35 4. ผรู้ ู้ดา้ นดนตรีไทย และดนตรีสากล 5. แพทยใ์ นทอ้ งถ่ิน 6. อินเทอร์เนต็ 7. ใบงาน 10. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ 1. ความสำเรจ็ ในการจดั การเรียนรู้........................................................................ แนวทางการพฒั นา............................................................................................ 2. ปญั หา/อปุ สรรคในการจัดการเรยี นรู้..................................................................... แนวทางการแกไ้ ข............................................................................................ 3. สิง่ ทไ่ี ม่ไดป้ ฏิบตั ติ ามแผน..................................................................................... เหตุผล............................................................................................................... 4. การปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรียนรู้........................................................................ ลงช่ือ..................................................(ผู้สอน) ( นายเดชนรินทร์ เทดิ ทูนเมธา )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook