Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Georges Seurat

Georges Seurat

Published by Kachornpon, 2020-06-19 00:08:57

Description: Georges Seurat_13590399_ณัชชา_พรมลี_AD

Search

Read the Text Version

Georges-Pierre Seurat

Georges-Pierre Seurat

บทนำ� หนงั สอื เลม่ น้มี จี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื ศึกษาคน้ คว้าประวัติความเป็นมาของ ฌอร์ฌ-ปแี ยร์ เซอรา (Georges-Pierre Seurat) ศลิ ปินดา้ นจติ รกรรมท่มี ชี อ่ื เสียงคนหนึง่ เซอราเปน็ หนงึ่ ใน ศลิ ปินเอกของโลกนอกจากนีย้ ังเปน็ ไอคอนส�ำ คญั ท่สี ดุ ภาพหนึ่งของครสิ ต์ศตวรรษท่ี 19แลว้ เซอรายงั มีผลงานทนี่ า่ สนใจมากมาย มีเทคนคิ การใชส้ ีท่ีเป็นเอกลักษณ์ ไม่ว่าคณุ จะรู้จกั ศิลปนิ คนน้แี ล้วหรอื ยัง ไม่วา่ คุณจะชอบผลงานของเขาหรอื ไม่ หรือคณุ อาจจะไม่รูจ้ ักเขาเลย เราอยาก ใหค้ ุณลองเปดิ ใจและเปิดหนังสือเลม่ นอ้ี ่าน เราจะพาคุณไปรูจ้ ักกบั ฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา (Georges-Pierre Seurat) รับรองคุณจะได้ความรู้และ ไดร้ ้จู ักประวตั คิ วามเปน็ มาของศลิ ปนิ เอกคนน้ีไมม่ ากก็น้อย หวังวา่ หนงั สอื เล่มน้จี ะเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผู้อา่ นทีเ่ ปน็ บคุ ลท่ัวไป และ นกั เรยี นนกั ศึกษา ตลอดจนกระท่งั ผทู้ ี่สนใจและกำ�ลงั คน้ คว้าหาข้อมูล เกย่ี วกับ ศิลปินทีช่ ่ือวา่ ฌอรฌ์ -ปแี ยร์ เซอรา (Georges-Pierre Seurat) หากผิดพลาดประการใดก็ขออภยั มา ณ ที่นีด้ ว้ ย ณัชชา พรมลี (13590399)

GEORGES – PIERRE SEURAT POST – IMPRESSIONIST PAINTER AND DRAFTSMAN

สารบัญ ประวตั ิศลิ ปิน 1 เพม่ิ เติมขยายความเก่ียวกบั ศิลปนิ - เทคนิคสแี ละแสง 7 - ลทั ธผิ สานจุดสี 10 - โพสต์-อิมเพรสชันนสิ ม 11 ผลงานของศิลปิ 16 บรรณานุกรม 41



ประวตั ิศลิ ปนิ

Georges-Pierre Seurat ฌอรฌ์ -ปีแยร์ เซอรา (Georges-Pierre Seurat) เกดิ วนั ท่ี 2 ธนั วาคม ค.ศ. 1859 เป็นจติ รกรชาวฝรั่งเศสของสมัยอิมเพรสชนั นสิ มใ์ หม่ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 งานเขยี นชิ้นท่มี ีชื่อเสียงทีส่ ุดของเซอราคือภาพ “บ่ายวนั อาทิตยบ์ นเกาะลากรอ็ งดฌ์ ัต” ที่เขยี นระหว่างปี ค.ศ. 1884 ถงึ ค.ศ. 1886 ซ่ึงเปน็ ภาพที่เปลย่ี นทศิ ทางของ ศลิ ปะสมยั ใหมเ่ ขา้ สสู่ มยั อิมเพรสชันนิสมใ์ หม่ และเปน็ ภาพไอคอน สำ�คัญท่ีสดุ ภาพหนง่ึ ของครสิ ต์ศตวรรษท1ี่ 9 เซอราเกิดในครอบครัวทม่ี ีฐานะดใี นกรงุ ปารสี ในประเทศฝรง่ั เศส บดิ าของเซอรามีอาชีพทางกฎหมายผู้มาจากชอ็ งปาญ สว่ นมารดาเปน็ ชาวปารสี เซอราเริ่มการศกึ ษาด้านศลิ ปะกบั ประตมิ ากร Justin Lequiene ต่อมาก็เข้าศึกษา ทส่ี ถาบันวิจติ รศิลปร์ ะหวา่ งปี ค.ศ. 1878 จนถึง ค.ศ. 1879 หลังจากไปรับราชการเป็นทหารอยู่ปหี นงึ่ แลว้ เซอรากก็ ลับมายังปารสี ในปี ค.ศ. 1880 มามีหอ้ งเขียนภาพรว่ มกบั นกั เรยี นสองคนทเ่ี ลฟต์แบงกก์ ่อนทจ่ี ะ ไปมีห้องเขียนภาพของตนเอง ระหวา่ งชว่ งสองปตี ่อมาเซอราก็อทุ ิศตัวเอง ใหก้ บั การวาดลายเสน้ ขาวด�ำ ในปี ค.ศ. 1883 เซอราก็เขียนงานชนิ้ ส�ำ คัญชนิ้ แรก ซ่งึ เปน็ ภาพขนาดใหญช่ อ่ื “Bathers at Asnières” (คนอาบน้�ำ ท่ีอัสนแี ยร์) 1 Georges-Pierre Seurat

Bathers at Asnières 2 Georges-Pierre Seurat

3 Georges-Pierre Seurat

ฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา เมอ่ื ภาพเขียนถูกปฏิเสธจากการแสดงท่นี ทิ รรศการศลิ ปะแห่งปารีส เซอราก็หนั หลังให้กบั สถาบันทางการไปรวมกลมุ่ กบั ศลิ ปนิ อสิ ระในปารีส ในปี ค.ศ. 1884 เซอราและจิตรกรผูอ้ ืน่ (รวมท้งั Maximilien Luce) กก็ อ่ ต้งั สมาคม ศลิ ปินอสิ ระแห่งปารีส ทีส่ มาคมเซอราก็ได้ท�ำ ความร้จู กั กบั จิตรกรปอล ซีญกั ผู้ท่ีเซอราเสนอความคิดเกยี่ วกบั การเขยี นแบบผสานจดุ สี ตอ่ มาซญี กั ก็ด�ำ เนนิ การ เขยี นภาพดว้ ยวธิ ที ี่วา่ น้ี ระหว่างฤดรู อ้ นของปเี ดียวกนั เซอราก็เริม่ เขียนงานชิน้ เอก “บา่ ยวนั อาทติ ยบ์ นเกาะลากรอ็ งดฌ์ ัต” ทใี่ ช้เวลาสองปจี ึงเขยี นเสร็จ ตอ่ มาเซอราก็ย้ายไปอยอู่ ยา่ งลบั ๆ กับนางแบบสาวมาเดอเลน คโนบล็อก ผูเ้ ป็นแบบในภาพ “Jeune femme se poudrant” ในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ. 1890 มาเดอเลนก็ให้ก�ำ เนิดแก่บตุ รชายชอื่ ปีแยร์ ฌอรฌ์ หลงั จากท่ีเซอราเสยี ชีวติ มาเดอเลนกใ็ ห้กำ�เนดิ แก่บตุ รชายคนทส่ี องผูเ้ สียชวี ติ อาจจะแต่ก�ำ เนดิ หรือไม่นานหลังจากนั้น สาเหตุการเสียชวี ิตของเซอราไม่เปน็ ที่ทราบแน่นอนแตเ่ ชื่อกันวา่ อาจจมาจาก เยอ่ื หุ้มสมองอักเสบ, ปอดบวม, infectious angina หรอื อาจจะเป็น diphtheria ลกู ชายคนโตก็มาเสียชวี ติ เพียงสองอาทติ ยต์ ่อมาจากโรคเดียวกนั เซอราเขยี นงานชิน้ สดุ ทา้ ย “The Circus” คา้ งไวก้ อ่ นที่จะเสยี ชีวิต เซอราสยี ชวี ติ วันที่ 29 มนี าคม ค.ศ. 1891 4 Georges-Pierre Seurat

5 Georges-Pierre Seurat

เพ่ิมเติม..... ขยายความ เก่ยี วกับ Georges-Pierre Seurat 6 Georges-Pierre Seurat

เทคนิคสแี ละแสง...ทีศ่ ิลปินใช้ ในชว่ งแรกของลัทธปิ ระทับใจใหม่ ฌอร์ฌ-ปีแยร์ เซอรา และผู้ตดิ ตาม พยายามพัฒนาลกั ษณะการเขียนท่ีมาจากแรงกระตุ้นของอารมณ์ (impulsive) และจากสัญชาตญาณ (intuitive) ของศิลปินลทั ธิประทับใจ ศิลปนิ ลทั ธิประทบั ใจ ใหม่จะใช้การประจดุ เพ่ือทจ่ี ะแสดงถึงความมรี ะเบยี บและความยั่งยืนในการวาด ภาพ (organization and permanence) เซอราพยายามเพิ่มการสร้างเอกลกั ษณ์ ของขบวนการโดยการพยายามใหค้ ำ�อธิบายถึงทศั นมิติในเร่อื งของแสงและ สายตา แรงบนั ดาลใจจากการศึกษาการเหน็ และทฤษฎสี ีเซอราใช้จดุ สที ี่มสี ีตัดกัน ซงึ่ เมื่อสายตารวมเขา้ ดว้ ยกันแลว้ จะกลายเป็นสีใหมข่ ึ้นทเ่ี ป็นสีเดยี ว เซอรา เชือ่ วา่ การเขียนภาพด้วยวธิ ีนท้ี ป่ี จั จบุ ันเรียกว่า “การผสานจุดส”ี จะทำ�ใหส้ ีที่ ออกมาสดใสและมีพลังมากกวา่ การใชฝ้ ีแปรงในการเขยี นภาพ และเพ่ือท่จี ะเน้น ภาพเขยี นใหม้ สี สี ดใสขน้ึ ไปอกี เซอราถึงกบั เขียนกรอบในภาพด้วยจดุ สดี ้วย ส่วนกรอบนอกของภาพเป็นกรอบขาวบริสุทธ์ิทที่ �ำ ด้วยไม้ ซง่ึ ก็ยงั คงอยู่ 7 Georges-Pierre Seurat

8 Georges-Pierre Seurat

9 Georges-Pierre Seurat

ลทั ธิผสานจุดสี ลทั ธิผสานจดุ สี (pointillism) คือเทคนคิ การเขียนจิตรกรรมทใ่ี ช้จุดสีเลก็ ๆ ต่างๆ สที ีผ่ สานกนั ขึน้ มาเปน็ ภาพดว้ ยตา นอกจากการใช้การ “ผสานจดุ ส”ี แลว้ ก็ยงั มงี าน กราฟิกที่เป็นภาพท่ีเกิดจากจุดทีแ่ ตกต่างกันอยา่ งสนิ้ เชงิ ท่ีมาของลทั ธผิ สานจดุ สมี าจาก ศิลปะรูปลกั ษณ์ (figurative art) ของการสร้างงานจติ รกรรมท่ีไมใ่ ช่การสร้างศิลปะนามธรรม (abstract art) ของศลิ ปะการแสดงออก การสรา้ งงานผสานจุดสตี รงกนั ข้ามกับวธิ กี ารเขียนภาพทีใ่ ช้กันทั่วไปท่จี ะผสมรงค์ วตั ถุทตี่ ้องการจะใช้บนจานผสมสี โดยใช้สีที่ผสมส�ำ เรจ็ ทขี่ ายกันในตลาด การผสานจดุ สีคล้าย กับกระบวนการพิมพ์สสี่ ี (CMYK) ทใี่ ชใ้ นการพมิ พส์ ขี องแท่นพมิ พข์ นาดใหญท่ ีใ่ ชส้ ี cyan (น�ำ้ เงนิ ), magenta (แดง), yellow (เหลอื ง) และ key (ด�ำ ) โทรทศั น์หรือจอคอมพิวเตอร์ ก็ใช้เทคนคิ การผสานจุดสใี นการสร้างภาพแต่ใชส้ ีแดง, เขยี ว และนำ�้ เงิน (RGB) แทนที่ ถา้ แสงแดง, เขยี ว และ น�ำ้ เงนิ ผสมเขา้ ดว้ ยกนั ผลทอ่ี อกมากจ็ ะใกล้เคยี งกบั แสงขาว สสี ว่างทเ่ี กดิ จากการผสานจุดสีอาจจะเกดิ จากการเล่ียงการหักการผสม และ หรือ ผลทใี่ กล้ เคียงกบั การได้มาจากการผสมสีประกอบโดยการใช้รงควัตถุ แตเ่ ทคนิคการผสานจดุ สีท�ำ ให้ สญู เสยี คุณลกั ษณะของฝีแปรงบนพืน้ ผิวภาพ (texture) ทเี่ กดิ จากการใชเ้ ทคนคิ เขียนภาพ 10 Georges-Pierre Seurat

Post-Impressionism โพสต-์ อมิ เพรสชนั นิสม์, ลทั ธปิ ระทับใจยุคหลัง ครสิ ต์ศักราช 1880-1893 “โพสต์-อิมเพรสชนั นิสม”์ คอื กระแสศลิ ปะทเ่ี กิดขน้ึ ในประเทศฝรงั่ เศส มีศิลปิน ทัง้ หมด 4 คน ดงั นี้ พอล เซซาน (Paul Cezanne) พอล โกแกง (Paul Gauguin) วินเซนต์ แวนโก๊ะ (Vincent van Gogh) และแนน่ อนวา่ ตอ้ งมี จอร์จ เซอราต์ (Georges Seurat) ชือ่ “โพสต์-อิมเพรสชันนสิ ม์” เกิดข้นึ เมือ่ ปี 1910 เม่อื นักวิจารณ์ ฟอร์มอลลสิ ม์ ชาวองั กฤษชื่อ โรเจอร์ ฟราย (Roger Fry) จัดงานช่ือ “มาเนต์ แอนด์ เดอะ โพสต์-อิม เพรสชันนสิ ต”์ (Manet and the Post-Impressionist) ที่ ลอนดอนส์ กราฟตัน แกลเลอ รสี ์ (London’s Grafton Galleries) ชอ่ื ลทั ธเิ กดิ ขึ้นหลังจากที่ศลิ ปินในกลุ่มน้ีตายหมดแลว้ (ไม่ใครมีชวี ิตอยเู่ กนิ ป1ี 906) เช่นเดยี วกบั ศพั ท์ผสมทางศิลปะอื่นๆท่มี ีคำ�วา่ “โพสต-์ ” หรือ “นโี อ-” น�ำ หน้า ค�ำ วา่ “โพสต์-อมิ เพรสชนั นิสม”์ ไดบ้ อกเราว่า กลมุ่ นีม้ าหลัง “อิมเพรสชนั นสิ ม”์ (Impression- ism) นอกจากนี้ คำ�วา่ “โพสต์-” ยงั บ่งบอกด้วยวา่ มนั คือปฏกิ รยิ าต่อต้านสิ่งท่มี าก่อนมัน ในขณะทีค่ ำ�ว่า “นีโอ-” จะใหค้ วามหมายในเชงิ บวก เชน่ การฟืน้ ฟู หรือ การยอมรับกระแส ศิลปะทีเ่ กิดข้นึ มากอ่ น 11 Georges-Pierre Seurat

Georges Seurat Paul Gauguin Paul Cezanne Vincent van Gogh 12 Georges-Pierre Seurat

Post-Impressionism โพสต-์ อมิ เพรสชนั นิสต์ ท้งั 4 คนน้ี ตา่ งมีความไม่พอใจแนวทางการเขียนรปู ของ อิมเพรสชันนิสม์ ทไี่ ม่คอ่ ยจะมีรปู ทรงชัดเจนเท่าไร เพราะพยายามถา่ ยทอดบรรยากาศ ของสแี ละแสงด้วยฝแี ปรง จนทำ�ใหร้ ูปทรงไมก่ ระจา่ งชดั แต่อยา่ งไรกต็ ามทั้งส่ีคนนี้ (ยกเว้น เซอราต์ ทคี่ ดิ คน้ “นโี อ-อิมเพรสชนั นิสม”์ ) ได้เคยทดลองเทคนิคแบบ อมิ เพรสชนั นสิ ม์ มาแล้วทง้ั สนิ้ การแสดงทางอารมณ์และความรู้สกึ ในงานของ โกแกง และ แวน โก๊ะ มลี ักษณะท่ี เป็นสญั ลักษณส์ ่วนตวั มีการใช้สีทบ่ี ิดเบอื นผดิ เพี้ยนไปจากธรรมชาติ (เช่น มกี ารใชส้ ีท่ีสดดบิ มากเกินของจริง) ได้เปน็ แรงบันดาลใจใหแ้ ก่ ลัทธิ เอ็กซเ์ พรสชันนิสม์ (Expressionism)และ ซิมโบลสิ ม์ (Symbolism) เทคนิคการสร้างจุดจนคล้ายการเรยี งหินโมเสคของ เซอราต์ ไดใ้ หอ้ ิทธพิ ลแก่ อาร์ต นโู ว (Art Nouveau) และ โฟวสิ ม์ (Fauvism) เซซาน ทดลองเขียนภาพทวิ ทศั นแ์ ละหนุ่ นงิ่ โดยการสงั เคราะห์ใหเ้ ปน็ โครงสร้าง ซง่ึ ตอ่ มาไดเ้ ป็นแรงบนั ดาลใจให้แก่ “ควิ บสิ ม์” (Cubism) ในการสรา้ งภาพธรรมชาติใหเ้ ปน็ โครงสร้างแบบเรขาคณิต 13 Georges-Pierre Seurat

ตัวอย่างผลงาน Post-Impressionism The Night Café Vincent van Gogh The Cardplayers. 1885-1890 Paul Cezanne Paysan à la houe Georges Seurat 14 Georges-Pierre Seurat

15 Georges-Pierre Seurat

ผลงาน Georges-Pierre Seurat ฌอรฌ์ -ปแี ยร์ เซอรา 16 Georges-Pierre Seurat

A Sunday Afternoon on the Island of La Grande Jatte 17 Georges-Pierre Seurat

เซอราใช้เวลาสองปใี นการเขียน ภาพ “บา่ ยวันอาทติ ย์” ท่เี น้นรายละเอียด ของภมู ทิ ัศน์ของปารค์ เซอราท้ังเขียนใหม่ บนภาพเดมิ และเขยี นภาพรา่ งลายเสน้ และ ภาพรา่ งสีน�ำ้ มนั หลายภาพ และจะไปนงั่ ใน ปารค์ ไปเขยี นภาพรา่ งของบุคคลตา่ งๆ เพ่ือให้ ไดร้ ปู ทรงท่ีตอ้ งการ เซอราเนน้ การใชส้ ี แสง และรปู ทรงที่เห็นดว้ ยตา การเขยี นงานช้นิ นี้เซอราใช้สีใหม่ เปน็ สสี งั กะสีเหลอื ง (ซงิ คโ์ ครเมท) ทเี่ ห็นชัด บนสเี หลืองท่ีใชเ้ นน้ บนลานในภาพ แตก่ ็ผสม กบั สีสม้ และสีน้ำ�เงนิ แต่เมอื่ เวลาผา่ นไปสี สังกะสีเหลืองกเ็ ข้มข้นึ จนกลายเป็นสีน้�ำ ตาล ซงึ่ เริม่ เกิดขึ้นตั้งแตเ่ มื่อเซอรายงั มีชีวติ อยู่ เกาะลากร็องดฌ์ ัตเป็นเกาะกลาง แม่น�้ำ แซนในปารสี ที่ในปี ค.ศ. 1884 ใชเ้ ป็น ทพ่ี กั ผ่อนของชาวปารสี ที่ไกลจากส่ิงแวดล้อม อันยุง่ เหยิงของเมืองใหญ่ Dimensions: 2.08 m x 3.08 m Location: Art Institute of Chicago Building Genre: History painting Created: 1884–1886 Periods: Pointillism, Neo-impressionism 18 Georges-Pierre Seurat

A Sunday Afternoon on the Island of La Grande Jatte ในภาพ เราจะเหน็ บรรยากาศวันอาทติ ยย์ ามบ่ายท่เี มอื ง Asnieres ซงึ่ อยู่ไม่ไกล จากกรงุ ปารสี มาก เมอื งนม้ี ีโรงงานอุตสาหกรรมมากมายต้งั อย่บู นฝงั่ แมน่ ้�ำ Seine บิดาของ Seurat มกั เดินทางไปขดุ ทองทีน่ น่ั ดงั น้นั เมอ่ื มองไกลๆ จะเหน็ มปี ล่องไฟโรงงานท่มี คี วัน เต็มท้องฟ้า ซึง่ แสดงให้เหน็ วา่ ชว่ งเวลาน้ันเปน็ ยคุ อตุ สาหกรรม ท่ีกลางแม่น้�ำ คือเกาะ La Grande Jatte ซง่ึ ในขณะนน้ั มีคนอาศัยอย่ปู ระมาณ 60% ของพ้ืนทเี่ กาะแลว้ Seurat ได้วาดภาพของคนปารีส 60 คน ก�ำ ลงั เดนิ เลน่ พักผอ่ นใตเ้ งาตน้ ไม้ แต่ไมม่ ี ใครอาบนำ�้ ไมม่ ใี ครใสช่ ุดอาบน�ำ้ ไมม่ ภี ตั ตาคารหรอื ร้านกาแฟ ท่าเรอื และบา้ นเรอื นใดๆ และถงึ คนเหล่าน้จี ะมาพกั ผอ่ น ภาพก็ไม่มีตะกรา้ ปิกนกิ และไม่มีขวดน�้ำ ด่ืมใหเ้ หน็ บุคคลเหลา่ น้ีเดินทางมาท่ีนั่นอยา่ งมไิ ดต้ ง้ั ใจพบกัน ลักษณะการแตง่ กายบ่งบอกว่ ามสี ถานภาพทางสังคมต่างๆ กนั คนทสี่ วมหมวกแก๊ป สูบซิการ์ และก�ำ ลังนอนเอนมีท่าที เป็นกรรมกร เบอื้ งหลังมที หาร 2 คน และมนี างพยาบาลทสี่ วมเสอ้ื คลุมขาว หมวกของเธอที่ มีสายผกู สีแดงยาว เธอกำ�ลังนง่ั ใกล้หญิงชราท่ีกางรม่ สตรีทุกคนในภาพสวมเสื้อรดั ทรวดทรง กระโปรงที่สวมยาว และทุกคนสวมหมวก เพราะคนที่ไม่สวมหมวกแสดงความเป็นไพร่ ภาพน้มี ีจ�ำ นวนผูช้ ายนอ้ ยกว่าผหู้ ญงิ คงเหมือนสมัยที่แม่และน้าพา Seurat ไปเดนิ เลน่ ในสวนตอนเด็กๆ ข้อสังเกตอีกประการหนึ่งคือ คนทกุ คนในภาพมปี ฏสิ มั พันธก์ นั น้อย เพราะไม่มีใครจอ้ งใคร และไมม่ ีใครนงั่ โอบหรอื นั่งตดิ ใคร ส่วนเด็กผู้หญิง 2 คนที่นง่ั แทบเทา้ ของคนเปา่ ทรัมเปต็ นน้ั กไ็ มแ่ นใ่ จว่าจะถกู ทหารสองคนเดินเข้ามาหาหรือไม่ 19 Georges-Pierre Seurat

สำ�หรับสุนขั กบั ลงิ นนั้ ก็เปน็ สตั วเ์ ลย้ี งของสาวไฮโซในสมัยนน้ั ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการที่สตรี คนนัน้ ยนื ใกล้ชายหนุ่มทีถ่ ือไมเ้ ท้าและสวมหมวกทรงสงู การแต่งกายแสดงใหเ้ ห็นวา่ คน เหล่านี้คือชนช้นั กลางท่มี ีฐานะดี และชอบเดินเลน่ ในสวนสาธารณะในวันอาทิตย์ ถึงภาพน้จี ะดูกระดา้ งและไร้การเคลือ่ นไหว แต่ความส�ำ คัญของภาพคือ การท่ี จิตรกรทา่ นหนึง่ ได้ใช้วิทยาศาสตร์ในการระบายสี เพราะเขาร้วู า่ สตี า่ งๆ มหี ลากหลาย ความยาวคลน่ื และเมอ่ื คลน่ื เหลา่ นี้เดินทางเข้าตา มันจะรวมกนั ท่จี อภาพในตา ท�ำ ให้เราเหน็ ภาพที่สวยงาม 20 Georges-Pierre Seurat

21 Georges-Pierre Seurat

Bathers at Asnières 22 Georges-Pierre Seurat

Bathers at Asnières เปน็ ภาพวาดสนี ำ้�มันบนผา้ ใบ เปน็ หน่งึ ในผลงานช้ินเอก เปน็ รูปชานเมอื งที่เงียบ สงบริมแม่น�้ำ ในกรงุ ปารสี และมเี สอ้ื ผ้าท่ถี ูกถอกไวว้ างทบั กนั อยรู่ ิมฝง่ั ในภาพยงั มตี ้นไม้ พื้นหลังมีตกึ ท่ดี วู ่นุ วาย มกี ารใช้ฝแี ปรงและเทคนิคทีซ่ บั ซ้อน มีการน�ำ ทฤษฎีการผสม สีมาประยุกตใ์ ช้ ให้ความรู้สึกว่ามกี ารเคลอื่ นไหว ออ่ นโยน ภาพ Bathers at Asnières น้ี George-Pierre Seurat วาดเม่อื อายไุ ด้ 24ปี ก่อนท่จี ะเสยี ชวี ติ 7 ปี เขาตงั้ ใจที่จะน�ำ ภาพดังกลา่ วไปแสดงในงานแสดงภาพเขียน แห่งกรงุ Paris ทชี่ ่อื Salon de Paris แต่ก็ถกู ปฏเิ สธ เขากับเพ่อื นๆ ศลิ ปนิ หนา้ ใหม่ จ�ำ นวนหน่งึ จึงได้รวมกลุ่มกนั ขน้ึ และต้ัง Groupe des Artistes Indépendantes ขน้ึ มาจัดการแสดงภาพเองในสถานทีไ่ ม่ไกลจากพพิ ิธภณั ฑ์ Louvre ในระหวา่ ง วนั ที่ 15 พฤษภาคมถึงวันท่ี 1 กรกฎาคม ค.ศ.1884 คนทม่ี าชมงานแสดงภาพเขียนไมไ่ ดใ้ ห้ความสนใจกบั ภาพ Bathers at Asnières มากนกั แม้ George-Pierre Seurat จะเป็นหัวหอกของการจดั งานนก้ี ต็ าม เพราะมผี ลงานจำ�นวนมากของศิลปินถึง 402 คนมาแสดง แตต่ ่อมาในปี ค.ศ.1886 เม่อื มคี นเอาภาพดังกลา่ วรว่ มกับภาพของศิลปนิ อื่นๆอีก 300 ภาพไปแสดงในงาน Works in Oil and Pastel by the Impressionnists of Paris ซึ่งจดั ขนึ้ ท่ี National Academy of New York ในกรุง New York กลับมผี ู้คนใหค้ วามสนใจภาพดงั กล่าว มากและมนี กั วจิ ารณ์งานศิลปะออกมาให้ความเห็นในหลายๆสว่ นไมว่ ่าจะเป็น องค์ประกอบของภาพท่ีมีคนจ�ำ นวนมากนัง่ อย่รู ิมน้ำ� มเี รอื พายและเรือใบลอยอยู่ใน น�้ำ ฉากหลงั เปน็ บา้ นและโรงงาน แสดงใหเ้ ห็นถึงการใช้ชวี ติ ของชาวบา้ นธรรมดาในบ่าย วันหนึง่ ของหนา้ รอ้ น 23 Georges-Pierre Seurat

Dimensions: 2.01 m x 3 m Location: National Gallery, London Created: 1884 Media: Oil paint Period: Impressionism 24 Georges-Pierre Seurat

25 Georges-Pierre Seurat

The Circus คณะละครสตั ว์ เมอ่ื George-Pierre Seurat เสียชวี ติ เขาทิ้งภาพทีย่ งั วาดไมเ่ สร็จเอาไว้ภาพหนึ่งคือ The Circus เป็นรูปภาพที่มเี รื่องราวเก่ยี วกบั ละครสัตว์ มนี ักแสดงหญงิ ที่ ยนื อยูบ่ นม้าทล่ี ะครเฟอรน์ นั โด มันเปน็ ความบันเทงิ ที่เปน็ ที่ นิยมในปารีสเมื่อปี 1880 เซอราไดใ้ ช้ทฤษฎีของชาร์ลส์ เฮนรี่ ในการสอื่ ทางอารมณแ์ ละสัญลกั ษณ์ของเสน้ และสี Dimensions: 1.85 m x 1.52 m Location: Musée d’Orsay Created: 1891 Period: Pointillism Genre: History painting 26 Georges-Pierre Seurat

Young Woman Powdering Herself Created: 1890 Period: Pointillism Genre: History painting ราวๆปี 1889-1890 เซอราไดว้ าดภาพน้ขี ึ้นมา เปน็ ภาพผู้หญิงที่เขารกั เขาได้วาดภาพตอนทีเ่ ธอกำ�ลังท�ำ งาน เธอเปน็ นางแบบชอ่ื วา่ เดอเลน คโนบลอ็ ก เซอราคบหากบั นางแบบสาวมาเดอเลน คโนบล็อกอยา่ งลับๆ 27 Georges-Pierre Seurat

Circus Sideshow Dimensions: 99.7 cm x 1.5 m เป็นภาพวาดปี 1887-1888 เปน็ ศลิ ปะ Location: Metropolitan Museum of Art นีโออิมเพรส ในภาพเปน็ การจัดแสดง 1888 Salon De La สมาคมศลิ ปินอสิ ระ Created: 1888–1888 ในปารสี ซง่ึ มนั กก็ ลายมาเป็นหน่ึงในผล Media: Oil paint Period: Pointillism งานทนี่ ่าชน่ื ชมของเซอรา 28 Georges-Pierre Seurat

Le Chahut Dimensions: 1.72 m x 1.4 m Created: 1889–1890 Media: Oil paint Period: Pointillism Genre: History painting Le C Bridge at Courbevoie hahut Location: Royal Museums of Fine Arts of Belgium Created: 1888 Period: Pointillism Genre: Pastoral 29 Georges-Pierre Seurat

Vase of Flowers Created: 1879 Period: Impressionism Genre: Still life The Rope-Colored Skirt Date: 1884; France Style: Pointillism Genre: genre painting Media: oil, wood Location: Private Collection 30 Georges-Pierre Seurat

Peasants Driving Stakes Location: Private collection Created: 1882 Period: Impressionism Genre: History painting 31 Georges-Pierre Seurat

The river Seine at La Grande-Jatte Location: Royal Museums of Fine Arts of Belgium Created: 1888 Period: Pointillism Genre: Pastoral 32 Georges-Pierre Seurat

The Channel at Gravelines, Evening Dimensions: 65 cm x 82 cm Created: 1890 Media: Oil paint Period: Pointillism Genre: Marine art 33 Georges-Pierre Seurat

The Lighthouse at Honfleur Dimensions: 67 cm x 82 cm Location: National Gallery of Art Created: 1886 Media: Oil paint Periods: Pointillism, Impressionism 34 Georges-Pierre Seurat

Man leaning on a parapet Location: Private collection Created: 1881 Period: Impressionism Genre: History painting Port of Honfleur Created: 1886 Period: Pointillism 35 Georges-Pierre Seurat

The Seine at La Grande Jatte in the Spring Dimensions: 71 cm x 86 cm Location: Royal Museums of Fine Arts of Belgium Created: 1888 Period: Pointillism Genres: Landscape painting, Pastoral 36 Georges-Pierre Seurat

Peasants Driving Stakes Location: Private collection Created: 1885 Period: Pointillism Genre: Pastoral 37 Georges-Pierre Seurat

The Eiffel Tower Created: 1889 Period: Pointillism 38 Georges-Pierre Seurat

The Channel of Gravelines, Petit Fort Philippe Created: 1890 Period: Pointillism 39 Georges-Pierre Seurat

40 Georges-Pierre Seurat

บรรณานกุ รม WikiArt. 2559. Georges Seurat . (ออนไลน)์ . แหล่งที่มา :https://www.wikiart.org/en/georges-seurat 27 พฤศจกิ ายน 2559 อายตนะ. 2559. จติ รกรลายจุด . (ออนไลน)์ . แหลง่ ทม่ี า :http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid =1300684526 27 พฤศจิกายน 2559 สทุ ศั น์ ยกสา้ น. 2559. George Seurat จิตรกรผูบ้ กุ เบกิ ศลิ ปะสไตล์ Pointillism . (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่มี า :http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=95300 00112050 27 พฤศจิกายน 2559 Wikipedia. 2559. George Seurat . (ออนไลน์). แหล่งท่มี า :https://en.wikipedia.org/wiki/Georges_Seurat 27 พฤศจิกายน 2559 วิกิพีเดยี สารานกุ รมเสรี. 2559. ฌอร์ฌ-ปแี ยร์ เซอรา . (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา :https://th.wikipedia.org/wiki/ฌอร์ฌ-ปแี ยร_์ เซอรา 27 พฤศจกิ ายน 2559 41 Georges-Pierre Seurat


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook