Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Michelangelo

Michelangelo

Published by Kachornpon, 2020-07-06 02:27:03

Description: Michelangelo_13590624_พรสุชาต์-เทพอรัญ_TV

Search

Read the Text Version

MICHEL ANGELO di Lodovico Buonarroti Simoni COMPILE BY PORNSUCHA





INTRODUCTION Michelangelo ศลิ ปนผมู ากความสามารถในยคุ ฟนฟศู ิลปวิทยาการ เขามีความสามารถท้งั ดา นประตมิ ากรรม จิตรกรรม สถาปตยกรรม และวรรณกรรม เรยี กไดว าเขาเปน ตำนาน แหง ยคุ ฟน ฟศู ิลปวทิ ยาการ หนังสือเลม น้ีจะพาทุกคนไปรจู ักกับ Michelangelo ท้งั ประวัตแิ ละผลงานตางๆของเขา เนือ้ หาขางในเกิดจากการแสวงหาและการเขียนเองโดยผูจดั ทำ หากมีขอผดิ พลาดประการใด ขออภยั ณ ท่นี ้ี พรสุชาต เทพอรญั 13590624 ผจู ดั ทำ



CONTENT Michelangelo 3 Story 5 About Life 9 Influence 28 Works 36 Pieta 37 David 39 The Creation of Adam 41 The Last Judgement 43 Saint Peter's Basilica 45 Another Works 47 BiBliography 51

M 1475 - 1564 -1-

A man paints with his brains not with his hands Michelangelo -2-

-3-

MICHEL ANGELO -4-

STORY Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni Renaissance Artist -5-

Michelangelo เปนศิลปน ท่ยี งิ่ ใหญท ่สี ุดคนหนง่ึ ในยคุ ฟน ฟูศลิ ปวทิ ยา (Renaissance) ซงึ่ ดา นศิลปะถอื เปน ความเจรญิ ที่ยิง่ ใหญที่สุดในยคุ น้ี เขามคี วามสามารถเปน เลิศในการเอาใจจดจออยูกบั การใชค วามคิด และการถายทอดพลังจากมอื ของเขาไปสผู ลงานตา งๆ เขามคี วามสามารถในการใชสายตาของตัวเอง และถา ยวิสัยทศั นอ อกมาใหค นอนื่ ไดร บั รู เขาไดร บั ฉายาวา Il Divino (แปลวา พระเจา ในภาษาอติ าล)ี ในการทำงาน เขาจะทานขนมปง เปน อาหารเพียงเล็กนอย เวลานอนก็นอนบนพน้ื หรือผาใบขางๆภาพเขียนและรปู แกะสลักทย่ี งั ไมเ สรจ็ เขาจะสวมเสอ้ื ผา ชุดเดิมไปจนกวา งานจะเสรจ็ ชวี ติ ของเขามเี พยี งเพอื่ นสนิทอยไู มกค่ี นที่ยังคงรักและบชู าเขา คนสว นมากจะคดิ วาเขาเปนคนเยน็ ชาและไมเปนมติ รกบั ใคร Michelangelo ใชชวี ติ เปน โสดโดยไมไ ดแตงงานกับใครเลย -6-

นอกจากนเี้ ขาเปน ศลิ ปน ตะวนั ตกคนแรกที่ประวัตถิ ูกตพี มิ พเมอื่ เขายงั มชี ีวติ อยู ถกู เขียนโดย Giorgio Vasari ท่ยี กยอ ง Michelangelo เปน ศิลปนทยี่ ่ิงใหญท ่สี ดุ นบั ตงั้ แตจดุ เรมิ่ ตนของยคุ ฟน ฟศู ลิ ปวิทยา(Renaissance) เขาไดร ับเกยี รตใิ หเ ปน ตำนานแหง ยคุ Renaissance ผลงานของเขาแสดงใหเหน็ ถงึ การผสมผสาน ของความเขาใจดานจติ วทิ ยาความสมจริงทางกายภาพ -7-

Giorgio Vasari ¼ŒÙµÕ¾ÁÔ ¾» ÃÐÇµÑ Ô Michelangelo Michelangelo มีความสามารถหลากหลายทง้ั ประติมากรรม จิตรกรรม สถาปตยกรรม และวรรณกรรม เขาสรางผลงานหลายชน้ิ เชน David, Pieta และจิตรกรรม เพดานโบสถSistine ทมี่ ีชื่อเสยี ง คือ The creation of Adam, The last judgement นอกจากน้ีเขายังไดม ีสวนรว มในการ ออกแบบสถาปตยกรรม มหาวหิ าร St.Peter อกี ดวย -8-

ABOUT LIFE Michelangelo Buonarroti (Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni) เกดิ เม่อื 6 มนี าคม ค.ศ. 1475 ท่ีหมูบา นCaprese ประเทศอิตาลี เขาเตบิ โตทีเ่ มอื งฟลอเรนซ บิดามอี าชีพเปน ขา ราชการผนู อ ยชือ่ Lodovico di Leonardo Buonarroti Simoni ตระกลู Buonarroti เปนตระกูลเกาแกท สี่ ูงศักดิ์ แต Michelangelo กลับทุมเทความรักและความสนใจพรอมกับ แสดงเจตนารมณตองการศกึ ษาศิลปะ จึงเปนการขัดความตอ งการ ของบดิ าอยางรนุ แรง แตด วยความต้งั ใจอยางเด็ดเด่ยี วของเขา ทำใหบดิ าไมส ามารถขัดขวางได -9-

Domenico Ghirlandaio ครขู อง Michelangelo ตอ มาเมือ่ เขาอายไุ ด 13 ป กไ็ ดเ ขาฝก งานกบั Domenico Ghirlandaio จิตรกรผูเ ชย่ี วชาญในการเขยี นภาพจิตรกรรมฝาผนงั แบบปูนเปยก หรือ Fresco โดยระหวา งท่ฝี ก งานอยเู ขายังศกึ ษางานจิตรกรรม และวาดเสน คดั ลอกผลงาน ของศิลปน อ่นื ๆ เชน Giotto di Bondone, Masaccio - 10 -

ปต อ มาพรสวรรคของเขาไดร บั ความสนใจจากพลเมอื งชน้ั นำของฟลอเรนซและผูมพี ระคณุ ดานศลิ ปะ Lorenzo de' Medici ไดย ่นื คำเชิญไปยัง Michelangelo เพ่อื อาศัยอยูในบา นของเขา หลงั จากที่ Michelangelo ไดเ ขาเรยี นและฝก งาน ทตี่ ระกูลMedici ทำใหเ ขามโี อกาสไดศ ึกษา ประติมากรรมกรกี และโรมัน ซ่ึงเปน ของสะสมของตระกูลนี้ อิทธิพลท่ีรวมกันเหลา น้ีเปนจุดเริม่ ตน ของสง่ิ ที่จะกลายเปน รูปแบบที่โดดเดนของ Michelangelo Lorenzo de' Medici - 11 -

Battle of the Centaurs Madonna Seated on a Step \"Battle of the Centaurs\" และ \"Madonna Seated on a Step\" เปน เคร่ืองพสิ จู นถงึ พรสวรรคอนั เปนเอกลกั ษณข องเขาเม่อื อายุเพยี ง16 ป หลงั จากทตี่ ระกลู Medici หมดอำนาจลง เขาจึงเดนิ ทางไปทเี่ มอื งโบโลญญา เพื่อรบั จางทำงานประติมากรรมประดบั สุสาน - 12 -

Bacchus ในป ค.ศ.1496 Michelangelo ซึ่งในขณะนนั้ อายุ 21ป เดินทางไปทกี่ รงุ โรม และรับงานเขียนภาพกบั งานประติมากรรม เพื่อรบั จา งสลักรูปหินออ นประดับในมหาวิหารSt.Peter เขาเรม่ิ งานช้นิ แรกเปนรปู ของเทพแบคคุส (Bacchus) เปน ประติมากรรมทแี่ กะสลกั จากหนิ ออน มขี นาดความสงู เทา กบั คนจริง - 13 -

Cardinal Raffaele Riario เอกอัครราชทตู ฝรง่ั เศสประจำสำนกั วาตกิ นั ไดม โี อกาสเห็นผลงานของ Michelangelo จงึ เกดิ ความสนใจ ตอมาไดต ดิ ตอ ใหเขา รับสรา งงานใหชิน้ หนึ่ง ชือ่ Pieta สรางเปนรปู แมพ ระประทบั บนพระแทนหนิ มีรางของพระบตุ รหรอื พระเยซูวางพาดอยูบนหนา ตักพระแมมาเรีย ทำจากหนิ ออ นเนอื้ ขาวบรสิ ุทธ์ขิ นาดสูง 5 ฟตุ 9 นิว้ อันแฝงไวด วยปรชั ญาของครสิ ตศ าสนา โดยใชเ วลาสรางถงึ 3 ป ปจจบุ นั ตั้งอยทู ว่ี ิหาร St.Peter Pieta - 14 -

ตอมา Michelangelo เดนิ ทางกลับไปที่ฟลอเรนซ เพอื่ รับงานแกะสลกั หนิ ออนที่สำคญั อกี ช้นิ หนง่ึ คอื ประติมากรรมหินออ นรูป \"เดวิด\" (David) แกะจากแทงหินขนาดใหญ ใชเวลาสรา งถงึ 4 ป จนกลายเปนที่ฮอื ฮาของชาวเมอื ง เพราะไมมใี ครกลาที่จะแตะตอ งผลงานช้ินน้ี เนื่องจากเปนประติมากรรมเหมอื นจรงิ รปู ชายเปลือยและทำมาจากหินเกาแก - 15 -

ระหวางท่ี Michelangelo กำลังรา งแผนสลักรูปดาวิด เขาศึกษาภาพเปลอื ยจากประติมากรรม จากกรกี และโรมันอยา งหนัก Michelangelo ไดกลายเปนผูเชย่ี วชาญในการวาดภาพมนุษยจากชีวิตและศกึ ษากายวภิ าคศาสตร นอกจากนเี้ ขายังไดร ับอนุญาตเปน พิเศษจากครสิ ตจกั รคาทอลกิ เพ่อื ศึกษาซากศพมนษุ ยเพอื่ เรยี นรกู ายวภิ าคศาสตร ทีโ่ รงพยาบาล Augustinian แมว า การสมั ผัสกับซากศพจะทำใหสขุ ภาพแยลง - 16 -

โดยปกติ Michelangelo ไมค อ ยจะใสชื่อของตนไวใ นงาน แตง าน Pieta ซึง่ ไดรบั ผลตอบรับ และเปนทช่ี น่ื ชมของสาธารณชนน้นั มลี ายเซ็นช่อื ของเขาปรากฎอยู ซง่ึ เปนที่คาดการณวา Michelangelo ไดแ อบมาสลักช่อื ของตวั เองเพม่ิ เตมิ ในภายหลัง ÅÒÂà«¹ç ¢Í§ Michelangelo ตอจากนั้นเขากม็ ีงานท่มี ีผวู าจา งใหท ำอยูหลายรายการ ดังเชนรปู สลักประตมิ ากรรมภาพแบน เปนรปู แมพระมาดอนนากับสาวก 12 องคผเู ปนกำลังสำคญั ในการเผยแพรศาสนาคริสต ใหเ ปนท่ีรูจกั กันในระยะแรก - 17 -

Moses ในป ค.ศ.1505 พระสนั ตะปาปาจเู ลยี สท่ี 2 (Pope Julius II) ไดวาจางให Michelangelo ออกแบบสสุ านของพระองค ดวยประติมากรรมหินออน40รปู แตเขาทำสำเร็จเพยี งรปู เดียว คอื \"โมเสส\" (Moses) - 18 -

ปต อมาจึงเสนอใหเ ขาเขียนภาพจิตรกรรม บนเพดานวิหารซิสตนิ (The Sistine Chapel) ในรัฐวาติกนั โดยเขาใชเ วลาศึกษาเรือ่ งราว เกย่ี วกบั ครสิ ตศาสนา และแนวคิด ในการวาดภาพถงึ สองป และเรม่ิ ลงมอื วาดในป 1508 ตอนนัน้ เขาอายุ 33ปซ ง่ึ เลอื กเขยี นเรอื่ ง - 19 -

The Sistine Chapel \"การสรา งโลกของพระผูเปนเจา\"(Creation of Adam)หรือพระเจาสรางโลก ตามเรอ่ื งทีป่ รากฏในคมั ภีรเ กา การเขยี นภาพบนเพดานโคง เปนเรื่องยากมาก เขาจะตองแหงนคอเขยี น ซง่ึ ยากกวา การวาดภาพธรรมดา รวมท้งั ตอ งจดั องคป ระกอบของภาพใหสมั พนั ธกับความโคง แตในทีส่ ดุ เขากส็ ามารถ สรางผลงานจติ กรรมอนั ยงิ่ ใหญข ้นึ มาได Creation of Adam - 20-

นอกจากน้ีพระสันตะปาปาปอลท่ี 3 (Pope Paul III) ไดก ำหนดให Michelangelo เขียนเร่อื ง \"การพิพากษาครงั้ สดุ ทาย\" (The Last Judgement) เขาเริ่มเขยี นขึ้นในป ค.ศ.1536ซง่ึ เปนการเขยี นบนผนงั เรียบขนาดใหญ 13.70 X 12.50 เมตร - 21 -

ชว งที่กำลงั วาดภาพนีไ้ ดเกดิ ความขดั แยงทางศาสนาอยา งหนกั จงึ สงผลใหภาพน้ี แสดงถงึ ความดนิ้ รนของชวี ิตอันทุกขยาก มีการสรางภาพใหเ กดิ ความเกรงกลัวในการประพฤติผดิ และใหกำลงั ใจแกผูทำความดี ภาพคนสว นใหญมรี ูปรางหนาตา อปั ลกั ษณอ ยใู นหว งทรมาน เขาไดวาดภาพคนเปลือยไวอ ยางมากมาย แสดงความงามตามอดุ มคตขิ องกรกี และโรมัน และเขียนเสรจ็ เรียบรอยในป ค.ศ.1541 - 22-

ตอ มาในป ค.ศ. 1546 เขาไดร ับมอบหมายเปน หัวหนาสถาปนิกในการสรา งมหาวิหาร นักบญุ เปโตร (Basilica of Saint Peter) ที่กรงุ โรม ท่มี คี วามยิง่ ใหญและงดงามเปนอยางมาก ซง่ึ ถอื เปน สถาปตยกรรมชิน้ เอกของโลก Basilica of Saint Peter - 23 -

โดยเฉพาะสวนทเ่ี ปน โดม Michelangelo ใชเ วลาสว นใหญในการดแู ลการกอ สราง มหาวิหาร St.Peter แมว า เขาจะออ นแอเกินกวาท่ีจะไปทจ่ี ะดูแลงานเปนประจำ เขายังคงดแู ลงานจากที่บานดว ยการสง ภาพวาดและการออกแบบใหก ับคนงานที่เชอ่ื ถอื ได - 24 -

ผลงานบัน้ ปลายชวี ติ ของไมเคลิ แอนเจโลเพิ่มอารมณแ หง ความกดดัน และเศราหมองมากขึน้ สันตะปาปาปอลท่ี 4( Pope Paul IV) ทรงใหอ อกแบบกอสรางรอบอนุสาวรียจักรพรรดิทราจนั และดำรงตำแหนง ทปี่ รกึ ษาการวางผงั เมอื งของกรงุ โรม ในป Michelangelo ไดลงนามใหกอ สรางประตูปอรตา ปอ า (Porta Pia) Porta Pia - 25 -

Santi Apostoli, Florence ในวันที่ 18 กุมภาพนั ธ ค.ศ. 1564 Michelangelo จากไปในวยั 89 ป เขาไดท ้งิ คา งผลงานสดุ ทายไวซ่งึ มีชื่อวา ปเอตา รอนดานิน(ี่ Pieta Rondanini) คา งอยู ศพของเขาถกู นำไปฝง ท่โี บสถ Santi Apostoli, Florence เขาทงิ้ พินยั กรรมไวสามประโยคคือ วิญญาณมอบ พระผเู สวยสวรรค รา งกายมอบใหแ ผน ดนิ และทรัพยส ินมอบใหญาติ - 26 -

I’m still learning Michelangelo - 27 -

Michelangelo ยดึ หลกั การสรางสรรคผลงานตามแนวคตินยิ มใน INFLUENCE ลัทธิปรชั ญานโี อ-เพลโต มจี ดุ มงุ หมายสงู สดุ ในการแสดงออกอยูทใ่ี หความสำคัญ ของความเปนมนุษย ตามอุดมการณของลัทธมิ นุษยธรรมนิยม ใหค วามสำคัญของปจ เจกชนทงั้ ทางดานเสรีภาพ ในการคดิ และการกระทำ ไมมงุ แตเ ร่ืองความเปน จริง เทา ที่สภาพชวี ติ ทว่ั ไป แตค ำนงึ ถงึ ความจริงในมโนคติ หลักคดิ ของเพลโตทีเ่ กย่ี วขอ งกบั ทางศลิ ปะกลา ววา ความงามทเ่ี ราสมั ผัสไดน ้ัน เปนเพราะความงามนั้นไดส ะทอนจำลองมาจาก ความงามอนั สงู สุด เปนความงามมาตรฐานทมี่ ีอยเู พียงในมโนคติ ซง่ึ อยนู อกเหนือการรบั รูดวยประสาทสัมผสั เปนความงามสากลอนั เปน แมแบบแหงความงามทัง้ หลาย ท่ีปรากฏอยูในโลก ถา ปราศจากความงามสากลนแี้ ลว ยอ มไมม คี วามงามทเ่ี ราสามารถสัมผัสได - 28 -

Michelangelo คน หาความจรงิ และความงามในแบบฉบบั ลัทธิปรชั ญาของเพลโตอยา งสมบูรณแ บบ นำทง้ั หมดมาปรงุ แตง รวมแสดงออกเปนพลงั อำนาจของความเปนมนษุ ยความงาม ในความหมายกวา งมอี ยสู องแบบดวยกนั กลา วคอื เปนความงามตามธรรมชาติกบั ความงามทไี่ ดรับการปรงุ แตง กลัน่ กรอง Michelangelo ไดยดึ ท้งั สองแบบนอกจากน้ยี ังไดเพม่ิ เติมสอดแทรกความงามทางศลี ธรรม เขา ไปเพราะเขาเชอ่ื วา ความงามเปนความดีท่ียง่ิ ใหญ - 29 -

จากแนวคิดน้จี ะปรากฏใหเห็นอยา งชัดเจนในภาพ “การตัดสินครงั้ สุดทา ย” ซึ่งแฝงความงามในธรรมชาติ รา งกายของมนษุ ยและความงามทางศลี ธรรม ตามหลักคริสตศ าสนาผสมเขากับลทั ธิมนษุ ยธรรมอยางลกึ ซึง้ The Last Judgement - 30 -

ในสถาปตยกรรมทเ่ี ขาออกแบบก็มีอยอู ยางสมบรู ณเชน กนั นบั ตั้งแตโ ดมของโบสถ St.Peter เสาหินขนาดยกั ษท่ีรองรบั น้ำหนกั มหาศาลของโดม ภายในโดมเมอื่ มองขนึ้ ไปจะเหน็ โครงสรา ง ที่ทำเปน วงกลมสลับซับซอ นดจุ วงแหวนเรียงรายเปน ช้นั ๆ แตล ะช้นั เปรยี บเสมือนชน้ั ของสรวงสวรรค Basilica of Saint Peter - 31-

Michelangelo ไดนำสวรรคใ นคตนิ ยิ มของครสิ ตศ าสนามาแสดงกับอาคารสำคัญทางศาสนา เพราะคร้งั หนึ่งในอดตี อาดมั และอฟี ชายหญิงคูแรกของโลกไดประพฤติบาป จงึ ถกู ขับออกจากสวรรค และมนษุ ยปจจบุ นั ไดสูญเสียมันไปอยา งสิ้นเชงิ แลว แตท กุ คนกย็ งั มีความใฝฝ นทจ่ี ะกลับคนื สถานทน่ี ีอ้ ีก ชอ งบนสุดของโดมมีชองปลอยใหแ สงสวางเขามา เปรียบประดุจดงั แสงสวา งจากการประทาน ของพระผูเ ปน เจา ซึ่งพระองคยงั ทรงมพี ระกรณุ าเมตตาปราณีตอ มวลมนุษย อยตู ลอดกาล - 32-

นอกจากน้ี Michelangelo ยงั มีผลงานการออกแบบ Laurentian Library สรา งขึ้นในโบสถ ของมหาวิหาร Medicean San Lorenzo di Firenze ในเมอื ง Florence ภายใตการอปุ ถัมภข อง Medici ซง่ึ ผลงานนี้มีช่อื เสียงดานสถาปต ยกรรมการออกแบบอยางมาก Medicean San Lorenzo di Firenze - 33 -

The Reading Room ผลงานของMichelangelo ไดรับการยอมรับและการชน่ื ชมจากสาธารณชน จนเขาไดรับฉายาวา ºÔ´ÒáÅÐ਌ҹÒ¢ͧÈÔŻз§Ñé ËÁ´ เขาไดรบั ชอ่ื เสียง ความมั่งคง่ั และประสบความสำเร็จในชีวติ อยางมาก - 34 -

If people knew how hard I had to work to gain my mastery, it would not seem so wonderful at all. ” - Michelangelo - 35 -

WORKS - 36 -

PIETA Pieta ปเอตะ มาจากภาษาอิตาลี ทีแ่ ปลวา ความสงสาร ทำจากหนิ ออนบรสิ ทุ ธ์ิ สงู 5ฟุต 9นิว้ ตง้ั อยใู นมหาวหิ าร St.Peter สรางข้ึนตามสัญญาวาจา งจากสำนกั วาติกนั แหงกรุงโรม ใชเวลาตั้งแตป ค.ศ.1494-1501 Pieta ไดรับความสนใจ และความช่ืนชมอยา งมาก ดว ยความที่ เหมอื นจริงของรายละเอยี ด การยับ ความพล้ิวไหวของผา และองคประกอบอื่นๆ จากภาพแสดงใหเห็นรา งของพระเยซู บนตักของมารดาของพระองคหลังจากการตรึงกางเขน ใบหนา ของพระครสิ ตเจาสงบนงิ่ ประติมากรรมหินสลัก “ปเ อตา” นับเปนตวั อยา งทดี่ ีอีกช้ินหน่ึง ไดร วมเอาหลักการในความงามตามหลกั ปรชั ญาลัทธินีโอ-เพลโต กบั คริสตศ าสนาเขา ไวด ว ยกันอยา งเหมาะสม โดยมเี รื่องราวเนอื้ หาจากพระคัมภรี  สว นกรรมวธิ ีและการแสดงออกถงึ ความงามเปน ไปตามแบบศลิ ปะกรีกและโรมัน - 37 -

Year 1498–1499 Pieta Type Marble Dimensions 174 cm 195 cm Location St. Peter's Basilica, Vatican City - 38 -

David Year 1501–1504 Type Marble statue Dimensions High 517 cm Location Galleria dell'Accademia, Florence - 39-

ประตมิ ากรรมเดวิดเปน หนิ ออ นแกะสลักรปู พระเจา เดวดิ (King David) ตามตำนานในคำภรี ไบเบลิ ลกั ษณะเปนชายหนุมยืนเปลอื ยกาย แสดงใหเหน็ ถงึ ความแขง็ แรงและความงดงามของรางกายมนษุ ย เริ่มแกะสลักในป 1501 โดยใชหินออนสขี าวมาจากเมืองคารร ารา แควนทสั คานขี องอิตาลี ประตมิ ากรรมรปู ปนเดวดิ นบั เปนผลงานชิ้นเอกทแ่ี สดงถึงความรุงเรอื งทางศลิ ปะในยุค ฟน ฟศู ลิ ปะวทิ ยาการ ซึ่งปจ จบุ ันตง้ั แสดงอยทู ่ี Accademia Gallery ในกรงุ ฟลอเรนซ ประเทศอิตาลี ซ่งึ เปนสัญลักษณท ีม่ ีชอ่ื เสยี งระดับโลกของเมืองและมรดกทางศลิ ปะ นบั เปนรูปสลักหินทเ่ี ปนทีจ่ ดจำไดม ากท่สี ุดในประวัตศิ าสตรศ ิลปะ และไดรบั การยอมรับวาเปน สญั ลกั ษณ แหง ความงามของพละกำลงั ชายหนุมทแ่ี ข็งแรงผรู ักอสิ รภาพ และความหนมุ สาวของมนุษย DAVID - 40 -

The Creation of Adam The creation of Adam Year 1508 –1512 Type Fresco Dimensions 280 cm 570 cm Location Sistine Chapel, Vatican City - 41 -

จากภาพ อดมั นอนเหยยี ดยาวอยบู นพืน้ ทีแ่ หงแลง ทางดา นขวาเปน ของพระเจาและเหลาเทวดา ดานหลงั เปน ทองฟา ทีว่ า งเปลา ตรงกลางภาพมมี ือทก่ี ำลงั จะสมั ผัสกัน คอื มอื ของอดัมและพระเจา ปลายน้วิ ช้ีของทงั้ สองฝา ยยืน่ มาเพอ่ื จะสมั ผสั กนั ดว ยพลังแหง ชวี ิตของพระผูสรางและนิว้ มืออนั ไรซึ่งชีวิตของอดมั พระผูเปน เจา จึงไดถา ยทอดพลังการมชี วี ิตใหก บั อดัม Michelangelo สามารถเขยี นภาพน้ีไดอยา งสมบูรณแบบ เขาวาดภาพน้ไี ดเหมอื นกบั วามกี ารเคลอ่ื นไหวอยูจ รงิ ๆ และเขาสามารถถา ยทอดใหเ ราไดเห็นถึง พลงั อำนาจทอี่ ยูเหนือสิ่งอืน่ ใด ของพระผูสรางไดอยางชัดเจน - 42 -

The Last - 43 -

The Last Judgement Year 1536–1541 Type Fresco Dimensions 137 cm 120 cm Location Sistine Chapel, Vatican City ประกอบไปดวยรูปภาพยอ ยกวา 400 รูป โดยศนู ยก ลางของภาพอยทู พ่ี ระเยซูคริสต ที่รายลอมดวยเหลานักบุญ แสดงถึงพลังอำนาจในการกวาดลา ง โดยเคล่อื นพลงั สดู านลา งเพื่อพพิ ากษาโทษ และเพ่ือยกเอาบรรดาผูท ีถ่ กู เลอื กใหร อดขึ้นมา การเลือกระหวางผทู ่จี ะไดรบั ชวี ติ รอดและผทู ่จี ะเสยี ชีวติ น้นั เปนไปอยา งนา กลัว และแฝงไวซ งึ่ ความทกุ ขทรมาน พระครสิ ตไ ดแ สดงอำนาจอันนา อศั จรรยโดยมแี สงสวา งลอมรอบพระวรกาย ทางดา นขา งคอื พระแมม ารอี าท่ีคอยสง สายตาดว ยความเปนหวงมนุษยและคอยทจ่ี ะชวยเหลือ สวนทางดา นซา ยและขวาของรูปจะเห็นการเคล่ือนไหวของบรรดานกั บญุ ทงั้ หลาย และบรรดาผูถกู เลือกใหรอด Judgement - 44 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook