Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore History Of Music

History Of Music

Published by Kachornpon, 2019-11-20 00:37:07

Description: History Of Music

Search

Read the Text Version

1

The History of Music ประวตั ศิ าสตรข์ องเพลง 2

“เรยี บเรยี งโดย” นักศกึ ษาคณะเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร สาขาออกแบบ เอกออกแบบเกม มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร นางสาวกานต์ทติ า นามพทุ ธา นายธรรมศักด์ิ สมบัติ นายรพีพัฒน์ ศิริพันธ์ 3

คำ�“นำ� เชื่อเป็นอย่างยิ่งว่าคงไม่มีใครไม่เคยฟังเพลงหรือลองที่จะ สร้างเสยี งดนตรอี อกมาจากตวั เอง ไมว่ า่ จะเปน็ การร้อง ฮัมเพลง เคาะ ตามจังหวะหรือรวมไปถึงการเล่นเคร่ืองดนตรีและเม่ือลองมองย้อน กลับไปถึงยุคท่ีมนุษย์ยังไม่รู้หนังสือก็พบว่าการสร้างเสียงเล็กๆน้อยก็ เป็นการสร้างส่งิ ท่เี รียกวา่ “ดนตร”ี ข้นึ มาและพัฒนาข้ึนมาเรือ่ ยๆจนมา ถึงยุคปัจจบุ นั แต่กอ่ นหน้านัน้ มีเหตกุ ารณ์ อะไรเกิดข้นึ บ้าง ดนตรเี กดิ มา จากไหน ยคุ ของประวตั ิศาสตร์สร้างดนตรีแบบใดขนึ้ มา สง่ิ ทเ่ี ราฟังอยู่ ทกุ วันนเ้ี รยี กวา่ อะไร ทางผู้เรยี บเรียงไดท้ ำ�การจัดท�ำ หนังสอื เล่มน้ขี ึน้ มา เพือ่ หาค�ำ ตอบนนั้ ” 4

CON ENT PAGES 5 INTRODUCTION 26 42 บทนำ� 74 89 MUSIC GENRE ประเภทของดนตรี ERA OF MUSIC ยุคของดนตรี INFLUENTIAL PEOPLE ผมู้ ีอทิ ธพิ ลทางดนตรี QUOTE คำ�คมจากศลิ ปินดัง 5

INTRODUCTION THE DEFINITION OF MUSIC 1___ WHAT IS MUSIC? ___ BENEFIT OF MUSIC 5

6

“พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงมีพระราชด�ำ รสั เก่ยี วกับดนตรี วา่ ”ดนตรีคือ สิ่ง ประณีตงดงาม และทุกคนควรนยิ มในคุณคา่ ของดนตรี ทกุ ประเภท เพราะว่าดนตรแี ต่ละประเภทต่างกม็ คี วาม เหมาะสมตามแตโ่ อกาส และอารมณ์ท่ตี ่างๆกนั ออกไป” ” 7

8

“พระเจนดรุ ยิ างค์ ปิติ วาทยะกร บิดาดนตรสี ากลของประเทศไทย ได้ใหค้ วามหมายไวว้ ่า “ดนตรีเปน็ ศลิ ปะเก่ยี วกบั เสียง เปน็ สาขาหนึง่ ในเครือศลิ ปะ เปน็ ยอดแหง่ ศลิ ปะ มีชื่อว่า The Divine Art หมายถงึ เปน็ ศลิ ปะช้ันสูง ศลิ ปะนี้ใชก้ าร บรรเลงของเคร่ืองดนตรี หรอื เสียงขบั รอ้ งเป็นส่อื ทำ�ใหผ้ ฟู้ งั เกดิ ความร้สู ึกสะเทือนใจ เกิดอารมณ์สอดคลอ้ งกนั ไปกบั บทเพลงท่ไี ด้รับ ฟงั อยู่ ดนตรเี ป็นสาขาหนง่ึ ของวทิ ยาศาสตร์ เพราะเสียงร้อง เสียง สงู ต่ำ�ของดนตรเี ปน็ ไปตามกฎเกณฑ์ธรรมชาติ เครือ่ งดนตรตี ่างๆ ตอ้ งอาศยั กฎเกณฑ์ของวิทยาศาสตรเ์ ข้าช่วยประดิษฐ์” ” 9

10

“เมนเดลส์โชน (Mendelssohn) คีตกวีชาวเยอรมนั ไดก้ ล่าวไวว้ ่า “ดนตรีคอื อาณาเขตทค่ี ำ�พูดไม่สามารถตามถงึ ได้” ” 11

12

“ เกอเธ่ (Goethe) นกั ปรัชญาชาวเยอรมันไดก้ ล่าวไว้ว่า “ดนตรคี ือการยกและเพมิ่ ระดับความสงู สง่ ในการ แสดงออก” 13 ”

14

“ ไชคอฟสก้ี (Tchaikovsky) คตี กวชี าวรัสเซียกล่าวว่า “ดนตรีคอื ส่งิ ทที่ ำ�ให้เราได้รู้ถึงความงามซ่ึงเราไม่สามารถหา ไดใ้ นโลกไหน” ” 15

CHARPTER 1 WHAT IS MUSIC? อะไรคอื สิ่งทเี่ รยี กว่าดนตรี? เมื่อเราพูดถึงคำ�ว่า”ดนตรี”หลายๆคนอาจจะคิดถึงการบรรเลงเพลงด้วยเคร่ืองดนตรีและการขับ ร้องที่ไพเราะ แต่ถ้าจะใหพ้ ูดความหมายของเพลงจรงิ ๆแลว้ คงจะหมายถึง “เสยี งและโครงสรา้ ง ที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบยี บแบบแผน ซง่ึ มนษุ ย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกยี่ วขอ้ งกบั เสียง โดย ดนตรนี ้นั แสดงออกมาในดา้ นระดับเสียง (ซ่งึ รวมถึงท่วงทำ�นองและเสียงประสาน) จงั หวะ และ คุณภาพเสียง (ความตอ่ เนือ่ งของเสยี ง พ้นื ผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใชใ้ นดา้ น ศลิ ปะไดแ้ ลว้ ยงั สามารถใชใ้ นดา้ นสนุ ทรยี ศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิง รวมถงึ ใชใ้ นงานพิธีการ ตา่ ง ๆ ได้” ถ้าจะให้แตกความหมายไปทีละคำ�ของความหมายขา้ งต้น ‘เสยี งและโครงสรา้ งที่ เรยี งอยา่ งเป็นระเบยี บแบบแผน’ ก็คงจะหมายถึง Rhythm หรอื จังหวะที่มคี วามสม�่ำ เสมอของ การดำ�เนินทำ�นองดนตรี อาจจะเปน็ จังหวะการเคาะ จังหวะทอี่ อกมาจากเสยี งมนษุ ย์ จังหวะจาก เครื่องดีด หรอื จังหวะจากเครือ่ งเปา่ ก็เป็นได้ แต่จะพูดถงึ เพลงสวดอย่างพวกเพลงแมส (Mass) หรือโมเตท็ (Motet) ท่ีมแี คเ่ นอ้ื รอ้ งอยา่ งเดียวไมม่ กี ารเคาะจงั หวะ การเปล่งเสยี งทสี่ มำ่�เสมอ เป็นทว่ งท�ำ นองกน็ ับว่าเปน็ จังหวะเชน่ กนั และค�ำ วา่ ‘มนุษย์ใชป้ ระกอบกิจกรรมศลิ ปะ‘ ไมไ่ ด้ หมายความวา่ ใช้เพลงประกอบการวาดรปู แต่อยา่ งใด แตห่ มายถึงดนตรีกเ็ ปน็ ศิลปะแขนงหนง่ึ ท่ี เรียกว่า“โสตศิลป“์ หรือ Audio Art เป็นการสัมผัสความสวยงามทางการได้ยินไมใ่ ชก่ ารมองเหน็ ท่ีดนตรีสามารถเรียกว่าเป็นศิลปะแขนงหน่ึงได้เพราะตามคำ�นิยามของคำ�ว่าศิลปะนั้นคือผลลัพท์ ท่ีมนษุ ย์สร้างสรรคแ์ สดงออกมาในรปู แบบตา่ งๆเพื่อกอ่ ให้เกดิ สุนทรีย ภาพความประทับใจหรอื ความสะเทอื นอารมณ์ 16

และต่อมาคือความต่อเน่ืองของเสียงหรือ 2. Polyphonic Texture continuous Noise ไม่ว่าจะคงที่หรอื ไม่ เป็นลักษณะพ้ืนผิวของเสียงท่ีประกอบ คงทก่ี ารท่ี ถ้าดนตรียงั สามารถคงความต่อ ด้วยแนวทำ�นองต้ังแต่สองแนวทำ�นอง เน่ืองต่อกันไดใ้ นทว่ งทำ�นอง จังหวะน่ันก็ ขน้ึ ไป โดยแต่ละแนวมคี วามเด่นและเปน็ ถอื เป็นความต่อเนอ่ื งของเสียง อสิ ระจากกัน ในขณะทีท่ ุกแนวสามารถ พื้นผิวของเสียงหรอื Texture คือลกั ษณะ ประสานกลมกลืนไปด้วยกันและต่อมาได้ และรูปแบบของเสียงทั้งที่ประสาน์และ ใช้อัตราจงั หวะและมกี ารประสานเสียง ได้ ไม่ประสานโดยอาจจะเป็นการนำ�เสียงมา พัฒนาจนกลายเป็นเพลงหลายแนวเสียง บรรเลงซ้อนกันหรือพรอ้ มกัน ซง่ึ อาจพบทัง้ Imitative Polyphony คือมหี ลายแนว ในแนวตั้งและแนวนอนตามกระบวนการ และแตล่ ะแนวจะเรม่ิ ไม่พรอ้ มกนั ทุกแนว ประพนั ธ์เพลง ผลรวมของเสยี งหรือแนว เสยี งมีความส�ำ คญั ทั้งหมดเหล่านั้น จัดเป็นพ้ืนผิวตามนัยของ นกั ภาษาศาสตร์ได้ 3. Homophonic Texture ดนตรที ้ังส้ิน ความหลาก ป ร ะ ส า น ด้ ว ย แ น ว ทำ � น อ ง ห ล า ย ข อ ง พื้ น ผิ ว เ ป็ น ต้ น “ใหน้ ิยามทไี่ ดย้ ินท่ัวไปว่า แ น ว เ ดี ย ว โ ด ย มี ก ลุ่ ม เ สี ย ง กำ�เนิดของดนตรีแนวต่างๆ (Chords) ท�ำ หนา้ ทส่ี นบั สนนุ มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน “ดนตรเี ป็นภาษาสากล ในคีตนิพนธ์ประเภทนี้แนว ลักษณะรูปแบบพ้ืนผิวของ “ดนตรีเป็นภาษา ทำ � น อ ง มั ก จ ะ เ ค ล่ื อ น ที่ ใ น เสียงมอี ย่หู ลายรูปแบบ ดังน้ี ของอารมณ”์ ระดับเสยี งสูงทส่ี ดุ ในบรรดา 1. Monophonic Texture กลมุ่ เสยี งด้วยกัน ” ในบางโอกาสแนวทำ�นองอาจจะเคล่อื นที่ เ ป็ น ลั ก ษ ณ ะ พื้ น ผิ ว ข อ ง เ สี ย ง ที่ มี แ น ว ในระดบั เสียงตำ�่ ไดเ้ ชน่ กนั ถึงแมว้ ่าคีต นพิ นธป์ ระเภทน้จี ะมีแนวท�ำ นองทเ่ี ด่นเพยี ง ทำ�นองเดียวเป็นดนตรีไม่มีเสียงประสาน ท�ำ นองเดยี วก็ตาม แต่กล่มุ เสียง (Chords) พื้นผิวเสียงในลักษณะน้ีถือเป็นรูปแบบ การใชแ้ นวเสยี งของดนตรีในยคุ แรกๆ ของ ทที่ �ำ หน้าท่ีสนบั สนนุ นนั้ มีความสำ�คัญท่ไี ม่ น้อยไปกว่าแนวทำ�นอง การเคล่ือนที่ของ ดนตรีในทุกวฒั นธรรม อยา่ งเช่น เพลงชา แนวท�ำ นองจะเคลื่อนไปในแนวนอน ใน นท์เป็นบทเพลงรองหรือเพลงสวดท่ีมีแต่ ทำ�นอง ไม่มีการประสานเสยี งและเป็น ขณะทก่ี ลมุ่ เสียงสนับสนุนจะเคล่อื นไปใน แนวต้งั ดนตรที ี่ไม่มอี ตั ราจังหวะ (Non-metrical) 17

4. Heterophonic Texture เป็นรปู แบบของแนวเสยี งทมี่ ที ำ�นองหลายทำ�นอง แต่ละแนวมีความสำ�คญั เทา่ กนั ทุกแนว ค�ำ วา่ Heteros เปน็ ภาษากรกี หมายถึงแตกตา่ งหลากหลาย ลกั ษณะการผสมผสานของแนวท�ำ นองใน ลักษณะน้ี เปน็ รปู แบบการประสานเสยี ง ตอ่ มาจากความหมายของเพลงข้างต้นคอื ความดงั คอ่ ยหรือ Dynamics Range คอื ระดับการไล่ เสียงใหเ้ ปน็ ไปตามบทบาททีผ่ ู้บรรเลงหรอื ผู้ขับรอ้ งเป็นผ้เู ลือกทจ่ี ะจัดการกบั ความดงั เบา ไดนามิก ที่ดคี ือการไล่ดังไปเบาหรอื เบาไปดังได้อย่างราบเรียบ ไม่พร่า ไมแ่ ตก กรา้ วหรอื เพย้ี นหรือการที่ เสียงดังจนแตกพรา่ เรยี กวา่ Headroom ในดา้ นหลักๆของการแตกความหมายของคำ�วา่ ดนตรีกค็ งจะมีเท่านี้ แต่ถา้ จะใหย้ กตัวอยา่ งของ ความเป็นดนตรีในอีกแบบหนง่ึ คือการแยกความหนา-บางของดนตรี ค�ำ ว่าหนา-บางในทางดนตรี อาจจะไม่ค้นุ ตาคุน้ หกู นั นกั ดังนน้ั มาทำ�ความเข้าใจก่อนว่า “เสยี งหนา” กับ “เสยี งบาง” ซ่ึงศัพท์ สองตวั น้ีเปน็ คำ�จำ�กดั ความทใี่ ช้แจกแจงในสว่ นทีเ่ ปน็ “ลกั ษณะของเสียง” คล้ายคำ�ว่า “อว้ น” กบั “ผอม” ท่ีใชแ้ จกแจงลักษณะรูปรา่ งของมนุษยน์ น่ั เอง ความแตกตา่ งมันอยทู่ ีว่ า่ ถา้ เปน็ คนอ้วน หรือคนผอม เราก็พอจะท�ำ ความเข้าใจไดไ้ มย่ าก เพราะรา่ งกายมนุษย์เปน็ รูปธรรม จงึ สามารถใช้ ขอ้ มูลท่ีมองด้วยตามาประกอบชว่ ยได้ แตพ่ อเอาคำ�วา่ “หนา” กบั คำ�ว่า “บาง” มาก�ำ หนด 18

ลักษณะของเสียงท่เี ป็นนามธรรม มองไมเ่ ห็นดว้ ยตา แตใ่ ชว้ ิธีฟังดว้ ยหู เรอ่ื งมนั จึงเลยเถดิ เพราะ การวเิ คราะหเ์ สียงจากการฟงั มันมตี วั แปรมากมาย หากไม่ไดอ้ ยู่ในสภาพแวดล้อมเดียวกันในขณะ ทฟี่ ัง กย็ ากทคี่ นสองคนหรอื มากกว่า จะสามารถส่ือสารใหเ้ ขา้ ใจไดต้ รงกนั “เสียงหนา” หมายถึงเสยี งทฟ่ี งั แล้วร้สู กึ ได้ถงึ ความอวบมีเนือ้ มวล ซง่ึ โดยปกตแิ ล้ว ความถ่ีสว่ นที่ จะทำ�ให้ฟงั แล้วร้สู ึกเชน่ น้นั ก็คอื ความถีใ่ นยา่ นกลางต�ำ่ ลงไปถงึ ทุม้ ตน้ ๆ (Lower midrange > up- per bass) ซ่ึงโดยธรรมชาตแิ ลว้ เสียงทท่ี ุม้ ตำ�่ ตอ้ งมลี ำ�โพงทีร่ องรบั Beat ได้ดแี ละเป็นทนี่ ิยมมาก โดยนัยยะแล้ว ถ้าแค่พดู กนั ลอยๆ ไมไ่ ดเ้ ปดิ เสียงฟงั ไปด้วย ค�ำ ว่า “เสยี งบาง” มักจะถูกแปรความ หมายไปในทางที่ไมด่ ี ไม่น่าฟงั แต่หากพิจารณาโดยยึดความหมายของคำ�วา่ “เสยี งหนา” ค�ำ วา่ “เสียงบาง” จงึ นา่ จะหมายถงึ ลกั ษณะของเสยี งทม่ี วี ามท้มุ ต่�ำ ของเสียงคอ่ นขา้ งนอ้ ยแตเ่ ม่ือ วิเคราะหม์ าถงึ จุดนี้ อดไม่ได้ที่จะขอต้ังค�ำ ถามว่า เราจะสามารถสรปุ เป็นหลักตายตัวไดห้ รือไมว่ ่า ถา้ เสยี งที่ฟังแล้วพบว่าเสียงบางท่ีมีความท้มุ่ ต่�ำ นน้ั เปน็ เสยี งทไี่ ม่ดี “ เราไม่สามารถพูดไดว้ า่ เพลง ไหนเป็นเพลงท่ีดี เพราะการ ฟังเพลงขนึ้ อย่กู ับ รสนยิ มส่วนบุคคล ” 19

BENEFIT OF MUSIC ดนตรีนั้นนอกจากใช้ฟังเพื่อความเพลิดเพลิน และความสะเทือนอารมณ์ แน่นอนว่าดนตรี สามารถเปน็ ไดม้ ากกว่านั้น เปน็ ไดม้ ากกว่าการ ฟงั เพ่ือรู้สกึ เปน็ ได้มากกว่าการเสพสิง่ สวยงาม ทางการได้ยนิ เปน็ ไดม้ ากกวา่ ศิลปะแขนงหน่ึง หากสังเกตดีๆดนตรีอยู่ทุกช่วงจังหวะชีวิตของ คนเรา บางคนใช้มนั เพือ่ รับรู้ถงึ ความสขุ บาง คนใช้ฆ่าเวลาเพื่อให้มีเวลาคุณภาพมากกว่า การมีชวี ติ ทเ่ี ปน็ อยู่ บางคนใช้เพ่อื ปลดปลอ่ ย ความรู้สึกเศร้าโกรธเกลียดหรือความรู้สึกด้าน บวก และบางคนใช้เพ่ือการดำ�รงชีวิต ดังน้นั ตามหัวข้อน้ีท่ีพูดถึงประโยชน์ของดนตรีจึง มีมากมายเช่นเดียวกับการที่มันสามารถเป็น อะไรกไ็ ด้ที่มากกว่าดนตรี 20

EDUCATION BENEFITS ด้านการศึกษานำ�เสียงดนตรีมาใช้ประกอบในการสอนแบบสร้างสรรค์ทางศิลปะผลปรากฏ วา่ เสยี งดนตรี สามารถสง่ เสริมพฒั นาการทางอารมณ์ เสรมิ สร้างความคดิ จินตนาการ ช่วย กระตนุ้ ใหม้ กี ารแสดงออกในทางสรา้ งสรรค์ สง่ เสรมิ ให้มีความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประสาทหู กล้ามเนอ้ื มือ ให้สอดคลอ้ งกับการใชค้ วามคิด ทำ�ใหห้ ายเหน่ือย และผอ่ นคลายความตงึ เครยี ด และพัฒนาการทางด้านภาษาในแตล่ ะเพลงจะประกอบด้วยบทประพนั ธ์ คำ�พดู ที่เรยี บเรยี ง อย่างไพเราะ การจ�ำ จากเนอื้ เพลง การฟังเพลงในภาษาท่ีเป็น Native ของตวั เองนัน้ ท�ำ ให้ ผูฟ้ งั ได้รบั อทิ ธิพลในการใชค้ ำ�พดู หรอื การเขียนอย่างไพเราะมากขึน้ เพราะเพลงส่วนใหญ่ มีความสละสลวยของภาษา บางเพลงกม็ กี ารใชค้ ำ�เช่อื มไพเราะเหมอื นก�ำ ลงั อา่ นนยิ ายดีๆ ซกั เลม่ หนงึ่ ในด้านเพลงที่เปน็ ภาษาต่างประเทศแนน่ อนว่าเราสามารถเรยี นรคู้ �ำ ศพั ท์ และ สามารถจดจำ�ไดด้ ยี ง่ิ ขึ้นเม่ืออยู่ในเพลง นอกจากน้ันยงั มรี ปู ประโยคท่ีสามารถจำ�และนำ�ไป ใชไ้ ด้ และเพลงตามยุคสมยั น้ันๆก็เปน็ การบอกสมัยนิยมของประเทศน้นั ๆดว้ ยว่าในช่วงนนั้ ๆ ผู้คนสนใจอะไร มกี ารใชภ้ าษายังไง วัฒนธรรมเปน็ อย่างไร เพลงคอื แหลง่ การเรียนรู้ “วฒั นธรรม ภาษา และผู้คน ท่ไี ม่มที ่สี ิน้ สดุ ”ตราบใดทผี่ ้คู นยังผลิตเพลงออกมา 21

MEDICAL BENEFITS ด้านการแพทย มกี าร์ใชเ้ สยี งตัง้ แต่กบั เด็กทารก แพทยใ์ ชด้ นตรกี ระตุน้ ทารกในครรภม์ ารดา ผล ปรากฏว่าเด็กมปี ฏิกริ ยิ าตอบรับกับเสียงเพลง โดยท่อี ายุครรภ์ประมาณ 24-26 สปั ดาห์ขึ้นไป ระบบการได้ยินของทารกจะมีการพฒั นาเตม็ ท่ี โดยรับร้แู ละตอบสนองต่อเสยี งท่ีอยู่รอบตัวได้ ดงั น้นั จึงมีการนำ�เอาเสยี งภายนอกมาช่วยเสริมสรา้ งพัฒนาการของทารกในครรภ์ วธิ กี ารนจี้ ะท�ำ ให้ ทารกเคยชนิ ตอ่ เสยี งและเปน็ การพัฒนาภาษาพรอ้ มกันไปด้วย การที่ลกู ในครรภ์ไดร้ บั ฟังเสยี ง ดนตรี คลนื่ เสยี งจะไปกระตนุ้ ให้ระบบประสาททเี่ กีย่ วข้องกับการไดย้ นิ มีการพัฒนาระบบการ ทำ�งานไดเ้ รว็ ข้ึน ท�ำ ใหเ้ มือ่ ลูกคลอดออกมา มคี วามสามารถในการจัดลำ�ดบั ความคดิ ในสมอง รสู้ กึ ผ่อนคลาย และจดจ�ำ สิ่งต่างๆได้ดี เพลงสามารถกระตนุ้ พัฒนาการทารกในครรภ์ ได้แก่ กระตนุ้ การเคล่อื นไหวของทารกในครรภ์ เมอ่ื ลกู ไดย้ ินเสยี งเพลง ไดย้ นิ จงั หวะของเพลงเขาจะขยบั ตวั หรอื ดน้ิ ไปตามเสียงเพลง เช่น ถา้ เป็น เพลงช้าฟงั สบาย เขาจะขยับตัวชา้ ๆ เหมือนก�ำ ลงั วา่ ยน้�ำ อย่ใู นท้องแม่อยา่ งสบายใจ หากเพลงมี จงั หวะเร็วเขาอาจจะขยับตวั บอ่ ยหรอื ด้นิ แรงข้นึ เหมือนเตน้ ตาม ซง่ึ การขยบั ตวั ของทารกในครรภ์ ตามเสยี งเพลงหรือเสียงท่ไี ด้ยินก็เปน็ สัญญาณบอกถงึ พัฒนาการทารกในครรภ์ที่ยอดเยีย่ ม 22

มกี ารนำ�เสยี งดนตรมี าบ�ำ บัดรักษาผ้ปู ว่ ยหลายๆประเภทเช่นผปู้ ว่ ยออทิสติก ผู้ป่วยทางจิตเวช หรือผดิ ปกตทิ างดา้ นอารมณ์ สามารถท�ำ ใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงของ อัตราการหายใจ, อตั รา การเต้นของชพี จร, ความดนั โลหิต, การตอบสนองของมา่ นตา, ความตงึ ตวั ของกลา้ มเน้ือ และ การไหลเวยี นของเลือด จึงมกี ารนำ�ดนตรีมาประยกุ ต์ใช้ในการรักษาโรคภัยไข้ เจบ็ ทั้งรา่ งกาย และจิตใจ ดา้ นรา่ งกาย นกั วิจัยชาวดตั ชไ์ ดเ้ ผยผลวิจัยในการประชมุ ของสมาคมโรคหวั ใจแห่ง ยุโรป เมอื่ ปี 2003 วา่ ผู้ป่วยทีฟ่ งั เพลงโปรดวนั ละ 30 นาทเี ปน็ ประจ�ำ ในขณะท่อี อกกำ�ลงั กาย จะช่วยกระตุ้นการไหลเวยี นของเลอื ด เพ่มิ กรดไนตริกออกไซด์ (Nitric Oxide) ตัวชว่ ยขยาย หลอดเลอื ดให้เลอื ดเดนิ สะดวกยิ่งขน้ึ สง่ ผลดีต่อสุขภาพหัวใจในเวลาตอ่ มา โดยเฉพาะการใช้ ดนตรีลดหรือบรรเทาความเจ็บปวดหลังการผ่าตัดของผู้ปว่ ยใน48 ชว่ั โมงแรก ผลปรากฏว่าชว่ ย ให้ผู้ป่วยผ่อนคลายภาวะทางอารมณ์ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี “หมอชาวกรีกโบราณท่านหน่ึงชอื่ ว่า แอ สคลปี ีอุส (Asclepius) ได้ใชด้ นตรีบรรเลงให้ผ้ปู ว่ ยหลังการผ่าตดั แลว้ ฟัง ปรากฏว่าชว่ ยทเุ ลา อาการเจ็บปวดได้ดี” ประโยชนข์ องดนตรบี ำ�บดั มหี ลายประการ เชน่ ช่วยปรบั สภาพจิตใจ ให้อย่ใู นสภาวะสมดลุ มีมุมมองในเชงิ บวก ผอ่ นคลายความตงึ เครียด ลดความวติ กกังวล กระตุ้น เสริมสร้าง และ พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ และความจำ� กระตนุ้ ประสาทสมั ผัส การรบั รู้ เสรมิ สร้างสมาธิ พฒั นา ทักษะสงั คม พฒั นาทักษะการสื่อสารและการใช้ภาษา พัฒนาทกั ษะการเคล่ือนไหว ลดความ ตึงตวั ของกลา้ มเนือ้ ลดอาการเจ็บปวดจากสาเหตุตา่ งๆ ปรับลดพฤติกรรมทไ่ี มเ่ หมาะสม สรา้ ง สมั พนั ธภาพทดี่ ใี นการบ�ำ บดั รกั ษาตา่ งๆ และช่วยเสรมิ ในกระบวนการบำ�บดั ทางจติ เวช ท้งั ใน ดา้ นการประเมินความรสู้ ึก สร้างเสริมอารมณ์เชงิ บวก การควบคมุ ตนเอง การแกป้ มขดั แยง้ ต่าง ๆ และเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งของครอบครัว 23

SOCIAL BENEFITS ด้านสงั คมมีการใช้จงั หวะดนตรมี าก�ำ หนดควบคมุ การทำ�งาน เพื่อใหเ้ กิดความพรอ้ มเพรียง เช่น การพายเรือจงั หวะยก-ส่งของ เป็นตน้ การใช้ดนตรปี ลกุ เรา้ อารมณใ์ ห้เกิดความรัก ความสามัคคี ในหมู่คณะ เชน่ เพลงปลกุ ใจ เพลงเชยี ร์เป็นต้น ใช้ เสียงดนตรเี พ่ือสร้างบรรยากาศในการประกอบ พิธกี รรมตา่ งๆ ให้ดศู กั ดสิ์ ิทธิ์ เครง่ ขรมึ น่าเชอ่ื ถือ หรือสือ่ อารมณค์ วามรสู้ ึกท่ีรา่ เรงิ เบกิ บาน สนุกสนาน ในงานเลี้ยงสงั สรรค์ งานฉลองตา่ งๆ เปน็ ต้น นอกจากนั้นยังเป็นการสร้างงาน อาชพี ใหก้ ับบคุ คลในสังคมอย่างมากมายทง้ั ทางตรงและทางอ้อม เชน่ นกั ดนตรี นกั รอ้ ง ครูสอนดนตรี นกั ประพันธเ์ พลง นักผลติ รายการคอนเสริ ต์ นกั ดนตรีบำ�บดั ผอู้ ำ�นวยการเพลงหรือวาทยกรนัก เขียนทางดนตรี นกั ประดิษฐเ์ ครอ่ื งดนตรี และผู้ซอ่ มหรอื ปรบั เสยี งเครือ่ งดนตรี เปน็ ต้น นอกจากจะเกิดประโยชนก์ ับผ้มู สี ่วนเกยี่ วขอ้ งแลว้ เสียงเพลงยงั ชว่ ยเพิม่ ควาสัมพันธ์ตอ่ กันละกนั ดว้ ย จากการทดลอง ในจ�ำ นวนผู้ทดลอง 375 คน แบง่ เปน็ กลมุ่ นักร้องประสานเสยี ง นักร้องเด่ยี ว และกลมุ่ นกั กีฬาเป็นทีม ผลวิจัยของประเทศอังกฤษก็พบวา่ กจิ กรรมทีท่ �ำ รว่ มกันเปน็ ทมี จะมอบ ความสุขให้กลมุ่ ผทู้ ดลองไดม้ ากกว่า โดยเฉพาะกลุ่มนกั ร้องประสานเสยี ง ซึ่งสามารถวัดระดบั ความสุขได้สูงกว่ากลุม่ อื่น ๆ ทง้ั น้นี กั วจิ ัยกอ็ ธิบายเพิม่ เติมวา่ การได้ทำ�อะไรร่วมกนั เปน็ น�้ำ หน่งึ ใจ เดียว ความสามคั คี ความรู้สึกว่าเราเปน็ ทมี เดียวกัน จะสง่ เสรมิ ให้ทกุ คนมีกำ�ลังใจและมคี วามสขุ มากขึ้น ไม่เพียงกิจกรรมที่เปน็ กลมุ่ เท่าน้นั ทส่ี รา้ งเสรมิ ทักษะทางสังคม กิจกรรมดนตรีแบบเดย่ี ว เชน่ การเล่นดนตรี การรอ้ งเพลง หรอื การเต้นระบ�ำ ร�ำ ฟ้อนคนเดียวต่อหนา้ คนอ่ืน ชว่ ย พฒั นา บุคลกิ ภาพและสร้างความเช่อื มน่ั ในตนเองให้แก่บคุ คล ทง้ั ยงั เป็นการสนับสนุนใหไ้ ดแ้ สดงความ สามารถ ใหเ้ ป็นที่ยอมรับของผ้อู ่ืน ซึง่ เปน็ การส่งเสรมิ ให้เห็นคุณคา่ ในตวั เอง ( self-esteem) และตระหนักถึงคุณค่า ของตัวเอง ( Ego Asset) 24

SPORTS BENEFITS ด้านกีฬาใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมกฬี า เชน่ ยิมนาสติกกิจกรรมเขา้ จงั หวะ การเตน้ แอโรบิค เป็นตน้ นอกจากน้นั ยังมีกิจกรรมตา่ งๆมากมาย ท่ใี ช้ดนตรีเป็นสว่ นประกอบในการดำ�เนินการท้งั ทางตรงและทางออ้ ม อาจกล่าวได้วา่ ดนตรเี ป็นสว่ นประกอบที่ขาดเสียมไิ ดใ้ นกจิ กรรมของสงั คม มนษุ ย์ PSYCHOLOGY BENEFITS ด้านจิตวทิ ยา ใช้เสียงดนตรปี รับเปลยี่ นนสิ ยั กา้ วร้าวของมนุษย์ รกั ษาโรคสมาธสิ ้ัน โดยเฉพาะ เดก็ จะทำ�ให้มีสมาธิยาวขึน้ ออ่ นโยนขนึ้ โดยใช้หลักทฤษฎีอีธอส (Ethos) ของ ดนตรี ซ่งึ เชอื่ วา่ ดนตรมี อี �ำ นาจในการทจ่ี ะเปลยี่ นนสิ ยั ของ มนุษย์ จนกระทง่ั ในบางกรณสี ามารถรกั ษาโรคให้ หายได้ ปัจจุบนั มนี กั ดนตรีบำ�บดั ผ้ซู งึ่ มคี วามสามารถฟื้นฟูและบ�ำ บัดรกั ษาความเจ็บป่วยท้งั ทาง รา่ งกายและจติ ใจ ทำ�งานในด้านนี้ 25

MUSIC GENRE 26

CHARPTER 2 MUSIC GENRE ประเภทของดนตรี จากบทแรกเราคงรู้จักนิยามของเพลง นยิ าม และประโยชนข์ องดนตรกี นั แล้ว แต่ก่อนที่เราจะมารู้ประวัติความเป็นมา ของดนตรี เรามาท�ำ ความรจู้ ักกบั ประเภท ของดนตรกี ันกอ่ น เช่นเดียวกนั ทใ่ี นขณะ ท่ภี าษามีหลายภาษา เชอ้ื ชาติมีหลายเชื้อ ชาติ คนมหี ลายแบบ ประเภทของเพลง ก็เชน่ เดียวกนั ในความจรงิ แลว้ ประเภท ของเพลงนน้ั มนี ับไม่ถว้ น เพราะเพลงมี การเติบโตตลอดเวลาและย่ิงในศตวรรษ 21 มีการใช้เทคโนโลยเี พ่อื ค้นพบเพลง แนวใหมๆ่ แต่วันนี้เราจะมาจำ�แนกประ เภทหลกั ๆของเพลง 27

POP MUSIC ___ ค�ำ วา่ POP ยอ่ มาจากค�ำ ว่า POPULAR ที่แปลว่าโด่งดัง เปน็ ท่ีนยิ ม น่ันกเ็ พราะวา่ เพลงปอ๊ ปเป็น เพลงทเี่ ข้าถงึ ได้ง่าย ฟังงา่ ย ติดหู เน้ือหาไมส่ ลับซบั ซอ้ น มักกล่าวถึงความรัก อารมณต์ ่างๆของ ผู้คนทวั่ ไปโดยรวมแลว้ ทกุ ๆเพลงจะมลี กั ษณะทีเ่ ดน่ ชดั ดังน้ันดนตรปี อ๊ ปจงึ อาจจะเปน็ ดนตรี โฟลค์ บลู ส์ คันทร่ี ร็อค เฮฟว่ี แรป แด๊นซ์ ฯลฯ หรือดนตรีอะไรกต็ ามที่ผ้คู นทว่ั โลกช่นื ชอบและ ฮติ เ มีจังหวะทไี่ ม่กระแทกกระท้นั จนเกนิ ไป อยใู่ นระดบั ทเ่ี ข้าถงึ ไดท้ กุ เพศทกุ วยั และเพลงป๊อปก็ ยังเปน็ รากฐานของเพลงหลายแนว เช่น นวิ เวฟ นกั ดนตรีปอ๊ ป เช่น MADONNA , ED SHEERAN , BILLIE ELISH , TAYLOR SWIFT และราชาแห่ งดนตรีปอ๊ ปอยา่ ง MICHEAL JACKSON 28

นิวเวฟเป็นแนวเพลงป็อปร็อกที่เกิดขึ้นใน ชว่ งปลายครสิ ตท์ศวรรษ 1970 และกลาง ครสิ ตท์ ศวรรษ 1980 เป็นแนวป็อบรอ็ คท่ี พัฒนามาจากพั๊งคร์ ็อคในยคุ 70 แต่ท�ำ ดนตรี ได้ป็อบกว่าและซับซ้อนกว่าก่อนที่จะรวมกับ อิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีทดลอง มอ็ ด ดิสโก้ และ ปอ็ ป ต่อมานวิ เวฟไดม้ แี นวเพลงยอ่ ยไดแ้ ก่ นวิ โรแมนติก กอทิกรอ็ ก และแยกเป็นแนวใหญท่ ่ี เรียกวา่ ซนิ ธ์ปอ๊ ป ซินธ์ป็อบเป็นแนวป็อบท่ีเน้นการใช้เสียงสังเคราะห์จากเคร่ืองซินธิ ไซเซอร์ ทำ�ให้เกิดเสยี งแปลกๆมากกวา่ ใช้เครื่องดนตรีธรรมดา เมื่อ นิวเวฟบวกกบั ซนิ ธป์ ็อบ กค็ ือปอ็ บแบบร็อคออ่ นๆซึ่งเตม็ ไปดว้ ย เสยี งสังเคราะห์อิเลค็ ทรอนคิ ส์ พฒั นาการใชเ้ ครอื่ งซินธิไซเซอร์จาก แนวโปรเกรซีฟร็อค มาเปน็ แนวอิเลค็ ทรอนกิ ส์ เป็นต้นแบบพวกเพ ลงแดนซท์ ง้ั หลายมาถงึ ยุคปจั จุบนั ลองฟงั เพลงในตำ�นานของซนิ ธ์ป็ อบ The Model ป1ี 978 เสียงดนตรที ัง้ หมดในเพลงมาจากเคร่อื ง สงั เคราะห์เสียง เสียงกลองก็เป็นเสียงกลองสงั เคราะห์ 29

ROCK MUSIC ___ เป็นดนตรีท่มี ีจังหวะจะโคนเรง่ เร้ากระชบั หนักแน่นโยกยา้ ยสา่ ยสะโพกไปมาตามจังหวะอย่าง เมามนั เสยี งรอ้ งกระแทกกระทน้ั เพื่อปลุกเร้าคนฟงั ใหเ้ กิดอารมณ์สนุก เมามันส์ และปลดปล่อย ดนตรีร็อคได้พัฒนาใหม้ จี งั หวะทีห่ นักแนน่ และมรี ายละเอยี ดในแงข่ องลูกเลน่ กีตาร์มากขึน้ และเรว็ ขน้ึ เลยเรียกว่า ฮารด์ ร็อค(Hard Rock)และดนตรีที่เน้นหนกั ไปทกี่ ต่ี าร์ริธ่มึ และโซโล่เป็นพระเอก ท่เี รียกว่า เฮฟวีเ่ มทลั (Heavy Metal) และเมทัล นักดนตรีร็อคทีเ่ ป็นตำ�นานและเปน็ King of Rock กค็ ิอ Elvis Presley 30

เมทลั หรือบางครง้ั เรียกวา่ nü metal หรอื aggro-metal เปน็ แนวเพลงทีเ่ กิดขน้ึ ในช่วง กลางยคุ ทศวรรษท1่ี 990 เปน็ แนวเพลงท่รี วมอทิ ธพิ ลของกรันจแ์ ละอัลเทอรเ์ นทฟี เมทัล รวมเขา้กบั ดนตรฟี งั กฮ์ ปิ ฮอป และเฮฟวีเ่ มทลั หลายแนว อยา่ งแทรชเมทลั และกรฟู เมทั ลนูเมทัล จะเน้นทีอ่ ารมณจ์ งั หวะผิวสมั ผัสมากกว่าเมโลดขี้ องเพลง เพลงนวิ เมทัลส่วน ใหญ่จะใช้จังหวะลัดโน้ตของท่อนริฟฟ์เล่นกับการกีตาร์และกลองท่ีมีการปรับเสียงให้ต่ำ� ลง ให้ดูหม่นลงและเสยี งทหี่ นาข้ึนมากกวา่ เพลงร็อคทัว่ ไป เฮฟวีเมทลั (Heavy metal) หรอื บางครง้ั เรียกยอ่ วา่ เมทลั เป็นแนวเพลงร็อกประเภท หนึ่งท่ีพัฒนาในช่วงปลายทศวรรษท่ี 60 และต้นทศวรรษที่ 70 ดว้ ยรากฐานของดนตรี บลูส์-ร็อก ฮารด์ ร็อก และ ไซเคเดลกิ รอ็ ก โดยมีหลายวงได้พัฒนาเฮฟวีเมทัล ใหม้ ีความ หนา, หนัก,ดนตรที ี่เนน้ กีตารแ์ ละกลอง และลักษณะเฉพาะตวั ทีม่ กี ารโซโลก่ ตี าร์ท่ีรวดเรว็ เพลงแนวเฮฟวเี มทลั ได้รับความนิยมจากแฟนท่ัวโลก ทแ่ี ฟนเหล่านน้ั จะเรยี กตวั เองวา่ เมทลั เฮดส์ หรอื เฮดแบงเกอร์ และถึงแมว้ า่ วงเมทลั ในชว่ งต้น ๆ อย่าง เลด็ เซ็พเพลนิ , แบล็ค แซบบาธ และ ดพี เพอร์เพิล จะไดร้ บั ความสนใจจากกล่มุ คนฟงั หลกั แตก่ ็มบี า้ งท่ี พวกเขาจะถูกด่าทอ ฮารด์ รอ็ ก (Hard rock) เปน็ แนวเพลงยอ่ ยของดนตรรี อ็ กท่ีมรี ากฐานในช่วงต้นยุค 1960 ของดนตรไี ซเคเดลกิ ร็อกและการาจรอ็ กและมคี วามหนกั กว่า ดนตรรี ็อกทั่วไป เป็นต้น แบบของดนตรีเฮฟวที ใี่ ชก้ ารบิดเสยี งของกีตาร,์ กตี าร์,เบส,คีย์บอร์ด และกลอง 31

JAZZ MUSIC ___ JAZZ เป็นดนตรที มี่ ตี น้ กำ�เนิดมาจากทาสผิวดำ�ทถี่ กู น�ำ มาเปน็ ทาสในอเมรกิ าแถบนวิ ออรล์ ีน รฐั น้ีจงึ กลาเป็นรฐั ของดนตรแี จ๊ซ โดยเร่ิมแรกจากการท่ีทาสผวิ ดำ�แหล่าน้มี ีรากฐานของดนตรโี ซล และบลู ส์อยู่บ้างแล้วลกั ษณะเดนของดนตรแี จ๊ซค่อนข้างจะ ซบั ซอ้ น ไพเราะ ปราณตี บรรจง และคอ่ นข้างจะองิ ไปทางดน่ตรีคลาสสคิ ในยุคกอ่ นๆ แยกยอ่ นเปน็ เพลงคลาสสิกและกอสเปล 32

ดนตรคี ลาสสกิ (Classical music) เป็นรูปแบบหนงึ่ ของดนตรที ีแ่ ยกย่อยมาจากดนตรแี จ๊สซึง่ มกั จะหมายถงึ ดนตรที ่เี ปน็ ศลิ ปะของตะวนั ตก การแสดงดนตรคี ลาสสิกจะใชเ้ คร่ืองดนตรี 4 กลมุ่ กลมุ่ แรก คือ เครอ่ื งสาย (String) แบง่ ออกเปน็ ไวโอลนิ วิโอลา เชลโล และดับเบลิ เบส กลุ่มทส่ี อง คือ เคร่ืองลมไม้ (Woodwind) เชน่ ฟลตู คลาริ เนต็ โอโบ บาสซนู ปิคโคโล กลมุ่ ทีส่ าม คือ เคร่ืองลมทองเหลอื ง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนชฮ์ อร์น กล่มุ ทสี่ ่ี คือ เครอื่ งกระทบ (Percussion) เชน่ กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) ก๋งิ (Triangle) เมื่อเลน่ รวมกนั เปน็ วงเรยี กว่าวงดรุ ยิ างคห์ รือ ออร์เคสตรา (Or- chestra) ซ่ึงมีผ้อู ำ�นวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง กอสเปล (Gospel music) คอื แนวเพลงท่ีเนน้ เสียงร้องเป็นหลัก กอสเปลจะมีลกั ษณะการรอ้ ง ประสานเสยี ง การรอ้ งเฉลมิ ฉลอง และใสค่ วามเชื่อทางศาสนาในเนื้อรอ้ ง โดยกอสเปลไดซ้ ึมเขา้ ไป ดนตรีหลายๆประเภทอยา่ ง ดู-วอ็ ป ,คนั ทร-ี กอสเปล, contemporary gospel, urban con- temporary gospel, Modern Gospel music กอสเปลเชื่อวา่ มที ่มี าจากโบสถ์ชาวแอฟริกนั -อเมรกิ ัน ตอนตน้ ศตวรรษท่ี 20 นักรอ้ งชือ่ ดงั แนวกอ สเปล Sister Rosetta Tharpe มีเพลงขนึ้ ในชารท์ ในปี 1938 ทุกวันน้ีกอสเปลไดแ้ ตกแยกยอ่ ย เป็นหลายๆแนว ปลายยุค 70 Contemporary Christian Music คือเพลงซอฟต์ร็อกประเภทนงึ ได้เขา้ สดู่ นตรีกระแสหลัก จนมาถงึ ยคุ 80 และ 90 เพลง Contemporary Christian Music กย็ งั อยไู่ ด้รับความนยิ มเพยี งแต่มีเนอ้ื หาเกี่ยวกบั ศาสนา 33

BLUES MUSIC ___ BLUES เปน็ รปู แบบของดนตรีประเภทหนงึ่ เกิดจากสภาพชีวิตและความเป็นอยูข่ องคนด�ำ ที่ หล่งั ไหลเข้าสสู่ หรฐั เพอื่ การเป็นทาส สภาพชีวิตทค่ี บั แคน้ ของพวกเขาไดถ้ กู นำ�เสนอผา่ นบทเพลง ด้วยการร้อง หรือสวดออ้ นวอนในทางศาสนาท่ี เปน็ ท่วงท�ำ นองทีน่ า่ เศร้า อันเปน็ เอกลกั ษณข์ อง การรอ้ งและท่วงท�ำ นองทีเ่ กิดจากเคร่อื งดนตรที ี่ไม่มีคุณภาพจากความแรน้ แคน้ และความรู้ใน ด้านทฤษฎดี นตรที ผ่ี ิดเพ้ียนไปจากเดมิ ท�ำ ใหม้ เี สียงหรอื คอรด์ ความเพ้ียนซง่ึ ต่อมากไ็ ด้สร้างความ แปลกหู จนเปน็ ลกั ษณะและเอกลกั ษณเ์ ฉพาะ ลักษณะเฉพาะของเพลงบลสู ถ์ กู วางดว้ ยดว้ ยรากฐานจากความเจ็บปวดแร้นแค้น ทกุ ข์ทรมาน ของชวี ิต เนือ้ เพลง และสำ�เนยี งของบลูส์จงึ แฝงความเจบ็ ปวดคล้ายการสะอึกสะอ้ืนเวลาร้อง ให้ จงึ ใช้แสดงอารมณเ์ ศรา้ ได้ดี นอกจากนั้น เร่ืองของจงั หวะ (rhythm) ของบลสู ท์ ่โี ดดเด่นเปน็ เอกลักษณ์ และเปน็ แบบแผนนำ�ไปสูด่ นตรีรปู แบบอื่นมากมาย ไดแ้ ก่ ดวู อปและ Soul & Funk 34

ดูวอป (Doo-wop) เป็นแนวเพลงสไตล์ท่ีเนน้ เสยี งรอ้ งเป็นหลัก รปู แบบหน่ึงเพลงรทิ มึ แอนดบ์ ลสู ์ ทพ่ี ัฒนาข้นึ มาโดยชาวแอฟริกัน-อเมรกิ ันในช่วงทศวรรษ 1940 และประสบความส�ำ เรจ็ ได้รับ ความนิยมในทศวรรษ 1950 และ 1960[1] แนวเพลงการรอ้ งของชาวแอฟริกนั -อเมริกนั ทเ่ี รียก ว่าดู-วอปนี้ เกิดข้นึ บนถนนทางตอนเหนือและเมอื งอุตสาหกรรมฝง่ั กลางตะวนั ตก อยา่ งนิวยอรก์ ฟิลาเดลเฟยี ชคิ าโก บัลตมิ อรแ์ ละพติ สเ์ บริ ์จ กับการรอ้ งน่มุ นวล สอดคลอ้ งกลมกลนื กันของเสียง ร้อง ดูวอปเปน็ หนึง่ ในเพลงกระแสหลัก เปน็ เพลงปอ็ ปในสไตลอ์ าร์แอนด์บขี องยุคทศวรรษ 1950 และ 1960 SOUL & FUNK ดนตรโี ซล เป็นรากฐานของดนตรีหลายๆแนวในปจั จุบัน เพราะโซลเป็นดนตรีท่ี มคี วามหมายของคำ�ว่า “วญิ ญาณ” เปน็ ดนตรีที่เนน้ ไปทางเสียงร้อง และเอือ้ นอย่างมเี อกลักษณ์ เฉพาะตัวของคนผวิ ด�ำ และเนอื้ หากจ็ ะตแี ผถ่ งึ ความลำ�บากในการใชช้ วี ติ ทีต่ กเป็นทาส ต่อมาก็เรม่ิ มีการพัฒนาโดยการนำ�เอาดนตรีโซลไปผสมผสานกบั เคร่อื ง่ ดนตรชี ิน้ อื่นๆโดยเฉพาะเสียงเบส ซง่ึ ตอ่ มาเรียกว่าดนตรี ฟงั ก์ (Funk) เดน่ ชดั และล่นื ไหล ฟังก์ (Funk) เปน็ แนวเพลงชนดิ หน่งึ เกดิ ขนึ้ ในชว่ งกลางถึงปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อนกั ดนตรี ชาวแอฟรกิ นั -อเมรกิ ัน ไดร้ วมเพลงแนวโซล เข้ากับโซลแจ๊ส และอารแ์ อนด์บี ใหม้ ีจงั หวะ สามารถ เตน้ รำ�ได้ เกดิ แนวเพลงชนิดใหม่ ฟังกไ์ ดล้ ดความเดน่ ของเมโลด้แี ละความกลมกลืนลง และนำ� จังหวะสนกุ สนานเพม่ิ ข้ึนดว้ ยเบสอิเล็กทรอนกิ และกลองใหช้ ัดข้ึน ไมเ่ หมอื นกบั เพลงอาร์แอนด์บี หรอื โซล ท่มี กี ารเปลยี่ นคอรด์ หลายคร้ัง เพลงฟังก์มักจะมคี อรด์ เดยี ว ฟังกป์ ระกอบด้วยจงั หวะของเคร่อื งดนตรีอย่าง กีตารไ์ ฟฟ้า เบสไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน และ กลอง เล่นในจังหวะท่ีเกาะเกย่ี วกัน วงฟงั กม์ ักจะมีเครอื่ งเปา่ อยดู่ ว้ ย อยา่ ง แซกโซโฟน ทรมั เปต็ หรอื ในบางครั้งกม็ ี ทรอมโบน ผู้มอี ิทธพิ ลตอ่ ดนตรฟี งั ก์ เช่น เจมส์ บราวน์ ,สลาย แอนด์ เดอะ แฟมลิ ี สโตน, จอรจ์ คลินตนั แอนด์ พาร์ไลเมน-ฟงั กค์ าเดลกิ ,เคอรต์ สิ เมฟลิ ด,์ เดอะ เมเตอร์ส,เดอะ ฟังก์ บราเตอร์ส, บูทซี คอ ลลนิ ส์ และ พรินซ์ วงดนตรที ี่เปน็ ท่ีร้จู ักในทศวรรษที่ 1970 อย่าง เอิร์ธ, วนิ ด์แอนด์ไฟร์ ,ทาวเวอร์ ออฟ พาวเวอร์, คอมโมดอรส์ และคลู แอนดเ์ ดอะแก๊ง ท่ีโด่งดงั หลายๆ วง ก็เลน่ เพลงในแนวดิสโก้ และโซลดว้ ย 35

ELECTRONIC MUSIC ___ ดนตรอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นดนตรีทีใ่ ชเ้ คร่อื งดนตรีอิเลก็ ทรอนกิ ส์และเทคโนโลยีดนตรอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ในการผลติ ขึ้นมา ความโดดเดน่ ของดนตรสี ามารถเกดิ ขึ้นโดยใชเ้ ครอื่ งดนตรีไฟฟ้าอิเลก็ ทรอนิกส์ และเทคโนโลยเี ครือ่ ง ตวั อยา่ งเช่น เสยี งท่ีเกดิ จาก Telharmonium, Hammond organ และ กีตารไ์ ฟฟา้ สว่ นดนตริอเี ลก็ ทรอนิกส์แท้ ๆ สามารถใชเ้ ครอื่ ง Theremin, เครอื่ งสงั เคราะห์เสียง และคอมพิวเตอร์ เป็นดนตรที เ่ี มอื งนอกตอนน้นี ยิ มมาก เรยี กได้วา่ เป็น เมนสตรมี (ดนตรีกระแส หลัก) ปจั จบุ นั ดนตรอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใชห้ ลากหลายแนวเพลง ตั้งแตด่ นตรีอารต์ ทดลอง หรือดนตรี ปอ็ ป อยา่ งเช่น เพลงแดนซ์ หรือท่ีเรยี กวา่ EDM (Electronic Dance Music)ซึ่งรวมไปถึงดนตรี อีกหลายแนว เช่น Trance & House , Dubstep , Moombahton และยังสามารถแยกยอ่ ยเป็น แนวนิวเอจและแนวดิสโกไดอ้ กี ดว้ ย 36

Dubstep มาจากการผสมแนวดนตรี Dub Trance & House เปน็ ดนตรอี ิเลก็ ทรอนิกส์ และ 2-step / uk garage ของอังกฤษ ซึ่ง แดนซ์ หมายถงึ ดนตรเี ต้นรำ�ประเภท มีการใช้ Dubstep ยคุ แรกคือช่วง 2005-2006 กบั ยคุ เครื่องดนตรี “อเิ ลก็ ทรอนกิ ส”์ อยา่ ง เครือ่ ง หลงั มีความแตกตา่ งกนั อย่างชัดเจน ซึง่ ยคุ แรก สงั เคราะห์เสียงดรมั แมชชนี และ ยงั มีความเป็นเร้กเกด้ บั และกลอง Bassline sequencer เพลงแดนซ์สว่ นใหญ่ถูกแต่งขึ้นมา เปน็ เอกลักษณ์ ยคุ หลังมกี ารเพิม่ ความเปน็ โดยคอมพิวเตอร์ และเคร่อื งสังเคราะห์เสียง ไม่ House และนิยมใช้ทอ่ นดรอปของ Beat ทม่ี ี ค่อยนิยมใชเ้ คร่ืองดนตรีจริง โดยจะอยใู่ นรปู ความกระแทกกระทน้ั เมามันส์มากขน้ึ แบบดจิ ิทัล หรือเสยี งอิเลก็ ทรอนิกส์ Moombahton เปน็ ลูกผสมระหวา่ ง House และ Reggaeton F\\โดยมีจุดเร่มิ ตน้ จากการที่ Dave Nada มิกซเ์ พลงของ Afrojack เข้ากับ Reggaeton ในระหวา่ งเซททำ�ให้เกดิ เพลงแนวนีโ้ ดย ไม่ได้ต้งั ใจ เพลงแนวนม้ี คี วามเรว็ อยทู่ ี่ประมาณ 110 BPM มี Baseline และจังหวะกลองที่เปน็ แนวเร็กเก้อยู่ รวมถึงจังหวะ House และ Electro ทำ�ให้ Moombahton แทรกซมึ อยูใ่ นกระแส หลกั ของดนตรแี นว Electronic ดนตรแี นวนี้ในจำ�นวนประเภทของดนตรี Electronic ทหี่ ลาก หลายถือว่าเปน็ ดนตรีน้องใหมท่ เ่ี พงิ่ เกิดขนึ้ มาเปน็ ล�ำ ดบั ท้ายๆ ดนตรนี ิวเอจ (New Age) หากแปลตามตัวก็หมายถงึ ดนตรยี ุคใหม่ เป็นแนวดนตรีชนดิ หนึ่งมี จดุ เร่ิมตน้ จากงานความหลากหลายของนกั ดนตรียุโรปและอเมริกนั ในทศวรรษที่ 60 ท่ีท�ำ เพลงอี เลกโทรนิกและอคูสติก โดยทัว่ ไปมลี กั ษณะการใช้เคร่ืองดนตรีพ้ืนฐานและความซำ�้ ของเมโลด้ใี น ธรรมชาติ การบันทึกเสียงจากธรรมชาตกิ ็มีการนำ�มาใช้ในเพลง ดนตรนี วิ เอจมีดนตรที ใี่ หค้ วาม ผ่อนคลาย แรงบันดาลใจ และมักใชก้ ับกจิ กรรมตา่ งๆ อยา่ งเชน่ โยคะ การนวด การท�ำ สมาธิ การ อ่านหนงั สือ และการบรหิ ารความเครียด[1] ท่ีจะสร้างบรรยากาศไม่ว่าจะที่บา้ นหรือสถานท่ตี า่ งๆ ลักษณะของดนตรีนวิ เอจมกั ผสมระหว่างเสยี งเอฟเฟกหรือเสยี งจากธรรมชาติ รวมกบั เพลงอีเลก โทรนิกและเครอ่ื งดนตรี อาศยั โครงของดนตรหี นุนไว้ อย่างเชน่ ฟลตุ เปียโน อคูสติกกตี าร์ และ อาจรวมถงึ เครอ่ื งดนตรตี ะวนั ออก ซง่ึ ในบางเพลงอาจมีการรอ้ งลำ�นำ�ในภาษาสันสกฤต ทเิ บต หรือ การสวดของคนพื้นถิ่นในทวีปอเมริกาเหนอื ดิสโก (Disco) เป็นแนวเพลงประเภทหนึง่ สาขาย่อยของดนตรแี ดนซซ์ ่ึงเกดิ ข้ึนในสหรัฐอเมริกา ทผี่ สมผสานแนวฟังกก์ ับโซลเข้าดว้ ยกัน ดิสโกได้รบั ความนิยมอยา่ งมากในช่วยยุคครสิ ตท์ ศวรรษ ท่ี 1970 ตอนกลางถงึ ปลาย ศลิ ปินแนวดสิ โกทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มในยคุ นน้ั เช่น ดอนนา ซัมเมอร,์ เดอะแจก็ สันไฟฟ,์ แบรร์ ี ไวต์, บีจสี ์, บอนนี เอม็ . และแอบ็ บ้า เป็นตน้ ดสิ โกไ้ ด้ลดความนิยมไป ในชว่ งครสิ ตท์ ศวรรษท่ี 1980 37

RAP MUSIC ___ เปน็ ดนตรจี ากคนผวิ ด�ำ เป็นดนตรที ีม่ าจากการพร่�ำ ป่นการเปลง่ เสียงทมี่ าจากภายในของตัวคน โดยไมจ่ �ำ เป็นต้องมเี สยี งดนตรี จงั หวะก้สามารถใชเ้ สียงในลำ�คอคอยให้จังหวะได้เนือ้ หากย้ ังวน เวียนอยูก่ ับการถูกเอารดั เอาเปรยี บเหมอื นเดิม เป็นดนตรที พี่ ดู ถึงความจรงิ ไดช้ ัดเจนทสี่ ดุ เพราะ เนอื้ หาค่อนขา้ งเปดิ เผย โผงผาง หยาบคาย ต่อมาได้พฒั นามาเปน็ ดนตรี ฮปิ -ฮอป (Hip-Hop) ฮิปฮอป (Hip Hop) เปน็ ทีน่ ยิ มส�ำ หรับวัยรนุ่ อเมรกิ าและทวั่ โลก จนถูกยกระดับให้เปน็ วฒั นธรรม อยา่ งหน่ึง ซง่ึ มีรากฐานการพฒั นามาจากชาวแอฟรกิ ัน-อเมรกิ นั และ ชาวละตนิ โดยในชว่ งยคุ 70’ หลงั จากท่ีดนตรีดสิ โก้ที่พฒั นามาจาก แนวเพลงฟังค์ ในแบบของโมทาวน์ ไดร้ บั ความนิยม อย่างแพร่หลาย ท�ำ ใหม้ ีการเปดิ แผน่ เพลงในคลบั ตา่ ง ๆ และด้วยการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี เกิดการสรา้ ง loop, beat ใหมๆ่ ของ Rap ข้นึ มา ดนตรฮี ปิ ฮอป จงึ ถอื กำ�เนดิ ขึ้น 38

WORLD MUSIC ___ เป็นดนตรที ี่น�ำ เอาเอกลกั ษณ์ ของดนตรีพน้ื เมืองของชาติต่างๆ มาเรียบเรียงใหม่ บนดนตรี สงั เคราะห์ ซึ่งมหี ลากหลายสไตลท์ งั้ เต้นรำ� และฟังแบบสบายๆ เน้อื หาของเพลงจะฟังไม่คอ่ ยรู้ เรอื่ ง เพราะจะเนน้ ความเป็นพื้นเมืองของดนตรีนนั้ ๆ ในทางตะวันตก ค�ำ วา่ “เวิลด์มวิ สิค” จะ หมายถึงดนตรที ไ่ี มใ่ ช่ดนตรีจากทวปี อเมริกาเหนอื และดนตรอี ังกฤษ หรือเป็นดนตรโี ฟลก์ ทอ้ ง ถ่นิ หรือดนตรที ีร่ วมเพลงทอ้ งถ่นิ หลายอย่าง ตัวอย่างของแนวเพลงเช่น ดนตรเี รก้ เก้ในประเทศ จาเมกาหรอื ละตนิ เป็นตน้ ท่ีเติบโตจนแยกเป็นแนวเพลงเฉพาะ ดนตรีจีนหรือดนตรแี อฟริกา ก็ ถูกจำ�แนกว่าเปน็ เวลิ ดม์ วิ สิกเช่นกัน 39

REGGAE & LATIN ___ เปน็ ดนตรพี ้ืนเมืองของจาไมก้าท่ีมเี นอื้ หาพดู ถึงการเมือง และลทั ธริ สั ตาฟาเรยี น โดยมบี ๊อบ มา เลย์เปน็ สญั ญลักษณ์ ซง่ึ ดนตรเี นน้ ท่กี ีตารเ์ ปน็ จงั หวะเดน่ ชดั และเสยี งทีเ่ ป็นเอกลกั ษณ์ จงั หวะขอ งดนตรีเร็กเก้จะให้ความสนุกสนานด้วยตัวของมนั เองอย่างชดั เจน เปน็ ดนตรปี ระจำ�ภาคพื้นทวีป อเมริกาใต้ ท่ีเน้นจงั หวะทม่ี เี ครือ่ งเคาะหลากหลาย เปน็ แกนหลกั ของดนตรี ท�ำ นอง และจงั หวะ จะผสมผสานระหวา่ งการเตน้ ระบำ�ของคนพ้นื เมอื ง 40

COUNTRY MUSIC ___ เป็นแนวเพลงทไ่ี ด้รับความนยิ มในหมู่ชาวบ้าน เกิดในแถบสหรัฐอเมรกิ าทางตอนใตแ้ ละทางภูเขา แอพพาลาเชียน มตี ้นก�ำ เนิดจากดนตรโี ฟล์ก, ดนตรีเคลติก, ดนตรกี อสเปล และดนตรีโอลด-์ ไทม์ และพฒั นาอยา่ งรวดเรว็ ในช่วงทศวรรษ 1920 คำ�วา่ “คันทร”ี เรม่ิ ใชก้ นั ในยุคทศวรรษ 1940 เมือ่ ก่อนหนา้ ท่ีดนตรีฮิลบิลลีเส่อื มลงไป จนค�ำ นมี้ กี ารใช้อยา่ งกว้างขวางในยุค 1970 ขณะที่คำ� ว่า “คนั ทร”ี และ “เวสต์เทริ น์ ” ได้มกี ารใช้น้อยลงในช่วงนน้ั ยกเวน้ ในสหราชอาณาจักรและ ไอรแ์ ลนด์ ในขณะท่ีในสหรฐั อเมรกิ ายังคงใชค้ ำ�นก้ี ันอยา่ งปกติอยู่ 41

ERA OF MUSIC ยุคของดนตรี 42

CHARPTER 3 ERA OF MUSIC ยคุ ของดนตรี ดว้ ยความท่ดี นตรนี ้ัน ถกู ค้นพบวา่ มีอยใู่ นทกุ วัฒนธรรม ตง้ั แต่ อดีตจนถงึ ปัจจบุ นั แตกต่างกนั ไปตามเวลาและสถานท่ี ทกุ คน บนโลกจนไปถงึ ชนเผ่าท่ีโดดเดย่ี วทส่ี ดุ กย็ ังรู้จกั การใชบ้ ทเพลง มาประกอบการใช้ชีวิต แตแรกเ่ ร่ิมเดิมทคี �ำ วา่ ดนตรีเกิดขนึ้ มา จากท่ีใด เริ่มตน้ ทใ่ี ครยงั ไม่มใี ครทราบ เพราะแม้แตเ่ สียงรอ้ ง ท่ีเบาที่สุดหรือการเคาะที่ไม่เป็นจังหวะท่ีสุดก็ยังนับว่าเป็น ดนตรีได้เช่นกัน ดังนน้ั ถ้าจะใหพ้ ูดว่าดนตรนี ้ันเรม่ิ ตน้ จากจุด ใดและจะจบที่จดุ ใด เราคงไมส่ ามารถหาคำ�อบไดเ้ ช่นกันวา่ ดนตรีจะไปจบท่ีตรงไหนและเชื่อเหลือเกินว่าดนตรีจะคงอยู่ กบั มนุษยชาติไปตราบจนนานเทา่ นาน เพราะตั้งแต่ยคุ โบราณ ก็มีค�ำ วา่ ดนตรีมาแทรกซมึ เปน็ ส่วนหน่ึงในชวี ติ ของเราแล้ว ดังนั้นในบทนี้ เราจะสรุปประวัติดนตรใี นแต่ละยคุ ตั้งแตจ่ ุดที่ เราเชอื่ ว่ามนั ไดเ้ ร่ิมขึน้ จนถึงปัจจบุ นั 43

PREHISTORIC ยุคกอ่ นประวตั ิศาสตร์ 44

Preliterate Age หรือท่เี รยี กวา่ ยคุ กอ่ นรู้หนังสือ เปน็ ยุคทไ่ี ม่มีประวตั กิ ารบนั ทึกเป็นลายลกั ษณ์ อกั ษร มีเพียงการบนั ทึกสงิ่ ต่างๆผา่ นภาพวาด มีทฤษฏีวา่ จะเสียงเพลงเกิดข้ึนจากสิ่งของทท่ี �ำ ให้ เกิดเสียงและจังหวะขึน้ ได้ เชน่ ไม้ หนิ กระดกู โดยสรา้ งจงั หวะขึ้นด้วยการใช้รูปแบบการทำ�ซำ้� มนุษย์อาจได้แนวคิดการสร้างเสียงขึ้นมาจากการเลียนแบบธรรมชาติและใช้ประโยชน์จากเสียง เพลงในการล่อสตั วใ์ นการลา่ การประกอบพธิ กี รรม หรอื ใชเ้ พ่ือความบนั เทงิ และมีทฤษฎีว่าเคร่ืองดนตรีอย่างแรกท่ีน่าจะเกิดข้ึนบนโลกคือเสียงของมนุษย์เองซ่ึงสามารถสร้าง เสยี งได้ทั้งเสยี งร้อง เสียงปรบมอื เสียงทุบ เสยี งกระทบร่างกาย เสยี งโห่ เสยี งฮัม และเสียงผิวปาก เปน็ ตน้ แม้ไมม่ หี ลักฐานเป็นรปู ภาพว่าในชว่ งยุคน้ีมนษุ ยม์ ีการใชด้ นตรี แต่มกี ารคน้ พบว่าในยุคนี้มกี าร ผลติ เครือ่ งดนตรีขน้ึ มาจากส่ิงต่างๆเชน่ กระดูก หนิ และไม้ กระดกู ท่ถี กู เจาะใหเ้ ปน็ เคร่อื งส่งเสยี งหรือเรียกว่าเครื่องดนตรีชิน้ แรกๆของโลกทม่ี นษุ ยส์ รา้ งข้นึ มลี ักษณะเป็นเครอื่ งเป่าทีท่ ำ�ให้เกดิ เสียงท้มุ และกอ้ งกงั วานมากกว่าเสยี งแหลม สนั นิษฐานว่าสา เหตทที่ �ำ เครอ่ื งดนตรีเป็นเสียงท้มุ เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการลา่ สตั วห์ รือเปน็ สัญญาณเรียกหรือชับไล่ 45

Bone Flute ในปี 2008 นักโบราณคดคี น้ พบขล่ยุ กระดูกในถำ�้ Hohle Fels ในเยอรมนั อายขุ องขลยุ่ ประมาณ 35000 ปี ขลนุ่ กระดกู มีทัง้ หมด 5 รู รวมรูเปา่ ตรงปากมลี กั ษณะเปน็ รูป ตัววี ท�ำ มาจากกระดกู ปกี ของอแี รง้ มีการตกแตง่ เปน็ เส้น รอบอยา่ งงา่ ยๆ สนั นิษฐานวา่ พัฒนามาจากกระดกู ท่ีโดน เจาะรเู พ่ือทำ�เป็นเคร่อื งเปา่ เพราะ Bone Flute มีการ เจาะรูมากกวา่ เพอ่ื สรา้ งเสยี งทหี่ ลากหลาย 46

Divje Babe Flute เครื่องดนตรีอกี ชนดิ ท่มี กี ารคน้ มกี ารคน้ พบในปี 1995 มอี ายุถงึ 43500 ปี เปน็ เครอื่ งดนตรที เ่ี ก่าแก่ท่ีสดุ ทีถ่ ูก คน้ พบ สร้างโดยนแี อนเดอรท์ าล มีการอา้ งวา่ ท�ำ มาจาก กระดูกโคนขาของมนษุ ย์ และบางคนกแ็ ยง้ ว่าอาจเปน็ เพียงกระดูกโคนขาของมนุษย์ที่ถูกสัตว์กัดแทะจนเป็นรู เท่านน้ั อยา่ งไรก็ตามด้วยความเกา่ แก่ของ Divje Babe Flute ท่มี ีอายุหลายหมนื่ ปกี ็ทำ�ให้ยากทจี่ ะคาดเดาทีม่ า 47

ANCIENT ยคุ โบราณ 48

49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook