Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore VIETNAM WAR

VIETNAM WAR

Published by Kachornpon, 2020-05-25 02:36:08

Description: VIETNAM WAR_13570016_จุตินันท์-สุวรรณศรี_ธุรกิจ

Search

Read the Text Version

สงครามเวียดนาม | 1

บทน�ำ สงครามเวยี ดนามคอื สงครามทคี่ นทง้ั โลกรจู้ กั เปน็ สงครามทส่ี นั่ สะเทอื น คนทงั้ โลก เพราะความสญู เสยี นน้ั มากมายมหาศาลเหลอื เกนิ ทง้ั ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ระยะเวลาการสรู้ บกนิ ระยะเวลาไป 20 ปี ขบวนการแนวรว่ มปลดปลอ่ ยแหง่ ชาติ เวยี ดนามใต้ หรอื เวยี ดกง ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากพรรคคอมมวิ นสิ ตแ์ หง่ ชาติ เวยี ดนาม โดยทำ� การจัดส่งผูเ้ ชยี่ วชาญที่ผา่ นประสบการณ์รบในสมัยสงคราม อินโดจีน (เวยี ดมนิ ห์) เป็นท่ปี รกึ ษาในการนารปู แบบยุทธศาสตร์การสงคราม มาใชใ้ นสงครามเวยี ดนาม แมแ้ ตก่ ารจดั ตง้ั กองกำ� ลงั ทหารหนว่ ยแรกของเวยี ดกง คอื กองกำ� ลงั ที่ 9 เพอื่ สนบั สนนุ กองพลที่ 352 ของกองทพั ประชาชน ซง่ึ สหภาพ โซเวยี ต และสาธารณรฐั ประชาชนจนี ใหก้ ารสนบั สนนุ ดา้ นอาวธุ รวมถงึ การการ จัดระเบยี บในสายงานทางด้านต่างๆ การโฆษณาชวนเชอ่ื รวมถงึ การใช้หลัก จติ วทิ ยาดงึ ชาวบา้ นเขา้ รว่ มขบวนการ และ “โครงการใชก้ ำ� ลงั รนุ แรง” ซงึ่ ยทุ ธศาสตร์ และยทุ ธวธิ เี หลา่ นเี้ วยี ดกงสามารถใชป้ ฏบิ ตั กิ ารในสงครามเวยี ดนาม ไดอ้ ยา่ งเปน็ ผลสำ� เรจ็ จนทำ� ใหส้ หรฐั อเมรกิ าตอ้ งพา่ ยแพ้ และเวยี ดนามกลบั มา รวมชาตไิ ดใ้ นทส่ี ดุ จตุ นิ นั ท์ ผเู้ รยี บเรยี ง สงครามเวียดนาม | 2

สารบญั บทนำ� 2 สงครามเวยี ดนาม 4 ทำ� ความรจู้ กั กนั กอ่ นใน “สงครามเวยี ดนาม” 6 เหตกุ ารณใ์ นเวยี ดนามกอ่ นเกดิ สงคราม 10 สหรฐั อเมรกิ ากบั สงครามเวยี ดนาม 12 ประวตั คิ วามเปน็ มาของแนวรว่ มปลดปลอ่ ยแหง่ ชาตเิ วยี ดนามใต้ (เวยี ดกง) 18 - การกอ่ ตง้ั องคก์ ร 20 - การปฎบิ ตั งิ านขององคก์ ร 23 - โครงสรา้ งของคณะบรหิ ารจดั การหมบู่ า้ น 24 ยทุ ธวธิ สี รู้ บ 28 - สถานทตี่ ง้ั ทางภมู ศิ าสตรข์ องเวยี ดนามใต้ 30 กองโจรเวยี ดกง 32 - อโุ มงคก์ จู๋ ๋ี 42 - จดุ ซมุ่ ยงิ (สนามเพลาะ) 46 เสน้ ทางโฮจมิ นิ ห์ 48 บทสดุ ทา้ ยของสงคราม 52 เหตผุ ลทสี่ หรฐั ฯพา่ ยแพแ้ กส่ งคราม 60 สว่ นเสรมิ 62 ลำ� ดบั เหตกุ ารณส์ ำ� คญั 66 บรรณานกุ รม 78 สงครามเวียดนาม | 3

สงครามเวยี ดนาม สงครามเวียดนาม | 4

สงครามเวยี ดนาม (ค.ศ. 1957-1975) เปน็ สงครามระหวา่ งเวยี ดนามเหนอื กับเวียดนามใต้ เวียดนามเหนือได้รับการสนับสนุนจากรัสเซียและจีน ส่วน เวยี ดนามใต้ได้รับการสนับสนนุ จากสหรัฐอเมรกิ า สงครามเวยี ดนามจบลงด้วย ชัยชนะของเวยี ดนามเหนือและรวมประเทศเวียดนามท้งั สองเข้าดว้ ยกัน สงครามเวียดนามเป็นสงครามคร้ังใหญ่สงครามหน่ึงซ่ึงเกิดจากการ ด�ำเนินนโยบายทางการเมืองระหว่างมหาอ�ำนาจและรัฐบริวารในสงครามเย็น สงครามน้ีนอกจากจะส่งผลกระทบตอ่ เวยี ดนาม (มีคนเวยี ดนามเสยี ชวี ิตกวา่ 2,000,000 คน) แลว้ ยงั รวมไปถงึ สงั คม การเมอื ง เศรษฐกจิ นโยบายตา่ งประเทศ และทหารของสหรัฐอเมริกาอย่างมหาศาล (มีทหารอเมริกันเสียชีวิตกว่า 58,000 คน ) อนั เปน็ สาเหตทุ ที่ ำ� ใหส้ หรฐั ฯ ไมส่ ามารถทำ� การบกุ รกุ ประเทศอนื่ ในขอบเขตขนาดใหญแ่ ละเข้ายดึ ครองไดเ้ ป็นเวลา 25 ปี ดงั ทเ่ี รียกว่าโรคกลัว เวยี ดนาม หรือ Vietnam Syndrome จนถงึ ปี 2001 และ ปี 2003 ท่สี หรัฐฯ ท�ำการบกุ และยดึ ครองอฟั กานสิ ถานกบั อริ ัก สงครามเวียดนาม | 5

ทำ� ความรู้จกั กนั ก่อนใน “ สงครามเวียดนาม ” สงครามเวียดนาม | 6

สงครามเวียดนามมีอีกชือ่ หนงึ่ ว่าสงครามอนิ โดจีนครั้งท่ี 2 ส�ำหรบั ชาว เวียดนาม พวกเขาเรยี กว่า สงครามอเมริกนั สงครามเวียดนามเป็นสงครามที่ คนทัว่ โลกรจู้ กั กนั ดี เพราะเปน็ เหตแุ ห่งความสูญเสียทงั้ ชีวิตผคู้ น และทรพั ย์สิน อย่างมหาศาล ใช้เวลาสรู้ บยดื เย้อื มาตลอดระยะเวลาเกอื บ3ปี สาเหตุของสงครามเวียดนามมาจากสถานการณ์สงครามเย็น ที่มีการ แข่งขันกันแผ่ขยายอ�ำนาจระหว่างฝ่ายที่เรียกตนเองว่าเสรีประชาธิปไตย ภายใตก้ ารนำ� ของสหรฐั อเมรกิ า กบั ฝา่ ยคอมมวิ นสิ ตภ์ ายใตก้ ารนำ� ของสหภาพ โซเวียต เป็นการท�ำสงครามในรูปแบบของการท�ำสงครามตัวแทน หรือ การ แย่งชิงพันธมิตรตามภูมิภาคต่างๆ ของโลก (เอาแผ่นดินประเทศอ่ืนมาเป็น สนามรบ) การที่เวียดนามเหนือเป็นคอมมิวนิสต์จะท�ำให้ลัทธิคอมมิวนิสต์ขยายตัว ไปยงั อนิ โดจนี ในสว่ นทเี่ หลอื คอื เวยี ดนามใต้ ลาว และกมั พชู า จากนน้ั กจ็ ะลกุ ลาม ไปยังส่วนอืน่ ๆ ทเ่ี หลือในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ ได้ผลักดันใหป้ ระเทศพันธมิตรของตนในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (คือ ไทย และ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ) กบั พนั ธมติ รนอกภมู ภิ าคลงนามในสนธสิ ญั ญามนลิ า อนั นำ� ไปสกู่ ารจดั ตัง้ องคก์ รสนธสิ ญั ญาเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Treaty Organization หรอื SEATO) เปน็ องคก์ รเพอื่ ความรว่ มมอื ทางการทหาร และการเมืองในการยับยง้ั การขยายตวั ของคอมมวิ นิสต์ในภูมภิ าค ฝรั่งเศสได้ พ่ายแพ้ในการรบทสี่ มรภูมเิ ดียนเบียนฟู และ ตอ้ งลงนามในสนธสิ ญั ญาเจนีวา ในวนั ท่ี 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 ยตุ ิสงครามกับพวกเวียดมินห์ สงครามเวียดนาม | 7

ดไวต์ เดวิด ไอก์ ไอเซนฮาวร์ (Dwight David Ike Eisenhower) อนสุ ญั ญาเจนวี า สงครามเวียดนาม | 8

ในขณะเดียวกับที่ฝรั่งเศสได้ถอนก�ำลังทหารออกจากเวียดนาม สหรัฐ อเมรกิ าก็ไดก้ า้ วเข้ามาแทนทฝ่ี รัง่ เศส โดยเขา้ แทรกแซงภาคใต้ของเวยี ดนาม และไดส้ ถาปนาใหโ้ งดนิ หเ์ ซยี่ ม ขน้ึ เปน็ ประธานาธบิ ดี มกี ารจดั ตง้ั พรรครฐั บาล เวยี ดนามใตโ้ ดยมกี ารปกครองแบบเสรปี ระชาธปิ ไตย ซง่ึ สหรฐั อเมรกิ าสนบั สนนุ สงครามเวียดนาม | 9

เหตกุ ารณใ์ นเวยี ดนามกอ่ นเกิดสงคราม สงครามเวียดนาม | 10

ตามอนสุ ญั ญาเจนวี า ค.ศ. 1954 ที่ประชุมใหญร่ ะหวา่ งชาตมิ ีสหรัฐฯ องั กฤษ สหภาพโซเวยี ต เวยี ดนาม ลาว และกมั พชู า มสี าระสำ� คญั อยู่ 5 ประการ ทสี่ ำ� คญั คอื เมอื่ ครบกำ� หนด 2 ปี นบั ตง้ั แตท่ ำ� สญั ญาสงบศกึ ทง้ั สองฝา่ ยจะตอ้ ง จัดให้มีการเลือกตั้งทวั่ ไปในเวยี ดนาม การเลือกตง้ั ให้อยใู่ นความควบคมุ ของ คณะกรรมาธิการระหว่างประเทศ และประชาชนทงั้ สองฝ่ายตอ้ งมิสิทธท์ิ ี่จะ เลอื กถนิ่ ทอี่ ยโู่ ดยเสรี แตป่ รากฏไมไ่ ดว้ า่ มกี ารปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง ไมม่ กี ารเลอื กตง้ั เวียดนามจึงแบง่ ออกเวยี ดนามใตแ้ ละเวยี ดนามเหนอื โดยปริยาย ในปี 1985 เวียดนามเหนือหรือเวียดมินห์ ได้เรม่ิ ทำ� สงครามกองโจรกบั เวยี ดนามใต้ โดยมเี ปา้ หมายส�ำคญั คอื เยาวชน เวยี ดมินห์จะเกลีย้ กล่อมเดก็ อายรุ ะหวา่ ง 15 - 16 ปี เขา้ สมัครพรรคพวกฝกึ อาวุธให้ แลว้ เข้าแทรกซมึ ใน หมบู่ า้ นจนประสบผลสำ� เรจ็ สามารถขยายอทิ ธพิ ลออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง ต่อมาในปี 1959 เวยี ดมินห์เริม่ ท�ำการรุกรานเวยี ดนามใต้ด้วยอาวุธ และก�ำลงั ทหาร และในปี 1960 โฮจิมนิ ห์ได้จดั ตัง้ กองก�ำลังเวียดกง แนวร่วม รักชาติเพ่ือปลอดปล่อยเวียดนามใต้ โดยได้ด�ำเนินการปลูกฝังแนวความคิด โฆษณาชวนเชื่อ ขู่เข็ญ คุกคาม และจูงใจในทุกวิถีทาง โดยผ่านองค์การ บังหน้าตา่ ง ๆ ในปี 1961 เวียดนามเหนือไดท้ �ำการรกุ รานเวียดนามใต้อย่าง รุนแรง จนรัฐบาลเวียดนามใต้ต้องขอความช่วยเหลือจากมิตรประเทศฝ่าย โลกเสรี ในปี 1965 เวียดนามเหนอื ไดข้ ยายกองกำ� ลงั เวียดกงข้นึ ไปถึงระดบั กองทัพ เริม่ เปิดฉากการรกุ หนกั หลายดา้ น จนสามารถยึดพน้ื ท่สี ่วนหนึ่งของ ภาคกลางของเวียดนามใต้ไดเ้ ปน็ จ�ำนวนมาก และได้โจมตีเรือรบของสหรัฐฯ ท�ำให้ประธานาธิบดี จอหน์ สนั ของสหรัฐฯ ไดต้ ดั สนิ ใจท�ำสงครามแบบขยาย ขอบเขต ( Escalation) เข้าไปในเวียดนามเหนอื สงครามโดยเปดิ เผยระหวา่ ง สหรฐั ฯและเวยี ดนามเหนือ จึงเร่ิมต้นต้งั แต่กุมภาพันธ์ 1965 เปน็ ตน้ มา สงครามเวียดนาม | 11

สหรัฐอเมริกากับสงครามเวยี ดนาม เป็นภาพทีเ่ ดก็ ชาวเวียดนาม 2 คนจ้องทหารอเมรกิ ันทก่ี ำ� ลังถอื อาวธุ M - 79 ( ปืนยงิ ลูกระเบิด ) โดยมแี ม่ของพวกเขากอดลูกๆเอาไว้ ป้องกนั การโจมตีจาก ทหารเวียดกง ( นักรสบงชาควญรวานมทเเ่ี วปี็นยชดาวนบาา้ นมธรร|มดา1)2ทเ่ี ปดิ ฉากยงิ ในพ้นื ที่เบาไทร

การแทรกแซงของสหรัฐเร่ิมต้นต่างจากการเข้าสู่สงครามเกาหลี เนอื่ งจากปญั หาการเลอื กตงั้ ประธานาธบิ ดแี ละรวมชาตเิ วยี ดนาม เพราะเกรงวา่ ชาวเวยี ดนามจะเลอื กโฮจิมนิ ห์ ซึง่ เปน็ วีรบรุ ษุ กูช้ าติเวยี ดนามทั้งสองส่วนมีวิถี ชวี ติ ต่างกันและนิยมความคดิ ทางการเมอื งไมต่ รงกัน เวยี ดนามเหนือส่วนใหญ่ เปน็ เกษตรกรทยี่ ากจน เสยี เปรยี บเจา้ ของทดี่ นิ จงึ หนั ไปนยิ มคอมมวิ นสิ ต์ ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือจากสหภาพโซเวียตและจีนคอมมิวนิสต์ ตัง้ แต่รบกับฝร่งั เศส ส่งิ ที่สำ� คญั คือ ความนยิ มในตัววรี บรุ ษุ ผนู้ �ำขบวนการชาตินยิ มคือ โฮจิมินห์ หากมกี ารเลือกตงั้ ประชาชนท่วั ไปมีแนวโน้มจะเลือก โฮจมิ ินห์ วีรบรุ ษุ ของตน โดยไมส่ นใจลทั ธกิ ารเมอื ง สหรฐั จงึ เขา้ มา สนับสนุนเวยี ดนามใตแ้ ทนฝรง่ั เศส เพ่อื สกดั กัน้ ไม่ใหม้ ีการเลอื กตงั้ ทั่วไป เพราะเกรงว่าผู้นิยมคอมมิวนิสต์จะได้ชัยชนะและท�ำให้เวียดนามเป็น คอมมิวนิสต์ การยกเลิกการเลือกตง้ั ประธานาธบิ ดีทำ� ให้เวยี ดนามเหนอื ประกาศสงครามกับเวยี ดนามใต้อีกครั้ง เพือ่ ใชก้ �ำลังรวมเวียดนามเป็นประเทศ เดยี วกัน สหรฐั มีความเชอื่ ทฤษฎีโดมิโน คอื เมื่อชาติหนึง่ เป็นคอมมวิ นสิ ต์ ชาติ ที่อยใู่ กลเ้ คียงจะถูกคกุ คามและตกอยู่ในอทิ ธิพลคอมมวิ นิสตด์ ว้ ย เชน่ เดยี วกบั สภาพการณ์ท่ีเกิดข้ึนในยุโรปตะวันออก จึงเข้ามาปกป้องประเทศในเอเซีย ตะวนั ออกเฉยี งใตม้ ใิ หเ้ ปน็ ไปตามนโยบายวาทะทรแู มน (Trueman Doctrine) และแผนการมาร์แชล *วาทะทรแู มน (Trueman Doctrine) ในค.ศ 1947 มสี าระสำ� คญั วา่ สหรัฐอเมริกาจะโต้ตอบการคุกคามของประเทศคอมมิวนิสต์ทุกรูปแบบและ ทกุ สถานที่ แล้วแตส่ หรฐั จะเห็นสมควร โดยไมจ่ �ำกัด ขนาด เวลา และสถานที่ จะให้ความชว่ ยเหลือประเทศตา่ งๆ ใหพ้ ้นจากการคุกคามของลัทธคิ อมมิวนสิ ต์ สงครามเวียดนาม | 13

สหรัฐอเมริกาเร่ิมส่งที่ปรึกษาทางทหารและส่งอาวุธยุทโธปกรณ์เพื่อ พัฒนากองทัพให้กับเวียดนามใต้ ต้ังแต่สมัยประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์และ ประธานาธิบดจี อห์น เอฟ. เคเนดี (JFK) เรือเอก จอหน์ ฟติ ซ์เจอรัลด์ เคนเนดี (John Fitzgerald Kennedy) ต่อมาเมื่อเคเนดีเสียชีวิตจากการลอบสังหารท่ีดัลลัส เท็กซัส รอง ประธานาธิบดีจอห์นสันได้รับต�ำแหน่งผู้น�ำสหรัฐแทน และได้ส่งก�ำลังพลนับแสนคนพร้อมอาวุธที่มีประสิทธิภาพสูง เข้ามา สกัดกั้นการคุกคามของคอมมิวนิสต์ในเวียดนาม ท�ำให้สงครามเวียดนาม ขยายตวั และรุนแรงมากข้ึน นับแต่ ค.ศ. 1965 เป็นต้นมา ฝา่ ยคอมมิวนสิ ต์ เวียดนามเหนือมีกองทัพเวียดมินห์ สำ� หรับการรบเต็มรูปแบบและมีขบวนการ เวยี ดกง เป็นประชาชนทั่วไปท่ีนิยมคอมมิวนิสต์หรือถูกบังคับให้เป็นคอมมิวนิสต์ ปฏิบตั ิการแทรกซมึ และบอ่ นท�ำลายอยูท่ ัว่ ไปในเวียดนามใต้ ท�ำให้ยากตอ่ การ ปราบปราม และท�ำให้สอ่ื ตา่ ง ๆ เสนอภาพเสมือนทหารสหรฐั รงั แกประชาชน เวยี ดนามทอี่ ่อนแอกวา่ ในช่วงแรกของสงคราม เวยี ดนามเหนอื ไดใ้ ชย้ ุทธวิธียก ก�ำลังท�ำสงครามเตม็ รปู แบบกับกองทัพสหรฐั บุกเขา้ มาใต้เสน้ ขนานท่ี 17 และ สงั หารประชาชนอยา่ งโหดเห้ียม แม้จะไมไ่ ด้ชยั ชนะแต่ทำ� ใหช้ าวเวยี ดนามใต้ เกิดความเกรงกลวั อ�ำนาจของคอมมวิ นิสตเ์ วียดนามเหนอื อย่างมาก จงึ มกั ยอม เขา้ กบั เวยี ดนามในฐานะกองก�ำลงั เวียดกง ปฏบิ ัติการแทรกซมึ บอ่ นทำ� ลายใน เวยี ดนามใต้ สงครามเวียดนาม | 14

ภาพของ พลจัตวา เหงยี น งอ็ ก โลน อธิบดีกรมต�ำรวจเวียดนามใต้ ลั่นกระสุนใสผ่ ูต้ อ้ งสงสัยวา่ เป็นเวยี ดกงในกรุงไซ่งอ่ น ทหารสหรัฐเผาหมู่บ้านไมลาย ท่คี าดวา่ เป็นแหล่งรวมของพวกเวียดกง สงครามเวียดนาม | 15

สหรฐั และพนั ธมติ รในองคก์ าร SEATO ไดร้ ะดมความรว่ มมอื ทางทหาร เข้าไปรบในเวียดนามแต่ไม่ประสบความส�ำเร็จมากนัก เพราะส่วนใหญ่ เวยี ดนามเหนอื และเวยี ดกงรบแบบกองโจร ลอบวางระเบดิ และซมุ่ โจมตี ทำ� ให้ ทหารเวยี ดนามใต้และทหารนาวกิ โยธินสหรฐั เสียชีวิตจ�ำนวนมาก จึงใช้การ ปราบปรามอยา่ งรนุ แรง เชน่ ยิงท้ิงผู้ทคี่ าดว่าเป็นเวยี ดกง การเผาทำ� ลาย หมบู่ ้าน ตลอกจนการทง้ิ ระเบดิ ปพู รมตามจดุ ยุทธศาสตรต์ ่าง ๆ เช่น เมอื งทา่ และชายแดนเวยี ดนาม-กมั พชู า เพ่ือตัดเส้นทางการล�ำเลยี งทหารและอาวธุ จากเวียดนามเหนือสเู่ วยี ดนามใตผ้ า่ นทางกัมพูชา ท�ำใหเ้ กิดความเสียหายต่อ พลเรอื นจำ� นวนมหาศาล ส่งผลใหท้ ว่ั โลกประณามการกระทำ� ของสหรัฐ คนหนมุ่ สาวในสหรฐั จงึ เดนิ ขบวนเรยี กรอ้ งสนั ตภิ าพทวั่ ประเทศ เรยี กรอ้ ง ให้ถอนทหารจากสงครามเวยี ดนาม เมอื่ มกี ารเลอื กตง้ั ประธานาธบิ ดจี อหน์ สันจึง ไมล่ งสมัครอีก ท�ำใหน้ กิ สนั ซึ่งเสนอนโยบายถอนทหารสหรฐั ออกจากเวยี ดนาม และลดบทบาททางทหารท่ัวโลกได้รับชนะการเลือกต้ังเป็นประธานาธิบดีคน ต่อมา นิกสันจงึ เจรจากับจนี สนบั สนุนโยบายจีนเดยี วแลกกบั การให้จนี ยอมรับการถอนทหารจากเวยี ดนามต้ังแต่ ค.ศ. 1973 หลงั จากน้นั สหรฐั ได้ ตกลงถอนทหารจนสิ้นสดุ ในเดือนเมษายน 1975 กองทัพเวยี ดนามเหนอื เขา้ ยดึ ครองไซง่ อ่ นได้ส�ำเรจ็ และเปลยี่ นชื่อเมอื งเปน็ โฮจิมินหซ์ ติ ้ี นักศึกษาเดนิ ขบวนประท้วงสงครามเวยี ดนาม สงครามเวียดนาม | 16

สงครามเวียดนาม | 17

ประวตั ิความเป็นมาของแนวรว่ มปลดปล่อยแห่งชาติ เวียดนามใต้ (เวยี ดกง) สงครามเวียดนาม | 18

สงครามครั้งแรกของเวียดนามเกิดข้ึนหลังญี่ปุ่นถอนทหารออกจาก เวยี ดนามใต้หลงั สงครามโลกครง้ั ทสี่ อง เวยี ดนามต้องเข้าส่สู งครามท่เี รียกวา่ ฟรังโก - เวยี ดมินห์ กลมุ่ เวยี ดมนิ ห์ คือกลมุ่ รกั ชาติท่ีโฮจิมนิ หไ์ ดก้ ่อตงั้ ขึน้ และ ได้ท�ำการยึดคนื เวียดนามจากการยึดครองของญ่ปี นุ่ และ สถาปนารัฐ ประชาธิปไตยของเวยี ดนาม ฝรั่งเศสจงึ ได้สง่ ทหารเข้ามายึดไซ่งอ่ น และเมอื งที่ อย่ภู ายใตก้ ารปกครองของไซ่ง่อนทางใต้ โฮจิมนิ ห์จงึ ไดท้ า การขับไลฝ่ รัง่ เศส ใหอ้ อกไปจากเวยี ดนาม โดยปกปอ้ งการรกุ รานจากทางเหนอื และขบั ไลฝ่ รงั่ เศส ใหอ้ อกไปจากทางใต้ สงครามระหวา่ ง เวียดนามใต้ และฝรงั่ เศส หรือที่เรยี ก กนั ว่า สงครามฟรังโก - เวียดมินห์ สนิ้ สดุ ลงเม่ือปี 1954 หลังจากที่ทหารฝ่ายเวียดมินห์ได้ทาการมีชัยชนะต่อฝรั่งเศสที่เดียน เบียนฟู การเจรจาสงบศกึ ของ สนธิสญั ญาเจนวี า ส่งผลทำ� ให้เกดิ การแบ่ง เวยี ดนามเปน็ 2 สว่ นทเี่ สน้ ขนาน 17 และเวยี ดนามตอ้ งจดั การเลอื กตงั้ ขน้ึ ภายใน ประเทศอกี สองปี ขา้ งหนา้ สหรฐั อเมรกิ าซง่ึ เคยใหก้ ารสนบั สนนุ ฝรง่ั เศสทงั้ ดา้ น การเงนิ และการทหารในอนิ โดจนี ตอ้ งเปลีย่ นมาสนับสนนุ รฐั บาลไซง่ ่อนแทน โดยสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศเดียวที่ไม่ยอมรับข้อตกลงท่ีเจนีวา หลังจาก การที่เวียดนามได้ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนแล้วสหรัฐอเมริกาได้แต่งต้ัง ประธานาธิบดโี งดินหเ์ ซ่ยี ม ขน้ึ มาปกครอง เวียดนามใต้แทนจักรพรรดิเบ๋าได๋ และโฮจิมินห์ปกครองทางเหนือ การทที่ างใต้อย่ใู นชว่ งของการปกครองทัง้ สหรฐั อเมรกิ า และโงดนิ หเ์ ซ่ยี มได้ ทำ� การปฏิรูประบบราชการ รวมถงึ ทางทหาร และเศรษฐกจิ ไดท้ �ำการจดั สง่ ท่ี ปรึกษาชาวอเมริกัน เขา้ มาในเวียดนามใต้เป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้เกิดความ เปล่ยี นแปลงเปน็ อย่างมากในพื้นทที่ างใต้ ตั้งแตส่ หรฐั อเมริกาเข้ามายดึ ครอง และการใชอ้ �ำนาจในทางท่ีผิดของโงดนิ หเ์ ซ่ยี ม จนก่อใหเ้ กิดการจดั ตัง้ องคก์ ร สงครามเวียดนาม | 19

ใต้ดิน ท่ีได้รบั ความรว่ มมือจากทางเหนือมกี ล่มุ ทหารเวยี ดมินหท์ ่ีไดท้ ำ� การ อพยพขน้ึ ไปทางเหนอื ส่วนทางใต้ที่ยังคงเหลืออยคู่ อื สมาชกิ ของขบวนการที่ คอยทำ� การเคลอื่ นไหวในรปู แบบการเมือง ในทสี่ ุดขบวนการใต้ดินทีท่ �ำการ ดำ� เนนิ งานอยา่ งลบั ๆ กไ็ ดถ้ อื กำ� เนดิ ขน้ึ จดั ตงั้ เปน็ “องคก์ รแนวรว่ มปลดปลอ่ ย แห่งชาตเิ วียดนามใต้” ในวันท่ี 20 ธันวาคม 1960 ธงของเวียดกง ประกาศใช้เมอื่ ค.ศ. 1960 การก่อตัง้ องค์กร เมื่อประธานาธิบดีโงดินห์เซ่ียมสามารถสถาปนาอำ� นาจรัฐของตนเองข้ึน ในภาคใต้ได้ส�ำเร็จแล้ว ตั้งแต่น้ันมาเขาก็น�ำมาตรการกดข่ีต่างๆ ขึ้นมา ประยุกต์ใช้กับประชาชนเวียดนามใต้ทันที โดยเฉพาะการปราบปรามพวก เวียดมนิ ห์หรอื พวกทเ่ี คยใหก้ ารสนับสนนุ การก้ชู าติของ โฮจมิ ินห์ ทีย่ งั คงหลง เหลอื อย่ทู างภาคใต้ และได้เริ่มต้นรณรงคต์ อ่ ต้านคอมมวิ นิสต์ ( Anti - Com- munist Denunciation Campaign ) ขึน้ ด้วยการให้กระทรวงการขา่ วสาร และเยาวชน ( Department of Information and Youth ) จดั ชมุ นุมประชาชนขึ้น เพอ่ื ใหค้ นเหล่านนั้ หาข่าว หรือทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ สายลบั ให้รฐั บาล ภายในเดอื นพฤษภาคม ค.ศ. 1956 การรณรงค์ดังกลา่ ว สงครามเวียดนาม | 20

สามารถบีบให้พวกนิยมเวียดมินห์ในอดีตยอมเข้าร่วมเป็นฝ่ายรัฐบาล ถึง 94,000 คน และสมาชกิ ระดับพรรคอีก 5,613 คน กย็ อมแพ้ตอ่ รฐั บาลไซ่ง่อน โดยไม่ต้องถกู คุมขงั ถึงแม้วา่ นโยบายตา่ งๆ ของรฐั บาลโงดินหเ์ ซีย่ ม จะสรา้ ง ปญั หาสับสน และกอ่ ใหเ้ กดิ ความไม่พึงพอใจแก่ประชาชนท่ัวไป เป็นอยา่ งมาก ในการออกค�ำส่ังขุดรากถอนโคนด้วยการจับกุมผู้น�ำเวียดมินห์ท่ียังคงอยู่ใน ภาคใต้ หรอื ไม่กใ็ ช้วิธีการลอบสังหารบุคคลเหล่านัน้ ขณะท่ีพลพรรคเวียดมินห์ ซ่ึงอย่ใู นชนบทก็ยังคงขาดการประสานงาน และไมท่ ราบการรกุ อย่างรวดเรว็ ของรฐั บาลโงดินหเ์ ซยี่ มในเมือง อยา่ งไรกต็ าม ภาวะกดขีข่ องผู้น�ำเวียดนามใต้ในที่สุดกผ็ ลกั ดันให้ผ้นู ำ� เวยี ดมนิ ห์ทีย่ งั คงเหลืออยู่ในทางใต้ จ�ำเปน็ ต้องเคลือ่ นไหวตอ่ ต้านรัฐบาลเป็น คร้งั แรกในปี ค.ศ.1958 ดว้ ยการออกอากาศทางวทิ ยุเถือ่ น และใชเ้ พลงด้งั เดิม ซึ่งคร้งั หนึง่ พวกเวยี ดมินห์เคยใชก้ ระจายเสยี งทวั่ ดินแดนมาก่อน โดยใช้ช่อื สถานีวิทยเุ ถือ่ นดงั กล่าวว่า “ เสียงภาคใต้ ” ( Voice of Nambo : Voice of the South ) ต่อมา ไม่ก่ีเดือนในปี นั้นก็ได้ประกาศให้คนทั่วไปรับรู้ว่าสถานี ดังกลา่ วน้คี อื “เสยี งแนวรว่ มปลดปล่อย เวยี ดนามใต้” ( The Voice of the South Vietnam Liberation Front ) จะเห็นได้ว่าขบวนการแนวร่วมปลดปล่อยเวียดนามใต้หรือเวียดกงได้ ถือก�ำเนิดข้ึนก่อนที่รัฐบาลฮานอยจะประกาศยอมรับองค์กรดังกล่าวในปี 1960 ถึง 2 ปีเตม็ โดยการเคลื่อนไหวสว่ นใหญ่ในระยะแรกเป็นการโฆษณา ชวนเชอื่ เพือ่ ตอ่ ต้านรฐั บาลเทา่ น้ัน ซึง่ การเคลื่อนไหวครงั้ น้กี ็ได้มกี ารรายงาน โดยตรงไปสู่โฮจิมินห์ และถูกน�ำไปสู่การประเมินสถานการณ์ในเวลาต่อมา อีก 6 เดอื นถัดจากนนั้ ในการประชุมสมัชชา พรรคแรงงานเวียดนามครง้ั ท่ี 3 ระหวา่ งวนั ท่ี 5 - 10 กนั ยายน ค.ศ.1960 ทีป่ ระชุมจงึ ไดล้ งมติ เป็นทางการที่ จะใช้กาลงั ลม้ ล้างรัฐบาลโงดินหเ์ ซ่ียม โดยทปี่ ระชมุ ไดก้ ำ� หนดยุทธศาสตร์ และ ภารกจิ หลักขน้ึ 2 ประการคอื 1. จะตอ้ งดำ� เนินการปฏวิ ตั ิสงั คมนิยมขึ้นในภาค เหนือต่อไป โดยจะตอ้ ง ประสานงาน กบั ภารกิจหลกั อกี ประการหน่งึ อยา่ งใกล้ ชดิ คือ 2. ปลดแอกภาคใต้จากจักรวรรดนิ ิยมอเมรกิ า และลิ่วล้อเพอื่ รวม สงครามเวียดนาม | 21

ประเทศ เขา้ เปน็ อันหนึง่ อันเดยี วกันเพ่ือเปน็ รัฐทมี่ เี อกราช และเสรีภาพทวั่ ประเทศอยา่ งแทจ้ ริง ฉะนั้นจึงได้ประกาศจัดตั้งขบวนการแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ เวยี ดนามใต้ ( National Liberation Front of South Vietnam ) อยา่ งเป็น ทางการในวนั ที่ 20 ธนั วาคม ค.ศ. 1960 หลังจากนัน้ อีก 6 สปั ดาห์ รฐั บาล ฮานอยก็ไดร้ ับรององคก์ รแห่งนอี้ ยา่ งเปน็ ทางการ แนว ร่วมปลดปล่อย อิสรภาพแหง่ ชาตเิ วียดนามใต้ไดจ้ ดั ตั้งข้นึ มาตามค�ำส่งั ของพรรคทางเหนอื ซึง่ เลซวน ได้อธิบายถงึ แนวร่วมปลดปลอ่ ยอสิ รภาพแหง่ ชาตเิ วยี ดนามใต้ เปน็ พรรคการเมืองตดิ อาวธุ การจดั ตัง้ องคก์ รกอ่ ตง้ั ข้นึ ในวันที่ 20 ธนั วาคม ค.ศ. 1960 ระหวา่ งการสมั มนาของกองกำ� ลงั ตอ่ ตา้ นระบบการปกครองแบบฟาสซสิ ส์ ( Fascist regime ) ในเวยี ดนามใต้ จากค�ำแถลงการณไ์ ด้ อ้างถงึ การใช้อ�ำนาจ และภารกจิ ท่สี �ำคัญของแนวร่วมปลดปล่อยอสิ รภาพแห่งชาตเิ วียดนามใต้ เปน็ องคก์ รทเี่ ปน็ ตวั แทนของหน่วยงานต่างๆทางสงั คม ศาสนา และเปน็ การแสดง ถึงความรกั ชาตใิ น การท�ำตามคำ� สัง่ ต่อส้เู พื่อลม้ ลา้ งอำ� นาจการปกครองของ จักรวรรดินิยมอเมริกา กองก�ำลังเวียดกงขณะก�ำลังเดนิ ผ่านหมบู่ ้าน สงครามเวียดนาม | 22

กองกำ� ลังของเวียดกงขณะกำ� ลงั เดินทางผา่ นหมบู่ า้ น ซึ่งชาวบ้านไดท้ �ำการตอ้ นรับ การปฏบิ ตั ิงานขององค์กร การปฏิบตั ิงานของขบวนการแนวร่วมปลดปลอ่ ยฯ จะใช้รปู แบบตาม หลักยุทธวิธีของหน่วยรบแบบกองโจร คือ การเข้ายึดครองหมู่บ้าน และ เกลี้ยกลอ่ มชกั จูงให้ชาวบา้ น รวมไปจนถงึ เจ้าหน้าทท่ี อ้ งถิน่ ให้ลาออกจากการ ทำ� งานใหก้ บั รฐั บาลเวยี ดนามใต้ เพอื่ ทเี่ ขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ ขององคก์ ร การเขา้ ถงึ ชาวบ้านได้เป็นอย่างดี และการไดร้ ับความสนับสนุนจากชาวบา้ น โดยการใช้ หลักจิตวิทยาเช้ือเชิญท�ำให้หมู่บ้านนั้นตกอยู่ภายใต้ของกลุ่มแนวร่วมได้อย่าง ง่ายดาย ตอ่ มาจึงได้จัดต้ังระบบการจดั การของหม่บู า้ นที่อย่ภู ายใตก้ ารควบคมุ ขององค์กรโดยมหี ลกั 3 ประการดังน้ี 1. มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างทางฮานอยกับกองก�ำลังเวียดกงซึ่งมีหน้า ทเ่ี คลอ่ื นไหว ปลดปล่อยอสิ รภาพบรเิ วณพ้นื ทท่ี ถ่ี กู เลอื ก 2. บุคคลเหล่านั้นได้ท�ำงานให้กับรัฐบาลหรือมีความสัมพันธ์ในการ ท�ำงานให้กับรัฐบาล และได้คอยรายงาน ส่งข้อมูลข่าวสารต่างๆ ต่อหน่วย เวยี ดกงเปน็ ประจ�ำ 3. บุคคลเหลา่ นนั้ ต้องมีความสัมพันธก์ บั รัฐบาล หรอื กับคอมมิวนิสต์ สงครามเวียดนาม | 23

แตไ่ มม่ มี มุ มอง ต่อรูปแบบการปกครอง มคี วามไว้วางใจได้ในการตรวจสอบ เปน็ ครง้ั คราว หลงั จากการทำ� งานขนั้ แรกขององคก์ ร มกี ารจดั การรวมกลมุ่ ของ ชาวบ้านในการปลดปล่อยอิสรภาพท่ีสามารถปฏิบัติงานได้อย่างช�ำนาญการ ภายใต้ข้อผูกมัดของระบบสังคมนิยม ดังน้ันในการรวมกลุ่มปลดปล่อย อิสรภาพจะประกอบไปดว้ ย ชาวนา ผู้หญงิ กรรมกร นกั ศกึ ษา เป็นต้น ใน ความส�ำคัญมีโครงสร้างจากพรรคคอมมิวนิสต์ชาวพ้ืนเมืองที่ได้รับค�ำสั่งจาก ผู้น�ำระดับสูงสู่การท�ำงานของประชาชนท่ีรวมตัวกันปฏิบัติหน้าท่ีโดยคณะ กรรมการหม่บู ้านจะรับค�ำส่ังตอ่ จากเจ้าหน้าทีท่ ้องถน่ิ โครงสรา้ งของคณะบริหารจดั การหมู่บ้าน โครงสร้างการบริหารของหมู่บ้านอยู่ ภายใต้คณะกรรมการแนวร่วม ปลดปล่อยที่ถูกควบคมุ จากพรรคคอมมิวนิสต์ทอ้ งถ่นิ ถึงแมว้ า่ โครงสรา้ งของ สภาหมบู่ ้านจะมคี วามแตกต่างกันแต่พวกเขาก็มีสมาชกิ ทจี่ ัดต้งั ขน้ึ มาถงึ 6 คน ประกอบไปดว้ ยประธาน 1 คน รองประธาน 1 คน เลขานกุ ารความมน่ั คง 1 คน เจ้าหนา้ ทก่ี าร คลงั เจ้าหน้าท่ีจัดหา เจา้ หน้าทก่ี ารสาธารณสขุ และเจ้าหน้าที่ ประชาสัมพันธ์ สภาหมบู่ า้ นจะปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ อ่ รฐั บาลทอ้ งถนิ่ ซง่ึ ตอ้ งชว่ ยในการสนบั สนนุ องค์กรใน การทำ� สงครามทางใต้ ระบบการจัดเก็บภาษีชาวบา้ นจะถกู รวบรวม ไวใ้ นรปู แบบทรพั ยส์ นิ หรอื สนิ คา้ ภาษเี หลา่ นม้ี าจากการบรจิ าค เชน่ ขา้ ว หรอื ผลผลติ ทางการเกษตร โดยทางองค์กรจะเก็บผลผลิตท้ังหมดและจัดสง่ ไปยงั โกดังส่วนกลาง การแบ่งปนั ผลผลติ แบง่ ตามจำ� นวนสมาชกิ ในแต่ละครอบครวั อย่างไรก็ตามประชาชนจะได้รับการแบ่งปันส่วนได้ไม่เพียงพอต่อความ ต้องการ เพราะเน่อื งจากตอ้ งแบ่งปันผลผลิตส่วนมากใหแ้ กก่ องกำ� ลงั การ สรรหาสมาชิกใหม่ของสภาหมู่บ้านจะเน้นไปที่บุคคลภายนอกประกอบไปด้วย ผชู้ าย เดก็ วยั รนุ่ ตงั้ แตอ่ ายุ 12 ปี และคนชรา ทส่ี นใจในนโยบายการสรรหาใหม่ ผู้ชาย และผูห้ ญิง ทเ่ี ข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ อายุระหวา่ ง 17 ถึง 30 ปี จะทำ� หนา้ ท่ี สงครามเวียดนาม | 24

ในการจัดหาเสบียง และสร้างที่หลบภัยให้แก่กองก�ำลังรวมไปถึงการจัดหา อาวุธอีกด้วย ชายและหญิงสมาชิกใหม่เหล่านี้จะถูกส่งตัวไปยังฮานอยเพื่อ รับการฝึกอบรมท่เี ขม้ ขน้ ในรปู แบบของสงครามกองโจร และการทาสงคราม จิตวทิ ยา แสดงวิธีการยิงปืน M1Carbine ของกองกาลังสาวเวยี ดกง ทร่ี ักษาความปลอดภัยหมูบ่ ้าน การฝึกอบรมน้ันคุณภาพของการฝึกอบรมของเวียดกงมีความแตกต่าง กนั ออกไปซง่ึ จะขน้ึ อยกู่ บั รปู แบบของหนว่ ยงาน สถานทตี่ ง้ั ของกองกำ� ลงั ในพน้ื ท่ี นั้นๆ วิธีการฝึกอบรมของผู้น�ำกลุ่มมีวิธีการสอนแบบขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่ม เล็กๆ ดังนนั้ วธิ กี ารทนี่ ามาใชส้ ว่ นใหญ่คอื การบรรยาย ระดบั ของการฝกึ อบรม จะขนึ้ อยกู่ ับการจดั หาอาวธุ ยทุ โธปกรณ์ทไี่ ดม้ า การฝึกอบรมดา้ น ยุทธวิธีจะ อบรมเป็นกลุ่มย่อย การปฏิบัติสามารถนาไปใช้ได้จริง อปุ กรณ์ในการอบรมจะ เปน็ กระดานดำ� และพน้ื ดินที่สามารถใชว้ าดรปู และเปน็ เทคนคิ อย่างหน่งึ ใน การฝึกอบรม การฝกึ อบรมทางดา้ นการทา อุปกรณ์ตอ่ สู้อากาศยานของฝ่าย ตรงข้าม สรา้ งเปน็ โมเดลของเฮลคิ อปเตอร์ ทท่ี ามาจากกระดาษแลว้ นาไปห้อย ไวก้ บั ตน้ ไม้ เพื่อท่ีจะให้พลแมน่ ปนื ยิงให้ถูกเปา้ หมายตามที่ กำ� หนดไว้ ในบท เรียนขน้ั ตอ่ ไปของการฝึกอบรม จะเป็นการซกั ถามผเู้ รยี นจะถามค�ำถามจาก ครฝู กึ แลว้ จดบนั ทกึ ลงสมุดบันทึก สงครามเวียดนาม | 25

แสดงรูปแบบวิธกี ารของเวียดกงวางแผนทำ� ลายเฮลคิ อปเตอร์สหรัฐฯ ที่ค่ายพักทางตะวันตกเฉยี งใต้ของจงั หวดั จลู าย ถูกคน้ พบโดยกองกำ� ลงั ทหารมา้ ของกองทพั สหรฐั ฯ ถ้าผเู้ รยี นมคี ำ� ถามทีม่ ากกวา่ ผเู้ รียนคนอน่ื หรอื ถามคำ� ถามซ้ำ� ๆ ครฝู กึ จะ ระมดั ระวงั ในการตอบค�ำถามเพอ่ื ทจ่ี ะไม่ใหข้ ้อมลู รั่วไหลออกไปได้ ซึ่งครูฝกึ สามารถทจ่ี ะรับรู้ไดว้ า่ ผูเ้ รียนเปน็ เวยี ดกง หรอื ฝ่ายตรงขา้ มแทรกซึมเขา้ มาจาก การถามคาถามครูฝึกจึงเข้มงวดในเร่ืองนีเ้ ปน็ อย่างมาก การปฏิบัติหน้าที่เป็นอย่างแรกของกองก�ำลังรักษาความปลอดภัยของ หม่บู า้ น คอื การรักษาความปลอดภัยของหมบู่ า้ น และคอยตรวจตราคน้ หา กองก�ำลังของฝ่ายตรงข้าม กองก�ำลังเหล่านี้ได้รับการฝึกอบรมเป็นอย่างดี ก่อนการได้รับค�ำส่ังมอบหมายงานผู้เรียนจะได้รับการฝึกอบรมเข้มเป็นระยะ เวลา 6 – 8 วนั อบรมในเร่อื งตา่ งๆดงั น้ี การอบรมบอกตำ� แหนง่ สัญญาณ โดย จะแบ่งออกเปน็ กล่มุ ๆ ซึง่ แต่ละกล่มุ จะไดร้ ับลูกระเบดิ จ�ำนวน 12 ลูก เพื่อใช้ ในการปาระเบิด เพ่อื ส่งสญั ญาณการอบรมการยงิ ปืน มีข้อจ�ำกดั เพราะ ขาดแคลนดา้ นอาวุธ นอกจากนย้ี ังมีการ อบรมด้านความร้ทู างการเมอื งการ ปกครอง การอบรมดา้ นยทุ ธวธิ ปี ระกอบไปด้วย การอบรมด้าน อาวธุ การอา พรางตัว การสรา้ งฐานที่ม่นั สขุ อนามยั การลาดตระเวร การศกึ ษากฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั และ การรักษาความปลอดภัย ในสว่ นสุดท้ายผู้เรียนจะถูกแบ่งออก สงครามเวียดนาม | 26

เปน็ กลมุ่ สำ� หรบั การ ฝกึ อบรมขน้ั ตอ่ ไป ดงั นน้ั กลมุ่ เหลา่ นม้ี คี วามเขา้ ใจตอ่ การฝกึ ทางด้านยุทธวธิ แี บบกลุม่ ยอ่ ยซงึ่ เป็น หลกั สูตรทผี่ ู้เรยี นตอ้ งเขา้ ใจเป็นอยา่ งดี เช่น การซุม่ โจมตี การจูโ่ จม การต่อสู้อากาศยาน การฝกึ ใชอ้ าวุธ ทางด้านหลกั สูตรการฝกึ อบรมพิเศษเป็นไปตามหลกั สูตรของกองทัพ ประชาชน เวียดนาม การอบรม การยิงปนื ไมว่ า่ จะเป็น หลกั สตู รพลแมน่ ปืน การยิงปืนไรเฟลิ การใชป้ นื ใหญ่ การฝกึ อบรมนจี้ ะมีระยะเวลาถึง 4 เดอื น หรือทางด้านหน่วยส่อื สารจะเรยี นรู้ เกยี่ วกบั การสง่ ขา่ วสาร การซอ่ มแซมอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิคส์ ใชร้ ะยะเวลา ประมาณ 1 – 2 เดือน สงครามเวียดนาม | 27

ยทุ ธวิธกี ารสูร้ บ สงครามเวียดนาม | 28

สงครามเวียดนามเป็นสงครามท่ีสู้รบไปตามสงครามนอกแบบเป็น สงครามกองโจรท่ีไม่มีแบบแผนการสูร้ บเหมอื นทางฝา่ ยชาติตะวันตก ยุทธวธิ ี การท�ำสงครามของเวียดกงเป็นไปตามลักษณะของภูมิประเทศเป็นตัวก�ำหนด รวมไปถึงความคนุ้ เคยในการทาสงครามปฏิวตั ิประชาชน มาโดยตลอด การ กำ� หนดยทุ ธวธิ ซี งึ่ ไดเ้ กดิ ขนึ้ แลว้ ในสมยั สงครามอนิ โดจนี โดยกองกำ� ลงั เวยี ดมนิ ห์ ได้ท�ำการต่อสู้เพ่ือเอกราชของตนจากกองทัพมหาอ�ำนาจฝรั่งเศส รูปแบบ การยทุ ธ์ไดถ้ ูก น�ำถ่ายทอดตอ่ ๆกนั มาปฏบิ ตั ิภารกจิ ในสงครามเวยี ดนาม กอง ก�ำลังเวียดกงได้น�ำมาเป็นแบบแผนการสู้รบกับกองทัพมหาอ�ำนาจอเมริกัน สหรัฐอเมรกิ าเปน็ ชาติมหาอำ� นาจตะวนั ตก ไดพ้ ัฒนาเสริมสร้างกองทพั ของตน ให้ แข็งแกร่ง พัฒนาอาวุธยทุ โธปกรณ์ให้ทนั สมยั พรอ้ มรับมอื ค่ตู อ่ สู้ตลอดเวลา แต่ส่ิงตา่ งๆ เหลา่ น้ี ไมไ่ ดเ้ ปน็ ดชั นีชี้วัดความส�ำเรจ็ ไดเ้ สมอไป เวียดนาม ไดน้ ำ� ยทุ ธวธิ กี ารตอ่ สแู้ บบกองโจร ซงึ่ เวยี ดนามมคี วามคนุ้ เคยตอ่ ยทุ ธวธิ เี หลา่ น้ี จากจีน เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพ กับประชาชน ซ่ึงในท้ายที่สุดรูปแบบ การต่อสู้จะเปลย่ี นจากสงครามปฏวิ ัตเิ ขา้ สู่สงครามในแบบ เพอื่ สามารถทจี่ ะ ตา้ นทานพลงั อำ� นาจของกองทพั ขนาดใหญ่ได้ สงครามเวียดนาม | 29

สถานทต่ี ้ังทางภูมศิ าสตร์ของเวียดนามใต้ เวียดนามใตต้ งั้ อย่ทู ศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ของแหลมอินโดจนี ระหว่างเส้น ขนานที่ 8 กบั เส้นขนานที่ 17 มีพน้ื ทีป่ ระมาณ 175,000 ตารางกโิ ลเมตร ลกั ษณะรูปร่างของประเทศเวียดนาม เหมอื นรูปตัวเอส (S) ตัวอกั ษรภาษา อังกฤษ มคี วามยาวตลอดจากเหนอื มาใต้ประมาณ 1,000 กิโลเมตร มฝี ัง่ ทะเล ยาวประมาณ 15,000 กโิ ลเมตร ภูมิประเทศตอนกลางมีสภาพภมู ิประเทศเป็น ปา่ ภาคใตเ้ ปน็ ที่ราบกว้างใหญม่ ีแมน่ ำ�้ ล�ำคลองหลายสาย มเี ทือกเขาอนั นัมทอดตัวยาวตั้งแตท่ ีร่ าบ สูงรนั ทนนิ ท์ ไปทางทิศตะวนั ออกเฉยี งใต้แบ่งภาคกลาคออกเปน็ 2 สว่ นในชว่ งฤดฝู นเป็น อปุ สรรคต่อการ ขนส่งและการคมนาคม ทต่ี ้งั ของเวียดนามใต้เสยี เปรียบในเชิงยุทธศาสตรฝ์ า่ ย ตรงขา้ มเพราะอยูใ่ นสภาพทีภ่ มู ิประเทศเหมาะแก่การส้แู บบรบกองโจร และมี เสน้ ทางเขา้ ประเทศไดท้ กุ ทศิ ทาง จงึ อำ� นวยประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ตอ่ การเขา้ แทรกซมึ ของเวยี ดกง อาณาเขตของเวียดนามท้ังหมดแบง่ ได้ดงั น้ี 1. ทศิ เหนอื ติดกบั มณฑลยูนาน และมณฑลกวางสีของจีนมเี ทอื กเขายู นานเป็นเสน้ ก้ันเขตแดน 2. ทิศตะวันออก ติดกบั อ่าวตงั เก๋ียในทะเลจนี ใต้ 3. ทศิ ใต้ ติดกบั ทะเลจีนใตแ้ ละอ่าวไทย 4. ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั ประเทศลาวมเี ทอื กเขาอนั นมั เปน็ เสน้ กน้ั อาณาเขต สำ� หรบั ลักษณะภมู ิประเทศโดยท่ัวไป สามารถแบง่ ออกได้เปน็ 4 สว่ น คือ 1. ตอนเหนอื ภูมิประเทศจะลาดจากทางเหนอื ลงมาทางใต้ และจาก ตะวนั ตกลงไปทางตะวันออก กอ่ ใหเ้ กดิ แหล่งอุดมสมบรู ณ์ ในบริเวณที่ราบล่มุ แมน่ ำ้� แดง 2. ตอนกลางประเทศคอ่ นไปทางเหนือ มีลกั ษณะลาดลงไปทางตะวัน ออกมีภูเขาทอดเป็นแนวไปจรดทะเลเปน็ ตอนๆ ทำ� ให้เกิดท่ีราบลุ่มขนาดเล็ก หลายแห่ง แม่น้ำ� ต่างๆสว่ นใหญจ่ ะไหลมาสทู่ ะเลด้านตะวันออกแทบทง้ั ส้นิ สงครามเวียดนาม | 30

3. ตอนกลางประเทศค่อนลงมาทางใต้ มลี ักษณะเปน็ ท่รี าบสงู ซงึ่ เกิด จากไหลเ่ ขาอันนมั ลดลงไปทางดา้ นตะวันออก ในลักษณะท่ีลาดเร่ือยลงไปทลี ะ น้อยๆทำ� ให้ เกิดเป็นทรี่ าบล่มุ และปา่ ดงดบิ เปน็ บรเิ วณกว้าง 4. ตอนใต้สุดของประเทศ เป็นท่ีราบลมุ่ อดุ มสมบูรณ์ เป็นอ่ขู ้าวอู่นำ�้ ที่ สำ� คญั ของประเทศ และเปน็ บรเิ วณท่แี ม่น�้ำโขงไหลลงสู่ทะเล ทำ� ให้พน้ื ท่ีอดุ ม สมบรู ณเ์ หมาะแก่การเพาะปลกู เรยี กกันว่า “สามเหล่ยี มปากแมน่ �ำ้ โขง” (MaeKong Delta) อย่างไรกต็ ามลกั ษณะโดยทัว่ ไปของพ้นื ทีน่ พ้ี นื้ ผวิ สว่ นใหญ่ จะเปน็ โคลนตม บางแหง่ เปน็ ดนิ ทรายมนี ำ้� ทว่ มอยเู่ สมอเหมาะแกก่ ารเพาะปลกู แต่ไมเ่ หมาะสาหรบั การใชย้ านพาหนะขนาดใหญ่ท่ีมีนำ�้ หนักมาก เช่น รถถัง หรอื รถสายพาน และ รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ สงครามเวียดนาม | 31

กองโจรเวยี ดกง สงครามเวียดนาม | 32

เวียดกง เป็นช่ือเรียกที่รู้จักกัน ขยายความคือ นักรบชาวญวนท่ีเป็น ชาวบ้านธรรมดาถือปืนไลย่ งิ ทหารของสหรฐั จนชอ่ื เสียงก้องโลก เพราะท�ำให้ กองทัพของสหรัฐสูญเสียเป็นอย่างหนัก ด้วยการรบท่ีมีพิษสงท่ีมากเกินตัว เช่น มีการใช้เครื่องยิงจรวดต่อสู้รถถัง (RPG) ไปยิงเฮลิคอปเตอร์สหรัฐตก และมีการทห่ี น่วยแซบเปอรเ์ วยี ดกง (พวกแทรกซึม แอบเขา้ ไปก่อวินาศกรรม) เขา้ ไปวางระเบดิ เคร่ืองบินสหรัฐระเบิดคาสนามบนิ จะเหน็ ว่ามลู คา่ ท่ีสูญเสยี ไปของทงั้ สองฝ่ายนัน้ ต่างกันอย่างเทยี บกนั ไมไ่ ด้ อย่างจรวด RPG ลูกหน่งึ ย่อม มีราคาถูกกว่าเฮลคิ อปเตอร์สหรฐั 1 ล�ำเป็นอย่างมาก ขบวนการกองโจรกู้ชาตินี้เร่ิมมาต้ังแต่สมัยที่จีนใช้อ�ำนาจยึดครอง เวียดนาม (สมัยก่อนคืออาณาจักรญวน) นานมาพันกวา่ ปีกอ่ น โดยพวกเขาจะ ท�ำสงครามแบบกองโจร กล่าวคอื ไมเ่ น้นการบกุ เขา้ ประแบบซงึ่ ๆ หนา้ แตจ่ ะใช้ การลอบโจมตีในเวลากลางคนื การวางหนามหรือระเบดิ เป็นกับดกั การโจมตี แบบรวดเรว็ แลว้ ก็ถอย ซึ่งก็คือกลยุทธย์ ิงแลว้ หนี (Hit and Run) ถงึ จะท�ำให้ ขา้ ศึกสูญเสียทลี ะนอ้ ย แตก่ ็เปน็ การทำ� ใหฝ้ า่ ยตนเองสูญเสียน้อย การแตง่ กายของแซปเปอร์ มักจะมีแต่เพียงผ้าเตย่ี วหรือกางเกงขาสัน้ และพรางตัวดว้ ยโคลน อปุ กรณ์ประจำ� ตวั อืน่ ๆ จะประกอบด้วยปืนอัตโนมัติ คมี ตัดลวด ดาบปลายปนื เหลก็ แหลมขุดคน้ ทนุ่ ระเบิด ทอ่ นไมไ้ ผส่ �ำหรับยก ลวดหนามและลวดสน้ั ๆ จำ� นวนหนง่ึ เพอื่ ปลดชนวนวตั ถรุ ะเบดิ และในระหวา่ ง การแทรกซึมอาจจะมีการปฏิบัติการลวงด้านอื่นเพ่ือย้ายความสนใจของข้าศึก ให้ออกจากการตรวจการต่อการแทรกซึมของแซปเปอร์ แต่ถ้าหน่วยน�ำของ แซปเปอร์ไมส่ ามารถไปจัดการต่อข้าศกึ ได้ แซปเปอรอ์ าจจะถอนกำ� ลงั หรือไม่ กจ็ ะใช้กำ� ลงั ท่เี หลือบกุ ไปข้างหน้าโดยไมแ่ ยแสตอ่ ความสูญเสีย ความปลอดภยั หรือเสน้ ทางหนี จนกวา่ ภารกิจจะส�ำเร็จหรอื มีคำ� สง่ั ให้ถอนตวั สงครามเวียดนาม | 33

หน่วยแซปเปอรข์ องเวยี ดกง การอ�ำพรางตัวดว้ ยโคลนของแซปเปอร์ สงครามเวียดนาม | 34

แซปเปอร์กำ� ลงั วางระเบดิ เคลยม์ อร์ การปฏิบตั ิการของแซปเปอรท์ ม่ี ีชอื่ เสยี งทส่ี ุด คือ การปฏบิ ตั กิ ารโจมตี ตอ่ สถานทตู สหรัฐในกรงุ ไซง่ อ่ น เวียดนามใต้ ในการการปฏิบัติการรุกวนั ตรุษ ญวนของเวยี ดนามเหนอื แซปเปอรจ์ ำ� นวน 19 คน จากกองพนั แซปเปอร์ ซี 10 ทแ่ี ทรกซมึ เข้ามาอยใู่ นไซ่งอ่ นลว่ งหน้า แซปเปอร์หนว่ ยนีไ้ ดร้ บั คำ� สัง่ เรง่ ด่วนให้ ยึดสถานทตู สหรัฐ โดยใหย้ ึดไว้ใหไ้ ด้ 48 ชวั่ โมงเพอ่ื รอก�ำลงั สว่ นใหญท่ ี่รกุ มา จากเวยี ดนามเหนอื เดินทางมาสมทบ วนั ที่ 31 มกราคม 2511 เวลา 02.45 น. รถบรรทุกแซปเปอร์ 19 คน พรอ้ มอาวุธครบมอื แต่งกายชุดสีด�ำ ผูกแขนดว้ ย ผ้าสแี ดง มาถึงหน้าสถานทตู สหรฐั แลว้ เปดิ ฉากการยิงดว้ ยปนื อากา้ และจรวด ประทับบ่า ทหารสารวตั ร 2 นายของสหรัฐท�ำการยงิ ตอบโตแ้ ละปิดประตู แต่ ไม่สามารถหยุดยั้งการโจมตไี ด้ แซปเปอร์ระเบิดกำ� แพงของสถานทตู เปน็ ชอ่ ง ขนาด 1 เมตรดว้ ยจรวดต่อสรู้ ถถัง จากนัน้ 2 คนแรกของแซปเปอร์ทค่ี าดวา่ เป็นหัวหนา้ ชอื่ เบ ทูเย็น และ อุท โน มดุ เขา้ ไปในรูนัน้ และยิงตอ่ สกู้ บั ทหาร สหรัฐ 2 นาย แต่ทง้ั 4 คนเสยี ชวี ติ ในการตอ่ สรู้ ะยะประชิดนนั้ แซปเปอรท์ ่ี เหลอื แมว้ า่ จะสญู เสยี หวั หนา้ หนว่ ยยงั คงบกุ ตอ่ เขา้ ไปยงั อาคารหลกั ของสถานทูต สงครามเวียดนาม | 35

แตท่ หารสหรฐั สามารถต้งั หลกั ได้ประกอบก�ำลังเสรมิ ยงิ ตอ่ สูแ้ ละท�ำลายการ โจมตีของแซปเปอร์ได้ในชว่ งสายของวนั เดยี วกนั ผลการปะทะ แซปเปอร์เสีย ชวี ติ 17 คน ถกู จับเป็นเชลย 2 คน ทหารสหรฐั เสียชีวิต 5 นาย เวยี ดนามใตเ้ สีย ชวี ติ 4 คน ยุทธการภูผาที ในขณะทีก่ ารสู้รบในเวยี ดนามและการโหมท้งิ ระเบิดโดย กองทัพอากาศสหรัฐต่อเป้าหมายทางทหารในเวียดนามเหนือ เวียดนามใต้ และลาวกำ� ลงั ดำ� เนินไปอย่างหนกั หน่วงและรุนแรง ภผู าที หรือ LS-85 มคี วาม สงู กวา่ 5,000 ฟตุ สหรฐั ไดเ้ ลอื กเอายอดเขาลกู นเ้ี ปน็ ทต่ี ง้ั สถานเี รดารท์ ท่ี นั สมยั ทส่ี ดุ ตดิ ตง้ั อปุ กรณน์ ำ� รอ่ งในการทงิ้ ระเบดิ ของเครอ่ื งบนิ ทงิ้ ระเบดิ สหรฐั (Radar Bombing Control System) ชเ้ี ปา้ ใหก้ บั เครอื่ งบนิ ทงิ้ ระเบดิ โดยนกั บนิ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมองเห็นเป้าด้วยสายตา และระบเุ ปา้ หมายไดใ้ นทุกสภาพอากาศ ภูผาที ถอื เปน็ หวั ใจของการปฏบิ ตั กิ ารทางอากาศในเวยี ดนามและลาว จงึ ถกู วางกำ� ลงั อารักขาไว้อย่างเขม้ แขง็ โดยทหารสหรฐั ทหารไทย และม้ง ดว้ ยเหตนุ ้ที าง เวียดนามเหนือได้มองเห็นอันตรายจากการติดต้ังอุปกรณ์ดังกล่าวบนภูผาที และได้วางแผนเพอ่ื ท�ำลายฐานเรดาร์บนภผู าที วนั ที่ 11 มีนาคม 2511 หน่วย แซปเปอร์ของเวียดนามเหนอื ประมาณ 30 คน บุกข้ึนไปสงั หารเจ้าหน้าท่ี เทคนคิ ของกองทพั อากาศสหรฐั เสียชวี ิตประมาณ 20 นาย ถงึ แมจ้ ะสามารถ ต้านการบุกและกวาดตอ้ นแซปเปอรล์ งเขาไปได้ แตก่ พ็ บเพยี งรอยเลือดของ แซปเปอร์เป็นหยอ่ มๆ แซปเปอรไ์ มท่ งิ้ ผบู้ าดเจบ็ หรอื ลม้ ตายไวท้ น่ี น่ั เลย นบั เปน็ วนิ ยั ทเี่ ครง่ ครดั อย่างยง่ิ ยวด แต่สง่ิ ท่นี า่ แปลกใจระคนสงสยั อยา่ งท่สี ุด คอื แซปเปอรเ์ หล่าน้ัน ปีนป่ายขึ้นไปได้อย่างไร เพราะภูผาที มีลักษณะเป็นหน้าผาสูงชัน ยากท่ีจะ ขึ้นสู่ยอดเขาไดโ้ ดยงา่ ย สงครามเวียดนาม | 36

แผนรอยทางปีนของหนว่ ยแซปเปอร์ท่ีบุกข้นึ มาโจมตี สงครามเวียดนาม | 37

ผงั การวางกำ� ลงั รักษาฐานเรดาห์บนภผู าที สงครามเวียดนาม | 38

การปฏบิ ตั กิ ารแทรกซมึ สนามบนิ สหรฐั ท่ี จงั หวดั อบุ ลราชธานี สนามบนิ ดังกล่าวใช้เป็นฐานบินในการข้ึนลงของเคร่ืองบินทิ้งระเบิดและเครื่องบินรบ ของสหรฐั ท่ีโจมตีเวียดนามเหนอื ในชว่ งสงครามเวียดนาม แซปเปอรพ์ ยายาม เข้าแทรกซึมเข้าไป จ�ำนวน 3 ครัง้ เม่อื 28 กรกฎาคม 2512 , 12 มกราคม 2513 และ 4 มิถุนายน 2515 โดยหน่วยแซปเปอร์ดงั กลา่ ว เปน็ หนว่ ยขนาด เล็กท่ปี ฏบิ ตั ิการอสิ ระและคาดว่าเป็นคนเวียดนามเหนอื ทอ่ี พยพมาอยู่ในไทยท่ี เดินทางไปฝึกท่ีเวียดนามเหนือแล้วแทรกซึมกลับผ่านเข้าไทยมาทางลาว ผล การปฏบิ ตั ภิ ารกิจ แซปเปอรล์ ้มเหลว และถกู สังหารจำ� นวน 4 คน และถกู ยึด ยทุ โธปกรณ์ได้จำ� นวนหนึ่ง สว่ นฝ่ายสหรฐั สญู เสยี สุนัขสงคราม 1 ตัว สนามบินทีส่ หรัฐใช้ ณ จังหวัดอุบลราชธานี สงครามเวียดนาม | 39

หน่วยรบกองโจรเวียดกงท่ีได้รับการฝึกอบรมด้านการเมืองการปกครอง และด้านการฝกึ อบรมทางทหารอยา่ งเชี่ยวชาญ ทางหนว่ ยจะมกี ารคัดเลอื ก ตวั แทนเข้าสู่ระดบั ต�ำบล และระดบั ภูมภิ าค ซึง่ จะมีการรวมตวั กันเปน็ กองพนั ระดบั ภูมภิ าค มีคา่ ยพกั ทหาร จะประจำ� การอยู่ประมาณ 2 – 3 สัปดาห์ ทหาร ของหน่วยรบเวยี ดกงทีถ่ กู ส่งตัวเข้ามาใหม่ ณ. คา่ ยแหง่ นที้ กุ คนตอ้ งปดิ เปน็ ความลบั ไมว่ า่ จะเปน็ เรอื่ งของ สถานทตี่ งั้ เสบียง อาวธุ และยารกั ษาโรคทเ่ี ก็บซุกซอ่ นไวใ้ นป่า ซ่งึ มแี ตพ่ วกเขาเท่านนั้ ที่ จะรวู้ า่ ของเหลา่ นอ้ี ยทู่ ไ่ี หน การฝกึ อบรมดา้ นการปลกู ฝงั ความคดิ และการประชมุ จะมีหนว่ ยรกั ษาการณ์ปฏบิ ัตหิ น้าทีล่ าดตระเวนตามจุดสำ� คัญๆต่างๆ เชน่ ตาม หลุมหลบภัยค่ายที่พกั โดยท่ัวไปตงั้ อยบู่ ริเวณพืน้ ท่ตี ่า มีภเู ขา และป่าทึบล้อม รอบเปน็ ท่หี ่างไกลจากถนน และหมบู่ ้าน สภาพภายในหลมุ หลบภยั ของกอง บญั ชาการสรา้ งจากไมไ้ ผท่ า หลงั คามงุ ฝาก และสรา้ งหอ้ งกนิ ขา้ ว และหอ้ งนอน เตียงนอนท�ำมาจากไมไ้ ผ่ยกพื้นสูง บางทอี่ าจจะเปน็ เปลญวนทใ่ี ชเ้ ปน็ ทน่ี อน สำ� หรับตอนหนา้ ฝน กระท่อมส�ำหรบั เปน็ ทพ่ี กั ในปา่ สงครามเวียดนาม | 40

การปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยรบสาวเวียดกงมีบทบาทส�ำคัญต่อกองก�ำลัง เป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะการท�ำหน้าที่เป็นสายลับเข้าไปทางานเป็นผู้หญิงขาย บรกิ ารให้กบั เหล่าทหารสหรัฐฯรวมถึงทหารของรัฐบาลเวียดนามใต้ ร้จู กั กนั ดี ในชื่อท่ีเรียกวา่ “Joy girls” ในการปฏิบัติหน้าท่ีต่อสู้ของเวียดกงส่วนมากพวกเขามักจะใช้ลูกระเบิด มอื เพือ่ ท�ำใหเ้ กิดควันไฟเพอื่ รกั ษาชวี ติ ในการหลบหนีได้ทัน เป็นผลผลิตทีส่ รา้ ง จากฝีมือของพวกเขาเอง การสรา้ งทนุ่ ระเบิดรถถังวตั ถุที่ใชไ้ ดม้ าจากส่ิงของที่ เหลือใช้ เชน่ กระปอ๋ งอลมู ิเนยี ม กระป๋องจากเครอ่ื งดม่ื น้ำ� อดั ลม กลอ่ งบรรจุ กระสนุ ทำ� มาจากยางในรถยนตเ์ พอ่ื สะดวกตอ่ การขนสง่ ไปยงั พน้ื ทว่ี างทนุ่ ระเบดิ กระปอ๋ งเหล่านสี้ ามารถนามาใชไ้ ด้อีกนอกจากทก่ี ลา่ วมา เชน่ เตาประกอบ อาหาร และโคมไฟ เป็นต้น ระหว่างท�ำการฝึกอบรมน้ันจะมีค�ำขวัญชาตินิยมจากค�ำกล่าวของลุงโฮ เพอ่ื ก่อให้เกิดพลงั ความสามคั คใี นการทจี่ ะปฏิบตั ิหน้าท่ีดงั ค�ำกล่าวท่วี า่ “ ไม่มี อะไรทส่ี ำ� คญั ไปกวา่ ความเปน็ อสิ รภาพ และเสรภี าพจงรวมกนั สามัคคเี ปน็ หนงึ่ เดยี วเพอื่ กา้ วไปสบู่ นเสน้ ทางแหง่ ชยั ชนะ ” การดำ� รงชวี ติ ในปา่ ของพวกเขา คอื การกนิ ขา้ วเป็นอาหารหลกั มนี ้�ำปลาทผี่ ลิตใชเ้ องซ่งึ มีส่วนประกอบของ โปรตีนใช้สาหรับเป็นเคร่ืองปรุงอาหาร และบริโภคเนื้อหมู เน้ือไก่ เน้ือปลา (ถา้ อยใู่ นบรเิ วณใกลแ้ มน่ ำ้� ) ท�ำนำ�้ จมิ้ จากมะนาว และพรกิ เพือ่ เพิ่มรสชาตใิ ห้ กับอาหารในมื้อนั้น รวมไปถึงยังมีเสบียงอาหารอ่ืนๆ อีกเช่น แตงกวา ข้าว ข้าวสาลี ถ่วั และเสน้ กว๋ ยเตย๋ี ว สำ� หรับบรเิ วณทพี่ ักของระดบั ผูน้ �ำ จะ มแี ม่ครัว ผู้ชว่ ยแมค่ รัว เภสัชกร พยาบาล เป็นศูนยอ์ ำ� นวยการเพ่อื ให้การบรกิ าร เชน่ กระท่อมพยาบาลไว้ส�ำหรับเก็บรักษายา ปรุงยา และการปฐมพยาบาล เตาประกอบอาหาร สงครามเวียดนาม | 41

อโุ มงคก์ จู๋ ๋ี การกำ� หนดยุทธวธิ ีเปน็ ปจั จยั ส�ำคัญอย่างยิ่งในการท�ำศึกสงคราม เพราะ ถา้ มกี ารวางแผนแตท่ างดา้ นยทุ ธศาสตร์ แตไ่ มม่ กี ารกำ� หนดเปา้ หมายทางยทุ ธวธิ ี กเ็ ทา่ กบั วา่ ความพา่ ยแพร้ ออยตู่ รงหนา้ นน้ั แลว้ การรบั รขู้ อ้ มลู สภาพภมู ปิ ระเทศ ของตน ความค้นุ เคยกบั พ้นื ทๆ่ี พวกเขาอยู่อาศยั และการประกอบอาวุธใช้เอง การวางกับดกั ตา่ งๆ มีสว่ นชว่ ยทาให้เวยี ดกงไดเ้ ปรียบตอ่ ฝา่ ยตรงขา้ มรูปแบบ ยุทธวิธจี ะแตกตา่ งกันออกไปตามสถานการณ์ และช่วงเวลาทเี่ หมาะสมวิธีการ จะเนน้ ไปทกี่ ารจโู่ จม ความรวดเรว็ และการลอบทำ� รา้ ย รวมไปถงึ การขดุ สนาม เพลาะหรือหลุมหลบภัย และการขุดอโุ มงค์ อุโมงคท์ ีจ่ ะกลา่ วถึงในตอ่ ไปนีเ้ ป็น อโุ มงค์ทำ� สำ� คญั กับประวัติศาสตร์เวยี ดนามเปน็ อย่างมาก อุโมงค์กูจ๋ีซึ่งมรี ูป แบบโครงสร้างท่ีซับซ้อนและอยู่ในทางใต้ อโุ มงคก์ จู มี๋ พี น้ื ทอี่ ยตู่ ำ� บลกจู ๋ี ภายในมรี ะบบการเชอื่ มตอ่ กนั อยา่ งซบั ซอ้ น พ้ืนที่ตั้งอยู่ระหว่างไซง่อนไปจนถึงประเทศกัมพูชามีความยาวเช่ือมต่อถึง หมู่บา้ นและจังหวดั ถึง 100 กิโลเมตร ภายในอโุ มงคม์ คี ลังเกบ็ อาวธุ โรงงาน โรงพยาบาล สานกั งานและส่งิ อำ� นวยความสะดวกตา่ งๆ ที่สำ� คญั ส�ำหรับการ ดำ� รงชวี ติ อยู่ในอุโมงค์ นายพลวลิ เลยี ม เวสส์ มอรแ์ ลนด์ (General William Westmoreland) ผบู้ งั คบั บัญชากองทัพสหรัฐอเมริกาได้กล่าวถึงอุโมงค์นี้วา่ “ไม่มีค�ำกล่าวใดที่จะอธิบายให้เห็นภาพได้อย่างชัดเจนเก่ียวกับกอง บญั ชาการลบั ของพวกเวยี ดกงพวกเขาเปน็ มนษุ ยต์ วั ตนุ่ ทอี่ าศยั อยใู่ นใตด้ นิ ” ไม่มนี กั วิศวกรทางทหารสกั คนเดยี วที่ออกแบบอโุ มงค์ที่ซบั ซ้อนขนาดนี้ นายพล โวเหงยี นยา้ ป ผบู้ งั คบั บญั ชาการกองทพั เวยี ดนามเหนอื ออกแบบ ระบบโครงสร้างภายในอุโมงค์ค่อยๆ พัฒนาขึ้นจนกลายเป็นกองบัญชาการ หนว่ ยรบกองโจรขนาดใหญท่ า่ มกลางศตวรรษท่ี 20 ซง่ึ สงครามไดพ้ ฒั นาเทคนคิ ต่างๆอย่างทันสมัยข้ึนมาใช้แล้ว เช่น เครื่องบินรบ ขีปนาวุธ ปืนใหญ่ และ สารเคมี เพื่อบังคับใหพ้ วกเวยี ดกงทอี่ ยู่ในอโุ มงคอ์ อกมาจากรู มนั เป็นเร่ืองท่ี น่าแปลกใจอย่างมากที่การท�ำสงครามรบตามรูปแบบโดยใช้เคร่ืองบินต่อสู้ หรอื แม้แตเ่ ฮลคิ อปเตอรท์ ่ีขนกนั มาใชต้ ่อการสู้รบแบบกองโจรของพวกเวียดกง สงครามเวียดนาม | 42

และต่อมาก็กระหน่�ำทิ้งระเบิดที่เวียดนามเหนือจึงกลายเป็นสงครามยืดเยื้อที่ เกิดจากการโน้มน�ำเข้าสู่สงครามของสหรัฐท�ำให้การท�ำสงครามขยายตัวออก ไปอกี อโุ มงคก์ จู เ๋ี ปน็ ยทุ ธวธิ หี ลกั สำ� คญั ของเวยี ดนามใต้ เพราะไดร้ บั การสนบั สนนุ จากเส้นทางสายหลัก 2 เสน้ ทางด้วยกนั คอื ทางบก และทางน้ำ� รอบๆตัวเมอื ง ไซง่อนในระหว่างการสู้รบเป็นเส้นทางสนับสนุนจากกัมพูชามาตามเส้นทางโฮ จิมนิ ห์ จากทางเหนอื เขา้ สเู่ วียดกง อโุ มงคก์ จู ม๋ี อี าณาเขตครอบคลมุ อยา่ งกวา้ งขวาง กองกำ� ลงั เวยี ดกงสามารถ เคลอ่ื นยา้ ยเขา้ ออกไดอ้ ยา่ งงา่ ยดายทงั้ ในฤดฝู น และฤดรู อ้ น อโุ มงคแ์ หง่ นไี้ มเ่ ปน็ เพยี งแค่พน้ื ท่ีสู้รบเทา่ น้ัน แตย่ ังเป็นฐานทีม่ ัน่ ทางการเมืองรวมถงึ เป็นฐานทพั ทางทหารที่มีการขยายอาณาบริเวณออกไปรอบๆอย่างกว้างขวางของพื้นที่ ของตำ� บลกจู ๋ี พวกเวยี ดกงเรียกว่า “ โซนยุทธวธิ เี ขตที่ 3 ” ภาพภายในอุโมงค์ สงครามเวียดนาม | 43

แผนผงั ของอโุ มงค์ ตอ่ ไปจะบรรยายวธิ กี ารสรา้ งอโุ มงคก์ จู๋ ี๋ โดยใชว้ ธิ กี ารขดุ รขู องตวั ตนุ๋ หรอื หนู ภาพแสดงให้เห็นถึงอุปกรณ์ท่ีใช้ในการขุดอุโมงค์ที่ท�ำมาจากไม่ไผ่ มี ความยาวมากกวา่ 12 ฟตุ และตะกรา้ ทีส่ านจากหวาย มีเชือกส�ำหรบั เกี่ยวเข้า กับปลายของด้ามไมไ้ ผท่ ที่ �ำเปน็ รปู ทรงตะขอ ไม้ไผ่หลายอันจะรวมกนั สรา้ งข้นึ เป็นฐานไว้ส�ำหรับเป็นหลกั ยดึ ของตะกรา้ เพอื่ ชกั สายเชอื ก ท่ีผูกไว้เป็นรอกขน ถา่ ยดินขึน้ มาจากข้างล่าง รวมถึงอปุ กรณข์ ุดดนิ ได้แก่พลว่ั และจอบ สงครามเวียดนาม | 44

วธิ กี ารขดุ อโุ มงค์ ซ่งึ จะเหน็ ไดว้ า่ คนท่อี ยดู่ ้านบนของปากทาง อุโมงค์จะ คอยส่งไม่ไผ่ที่มีตะกร้าคล้องอยู่เพ่ือหย่อนลงไปให้คนข้างล่างท่ีท�ำการขุดดิน ตักดินใส่ตะกร้าแล้วจึงยกดินข้ึนมาท้ิงข้างบนสามารถขุดดินเข้าหากันได้ ทงั้ สองทางเพ่ือเป็นการประหยัดเวลา ในส่วนอุโมงค์แห่งน้ียังวางกับดักไว้อีกด้วยตรงทางเข้าประตูกับดักซ่ึงตัว ประตูท�ำจากคอนกรีตดา้ นขอบประตู และ ฐานรองทำ� จากไมส้ ว่ นทจ่ี ับ ปาก ประตจู ะร้อยด้วยสายไฟทเ่ี ชอ่ื มตอ่ กับลูกระเบดิ เลก็ ทซี่ อ่ นอยูข่ า้ งใต้ ฐานประตู ฝาประตูอุโมงค์จะวางพอดีกับตาเหน่งของปากอุโมงค์เพื่ออาพรางไม่ให้รู้ว่ามี กับดกั ซอ่ นอยูภ่ ายใน สงครามเวียดนาม | 45

จดุ ซุ่มยิง (สนามเพลาะ) ใช้ส�ำหรับยิงต่อสู้เครื่องบินรบเมื่อนักบินมองลงมายังพ้ืนดินไม่สามารถ ท่ีจะมองเห็นหลุมเพลาะได้อย่างชัดเจนเพราะปกคลุมไปด้วยใบ้ไม้ หรือหญ้า เพ่ือให้ดกู ลมกลืนกับสภาพปา่ สงครามเวียดนาม | 46

สงครามเวียดนาม | 47

เสน้ ทางโฮจิมินห์ สงครามเวียดนาม | 48

เสน้ ทางโฮจมิ นิ หเ์ ปน็ ถนน และเสน้ ทางมกี ารเชอ่ื มโยงระหวา่ งสาธารณรฐั ประชาธิปไตยเวียดนาม ในสงครามเวียดนาม และพน้ื ที่ภาคใตข้ องประเทศ เวยี ดนามผ่านประเทศ ลาว และ กมั พูชา เสน้ ทางโฮจิมินหถ์ กู ใช้โดยกองทัพ เวยี ดนาม สำ� หรบั อสิ รภาพของภาคใตเ้ วยี ดนาม (Viet Cong) เปน็ ทหารกองหนนุ เตรยี มการจดั สง่ เสยี งอาหารทางใต้ เสน้ ทางโฮจมิ นิ หเ์ ปน็ เครอื ขา่ ยของเสน้ ทาง คมนาคมในการส่งเสยี งสมยั สงครามเดียนเบียนฟู ปี 1954 วันนี้ เสน้ ทางโฮจมิ นิ ห์เรียงรายไปด้วยประวตั ิศาสตรท์ ง้ั หมดใน ดินแดนเวียดนามเพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจของพื้นที่ราบสูงทางใต้ท�ำให้การ ต่อสู้ในทางทหารรุนแรงข้ึนเป็นผลมาจากการผลักดันของสหรัฐอเมริกาผ่าน องคก์ ร OSS , CIA , เพ่อื จัดหาอุปกรณ์สนับสนนุ การรบทางภาคใต้เส้นทางเป็น เส้นทางของเครือข่ายทีซ่ บั ซอ้ นมีชอ่ งทางทมี่ ีขนาดแตกต่างกนั ออกไป โดยข้าม ภูเขาและป่าท่ีมีความยาวรวมประมาณ 2,000 กิโลเมตร ตามแนวเทือกเขา “ Truong Son ” จากประเทศลาว ในพน้ื ทคี่ วบคมุ ของ Pathet ลาว และ กัมพชู า โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในด้านการทำ� งานของเขมรแดง และเวียดนามตาม แนวชายแดน ซ่ึงถูกแบง่ ออกเป็นสองส่วนด้วยกันคือ 1. สว่ นแรกคอื จากแมน่ ้�ำ Valley Ca ในอำ� เภอของ NGE – Tinh (Nge - Ha Tinh) หรอื เรยี กอกี อยา่ งวา่ Hai Van Pass ยา่ นของดานงั (เดมิ ชอื่ Turan) และตอ่ มาเรียกวา่ Truong Son เป็น พืน้ ที่ทางเหนอื ควบคุมโดยสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยเวียดนาม 2. สว่ นทส่ี องคือจาก สาธารณรฐั เวียดนามใต้ชอ่ื Truong Son ไปสู่ สามเหล่ยี มปาก แม่น้�ำโขงปลายทางสดุ ท้ายของเครอื ขา่ ยอโุ มงค์กจู๋ ๋ี ( Cu Chi ) อุโมงค์เหลา่ นเี้ ปน็ อโุ มงคเ์ พื่อการ ต่อสู้ มชี ่องทางการสือ่ สาร และโรงพยาบาล เสบยี งอาหาร และจดุ ซ่มุ ยิง อุโมงค์กจู๋ ีน๋ มี้ ีระยะห่าง ประมาณ 40 กม.ทาง สงครามเวียดนาม | 49

ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของไซง่ อ่ น ถกู สรา้ งข้นึ โดยทหารประมาณ 300,000 นาย รวมไปถึง อาสาสมัครต่างๆ เชน่ ผหู้ ญิง ชาวบ้านเกษตรกร ชาวนา และชาวเขา โดยมีกรมทหาร ราบที่ 5 กองพนั ท่ี 32 กองพนั ที่ 31 กองพันที่ 795 เป็นตน้ เป็นการท�ำงานร่วมกันระหว่างกองทัพกับพลเรือน เส้นทางโฮจิมินห์ เปน็ ตำ� นานทมี่ ชี อื่ เสยี งทส่ี ดุ ของสงครามเวยี ดนาม เพราะเคยเปน็ เสน้ ทางสำ� คญั ทเ่ี รยี กวา่ “ถนนพมา่ ” ในระหวา่ งสงครามโลกครงั้ ทสี่ อง ซง่ึ เชอ่ื มโยงกบั ประเทศ อินเดยี ไปยังประเทศจนี ผ่านประเทศพมา่ เปน็ เครือข่ายทซ่ี บั ซอ้ นของเสน้ ทางเดนิ เท้า เพราะถนนเตม็ ไปด้วยดินโคลน และกรวด เปน็ เสน้ ทางทเี่ ขา้ ไปยงั ดนิ แดนกมั พูชา และลาวท่ีมีสาขาอยา่ งลบั ๆ ไปยังประเทศเวยี ดนาม และ หนว่ ยรบกองโจร เรมิ่ จากทางเหนอื โดยสามถนนทส่ี รา้ งขนึ้ จากสมยั ยคุ อาณานคิ ม ในอนิ โดจนี เชือ่ มต่อกบั อำ� เภอ Nge Ha Tinh และ Quang Binh ในตอนกลาง ของเวียดนาม และในลาวดว้ ย ในชว่ งปแี รกการขนสง่ ทำ� โดยทางบก ใชย้ าน พาหนะ คือ จกั รยาน และ เกวียนและตอ่ มาการขนสง่ ที่มปี ระสิทธิภาพมาก ท่ีสดุ คอื การขนส่งด้วยรถบรรทุกทบ่ี รรจไุ ดถ้ งึ 2-3 ตนั หรอื รถบรรทุกจาก โซเวียตที่ผลิตในประเทศจีนรถบรรทุกจะเคล่ือนขบวนแยกจากในการขนส่ง เพ่อื จ�ำกัดการสญู เสยี เน่ืองจากการโจมตที างอากาศ สงครามเวียดนาม | 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook