Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Leonardo da vinci

Leonardo da vinci

Published by Kachornpon, 2017-01-06 01:59:42

Description: Leonardo da vinci_13570233_ปฏิมากร-พรเวชอำนวย_ออกแบบเว็บ

Search

Read the Text Version

¼àÙŒ ÃÕºàÃÕ§¹Ò»¯Ô

Leonardo da Vinci15 April 1452 – 2 May 1519

คำนำ หนงั สือเลมนจี้ ดั ทำขนึ้ โดยมีเเรงบันดาลใจมาจาก ความชน่ื ชอบในผลงานเเละความคิดสรา งสรรคข องศิลปน ระดับโลกทา นหนง่ึ ซึ่งกค็ ือ“ เลโอนารโ ด ดา วินชี ” ทา นเปนอัจฉรยิ ศลิ ปน ทสี่ รา งผลงานไวอยา งมากมายแตบ างสิง่ กย็ ังไมเ ปน ทร่ี ูจ ักอยางแพรหลาย หรอื บางสง่ิ ท่ีบางคนยังไมเ คยรบั รูซ่งึ ก็คอื สมุดจดบนั ทกึ คกู ายของเลโอนารโด ดา วินชี ท่ที า นไดถ ือติดตัวไวต ลอดกระผมจงึ รวบรวมขอ มลู เเละรปู ภาพในสมดุ เลมน้นั มาเรียบเรียงไวใ นสมุดเลมน้คี รบั ผูจดั ทำ นายปฏิมากร พรเวชอำนวย



สารบัญจุดกำเนดิ จนิ ตนาการ 1เมื่อสังเกตุทกุ ส่ิง 3เมอื่ มองลึกในตัวคน 13เมอื่ รา งคลังอาวธุ 21เมอ่ื คดิ ส่ิงที่ย่งิ ใหญ 27เมือ่ ฝน อยากจะบิน 35แมช วี ติ สน้ิ เเตศ ลิ ปไ มมเี สอื่ มคลาย 39

จดุ กำเนดิ จนิ ตนาการ Leonado เกิดวนั ที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1452 ทแี่ ควนทสั คานี (Tuscany) เมืองวินชี (Vinci) ประเทศอิตาลี (Italy) ทา นมคี วามสนใจเร่ืองวาดภาพมาตั้งแตเด็ก ทานมักวาดภาพเหมอื นสัตวชนดิ ตาง ๆ ท่ี เขาไดเ กบ็ สะสมไว นน้ั จงึ เปนสิ่งที่ทำ ใหเ รารวู า ทานเปน บุคคลที่เกบ็ รายละเอยี ดเเละสนใจส่งิ ตางๆรอบตวั เสมอ ทา นจึงสนใจ เเละมคี วามสามารถทางดานวทิ ยาศาสตรอยูม ากมายหลายแขนง ไดแก ดาราศาสตร คณิตศาสตร และชวี วิทยา * ตอมาในป ค.ศ. 1466 ครอบครวั ของเขาตองยา ยไปอยทู เี่ มอื งฟลอเรนซ (Florence) เมอ่ื เลโอนารโ ดอายุได 18 ป บิดาของเขาไดสง เขาไปทำงานในหอ ง ปฏบิ ตั งิ านศลิ ปะของศลิ ปน ผูม ีชือ่ เสียง อนั เดรยี เวอรรอกคโิ อ ซง่ึ ทำใหเ ลโอนารโ ด มีความ ชำนาญในเรื่องการวาดรปู อกี ทัง้ ความสามารถในเร่อื งการหลอสำริด เพิม่ ขนึ้ อีกดวย เลโอนารโ ดไดฝกฝนศลิ ปะอยูทน่ี ่เี ปน เวลา 6 ป และในป ค.ศ. 1472 เขาไดเขาเปนสมาชกิ ของสโมสรชา งแหง เซนตล ุก เขาไดสรางผลงานทางดา นศลิ ปะอนั ทรงคุณคา ของเขาท้งั 2 ชิน้ ไดแก ภาพอาหารมือ้ สดุ ทา ย (The Last Supper) ในระหวางป ค.ศ. 1495 - 1497 บนฝาผนังยาว 30 ฟตุ สูง 14 ฟุต ของโบสถซ านตา มาเรีย เดลลา เกรซี (Santa Maria Della Grazie) ดว ยสฝี ุน ผสมนำ้ มนั ลงไปขณะทป่ี นู ยังเปยกอยู ซ่ึงเขาเพงิ่ ทดลองเขยี นเปนคร้ังแรก ภาพน้ีเปน ภาพเก่ียวกบั พระเยซูพรอม กับสาวก 12 คน ขณะรับประทานอาหารมอ้ื สุดทา ยอยู ตอมากษตั รยิ  ฝรัง่ เศสไดทรงทอดพระเนตรภาพน้ีและรูสึกประทบั ใจมาก และมีคำสง่ั ใหน ำภาพนกี้ ลับฝร่ังเศสดวย ปจจุบันภาพนแ้ี สดงอยทู พ่ี พิ ิธภัณฑลฟู ร (Louvre) กรงุ ปารีส ประเทศฝรง่ั เศส อกี ภาพ หนึ่งเขาวาดในป ค.ศ. 1500 ชอื่ วา โมนา ลิซา (Mona Lisa) หรือลาโจคอนดา ซงึ่ เปน ชือ่ ของหญิงสาวคนหนงึ่ ทีเ่ ปนแบบในการ วาดรปู ภาพนี้เปนภาพเขยี นสีน้ำมัน เปนภาพของผหู ญงิ คนหนึง่ ท่ีมรี อยย้มิ อันนาประทับใจ01 *เนื้อหานี้เปนสว นของผูจดั ทำเรียบเรยี ง

ภาพอาหารม้ือสดุ ทาย (The Last Supper) ในระหวา งป ค.ศ. 1495 - 1497ป ค.ศ. 1500 โมนา ลซิ า (Mona Lisa) หรือลาโจคอนดา 02

เมื่อสังเกตทุ กุ ส่งิ Leonado ทานเปนคนทม่ี ีความฝน ท่ีอยากจะบิน ทา นจงึ ใหค วามสนใจ กับการศกึ ษา นก เปน อยางมากในเร่ืองของโครงสรา งของนก เเละดวย ที่ทานเปนคนชา งสงั เกตเุ เละจดบันทกึ ไวตลอดทำใหทา นมผี ลงาน เกบ็ ไวศึกษาอยมู ากมาย กระท้งั คน สัตว ส่ิงของ รวมถงึ ส่ิงกอสราง เเละธรรมชาติตา งๆรอบตัวดวย เพื่อเก็บไวเปน ขอมลู สำหรับการออกแบบ สง่ิ ประดิษฐต างๆ ท่ที า นจะสรางเอาไว * ตอ มาทา นดยุคมโี ครงการจะสรา งอนุสาวรยี ของบรรพบุรษุ ของทาน คอื ดยุคฟรานเชสโก สฟอรซ า (Francesco Sforza) ในลกั ษณะข่ีมา ขนาดสงู ถึง 29 ฟตุ และตอ งใชทองสำริดหนักถึง 90 ตนั ทานดยคุ ได มอบงานนี้ใหเลโอนารโดเปน ผรู ับผิดชอบ แต เนอ่ื งจากในป ค.ศ. 1499 อิตาลีไดทำสงครามกบั ฝรัง่ เศส และทองสำรดิ ท่ีจะใชในการหลอ อนสุ าวรีย ตองนำไปใชหลอปนใหญแ ทน ดังนนั้ เลโอนารโดจงึ นำรปู ปน ดินเหนียว ของทานดยคุ ฟรานเชสโก ไปประดิษฐานไวบ ริเวณหนา ประตูพระราชวังแทน03 *เนอื้ หานี้เปน สว นของผูจดั ทำเรยี บเรียง

04

05

เราจะสงั เกตเุ ห็นไดวา ทา นเปนผูท่ใี สใ จในรายละเอียดตางๆไดยอดเยย่ี ม มองในมุมมองที่คนอ่นื ไมส นใจ เเละจดบันทกึ ไวไ ดอยางสมบูรณ * *เนอ้ื หานเี้ ปนสวนของผจู ัดทำเรียบเรยี ง 06

ครง้ั นึงทา นเคยรบั สั่งจาก ดยคุ ฟรานเชสโก ใหป น รูปปน อศั วนิ บนหลงั มา ทา นจงึ คนควาหาขอ มูลมา เเละจดบนทึกไว แมกระท่งั ทำการผาตัดมา ดว ย*07 *เน้อื หาน้เี ปน สว นของผจู ัดทำเรยี บเรียง

08

09

10

11

12

เมอ่ื มองลกึ ในตวั คน Leonado ทา นตองการเขา ใจถงึ การวาดคนใหส มจริงทส่ี ุด ทานจึงทำการนำศพมาผาตดั เพอ่ื คนควาหาขอมลู เเตก ารกระทำเเบบน้ี เปนส่งิ ตอ งหา มอยา งมาก จงึ มีขาวลอื อยูลบั ๆใหร ายเเกทา นวา เปนพวกนอกรีต*13 *เนอื้ หาน้ีเปน สวนของผูจัดทำเรยี บเรียง

14

15

16

17

18

19

20

เม่ือรางคลังอาวุธ ในป ค.ศ. 1482 เลโอนารโดไดเ ขียนจดหมายฉบับหนึง่ ถึงลูโดวโิ ก อิล โมโร (Ludovico il Moro) ดยคุ แหงมิลาน (Duke of Milan) โดยความชว ยเหลอื ของลอเรนโซ เดอ เมดซิ ี เลโอนารโ ด ภายในจดหมายฉบบั นีม้ รี ายละเอยี ด เกี่ยวกบั ความ สามารถ และอาวุธสงครามที่เขาออกแบบขึ้น ไดแ ก 1. รมชชู พี โดยใชผาผืนสี่เหลย่ี มจตั ุรัส ขนาด 13 หลา ใชเชือกผกู มุมท้งั 4 ไว สวนทางปลายเชือกอีกขา งหน่งึ ใชจ บั เวลา< กระโดดลงมาจากที่สูง 2. เครอื่ งรอน เลโอนารโ ด สงั เกตจากลักษณะของนก แลว นำมาปรับปรุง เปน เคร่ืองรอ น 3. เฮลิคอปเตอร โดยใชใ บพดั ขนาดใหญหมนุ ดวยความเร็วสงู ซึ่งเขาไมไดสรางเพียงแตออกแบบไวเทา นนั้ 4. เรือกล ซึ่งใชล อ หมุนพาย แทนคนพาย ซง่ึ มีความเรว็ ถงึ 50 ไมลตอ ชว่ั โมง 5. หนา ไมยักษ อยูบนรถเขน็ 6 ลอ 6. ปนกล มลี ำกลองเรยี งเปน 3 แถว ๆ ละ 11 กระบอก รวมทง้ั หมด 33 กระบอก โดยใชย งิ ทีละแถว เมอ่ื แถวแรกหมดก็ นำแถวที่ 2 และ 3 ออกมาใช การท่ตี อ งทำเชน นเี้ พราะปน ในสมัยนัน้ บรรจลุ กู ไดเพยี งกระบอกละ 1 นัด 7. เรอื ขุด ใชห ลักการเหมอื นกับระหัดเกลียวของอารค ิมีดีส 8. รถถงั มีลักษณะเปน รถหุมดวยทรงกรวยควำ่ ดานลา งติดปนไวโดยรอบ 9. เฮลคิ อปเตอร ซึ่งเปนตน แบบของเฮลคิ อปเตอรในปจจุบนั แตใ นสมยั น้ัน ยังไมม ีเคร่อื งยนต ดงั นั้นเลโอนารโ ดจงึ ออกแบบใหใชแรงคนในการหมุน ใบพัดขนาดใหญ 10. ปน จนั่ เปนเครอื่ งผอนแรงใชสำหรบั ยกของหนกั 11. เรือดำนำ้ เขาไดศ ึกษาเรอ่ื งนี้มาจากปลา 12. รถถงั มลี กั ษณะคลายกบั หัวลูกปน และรอบ ๆ รถมีปน กลซอนอยูโดยรอบดว ย21

22

23

24

25

26

เมอ่ื คิดสงิ่ ท่ยี งิ่ ใหญ หลายตอหลายคร้ัง Leonado ไดออกแบบสง่ื ประดษิ ฐไวมากมาย เเละเร่มิ ซับซอน ข้นึ เร่ือยๆ โดยสงิ่ ของที่ทานไดประดิษฐ มักจะเกยี่ วของกบั กลไกตางๆ ท้ังเอาไว ใชกบั การรบเเละการเกษตรดวย อกี ทงั้ ยงั ศึกษาถึงกลไกพลังงานการหมุนดวยตวั ของ มนั เองทไี่ มมวี นั หยดุ หมนุ ไดอ ีกดว ย *27 *เนือ้ หาน้เี ปน สว นของผจู ัดทำเรยี บเรยี ง

28

29

30

31

32

33

34

เม่อื ฝนอยากจะบิน Leonado ใฝฝน มาตลอดที่อยากจะบิน เพราะทา นชอบทจี่ ะ ศึกษาโครงสรางของนกเเละทานยงั ออกแบบ เครอื่ งรอน เครอ่ื งบินตางๆไวอยา งมากมายหลายรปู แบบทงั้ ศกึ ษาเรื่องลม นำ้ หนัก ลักษณะของปกตางๆ*35 *เนอ้ื หาน้เี ปน สว นของผจู ดั ทำเรียบเรยี ง

36

37

38

เเมช ีวติ สิ้น เเตศิลปไมมีวันเส่อื มคลาย นอกจากงานทงั้ หมดทไ่ี ดกลา วไปแลว เลโอนารโดไดสรางผลงานทาง วิทยาศาสตรข ึน้ อีกหลายชนิ้ ไดแก ผลงานทางดาน ดาราศาสตร เขาถือไดว าเปน นักดาราศาสตรค นหน่ึงท่เี ชื่อถือในทฤษฎดี วงอาทิตยเ ปน ศูนยกลางของจักรวาล ซึง่ คนในยุคนน้ั ยังเช่ือถือในทฤษฎีของอาริสโตเตลิ ที่วาโลกเปนศนู ยก ลางของจักรวาล เลโอนารโดไดป ระดษิ ฐเ ครอื่ งมอื ทางวิทยาศาสตรข้ึนมาชิ้นหนึ่ง เรียกวา ไฮโกรมเิ ตอร (Hygrometer) ใชส ำหรบั วดั ความชนื้ ในอากาศ และตาชัง่ อีกทั้งยงั เปนผูคน พบ พลงั งานไอนำ้ เขาไดทำการทดลองโดยการนำภาชนะใสน ำ้ แลว ผดิ สนิทและ นำไปตม ผลปรากฏวา ภาชนะน้ันระเบดิ ออกมาดวยแรงดนั ของไอน้ำ ในป ค.ศ. 1506 เลโอนารโดไดร บั เชญิ จากพระราชสำนกั พระเจา หลยุ ส ท่ี 12 (King Louis XII) แหงฝร่ังเศส ใหดำรง ตำแหนง วิศวกร และจติ รกรประจำราชสำนัก ในชว งบั้นปลายชวี ิตของเลโอนารโ ดไดพ ำนักในคฤหาสนแ หง หนึง่ ในเมืองอมั บัวส ของกษัตรยิ ฝรงั่ เศสองคใ หม พระเจาฟรังซวั สท่ี 1 (King France I) ในป ค.ศ. 1518 เขาไดลม ปว ยดวยโรคอมั พาตท่ีแขนขวา และเสียชวี ติ ในวนั ที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1519 ทเี่ มืองอัมบวั ส ประเทศฝรั่งเศส ถึงเเมต วั ทา นจะไดจ ากโลกไป เเตส ง่ิ ทที่ า นหลงเหลือทิง้ สง่ิ ตางๆเเละชื่อไว ใหก ับคนรุน หลังไดศ ึกษา รบั รูถ ึงส่งิ ท่ีทานตองการจะสือ่ ในความคดิ ของกระผม ทา นไมไดจ ากไปไหนเเตทา นยงั คงเปนอมตะ อยูคูกบั ประวตั ศิ าสตรเราไปอีกยาวนาน*39 *เน้อื หานี้เปนสว นของผจู ัดทำเรียบเรยี ง

40



บรรณานุกรมการต ูนความรู ชุดคนของโลก เลโอนารโด ดาวนิ ชี อัจฉริยะศลิ ปนwebhtml.horhook.com/section/sec3science/scientist/Leonardo%20da%20Vinci.htmhttp://pantip.com/topic/30875372http://www.leonardoda-vinci.org/http://www.da-vinci-inventions.com/davinci-inventions.aspxhttps://en.wikipedia.org/wiki/Science_and_inventions_of_Leonardo_da_Vinci


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook