Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chinese philosophy

Chinese philosophy

Published by Kachornpon, 2020-05-21 01:24:09

Description: Chinese philosophy_13570283_มณฑา-เชียงของ_ออกเเบบเว็บ

Search

Read the Text Version

ปรชั ญาจนี

บทนำ� ปรชั ญา เป็นหลักเเนวคดิ ท่ีมงุ่ เน้นในเรือ่ งของการด�ำ เนิน ชวี ติ อยู่ในสังคมอยา่ งมีคุณคา่ เเละใหเ้ ปน็ ผมู้ ีหลกั ศลี ธรรม จารตี ประเพณี การมีสัมพนั ธท์ ดี่ ตี อ่ ผูอ้ ื่น ปรัชญาจนี เลม่ น้ีไดน้ �ำ ประวตั ิ เเละหลักค�ำ สอนของนกั ปราชญ์ท่ีมีช่อื เสยี งในจีน อาทิเชน่ เลา่ จ้อื ขงจอื้ ฮัน่ เฟ่ยจอื้ เม่งจ้ือ มอ่ จ้อื ซุ่นจือ้ เเละขงเบง้ มาเปน็ เเนวทางในการด�ำ เนินชีวติ มณฑา

เล่าจ้ือ ปรมารจารย์เเห่งลัทธิเตา๋ 5 11 ขงจอื้ ศาสดาแหง่ ลทั ธิเต๋า 19 27 เม่งจอ้ื นักปรัชญาเมธผี ยู้ ่ิงใหญ่ทีร่ องจากขงจอ๊ื 33 41 ซนุ่ จ้ือ ธรรมชาตขิ องมนุษย์ คอื ความชวั่ ร้าย 45 ฮ่ันเฟ่ยจ้ือ กฎหมายเทา่ น้นั ทจี่ ะยับยงั่ ความช่วั มอ่ จ้อื ความเมตตาตอ่ ผอู้ นื่ ขงเบง้ รูห้ ยงั่ รดู้ นิ ฟ้า

老 子 เ ล่ า จื้ อ

ผู้ท่ีกำ�เนดิ ลัทธิเตา๋ หรอื ศาสดาเตา๋ เรอ่ื งราวของทา่ น สว่ นใหญ่ยงั ไม่มขี ้อมูลท่ีแนช่ ดั ว่าท่านเกดิ เมอ่ื ไร่ แต่ในบนั ทึก ของซอื หม่าเชยี น นักประวตั ศิ าสตรช์ าวจีนไดบ้ นั ทกึ ว่า ท่าน อยู่ในสมัยชนุ ชวิ -จัน้ ก๋วั ซ่งึ เป็นยดุ ของ ขงจอื้ นกั ปราชญ์อีก ทา่ นหนง่ึ และท่านทงั้ สองไดม้ ีโอกาสพูดคยุ แลกเปลย่ี นความรู้ เลา่ จอ๊ื เปน็ คนแซ่ หลี่ ช่อื ว่า ยื้อ มีฉายาว่า แปะเอี้ยง เปน็ คนอำ�เภอขู่เสี้ยนรัฐฉู่ ปัจจุบนั คอื เมืองลอู่ ีใ้ นมณฑลเหอ หนาน เล่าจือ้ เปน็ ปราชญ์รว่ มยคุ สมัยขงจอ๊ื เคยไดร้ บั ราชการ เป็นบรรณารักษใ์ หญ่แหง่ หอสมุด ดว้ ยความท่มี ีหนังสืออยู่ มากมายทา่ นจึงศกึ ษาหาความร้ทู ้งั หมดในห้องสมุดทุกเล่มจน กลายเปน็ นกั ปราชญ์โดยไม่ทันรตู้ ัว เลา่ จ้อื จงึ เผยแพรค่ วามรู้ ให้แก่ผูค้ นทว่ั ไปท่สี นใจ จนเกิดความลึกซงึ้ และมีคนเล่อื มใส ศรัทธา หลงั จากรับราชการมานาน ทา่ นกพ็ บวา่ บ้านเมือง เร่ิมเสอ่ื มโทรมลงไปทกุ วนั ผูค้ นหลงใหลไปกับชือ่ เสยี งเงนิ ทอง จึงจดั สนิ ใจลาออกจากราชการและขว่ี วั สดี ำ�เดนิ ทางออกจาก เมืองหลวงมุ่งหนา้ ไปทางทศิ ตะวนั ตก ขณะผ่านดา่ นหานก่กู วน หยนิ สี่ ซง่ึ ท�ำ หนา้ ท่ดี ูแลเหน็ เลา่ จอื้ จึงเอย่ ขึ้นมาวา่ ปรัชญาจนี 6

“คนท้งั หลายตา่ งรู้วา่ ทา่ นเป็นผูท้ ่เี ก็บตัวเหมอื น ดงั ฤๅษี แม้วา่ ท่านจะเป็นผู้ทม่ี ีความรู้กว้างขวาง แต่ทา่ นก็ ไม่เคยท่ีจะจดบนั ทึกความรู้เหลา่ นนั้ ครง้ั น้ีเมื่อทา่ นตอ้ งการ จะจากเมืองน้ีไป ความรู้เหลา่ นัน้ ยอ่ มสูญสลายไปพร้อมกับ ท่าน ซึง่ ขา้ คงยอมไม่ได้ ขา้ ตอ้ งการจะให้ท่านเขยี นหัวใจ หลักของค�ำ สอนของทา่ นเสียก่อน มเิ ชน่ นั้นท่านจะไม้ได้ ออกจากเมอื งน้ี” เล่าจ้อื จึงได้เขียน คมั ภรี ์เต้าเตอ๋ จงิ (เตา๋ เตก็ เกง็ ) ดว้ ยอกั ษร 5,000 ตัว มที ้งั หมด 81 บท ให้กบั หยินสี่ เม่อื หลงั จากทีเ่ ลา่ จื้อได้ถา่ ยทอดหัวใจของความร้ขู องตนออกมา ท่าน กไ็ ด้เดนิ ทางจากไปตามท่ีตั้งใจไว้แลว้ ก็ไม่มใี ครทราบเลยว่า ทา่ นไปอยทู่ ไี่ หน ในยุคหลังคนยกย่องเลา่ จอื้ ให้เปน็ ปรมาจารย์ แห่งลัทธเิ ต๋า แนวคิดด้านปรัชญาของเล่าจ้อื สอนใหค้ นรู้จักอยู่ กบั ความเปน็ ธรรมชาติใช้ชวี ิตยิ ่างเรยี บงา่ ย อยา่ ใหก้ เิ ลสพาไป สู่ความเดอื ดรอ้ น ดงั ค�ำ สอนของเลา่ จอ้ื ทกี่ ล่าวไว้ว่า “เมล็ดพืชเลก็ ๆ เตบิ โตเปน็ ต้นไมใ้ หญ่ได้ดนิ ที่ สลายนนั้ สามารน�ำ ไปทำ�เป็นเนนิ สูงได้ คนเราถา้ ไมก่ ลัว ความยากล�ำ บาก ถา้ เรม่ิ ต้นทีละเลก็ ละน้อยก็สามารถขจัด อปุ สรรคและบรรลุภารกจิ ทีย่ ่ิงใหญ่ได”้ ปรัชญาจีน 7

老 “ คนทีย่ ืนเขยง่ เทา้ ย่อมยืนอย่ไู มไ่ ดน้ าน 子 คนท่กี ้าวขายาวเกินไป ยอ่ มเดินไปไมไ่ ด้ไกล คนทช่ี อบเเสดงตน จะไม่ไดร้ ับความยกย่อง คนท่ชี อบยกตน จะไม่ไดร้ บั ความนับถอื คนที่ชอบโอ้อวด จะไม่ได้รบั อะไรเลย ” ทกุ ชวี ติ ย่อมทำ�อะไรลงไปก็เพ่ือท่จี ะรกั ษาชวี ติ ของตนเองทง้ั น้ัน ชีวิตจะย่งั ยนื ไดต้ อ้ งด�ำ เนนิ ไปอย่างเรยี บงา่ ย อยา่ ฝนื ธรรมชาติ การที่เรา ท�ำ อะไรมากกวา่ ตนเองย่อมทำ�ใหเ้ รามีเเตค่ วาม ทุกข์ ปรชั ญาจนี 8

子 “ สที ง้ั 5 ท�ำ ใหค้ นตาบอด เสยี งท้ัง 5 ท�ำ ให้คนหหู นวก รสทัง้ 5 ท�ำ ใหค้ นเสียล้ิน การขีม่ ้าลา่ สัตว์ ท�ำ ให้จิตฟงุ้ ซาน สนิ ค้าที่หายาก ท�ำ ให้คนต้องระวังดแู ล บณั ฑิตท�ำ งานเพ่ือใจ มใิ ช่เพ่อื กาย ยึดมน่ั แตภ่ ายใน ไม่ใยดภี ายนอก ” เลา่ จอ้ื ตอ้ งการสอนให้เรามคี วาม ต้องการทางร่างกายนอ้ ย เพอื่ ให้เรานนั้ มีจติ ใจ ท่ีบริสทุ ธเ์ เละสามารถด�ำ เนินชีวติ ไดอ้ ย่างพอ เพียง การฆ่าสัตวต์ วั หนงึ่ เพอ่ื มาเป็นอาหาร ไม่ ได้ฆา่ เพ่ือหาผลก�ำ ไร การกนิ อาหารก็เพ่ืออิม่ ทอ้ งไม่ใช่กนิ เพราะอยากลองรสชาติ เเละการ อยากไดอ้ ยากมีจะนำ�ไปสู่การเเข่งขัน เเละ ทำ�ให้ชวี ิตมเี เตค่ วามฟ้งุ ซาน ปรชั ญาจนี 9

孔 子 ข ง จ้ื อ

ขงจือ้ หรอื ภาษาจีนกลางเรียกวา่ กุง ฟู จอื Kung Fu Tzu กำ�เนดิ ทแี่ คว้นหลู้ ปจั จบุ นั คอื มณฑลชานตุง เป็นบุตร ชายของนายหงึกเลย้ี งสก และนางงว่ นสี ขงจอื้ น้ันมีช่อื จรงิ ว่า ควิ แปลวา่ ภเู ขา เน่อื งจากตอนท่ที ่านยังไมเ่ กดิ บิดาและ มารดาอยากได้ลกู ชายไว้สืบสกุล จึงได้บนบานสานกลา่ วตอ่ เทพแหง่ ขุนเขาและถือกำ�เนิดบุตรชายขนึ้ มาจึงตงั้ ชอ่ื ว่าควิ ชวี ติ ในวยั เดก็ ขงจอื้ มคี วามล�ำ บากครอบครวั มฐี านะ ยากจน มิหน�ำ ซำ้�บิดาก็มาตายตอนอายุยงั น้อย เม่ืออายุ 15 ปี ขงจอ้ี ไดเ้ ล่าเรยี นวทิ ยาการต่างๆอยา่ งจงิ จงั เมือ่ อายุ 23 ปี ขงจอ้ื ได้เขา้ รับราชการในกรมเกษตรมีหน้าท่คี วบคุมดูแล ปศุสตั ว์ในขณะนนั้ ไดม้ ีภรรยาและลูกหนึ่งคนชอ่ื ขงลี ชว่ งชวี ติ ราชการขงจือ้ ทุ่มเทกบั การทำ�งานมาก จนกระทง่ั อายุ 30 ปี ลาออกจากราชการไปเป็นครู เปิดสอนวชิ าต่างๆแกค่ นท่ัวไป โดยคดิ คา่ เลา่ เรยี นเปน็ เพยี ง เนื้อหมู 10 ชิน้ ภายหลังขงจอ้ื ไดต้ ั้งมหาลัยแหง่ แรกข้นึ มา ในประเทศจีน ขณะน้นั ขงจื้อถอื ว่าเป็นนกั ปราชญท์ ่ผี ้คู น ยอมรับมากแต่จุดพลกิ ผนั ของชวี ิต ปรชั ญาจนี 12

เมือ่ ขงจื้อได้พบกับเล่าจอื้ ผเู้ ปน็ ปรมาจารยแ์ หง่ ลัทธเิ ต๋า เล่าจอ้ื ไดส้ อนขงจ้ือใหเ้ ห็นถึงหลกั ความเป็นธรรมชาติ ผทู้ ่ีมปี ัญญาข้นึ ชอ่ื วา่ นกั ปราชญ์ยอ่ มไม่ตกอยใู่ นอ�ำ นาจของกเิ ลสและตณั หา ไมย่ ึดติดกับทรพั ยส์ ินเงินทองและชื่อเสียง ความรทู้ มี ีควรใช้ ให้เหมาะสม ถกู ทถี่ กู เวลาจงึ จะเกดิ ผล เมอ่ื ขงจ้ือไดย้ นิ ค�ำ สอน ก็รู้สกึ ประทับใจและจดจำ�มาใช้ หลังจากนน้ั ขงจ้อื ต้องยา้ ย ถิ่นฐานไปยังแควน้ ต่างๆ เนือ่ งจากขงจ้ือเปน็ คนซ่อื ตรงทง้ั คำ� พูดและการกระท�ำ เมอื่ ไปรบั ราชการในแควน้ ใดกจ็ ะถกู พวก ขุนนางรังเกียจจนต้องไปปอย่แู ควน้ ต่างๆ ในบ้ันปลายชวี ติ เมอ่ื ขงลผี ู้เป็นบตุ รชาย และ งว่ งอวงซึ่งเปน็ ศิษยร์ ักเสยี ชวี ติ ขงจ้ือกเ็ ริ่มปลงในชวี ติ และ ลม้ ป่วยลง จนจากไปเม่อื อายุได้ 73 ปี กอ่ นที่ขงจ้ือจะ จากไปได้รวบรวมวรรณกรรมของจนี ท้งั 6 อย่างคอื ชุนชวิ (ประวตั ศิ าสตร์) เสย่ี งจอื (รฐั ศาสตร)์ เอ๊ยี ะ (ธรรมชาติวทิ ยา) โล้วเกง็ (นิติธรรมเนียม) ซเี ก็ง (กวนี ิพนธ)์ และหงาว (ดนตรี) ปรัชญาของขงจ้อื ถอื วา่ เปน็ คำ�สอนท่ีดคี วรนำ�ไป ปลุกฝังให้กบั เด็กๆเพื่อทเ่ี ปน็ ผูใ้ หญท่ อี่ ยู่รว่ มกับสังคมได้อยา่ งมี ความสุข ปรชั ญาจนี 13

“ การศึกษาทปี่ ราศจากความคิดนั้นถอื ว่าไร้ซึ่งประโยชน์ เเต่ ความคิดทปี่ ราศจากการศกึ ษายงิ่ อนั ตราย ” ผทู้ ่ศี ึกษาหาความรูต้ อ้ งศกึ ษาให้เขา้ ใจใช่เพียงเเคศ่ กึ ษา ตามกนั มา โดยไม่สนใจเนื้อทเ่ี ลา่ เรยี น สง่ิ เหลา่ น้ีถือวา่ เป็นสงิ่ ไร้ ประโยชน์ ไม่สามารถนำ�ความรู้ไปใชก้ บั สิง่ อืน่ ได้ เเตส่ ่งิ ทีห่ นา้ กลวั คือความคดิ ท่ปี ราศจากการศึกษา อาจ สง่ ผลให้ไม่สามารถนำ�ไปใช้จรงิ ปรชั ญาจีน 14

“ ส่งิ ทีย่ ิ่งใหญท่ ่ีสดุ คือผู้ที่ทำ�ตนให้เล็ฏท่ีสดุ ผู้ทเ่ี ล็กทีส่ ดุ ก็กลาย เป็ฯผทู้ ่ใี หญท่ สี่ ุดไป ผทู้ ม่ี เี กยี รติ คือผทู้ ่ีให้เกียรติผู้อ่ืน ” การเป็นนกั ปราชญ์ย่อมตอ้ งใหเ้ กียรติผู้อน่ื กอ่ นเสมอ เพ ราะการใหเ้ กยี รตผิ ้อู ่ืนยอ่ มไดร้ ับเกยี รตนิ ้ันกลบั มาด้วย การเปน็ ผู้ ท่ยี ง่ิ ใหญ่นน้ั มักจะทำ�ตวั ถ่อมตน ไม่โอ้อวด เพราะจะท�ำ ให้ผูอ้ ืน่ ยก ยอ่ งเรา ปรชั ญาจนี 15

“ บณั ฑติ ยอ่ มคดิ ว่า ท�ำ อยา่ งไรจึงจะเพ่มิ พูนคุณธรรมของ ตน คนพาลยอ่ มคดิ วา่ ท�ำ อย่างไรจึงจะเหน็ ความเป็นอยู่ของตน สะดวกสบายขนึ้ โดยไม่ค�ำ นึงถงึ คุณธรรม ” บัณฑิต ทม่ี ปี ัญญาย่อมจะปฎิบัติตนตามหลักคุณธรรม เพอื่ ทจี่ ะไดเ้ พ่ิมพูนคณุ ธรรม ทุกคนยอ่ มยกยอ่ ง ส่วนคนพาลที่มัก จะทำ�อะไรเพอ่ื ทปี่ ระโยชนข์ องตนเอง โดยไมน่ กึ ถึงคุณธรรม ผคู้ นก็ มักจะพากนั รงั เกลียด ปรัชญาจนี 16

“ บัณฑิตยอ่ มเห็นเเกค่ ุณธรรมย่ิงกว่าปากท้อง ” คนดจี ะต้องมหี ลกั คณุ ธรรมประจ�ำ ใจ ยดึ มั่นในคุณธรรม เชน่ ขยนั หมนั่ เพยี ร ซ่อื สัตยส์ จุ ริต กล้าหาญ มีความเมตตา ดงั นั้น คนดตี อ้ งเทดิ ทนู คณุ ธรรมยิง่ กว่าชีวติ ปรชั ญาจนี 17

孟 子 เ ม่ ง จื้ อ

นกั ปราชญ์ผู้ท่ตี คี วามปรชั ญาของขงจ้อื ที่ยังมชี ีวิตอยู่ ในชว่ งสมยั ก่อนราชวงศ์ฮัน่ ซง่ึ เป็นผู้ท่ีรู้จักกันดีวา่ เปน็ ปราชญ์ ผู้ยงิ่ ใหญ่ที่สองรองจากขงจ้อื เม่งจ้อื เกดิ ท่เี มอื งโซว่ Tsou ในแคว้นหลู้ ปัจจบุ นั คอื อำ�เภอโซ่วเซยี นในมณฑลซานตงุ ซง่ึ เปน็ แควน้ บา้ นเกิดของ ขงจื้อ ชวี ิตในวัยเด็กนั้นลำ�บากยากจน เพราะบิดาเสียชวี ิต ตง้ั แตอ่ ายุ ๓ ขวบ ปล่อยใหม้ ารดาหรอื เจียงสตี อ้ งดูลกู ตาม ลำ�พัง เมง่ จ้ือสมัยยังเป็นเดก็ มนี สิ ยั ชอบเลียนแบบ ชอบเอา อย่างสง่ิ ท่พี บเห็น ท�ำ ใหน้ างเจียงสีกลวั ลูกชายจะเลยี บแบบส่งิ ไม่ดีจนเสียคน จึงต้องย้ายบ้านถึง ๓ ครง้ั เพื่อหาสงิ่ แวดลอ้ มท่ี ดีงามให้กับลูกชายของตน สดุ ทา้ ยนางเจียงสีได้ย้ายมาอย่ใู กล้ กับโรงเรยี นแวดลอ้ มด้วยคนมกี ารศกึ ษาและมีมารยาทสมั มา คารวะจึงตดั สินใจอยูอ่ ย่างถาวร เมื่อโตขนึ้ เมง่ จือ้ ไดม้ เี ข้าเรยี นในโรงเรียนขงจอื้ โดย เป็นศษิ ยข์ อง จ๊อื สือ หลานชายของขงจอ้ื ด้วยความสามารถ และเฉลียวฉลาดของเม่งจื้อก็ได้ศึกษาจบจากโรงเรียน แล้ว ออกไปรบั ราชการแตไ่ ม่ประสบความสำ�เร็จ จงึ ตดั สนิ ใจกลับ ไปบ้านเกดิ อีกครง้ั และตั้งใจศึกษาหลักปรัชญาของขงจ้ืออย่าง จริงจัง ปรัชญาจีน 20

ซ่งึ ภายหลังเมง่ จอ้ื ได้รวบรวมหลกั คำ�สอนของขงจ้ือ เป็นหนังสือเรยี กวา่ หนังสอื ประมวลค�ำ สัง่ สอนของ ขงจ้ือ หรือ ลนุ ยู นอกจากนน้ั เม่งจอื้ เปน็ ตวั ต้งั ตัวตใี นการเผยแพร่คำ� สอนของขงจื้อออกไปอย่างกว้างขวาง จนภายหลงั เป็นลทั ธิ ขงจือ้ ข้ึนมา ถึงแม้วา่ จะมีผขู้ ัดขวางแต่เมง่ จื้อกไ็ ดใ้ ชค้ วามปราด เปร่อื งโตต้ อบจนคนเหล่านน้ั หันมานบั ถือลทั ธขิ งจอ้ื ไดใ้ นทสี่ ุด ด้วยความสามารถในการพดู พาที ทำ�ให้ผคู้ นจ�ำ นวน มากหันมาเลือ่ มใสในลัทธขิ งจอ้ื ในขณะน้นั ถือว่าเปน็ ยคุ รุ่งเรอื งของปรัชญาขงจือ้ สว่ นเม่งจือ้ ได้รับการยกย่องว่าเปน็ นกั ปราชญค์ นทีส่ องรองจากขงจือ้ ปรัชญาของเม่งจ้ือ ไดร้ บั สืบทอดมาจากขงจ้อื แตย่ ัง แฝงด้วยแนวคิดของตนเอง โดยเม่งจือ้ เชอื่ ว่า “โดยธรรมชาติ แล้ว มนษุ ยท์ ุกคนมีพน้ื ฐานเป็นคนดมี าแตก่ ำ�เนิด แตส่ ิ่ง แวดล้อมทีไ่ มด่ ีต่าง ๆ ทำ�ให้คนเราเปล่ยี นแปลงไป” ปรัชญาจีน 21

“ อนั การศกึ ษาวิทยาการไม่มีอะไรอ่ืน นอกจากเพื่อตดิ ตามคน้ หา คุณสมบัตทิ ี่พรากหายจากจติ สันดานใหก้ ลบั เป็นดังเดิมเท่านน้ั ” คนมีปัญญายอ่ มให้ความสำ�คญั กับการศึกษาหาความรู้ เพราะการศกึ ษาเป็นเพียงเเค่เครื่องมอื ท่ีช่วยใหเ้ ราท�ำ ดี เเละเปน็ ตัวน�ำ ทางให้เราดำ�เนินชีวติ ไปอย่างเรียบง่าย ปรัชญาจนี 22

“ ราษฎรเปน็ สิ่งสำ�คญั ทส่ี ุด บ้านเมอื งสำ�คัญรองลงมา สว่ นผู้ ปกครองนัน้ มคี วามส�ำ คัญนอ้ ยสดุ ” ผูป้ กครองบ้านเมืองตอ้ งใหค้ วามสำ�คัญกับราษฎร บ้าน เมอื งควรรองลงมา เเละผปู้ กครองตอ้ งสดุ ทา้ ย การทำ�เชน่ นี้จะ ท�ำ ใหผ้ ูป้ กครองไม่เหน็ เเกอ่ �ำ นาจมากเกินไป เเละหนั มาใสใ่ จกับ ราษฎร ปรัชญาจีน 23

孟 子 ภาพเมง่ จื้อตอนเลน่ เป็นพอ่ คา้ ปรัชญาจนี 24

“ จงอยา่ ท�ำ ในสิ่งทีค่ วามรสู้ ึกของตนบอกว่าไมค่ วรทำ� จงอยา่ ปราถนาในสิง่ ท่ีความรสู้ กึ บอกวา่ ไมค่ วรปราถนา เรอ่ื งของ มนษุ ยธรรมกม็ ีเพยี งเทา่ นี้” มนษุ ย์มีธรรมชาติอยใู่ นตวั ทด่ี ีอยู่เเล้ว ก็ควรใชธ้ รรมชาตทิ ่ี มนี น้ั มาเปน็ เเนวทางในการด�ำ เนินชวี ิตว่าอะไรควรทำ� อะไรไมค่ วร ทำ� ปรชั ญาจีน 25

荀 子 ซุ่ น จื้ อ

ซนุ่ จอื้ มชี ือ่ จรงิ วา่ ขวง Kuang และมอี ีกช่อื หนง่ึ เปน็ ทร่ี ้จู ักกันในนามของ ซนุ่ ชงิ Hsun Ching เป็นชาวแคว้น เจา ซึง่ อยทู่ างทศิ ใตข้ องเมอื งโฮเ่ ป้ยและชานสีในปัจจุบัน ใน ช่วงวัยเดก็ ของซนุ่ จอื้ ต้องเผชิญกบั ความลำ�บาก ทา่ มกลาง สงครามระหว่างแควน้ จนต้องย้ายมาอยูแ่ ควน้ เยนจนกระท่งั อายุ 50 ปี ได้มีโอกาสไปรับราชการตามค�ำ เชิญของพระเจา้ เสียง ราชาแห่งแควน้ ฉ่ี ขณะทรี่ บั ราชการ ซ่นุ จอ้ื ไดแ้ สดงความ สามารถจนเปน็ ท่ีโปรดปรานของพระเจา้ เสยี งมาก เป็นเหตุ ให้พวกขุนนางพากนั อิจฉารษิ ยา แลว้ ยยุ งใส่รา้ ยจนซุ่นจ้อื ตอ้ ง ลาออกจากต�ำ แหน่ง สดุ ท้ายต้องย้ายไปรับราชการที่แคว้น ฉู่ ตามค�ำ แนะนำ�ของ จุน สนุ จนุ นายกรฐั มนตรีของแคว้นฉู่ ซุ่นจ้อื ได้รบั แต่งต้งั ให้เปน็ หัวหนา้ ผูพ้ ิพากษาของเมอื งหลาน- หลิน จนกระทง่ั จนุ สนุ จนุ เสียชวี ติ จงึ ลาออกมาใช้ชีวติ เปน็ อาจารยส์ อนศิลปสาสตร์ มีลกู ศิษยม์ ากมายท่โี ด่ดเด่นมอี ยู่ ๒ คน คอื หล่ีซอื่ ทีภ่ ายหลังได้เปน็ นายกรัฐมนตรแี หง่ แควน้ จน๋ิ กับ ฮนั่ เฟย่ จ้ือ นกั ปรัชญาแห่งส�ำ นกั นิติธรรม ปรัชญาจีน 28

จนกระทง่ั จุนสุนจนุ เสียชีวิตจึงลาออกมาใช้ชีวิตเปน็ อาจารยส์ อนศลิ ปสาสตร์ มีลกู ศิษย์มากมายท่ีโดด่ เด่นมีอยู่ ๒ คน คือ หล่ซี อ่ื ทีภ่ ายหลังได้เป็นนายกรัฐมนตรแี ห่งแคว้นจนิ๋ กบั ฮ่ันเฟ่ยจ้อื นกั ปรชั ญาแห่งสำ�นกั นิติธรรม ปรชั ญาของซุ่นจอ๊ื เปน็ ทยี่ อมรับมากในสมยั พระเจ้า จิ๋นซฮี อ่ งเต้ โดยซุ่นจ้อื ได้ประพนั ธไ์ ว้ 322 บท ต่อมาเหลอื 32 หลงั จากหยางจิงในสมยั ราชวงศถ์ ังไดต้ รวจช�ำ ระแล้ว ปรัชญาของซ่นุ จ้อื มลี ักษณะท่ีคลา้ ยคลงึ กบั ปรชั ญา ของขงจอื้ โดยให้ความส�ำ คัญกบั จารีต ประเพณี ดนตรี และ คณุ ธรรมเปน็ ท่ีตั้ง แต่กลบั มีบางอย่างทีข่ ดั แย้งกบั เม่งจอ้ื ศิษย์ ร่วมสำ�นกั คอื ซุ่นจอื้ มีความเชื่อวา่ “ธรรมชาตขิ องมนุษยม์ ีแต่ ความเลวทราม จ�ำ ต้องไดร้ ับการศึกษาอบรมจงึ จะพัฒนาจติ ให้ดีขนึ้ ได้” ปรชั ญาซ่นุ จื้อแบง่ ออกได้ 4 อยา่ งคอื ทฤษฎแี ห่ง ความรู้ ปรัชญาชวี ิต ปรัชญาเศรษฐกิจ และปรชั ญาสังคม ปรชั ญาจนี 29

“ ธรรมชาตขิ องคนตามทสี่ วรรคป์ ระทานมาให้นนั้ เปน็ ส่งิ ทีไ่ ม่ สามารถปลูกฝงั อบรมเเละสรา้ งสรรคข์ ึ้นมาเองได้ สว่ นเรอื่ งท่ี มนุษยส์ ามารถปลูกขึน้ มาเองได้ ล้วนเเลว้ เเตเ่ ปน็ เรื่องทีไ่ ดจ้ าก การศึกษาเท่านน้ั ” ชนุ่ จื้อเชอ่ื ว่าธรรมชาตจิ ติ ใจของมนษุ ยม์ ีเเตค่ วามช่วั รา้ ย หากเราปลอ่ ยเอาไว้จะท�ำ ให้เกดิ ความว่นุ วายในสังคม ด้วยเหตนุ ้ี ตอ้ งมีขนบธรรมเนยี มประเพณี กฏหมายเเละจรยิ ธรรมเขา้ มาช่วย ในการขดั เกลาจิตใจจงึ จะกลายเป็นคนดี ปรัชญาจีน 30

“ ผู้ปกครองบ้านเมอื งเปรยี บเสมอื นเรอื ประชาชนเปรยี บเสมือน น้�ำ นำ้�สามารถพยุงเรอื ใหเ้ เลน่ ได้ เเต่ในขณะเดยี วกันน้�ำ สามารถ ทำ�ใหเ้ รือควำ่�ได้ ” กษัตริยเ์ ปรียบเสมือนตัวเเทนของประชาชน ตอ้ งมีความ รบั ผิดชอบ มีสตปิ ญั ญา ส่ิงนจ้ี ะทำ�ใหก้ ษตั รยิ ์ด�ำ รงต�ำ เเหนง่ ไดน้ าน หากวันใดกษั ตรยิ ข์ าดความยตุ ธิ รรม ประชาชนก็จะเปน็ คนขบั ไล่ ปรัชญาจนี 31

韩 ฮั่ 非 子น เ ฟ่ ย จ้ื อ

ฮ่นั เฟ่ยจ้อื เกิดทแ่ี คว้นฮ่นั ในตระกลู เจ้าครองนคร ฮั่น ทำ�ใหเ้ ขาได้รับการอบรมส่ังสอนทีด่ เี ม่อื โตขึ้นเขาไดเ้ ขา้ ศึกษาในลัทธิขงจือ้ โดยมสี วินจอ่ื เปน็ อาจารย์ ฮ่ันเฟย่ จอื้ มี ความเชียวชาญในเรอื่ งการเขยี นเปน็ เลศิ ช่วงท่ีฮ่นั เฟ่ยจื้อยังเดก็ เป็นยุดสมัยที่เลวรา้ ยทส่ี ุด ในประวตั ศิ าสตร์ของรฐั ฮั่น บ้านเมืองเกดิ ศกึ สงครามและ พ่ายแพ้ในการรบต่อหลายครัง้ ท�ำ ใหผ้ คู้ นเดอื ดร้อน พวก ตระกลู ใหญ่พากนั แย่งชงิ อ�ำ นาจอยา่ งบ้าคล่งั ฮัน่ เฟ่ยจือ้ จงึ เห็น วา่ คุณธรรม จารีต ประเพณนี ้ันไม่สามารถปกป้องประเทศ ชาติ และหาความสงบสุขมาสบู่ า้ นเมอื งได้ คงจำ�เปน็ ต้องใช้ กฎหมายเทา่ น้นั จึงจะท�ำ ใหบ้ า้ นเมืองสงบสขุ แนวคิดของฮ่นั เฟย่ จ้ือน้ีถกู นำ�เสนอตอ่ เจา้ เมืองฮั่น ต่อหลายครัง้ แต่ถกู ปฏิเสธทกุ ครัง้ ทำ�ใหฮ้ ่นั เฟ่ยจือ้ ผิดหวงั จงึ ปลกี ตวั ออกจากสังคมมาอย่ลู ำ�พงั เพ่อื รวบรวมความรู้ ประสบการณช์ วี ิต เขียนเปน็ หนังสอื ปรชั ญาชื่อวา่ ฮ่นั เฟยจ้อื ประกอบดว้ ยบทตา่ งๆ รวม55 บท ความรู้ในตำ�ราของฮน่ั เฟ่ยจ้อื ทถ่ี กู ปฏเิ สธกลบั ถูกใจจนิ๋ ซีฮอ่ งเต้ เจา้ แคว้นจิน๋ จึงขอให้ ไปรับราชการท่แี คว้นจ๋ินตอ่ หลายครง้ั แตฮ่ ั่นเฟ่ยจอ้ื กลับปฏเิ สธ เพราะต้องการรบั ใช้แคว้นฮ่นั ท่เี ป็นบา้ นเกดิ เมอื งนอนของตน ตอ่ มาแควน้ จ๋นิ เขา้ มายดึ ครองแคว้นลกู่ ม็ ีนโยบาย จะผนวกเขา้ กบั แคว้นฮัน่ ทางรัฐฮน่ั จงึ สง่ ฮ่ันเฟย่ จื้อไปเป็นทูต เจรจากบั แคว้นจ๋ิน ปรัชญาจนี 34

เพราะเห็นว่าจ๋ินซีฮ่อนเตช้ น่ื ชอบในตวั ฮน่ั เฟ่ยจ้อื และเปน็ เพ่อื นกบั หล่ี ซื่อ (Li Ssu) นายกรฐั มนตรแี ห่งรฐั จ๋ิน เมือ่ ฮ่นั เฟ่ยจ้ือเขา้ พบจ๋ินซีฮอ่ งเต้กไ็ ด้การต้อนรับเป็นอย่าง ดีและย่อมเขา้ รบั ราชการทแ่ี ควน้ จน๋ิ ฮัน่ เฟ่ยจอื้ ต้งั ใจทำ�งาน อยา่ งเตม็ ท่มี ผี ลงานมากมายจนเป็นทีโ่ ปรดปรานของจ๋นิ ซฮี อ่ งต้ ท�ำ ให้ หล่ี ซอื่ เกิดความริษยาใสร่ ้ายป้ายสฮี ่ันเฟย่ จ้อื จน ต้องติดคุก แม้วา่ ภายหลงั จิน๋ ซฮี อ่ งเตท้ รงทราบความจรงิ ก็ รับสั่งใหป้ ล่อยตวั ฮนั่ เฟ่ยจอ้ื แต่ก็สายไปเสียแลว้ เพราะตอนท่ี ฮ่นั เฟ่ยจือ้ ติดคุก หลี่ ซ่ือ บงั คบั ให้ดมื่ ยาพษิ จนตาย ฮ่ันเฟย่ จ้อื เปน็ นกั ปราชญ์ท่อี ย่ใู นพวกนิตนิ ยิ ม คือใช้ กฎหมายในการปกครองประเทศเท่านนั้ ทจ่ี ะทำ�ใหป้ ระเทศเขม้ แข็ง ซงึ่ แตเ่ ดิมจะใช้คำ�สอนของขงจอ้ื และนกั ปราชญ์นติ นิ ิยม อกี หลายทา่ นในการเปน็ ตนแบบ การจะใช้หลักปรชั ญาใหไ้ ด้ ผลดีนน้ั ผ้ปู กครองต้องมจี ติ ใจท่ีเด็ดเดย่ี ว ยุตธิ รรม จงึ จะเปน็ ท่ี ยอมรับของคนหมู่มาก ปรัชญาของฮัน่ เฟย่ จือ้ น้นั มอี ยมู่ ากมาย แตอ่ าจ แบ่งได้เปน็ 2 ประเทศใหญ่ คือ ปรชั ญาสงั คมและการเมอื ง ปรัชญาชวี ิต เศรษฐกิจและสงั คมในอดุ มคติ ปรัชญาจนี 35

“ ผ้ใู ดผนื เเผ่นดนิ ทำ�เกษตรกรรม ย่อมเจริญดว้ ยโภคทรพั ย์ ผใู้ ด ทีต่ ่อส้ศู ตั รู ย่อมเปีย่ วไปดว้ ยอ�ำ นาจ ” คนท�ำ เกษตรกรรมควรยกย่อง เพราะคนเหล่าน้เี ปน็ ผทู้ ่ี สร้างชาติอย่างเเท้จรงิ ขยันทำ�งานหนกั เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลผลิตยอ่ มเตม็ ไปด้วยความเจริญ ปรัชญาจนี 36

ปรัชญาจนี 37

“ จงให้ความเคารพเเกก่ ษตรยิ ์เเละจงนอบนอ้ มถ่อมตนต่อ เสนาบดี ตน้ เหตุนัน้ หาใช่เปน็ เพราะประชาชนมีความจงรกั ภกั ดตี ่อทา่ นเหลา่ นั้นเป็นพเิ ศษไม่ เเต่เป็นเพราะทา่ นเหล่านน้ั มี อ�ำ นาจสงู สุดในเเผน่ ดินน้ี ” กษัตริยท์ ่มี ีสติปญั ญาดเี เละปกครองอำ�นาจอย่างเดด็ ขาด นน้ั ประชาชนจะไมก่ ลา้ กบฎตอ่ บ้านเมือง เพราะเกรงกลัวตอ่ อำ� นาจท่ีมีอยู่ ปรัชญาจนี 38

“ ขนุ นางกระทำ�ความผิด ต้องไดร้ บั โทษทัณฑไ์ มม่ ีขอ้ ยกเว้น สามญั ชนเองหากว่าทำ�ความชอบ ย่อมไดร้ บั บ�ำ เหน็จรางวลั ไม่มี ขอ้ ยกเว้น” ไมว่ ่าจะชนชัน้ ใดหรอื อยใู่ นสถานะใด หากกระท�ำ ความ ผิดตอ้ งได้รบั โทษเช่นกัน การท�ำ ส่งิ นี้เพ่อื ต้องการจะลดระดบั ชนชั้น สงู ให้เทยี บเทา่ กบั สามญั ชนทวั่ ไป ทุกคนต้องตกอยภู่ ายใต้กฏหมาย ปรชั ญาจีน 39

墨 子 ม่ อ จื้ อ

ม่อจอื้ หรือบคั จือ้ เป็นชาวรฐั ลู้ เปน็ คนร่นุ เดียวกับ หยางจอ้ื โดยมอ่ จ้อื มาจากครอบครัวท่ียากจน เช่อื กนั วา่ คำ�ว่า มอ่ น้นั ส่วนมากใช้เรียกพวกคนทมี่ ีรอยสักเปน็ เครื่องหมายของ พวกทาส กรรมกร เชลยสงคราม ความเชอ่ื ดังกล่าวทำ�ให้สันนิ ฐานวา่ ม่อจอ้ื มชี าตกิ �ำ เนดิ มาจากกรรมกร แตกต่างจากหยาง จ้อื และขงจื้อทมี่ าจากตระกูลขุนนาง ทำ�ใหม้ อจื้อมแี นวคิด สนับสนุนให้ลม้ เลิกระบบการแบง่ ชนชั้นในสังคม และสอนให้ ดำ�เนินชวี ติ อย่างเรยี บงา่ ยตามแบบชนั้ ลา่ ง ปรชั ญาของม่อจือ้ มีช่อื เสียงและมอี ทิ ธพลมากพอๆ กบั ปรชั ญาของขงจ้ือ มอจื้อเคยศกึ ษาปรัชญาเตา๋ และเคยอยู่ ในสำ�นักของขงจ้ือ แต่มอ่ จอ้ื กลับไม่เหน็ ดว้ ยกบั ปรัชญาเหลา่ น้ันจงึ ออกมาตง้ั ส�ำ นักสอนปรชั ญาตามแนวคิดของตนเอง โดย ไดต้ ้งั กฎระเบียบไว้หลายอย่างทกุ คนต้องปฏิบตั ิตาม หาก ละเมิดกฎกต็ อ้ งถกู ทำ�โทษ แต่ถ้าใครท�ำ งานแลว้ มรี ายไดต้ ้อง มาแบ่งบำ�รุงส�ำ นกั นอกจากนย้ี ังมกี ารแต่งต้งั เจ้าสำ�นกั ท่เี รยี ก วา่ ก้ือจือ้ ปรัชญาจนี 42

มอ่ จ้อื เป็นคนท่ียดึ ม่ันกับอุดมคติของตนเองมากไม่ ยอมขายอดุ มคติเพอื่ แลกกบั ทรพั ย์เงินทอง มอี ยู่คร้งั หนึง่ ศิษย์ ของม่อจ้อื ชอ่ื กงเส่ยี งก่วย ได้น�ำ ข้อเสนอไปถวายแก่เจา้ เมือ งอว๊ ด เม่ือทา่ นอ่านก็เกดิ ความเลอ่ื มใส จึงตรสั กบั กงเสยี่ งก่วย วา่ “ถ้าอาจารยข์ องท่านมารบั ราชการมาเป็นขุนนางท่ีบ้าน เมอื งเรา ทา่ นอาจารยจ์ ะได้ตำ�แหนง่ ชน้ั ผู้ใหญแ่ ละไดค้ รอบ ครองทด่ี นิ 500 ลเ้ี ปน็ การตอบแทน” หลงั จากน้ันเจา้ เมอื งอว๊ ดไดส้ ง่ รถให้กงเส่ยี งกว่ ยไปเชิญมอ่ จอ้ื ม่อจ้ือไดถ้ ามกงเสย่ี งกว่ ยวา่ “เจ้าเห็นทา่ ทขี องเจา้ เมอื งอว๊ ดแล้วเจา้ คดิ วา่ จะปฎิบตั ิ ตามปรชั ญาท่ีข้าเขียนได้หรอื ไหม” เม่ือกงเสย่ี งก่วยปฎเิ สธ ม่อจอ้ื จงึ กลา่ วว่า “ไมเ่ พยี งแตเ่ จา้ เมืองอว๊ ดทไี่ มเ่ ข้าใจในหลัก ปรัชญาข้าแล้ว ตัวเจา้ เองกพ็ ลอยไมเ่ ขา้ ใจอดุ มคติของขา้ ดว้ ย” สำ�หรับมอ่ จ้อื แล้วเงนิ ทองหรือยศถาบรรดาศกั ดไิ์ ม่ จ�ำ เป็นสำ�หรบั ตน สิ่งทสี่ �ำ คัญที่สดุ คือการเผยแพร่ปรชั ญาของ ตนเองให้กวา้ งขวาง การสอนใหท้ กุ คนมีความเท่าเทยี มกนั รูจ้ ัก รัก มคี วามเมตตาต่อผ้อู นื่ และนีค้ ือปรชั ญาของมอ่ จ้อื ที่ เหมาะจะสอนให้กบั วยั เยาว์ ปรัชญาจีน 43

孔 明 ข ง เ บ้ ง

ตามประวตั แิ ลว้ ขงเบ้งเป็นตวั ละครตวั หนึ่งท่ี อยใู่ นวรรณกรรมเร่ือง สามกก๊ ซ่งึ เปน็ วรรณกรรมท่ีองิ กบั ประวัติศาสตร์ของจนี โดยขงเบง้ มโี อกาสไดร้ ับใชเ้ ลา่ ปีใ่ น ตำ�แหน่งมหุ นายกและผบู้ ญั ชาการทหาร เปน็ เลิศในทกุ ๆดา้ น ท้งั การทูต วิศวกรรม กวี โหรศาสตร์ อกี มากมาย ขงเบง้ จะดู เปน็ นักปราชญ์มากกว่าการเป็นนกั รบสวมหมวกแบบนกั พรต และมักจะพกพัดขนนกกระเรียนตดิ ตัวตลอดเวลา ขงเบ้งหรือจกู ัดเหลียง เป็นบตุ รชายคนที่ 2 ของ จู เกอ๋ กยุ ขนุ นางในสมัยพระเจ้าเหยี้ นเต้ ขงเบง้ มพี ่ชี ายชอ่ื จู กัดก๋นิ สว่ นน้องชายช่อื จเู ก๋อจน๋ิ ในวยั เดก็ ขงเบง้ เป็นเดก็ ที่ มีความเฉลียวฉลาด มีความรู้รอบตวั ต้ังแตย่ งั หนุ่ม แตม่ ีนสิ ยั ชอบโอ้อวดความรปู้ ระชดประชนั ผ้คู น ท�ำ ให้คนพากนั หมน่ั ไส้ แต่ส�ำ หรบั คนใกลช้ ดิ หรอื มิตรสหายตา่ งรู้ดีว่าที่สิง่ ท่ขี งเบง้ โอ้อวดนั้นทกุ อย่างล้วนเป็นความจริงไม่ใช่แตส่ ักจะพูด ขงเบง้ ใช้ชวี ิตอย่างเรยี บง่าย ปลกู บ้านหลงั เล็กๆไว้เชิงเขา ท�ำ ไรท่ �ำ นา จนชาวบา้ นเริม่ เหฯ็ นสิ ยั ทแี่ ทจ้ ริง ปรชั ญาจีน 46

ในครั้งหนึง่ ขงเบง้ ไดพ้ บกับเล่าปี่จากคำ�แนะน�ำ ของซีซี เพ่ือท่ี วนั ข้างหนา้ จะท�ำ การใหญต่ อ้ งมขี งเบ้งไว้ขา้ งกาย เลา่ ปจี่ ึงเดิน ทางมาบา้ นของขงเบ้งถงึ 3 ครงั้ 3 ครา แต่กลับไมเ่ จอขงเบ้ง นน่ั เปน็ เพราะขงเบ้งตอ้ งการจะลองเชงิ เล่าปี่วา่ มีแรงศรทั ธามา เพียงใด พอครง้ั ได้พบขงเบ้งและตกลงยอมช่วยเหลอื เลา่ ปี่ เมือ่ อายเุ พยี ง 26 ปี กวนอู เตยี วหยู และทหาร ทง้ั กองไม่ย่อมรบั ขงเบง้ จนขงเบง้ ได้แสดงฝมี อื ในการท�ำ ศึก สงครามทั้งกองทพั ต่างพากนั นบั ถอื ถงึ ความสามารถท่ีปราด เปรอ่ื ง ในบน้ั ปลายชีวิตของขงเบง้ ได้เสียชวี ิตบนม้ากลาง สนามรบดว้ ยอายุ 54 ปี หลักปรัชญาของขงเบ้งต่างๆมากมายท่ีเกดิ ข้นึ ใน สนามรบล้วนแปรเปล่ยี นมาประยุกต์ใช้ในสนามชีวติ โดยมี การนำ�ศึกษานำ�ความรู้มาใช้ในชีวิตประจ�ำ วัน คำ�สอนขงเบ้ง สอนให้รจู้ กั การใช้ชวี ติ ท่ีแหลมคม มองการณ์ไกล ปรัชญาจีน 47

“ จรงิ หรอื เท็จ เทจ็ หรือจริง หากเราคิดวา่ ข้าศึกมที างเลือกเพยี ง 2 ทาง จงม่ันใจได้เลยวา่ ย่อมมที างเลือกที่ 3 ซอ่ นอยู่ ” เปรยี บเหมอื นดงั การใชช้ ีวติ มที ง้ั เร่อื งจรงิ เเละเท็จปะปน กันไป การตัดสินใจจะทำ�อะไรตอ้ งวิเคราะห์ใหถ้ ีถ่ ้วนเสียกอ่ น หาก เราตดั สนิ เพยี งทร่ี หู้ รือสงิ่ ที่เห็ฯจะท�ำ ให้เราพบกบั ความลม้ เหลว ปรัชญาจนี 48

“ เดนิ หมากรุก อยา่ คิดเเต่บุกอย่างเดียว เเมเ้ ดินหมากยังตอ้ งคดิ เดินหมากชีวิตจะไมค่ ิดไดอ้ ย่างไร ” การเดนิ หมากรกุ เปรยี บเสมอื นการเดนิ หมากชีวิต เรา ต้องคดิ หน้าคิดหลงั กาอนจะเดนิ กา้ ว หากเราเดินผิดพลาดสามารถ กลบั มาเเก้ไขใหมไ่ ด้ ชวี ิตคนเราอย่ามวั เเตเ่ ดินหน้า ต้องมเี ดนิ ถอย หลงั บา้ งจึงจะประสบความสำ�เร็จ ปรชั ญาจนี 49

“ น้�ำ ไหลลงสูท่ ่ตี ่ำ�ฉนั ใด เรากก็ ลายเปน็ คนฉลาดในชว่ งเวลา ล�ำ บากฉนั นั้น ” ยามเมอื่ เกดิ สถานการณค์ บั ขนั ผคู้ นตา่ งเอาตัวรอดทั้งน้นั คนที่สูเ้ ท่าน้นั ที่จะประสบความส�ำ เรจ็ เเต่คนทย่ี อมเเพ้กจ็ ะพบกบั ความล�ำ บากอยู่อย่างนั้น ปรชั ญาจีน 50

“ ไม้คดใช้ท�ำ ขอ เหลก็ งอใชท้ �ำ เคียว เเต่คนคดเคี้ยวใชท้ �ำ อะไรไม่ ได้เลย ” คนท่ีมจี ติ คิดทรยศทุกเวลา มีเเตจ่ ะนำ�โทษมาให้ หาก เปรียบดงั ตน้ ไม้ท่ีทำ�มาขอยงั สามารถมาใช้ประโยชน์ได้ เเละหาก เปรยี บดำ�งเหล็กก็ยงั มีประโยชน์ใชส้ อย ปรัชญาจีน 51

บรรณานุกรม ฟืน้ ดอกบวั . ปวงปรชั ญาจีน. สำ�นกั พิมพ์ศยาม. กรุงเทพฯ : 2555 บุญชัย ใจเย็น. ใช้ชวี ิตคิดอย่างนกั ปราชญ์. สำ�นักพิมพ์ปราชญ์. กรุงเทพฯ : 2554. ทศ คณนาพร. คมปญั ญาปรชั ญาจนี สอนให้เป็นมงั กร. บริษัทเเฮปป้ีบคุ๊ พับลิชชิ่ง จำ�กัด. กรงุ เทพฯ : 2555. เฝงิ่ อิ่วหลนั . ปรชั ญาจีนจากขงจ่อื ถึงเหมาเจ๋อตง. ส�ำ นกั พมิ พพ์ ิราบ. กรงุ เทพฯ : 2544. Logical Quotes. (ม.ป.ป.). เขา้ ถึงได้จาก : http://logicalquotes.com/confucius-quotes/ (วันท่คี น้ หาขอ้ มลู 17 พ.ย. 2559 ). ปรัชญาจีน. (ม.ป.ป.). เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.baanjomyut.com/library/chinese_philoso phy.html (วนั ที่คน้ หาขอ้ มลู 17 พ.ย. 2559 ).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook