Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Titanic

Titanic

Published by Kachornpon, 2019-05-23 01:16:05

Description: Titanic
13600122_เบญจมาศ_ศรีจันทร์

Search

Read the Text Version

TITANIC ไททานกิ ตำ�นานเรือ(ไมม่ วี นั )จม



บทนำ� เปดิ ตำ�นานเรอื่ งจรงิ ของ เรอื ทเ่ี คยย่ิงใหญท่ ่ีสดุ ในประวตั ิศาสตร์ ของ เรือสุดหรู ไททานกิ เรือส�ำ ราญขนาดมหึมาท่ีข้ึนชอื่ ว่า มีขนาดใหญ่ที่สุด มนั่ คง แขง็ แรงทีส่ ุด หรูหราทีส่ ุด ในยคุ ตน้ ศตวรรษที่ 20 ทุกคนเชอื่ ว่า ไททานกิ เปน็ “เรอื ท่ีไมม่ วี นั จม” แต่เหตกุ ารณก์ ลับกลายเป็น ตรงกันข้าม... และในทสี่ ดุ กไ็ ด้อัปปางลงสูใ้ ตท้ อ้ งทะเลลกึ ท่ามกลางมหาสมุทรแอตแลนตกิ และไดค้ ร่าชีวติ คนไปนับพันคน



สารบัญ ร้จู กั กบั “ไททานิก 1-2 วนั ท่ี 10 เมษายน 3-4 วนั ที่ 11 เมษายน วนั ท่ี 12-13 เมษายน 6 วนั ที่ 14 เมษายน 7 วันที่ 15 เมษายน 9-14 ชีวตที่ยังเหลอื รอด 15-26 ภาพยนตท์ ่ีโดง่ ดัง 27-30 31-34

TITANIC ร้จู กั กบั ‘เรอื ไททานิก’ ทตี่ ่อเสรจ็ แลว้ ได้กลายเปน็ พาหนะท่ี “ไททานกิ ” ใหญท่ ่ีสดุ ในโลกในยคุ นน้ั มีความยาว 268 เมตร กวา้ ง 28 เมตร และความสูงวัดจากท้องเรือถึงสะพานเดนิ เรือเดนิ สมุทรสดุ หรู เรอื (สะพานเดนิ เรอื หมายถงึ หอ้ งควบคมุ เรอื ท่อี ยบู่ น ดาดฟ้า) 30 เมตร พิธปี ล่อยเรือถกู จัดข้ึนอย่างย่งิ ใหญ่ หน้า 1. และมผี ู้เขา้ ชมถึง 100,000 คน ในวนั ท่ี 11 ตุลาคม ค.ศ. 1911 เรอื ไททานกิ ถูกปล่อยลงน�้ำ เปน็ ครงั้ แรก หลังจากใชเ้ วลาตกแตง่ หลายเดอื น ในที่สุด ไททานิกกก็ ลาย เปน็ เรือเดินสมุทรสุดหรูหรา ไททานิกมรี ะวาง 46,300 ตัน ใหญ่กวา่ เรือโอลมิ ปกิ 1,000 ตนั บรรทุกผ้โู ดยสารและลูกเรอื ได้ เตม็ ท่ีถงึ 3,547 คน มีเครื่องยนตท์ ่ีมีพลังแรงถึง 46,000 แรงม้า (เปรยี บเทียบกับรถยนตน์ ่ังขนาดกระบอกสบู 2,000 ซซี .ี มี กำ�ลังราว 130-140 แรงม้า) ทุม่ ค่ากอ่ สร้างไปถงึ 7,500,000 ดอลลาร์และคา่ ตกแตง่ อกี 2,500,000 ดอลลาร์ รวม เปน็ 10 ลา้ นดอลลาร์ ซ่งึ ถา้ คิดเทียบเปน็ คา่ ของเงนิ ใน

กอ่ นหนา้ ทีจ่ ะถงึ ยคุ การเดินทางดว้ ย หน้า 2. เครอ่ื งบนิ เหมือนในปัจจบุ ัน การเดนิ ทาง จากทวีปยโุ รปไปยงั สหรัฐอเมรกิ ามที าง ก่อนจะมาเป็น เดียวเท่านน้ั คอื การเดินทางดว้ ยเรอื ขา้ ม เรอื ไททนิก มหาสมุทรแอตแลนตกิ ดังนั้นกิจการเดินเรอื จึงเปน็ กิจการที่มีการแข่งขนั กันคอ่ นข้างสงู ใน ช่วงนั้นมาก ไททานิกมหี ้องชดุ (suite) ระดบั วีไอพซี ง่ึ มดี าดฟา้ ชมทิวทศั น์สว่ นตวั ถึง 2 ห้อง ค่าโดยสารชนั้ วีไอพนี ้ีมีราคาสูงถึง 4,350 ดอลลาร์ (เที่ยวเดยี ว ท่ีจรงิ ใน สมยั นน้ั คดิ เป็นเงนิ ปอนด์ แต่แปลงค่าเปน็ เงินดอลลารอ์ เมรกิ นั เพราะให้สะดวก ในการนึกเปรยี บเทยี บ) คดิ เปน็ มลู ค่าเงนิ ในปจั จบุ นั ก็ตกราว 50,000 ดอลลาร์ หรือราว 250,000 บาท มหี ้องชน้ั หนงึ่ 67 หอ้ ง ราคา 150 ดอลลาร์ (ปัจจบุ ัน ราว 1,725 ดอลลาร์) ภายในห้องท้ัง 67 ห้องน้ีมีการตกแต่งในสไตลต์ า่ ง ๆ กนั อาทิ แบบหลยุ ส์ แบบอติ าเลยี นเรอเนซองส์ แบบดัตช์ ฯลฯ แถมบางหอ้ งยังมี เตาผงิ อกี ดว้ ย

April 10, 1912 วันท่ี 10 เมษายน ค.ศ. 1912 สายการเดินเรอื ไวตส์ ตาร์จัดการเดนิ ทางรอบปฐมฤกษข์ องเรอื ไททานิกในวนั ท่ี 10 เมษายน ค.ศ. 1912 โดยเดินทางจากท่าเรือเซาแทมปต์ นั ของอังกฤษไปยงั เมอื งนวิ ยอร์ก สหรัฐอเมรกิ า ในการเดนิ ทางรอบปฐมฤกษน์ เ้ี ป็นแผนการประชาสัมพันธเ์ รอื ไททานกิ ดว้ ย ดงั นัน้ จงึ มีบุคคลสำ�คญั และบุคคลในวงสังคมชั้นสงู ทง้ั ขององั กฤษ ยโุ รป และสหรฐั อเมริกา ร่วมเดินทางไปดว้ ยเป็นจำ�นวนมาก รวมท้งั เจ. พี มอร์แกน เจา้ ของไวตส์ ตาร์ เจ. บรูซ อสิ เมย์ ผูจ้ ัดการไวตส์ ตาร์ รวมท้งั ยังมีทอมสั แอนดรูวส์ วิศวกรอาวุโสของอูต่ อ่ เรือฮาร์แลนด์ และวูลฟฟผ์ ู้ออกแบบและควบคมุ การต่อเรือไททานกิ หน้า 3.

หน้า 4 แตต่ อ่ มามอรแ์ กนยกเลกิ การเดินทางกะทนั หนั เนื่องจากลม้ ป่วย กปั ตนั เรือไททานกิ ก็ไม่ใชใ่ ครอ่นื กัปตันเอ็ดเวิรด์ สมทิ น่นั เอง Edward John Smith กัปตันเอ็ดเวิรด์ สมิท กปั ตนั สมิธไดร้ ับหนา้ ท่บี ัญชาการเรอื ไททา นกิ เมื่อ ค.ศ. 1912 ซ่งึ ในขณะนัน้ เรอื ไท ทานกิ ถอื ไดว้ ่าเปน็ เรือทใ่ี หญท่ ี่สุดในโลก ซึ่ง การเดินทางไปกบั เรือไททานกิ ของสมธิ ครง้ั นี้ ก็ถือวา่ เปน็ รอบสดุ ทา้ ยก่อนเกษียณของ ตวั เขาเองอยแู่ ล้ว ออกเดนิ ทาง ( เทยี่ วสุดทา้ ย) ในเช้าวนั เดนิ ทาง ตามกฎการเดนิ เรือ เจา้ หน้าทป่ี ระจ�ำ เรือจะตอ้ งมีการฝึกซอ้ มการใช้เรือ ชูชีพในกรณเี กดิ เหตุฉกุ เฉนิ การฝึกซ้อมในเช้านน้ั ทำ�ข้ึนพอเป็นพิธเี ทา่ น้ัน ดงั นัน้ จึงมลี ูกเรอื มาฝึกซอ้ มเพยี งไม่ก่ีนาย แตเ่ ดมิ ไททานิกถกู ออกแบบมาใหม้ ีเรือชูชพี 32 ล�ำ แต่ต่อมาถูก ตัดออกเหลือเพียง 20 ลำ�ซง่ึ จผุ ู้โดยสารรวมกันได้เพียง 1,178 คนเท่านั้น เนือ่ งจากเห็นว่า เกะกะ อีกทัง้ เห็นวา่ จำ�นวนเพียงเทา่ นก้ี เ็ หลือเฟอื แล้วตามกฎหมายการเดินเรอื ในยคุ นั้น ท่ีกำ�หนดจ�ำ นวนเรือชชู พี ตามน้ำ�หนักเรอื เป็นเกณฑ์โดยไมค่ �ำ นึงถงึ จ�ำ นวนผโู้ ดยสาร ซง่ึ ใน กรณขี องไททานิก เรอื ชูชพี เพียงแค่ 962 ทกี่ ็เปน็ การเพียงพอแล้วตามกฎหมาย เมื่อออกจากท่าเรือเซาแทมปต์ ัน ไททานิกมุ่งหนา้ ไปยังเมืองแชรบ์ รู ก์ ของฝร่ังเศสเพือ่ แวะรับผู้โดยสาร



April 11, 1912 วันท่ี 11 เมษายน ค.ศ. 1912 11 เมษายน ไททานิกแวะทที่ ่าเรือเมืองควีนสท์ าวน์ในไอร์แลนด์ และในเวลา 13.30 น. ไททานกิ กถ็ อนสมอและมุ่งหน้าไปยังสหรฐั อเมรกิ า แตใ่ ครจะทราบเล่าวา่ การ ถอนสมอครงั้ นัน้ เป็นการถอนสมอครง้ั สดุ ท้ายและเรือไททานกิ จะจากไปอยา่ งไมม่ ีวันกลับ หนา้ .6

April 12-13, 1912 วันท่ี 12-13 เมษายน ค.ศ. 1912 12 - 13 เมษายน ทะเลสงบและอากาศแจม่ ใส การเดนิ ทางเปน็ ไปอย่างราบรน่ื ผ้โู ดยสาร บนเรือตา่ งร่ืนเริงกับการเดินทางอันหรหู ราในครัง้ น้ี หน้า 7



April 14, 1912 วนั ที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1912 14 เมษายน ตามก�ำ หนดการเดิม เช้าวันอาทิตย์ที่ 14 น้ีจะต้องมกี ารซอ้ มการใช้เรือ ชูชีพโดยมีผโู้ ดยสารรว่ มฝกึ ซอ้ มดว้ ย แตก่ ารฝกึ ซอ้ มไดถ้ ูกยกเลกิ ไป เช้าวนั ที่ 14 เมษายน กปั ตันสมทิ สั่งเดินเครอ่ื งเรือไททานิกเตม็ ที่ ส�ำ หรบั สาเหตขุ อง การเรง่ เครอื่ งครง้ั นีม้ ีผูอ้ ยู่ในเหตกุ ารณเ์ ล่าว่าเปน็ ไปตามความต้องการของอิสเมย์ ผ้จู ัดการ ไวตส์ ตาร์ ทต่ี ้องการท�ำ เวลาเพื่อให้ไปถงึ นวิ ยอร์กกอ่ นกำ�หนดและเพื่อเป็นการลบสถิติ หน้า .9

เรอื โอลมิ ปกิ ซึ่งเป็นเรอื พใ่ี นชดุ 3 ใบเถานี้เคยท�ำ คือ เม่อื เวลา 21.45 น. ไททานิกได้รบั วิทยุ ไว้ ไททานิกจงึ แลน่ ดว้ ยความเร็วถงึ 22.5 นอต โทรเลขเตือนว่ามภี เู ขานำ�้ แข็งและน�้ำ แข็ง (1 นอตคอื 1 ไมล์ทะเลต่อช่วั โมง, 1 ไมล์ทะเล กระจดั กระจายอยูใ่ นเส้นทางขา้ งหนา้ แต่ หรือ nautical mile นเี้ ทา่ กบั 1.85 กโิ ลเมตร) พนกั งานวทิ ยโุ ทรเลขไมไ่ ดส้ ่งขอ้ ความน้นั ใหแ้ ก่ ซ่งึ เกือบถึงความเร็วสงู สดุ ของเรอื (23 นอต) กปั ตันหรอื เจ้าหน้าที่เรอื คนใดเลย ท้งั นี้ เพราะ ในวันเดียวกนั นีเ้ อง ไททานิกไดร้ บั วิทยุโทรเลข มวั ยงุ่ อยู่กับการส่งวิทยุโทรเลขให้แก่ผโู้ ดยสาร เตือนเรือ่ งภูเขาน�้ำ แขง็ ในเสน้ ทางเดนิ เรอื ถงึ 7 ในเรือนน่ั เอง ครัง้ (เอกสารบางแหล่งระบวุ ่า 6 ครั้ง) จากเรอื เดินสมทุ รในสายแอตแลนติกเหนอื อาทิ จาก หน้า 10. เรอื แคโรเนยี บอลตกิ อเมริกา แคลิฟอรเ์ นยี น และเมซาบา ฯลฯ และท่รี า้ ยก็

นาทมี รณะ

เวลา 22.50 น. ทะเลสงบไร้ระลอก มหาสมุทรเงยี บสงัด คงมีแต่เสียงหวั เรือแหวกน�้ำ ทะเล เรือเดนิ สมุทรแคลิฟอร์เนียนซึง่ อยูไ่ มไ่ กลนกั ไดส้ ่งข่าวเตอื นภัยแกไ่ ททานกิ วา่ เรือแคลิฟอร์ เนยี นตอ้ งหยุดเรือไม่สามารถเดินทางต่อไปได้เพราะถกู ห้อมลอ้ มไปดว้ ยน�ำ้ แข็ง เวลา 23.40 น. เจ้าหน้าท่สี ังเกตการณ์ 2 คนทอ่ี ยู่บนเสากระโดงเรือมองเหน็ ภูเขาน�ำ้ แข็ง ในระยะกระช้นั ชดิ คอื อย่หู า่ งออกไปราว 450 เมตร และส่งสัญญาณเตอื นภัย ควรทราบ ไว้ด้วยว่าเจ้าหนา้ ทสี่ งั เกตการณ์นนั้ เปน็ หน้าทที่ ม่ี ีความส�ำ คัญมาก ตามปกตติ อ้ งว่าจา้ งผู้ ทมี่ ีความชำ�นาญเปน็ พเิ ศษมาทำ�หนา้ ท่ี ไมใ่ ช่ลกู เรอื ทว่ั ไปก็สามารถทำ�ได้ และอุปกรณ์ท่ี ส�ำ คัญอยา่ งหนงึ่ ก็คือกล้องสอ่ งทางไกล แตใ่ นการเดินทางของไททานิกเทยี่ วนเี้ จา้ หนา้ ท่ี สงั เกตการณ์ไม่มีกลอ้ งส่องทางไกลเพราะหากล้องไม่พบเนอ่ื งจากมกี ารย้ายทีเ่ ก็บ รวม ท้งั ก่อนเกดิ เหตุเจ้าหน้าท่ีสงั เกตการณค์ นหนง่ึ ไดเ้ ปรยขึ้นมาวา่ ได้กล่ินนำ้�แข็งทโี่ ชยมาจาก ภูเขาน�้ำ แข็ง แตเ่ นอ่ื งจากไม่มกี ลอ้ งส่องทางไกลจงึ ยังไมเ่ ห็นส่ิงใด วิลเลียม เมอรด์ อ็ ก ซงึ่ อยูเ่ วรในขณะน้นั สัง่ ให้หยุดเรอื เดนิ เคร่อื งถอยหลงั และ เบนเรอื ไปทางซ้าย แตท่ ุกอยา่ งสายไปเสยี แล้ว เพราะภายในเวลาประมาณ 40 วินาที เท่าน้ันไททานกิ ทีแ่ ลน่ ดว้ ยความเรว็ สงู กพ็ งุ่ เขา้ ชนภเู ขาน�ำ้ แขง็ ทางกราบขวา หนา้ 12.

Thomas Andrews โทมสั แอนดรูวส์ เวลา 11.50 น. กัปตนั สมิทไดเ้ ชญิ ทอมสั แอนดรูวส์ วศิ วกรผู้ออกแบบเรอื ไททานกิ ให้ ชว่ ยประเมินความเสียหายของท้องเรือ หลงั จากท่ีแอนดรวู ส์ได้สำ�รวจทอ้ งเรือแล้วแจ้งให้ ทราบวา่ เรอื ไททานิกมีหอ้ งผนึกน�้ำ (watertight compartment เป็นปรมิ าตรในทอ้ งเรอื ท่ีถกู แบ่งซอยออกเป็นหอ้ งๆโดยมปี ระตกู น้ั นำ�้ ไว้ ทง้ั นเ้ี พอื่ วา่ เมื่อเรือรั่วจะไดท้ ว่ มเฉพาะ ห้องผนกึ น้�ำ เพียงห้องใดหอ้ งหน่ึง ไมท่ ่วมไปท้งั ลำ�เรือ ทำ�ใหเ้ รอื ไม่จม) 16 ห้อง หากน้ำ�ร่ัว เขา้ เรือเพยี ง 4 ห้องกย็ งั สามารถลอยเรืออยู่ได้ แตข่ ณะนีม้ ีน้�ำ รัว่ เขา้ มาถึง 5 หอ้ งแล้ว แอน ดรวู ส์ประเมนิ ว่าเรอื ทงั้ ล�ำ จะจมลงภายในเวลา 2-3 ชว่ั โมงเทา่ นน้ั หน้า 13.

เท่ยี งคืน กัปตนั สมทิ ส่ังเจ้าหนา้ ทวี่ ิทยโุ ทรเลขให้ส่งสัญญาณซคี วิ ดี (CQD เป็นสัญญาณขอ ความชว่ ยเหลอื สัญญาณขอความช่วยเหลือที่ใชใ้ นสมยั นน้ั มี 2 สญั ญาณ คือ CQD และ SOS) และยิงพลขุ อความชว่ ยเหลือ รวมทั้งส่ังให้ลูกเรอื เตรียมเรอื ชูชพี ให้พรอ้ ม หนา้ 14

April 15, 1912 วันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1912

15 เมษายน เวลา 00.25 น. ผู้โดยสารในเรอื เกดิ ความโกลาหลวุ่นวายเพราะไม่ทราบวา่ อะไรจะเกิดขึน้ กปั ตันสมิทส่ังใหล้ กู เรอื เร่มิ พา ผโู้ ดยสารลงเรือชูชพี กัปตันสมทิ ทราบดีวา่ เรอื ชูชีพทม่ี ีอยูไ่ มส่ ามารถชว่ ยผโู้ ดยสารทงั้ หมดได้ จึงไดส้ ่งั ใหจ้ ดั สตรแี ละเดก็ ลงเรือก่อน ในขณะ เดียวกนั เรือคาร์เพเทยี ของสายการเดินเรอื ควิ นาร์ดอนั เป็นคู่แข่งของไวตส์ ตารแ์ ละอยหู่ ่างจาก ไททานกิ ออกไป 93 กิโลเมตรกไ็ ดร้ ับสัญญาณ ขอความชว่ ยเหลือและรีบมงุ่ หนา้ มาชว่ ยดว้ ย ความเรว็ เตม็ พกิ ดั ย่ิงนาน เรือกย็ ง่ิ จมลงตำ่� ความโกลาหลก็ ยิ่งเพิ่มขนึ้ ทุกคนตา่ งกท็ ะลกั มาอยู่ทีด่ าดฟา้ เรือ เพอ่ื แยง่ กนั ลงเรือชูชีพ เจ้าหนา้ ทจ่ี งึ ปดิ กน้ั ทาง เดินของผูโ้ ดยสารชน้ั 3 ไวไ้ ม่ให้ข้ึนมาทีด่ าดฟา้ เรอื เพอ่ื ลดความวุ่นวายบนดาดฟ้าเรอื รวม ท้ังมกี ารใช้อาวธุ ปืนยิงผโู้ ดยสารเพอื่ ควบคุม สถานการณด์ ้วย หนา้ 16

เพราะวา่ ขาดการฝึกซอ้ มเหตุฉกุ เฉิน เหล่าลูกเรือจงึ จดั ผ้โู ดยสารขน้ึ เรือชูชพี ได้ไมเ่ ร็วนกั อีกท้งั ดว้ ยความไมม่ น่ั ใจในความแข็งแรงของเสาเดวติ (davit เสาที่ห้อยเรอื ชชู ีพไว้ เสาน้ี จะมีรอกเพอ่ื หยอ่ นเรอื ลงนำ้�ด้วย) จงึ บรรทกุ ผูโ้ ดยสารไม่เตม็ ล�ำ เรอื เรอื ชูชพี ลำ�แรกที่ถูก ปลอ่ ยลงทะเลมผี ู้โดยสารเพียง 28 คนเทา่ นั้นจากทีบ่ รรทกุ ไดเ้ ต็มท่ี 65 คน! และน่ีเองเปน็ สาเหตหุ นึ่งท่ีท�ำ ให้มผี ู้รอดตายน้อยกว่าทีค่ วรจะเปน็ หนา้ 17.

สถานการณ์วิกฤตยิ่งขน้ึ เร่ือยๆในขณะท่ีเจ้าหน้าท่พี ยายามเรง่ ช่วยสตรแี ละเด็กลงเรอื ชชู พี ส่วนพนักงานวทิ ยโุ ทรเลขกพ็ ยายามส่งสญั ญาณขอความชว่ ยเหลืออยา่ งไมห่ ยุดหยอ่ น ภาพชวี ติ บนเรอื ไททานิกในขณะน้นั มีหลากหลาย มีทงั้ ดิน้ รน ทั้งส้ินหวงั ระคนกันไป แมม้ ี เงินมากมายเท่าใดกไ็ ม่อาจชว่ ยใหต้ นรอดชีวติ ได้ เมื่อถึงคราวคับขัน แต่ละคนกแ็ สดงธาตุ แทข้ องตนออกมา พวกผู้ชายท่ีคมุ สตไิ ด้กพ็ ยายามย้มิ รบั ความตายอยา่ งอาจหาญ บางคน กลบั ไปแต่งชุดใหญ่เตม็ ยศเพือ่ รอรับความตาย บางคนก็ไปนง่ั ถบี จักรยานอยกู่ ับที่ในหอ้ ง ออกก�ำ ลังกายฆ่าเวลา สตรบี างคนปฏิเสธทจ่ี ะไปกบั เรือชูชพี เพราะต้องการร่วมทุกขร์ ่วม สขุ กับสามีในยามวกิ ฤตของชีวิต ในขณะท่ชี ายบางคนกลับเอาผา้ มาคลมุ ศรี ษะเพอื่ พราง ตวั เป็นสตรีและลงไปในเรือชชู พี เพ่ือเอาตวั รอด หนา้ 18.

Titanic Musicians เหลา่ นกั ดนตรีได้แสดงสปริ ติ อยา่ งนา่ ชน่ื ชม พวกเขาพยายามเลน่ ดนตรเี พ่อื ผอ่ นคลาย ความตื่นตระหนกของคนบนเรอื ตลอดเวลา เมอ่ื หอ้ งโถงด้านหวั เรอื จมต่ำ�ลงก็ยา้ ยไปเลน่ ที่ ดาดฟา้ ด้านท้ายเรอื และบรรเลงไปจนนาทสี ุดท้ายของชวี ิต หนา้ 19.

เวลา 2.05 น. เรือชูชีพล�ำ สุดท้ายจากไททานกิ ไป ขณะนัน้ ด้านหัวเรอื จมไปหมดแล้ว คนที่ ยังอยบู่ นเรือพากันมาชมุ นุมท่ีดาดฟ้าตอนท้ายเรอื เวลา 2.18 น. มเี สยี งดงั กกึ ก้องกมั ปนาทจากบนเรือ ไฟบนเรอื ดบั ทั้งหมด จากนั้นไมน่ าน ไททานิกกจ็ มลงสูก่ น้ มหาสมทุ รแอตแลนตกิ ท่ามกลางคนื อนั หนาวเหน็บและมืดมดิ คง เหลอื ไวเ้ พยี งเรอื ชชู พี ทบ่ี รรทุกสตรีและเด็กและรา่ งท่ีลอยคออยูใ่ นมหาสมทุ รเปน็ จำ�นวน มาก ผู้ท่ีลอยคออย่ใู นมหาสมุทรแมจ้ ะมเี สือ้ ชูชีพแต่กเ็ สียชวี ติ เกอื บทัง้ หมดเน่ืองจากความ หนาวเย็นของน�ำ้ ทะเล ส่วนกัปตันสมทิ เช่ือวา่ เสียชวี ิตไปพร้อมกบั เรือไททานิก หน้า 20.

ผู้ทร่ี อดชีวติ จากเหตกุ ารณใ์ นครงั้ น้นั บางคนเลา่ ว่าขณะที่ตนอย่ใู นเรอื ชูชีพไดเ้ หน็ เรือลึกลบั ลำ�หนึ่งเคลือ่ นไหวอยใู่ นระยะไกล แตก่ ็ไม่มาช่วย รวมทง้ั บางคนยังเล่าว่าเหน็ เรอื ไททานกิ หกั ออกเป็น 2 ทอ่ นโดยสว่ นหัวจมลงไปก่อน หลังจากนน้ั ท่อนท้ายทถ่ี ูกยกขึ้นมาก็หักกลาง จากนน้ั ทอ่ นทา้ ยเรอื กจ็ มตามลงไป เวลา 3.30 น. เรอื คารเ์ พเทยี มาถงึ ทเี่ กดิ เหตหุ ลงั จากท่ีไททานิกจมไปกว่าหนึง่ ชั่วโมง คาร์ เพเทียใช้เวลาอยู่ ณ ท่เี กดิ เหตจุ นถงึ เวลา 8.50 น. จึงออกเดินทางมุ่งส่นู ิวยอรก์ โดยช่วยผู้ ท่รี อดชวี ติ จากเรือมรณะมาได้ 705 คน หน้า 21.

18 เมษายน เวลาประมาณ 9.00 น. เรือคารเ์ พเทยี ก็ไดม้ าถงึ เมอื งนวิ ยอร์ก มีผู้ที่มารอท่ี ท่าเรือถึงหนึง่ แสนคนเพือ่ รอรบั ฟงั ขา่ วภัยพบิ ัตทิ างเรอื ครง้ั ร้ายแรงนี้ ภาพถ่ายท่ีน่าท่ึงของเรอื ที่ชว่ ยเหลอื ผูร้ อดชวี ิตจากเรือไททานิกขณะที่เรอื เดนิ ลงไปหลัง จากถูกชนภเู ขาน�้ำ แข็งถกู ค้นพบ คาร์พาเธียในสหราชอาณาจักร - สหรฐั อเมรกิ าไดร้ บั ชื่อเสยี งไปทว่ั โลกเมอ่ื ไดร้ บั การเรยี ก ร้องความทกุ ขใ์ นวนั ท่ี 15 เมษายน 2455 และวง่ิ 58 ไมลเ์ พ่ือชว่ ยเหลอื ผ้คู นนับรอ้ ยจาก ไททานิ หน้า 22.

หล่านี้เปน็ เจา้ หน้าทที่ ปี่ ฏิบตั หิ นา้ ทใ่ี นคาร์พาเธยี ซ่ึงรับผู้ชายผหู้ ญงิ และเดก็ 705 คนขณะท่ี ไททานคิ ลงไป รูปนี้ถา่ ยจากดาดฟา้ ของคาร์พาเธียแสดงให้เหน็ ผูร้ อดชีวิตไททานคิ ก�ำ ลังจะขึน้ เรือกภู้ ัย

หนา้ 24. คารพ์ าเธีย RMS แล่นเรือจากนวิ ยอร์กไปยงั ออสเตรยี - ฮังการใี นคืนวันอาทติ ย์ที่ 14 เมษายน 2455 เมื่อได้รบั สญั ญาณความทกุ ข์ แม้วา่ ไททานิคจมลงไปแลว้ แตล่ ูกเรอื ของคาร์พาเธียใชเ้ วลาส่ีชว่ั โมงในการช่วยชีวิตผู้รอด ชวี ติ กอ่ นจะกลบั ไปนวิ ยอร์ก เช่อื วา่ เด็กสองคนช่ือหลุยสแ์ ละโลล่าผู้รอดชีวิตจากไททานิค 18 เมษายน เวลาประมาณ 9.00 น. เรือคารเ์ พเทียก็ไดม้ าถงึ เมอื งนวิ ยอรก์ มผี ู้ทมี่ ารอที่ ทา่ เรือถึงหนึง่ แสนคนเพื่อรอรบั ฟังข่าวภัยพบิ ัติทางเรอื ครงั้ ร้ายแรงนี้ หลงั จากน้ันทั้งฝ่ายสหรัฐอเมริกาและอังกฤษต่างกพ็ ยายามสอบสวนหาสาเหตขุ องอบุ ัติภัย ในครง้ั น้ี รวมท้งั สรุปยอดผู้เสียชวี ติ ซ่ึงท�ำ ให้ไดท้ ราบขอ้ เท็จจริงเพม่ิ เติมวา่ ในคืนทเี่ กดิ เหตุ เรือแคลฟิ อรเ์ นียนอยู่ใกล้ไททานิกยิ่งกวา่ เรือคารเ์ พเทียเสียอกี แตเ่ หตทุ ีเ่ รือแคลฟิ อรเ์ นียน ไม่ไดม้ าชว่ ยเหลอื เพราะพนักงานวทิ ยโุ ทรเลขหลบั จงึ ไม่ได้รบั สัญญาณขอความชว่ ยเหลอื เรือมารับผ้ชู ายผู้หญงิ และเดก็ 705 คนขณะทเี่ รือเดินสมุทรเดินทางไปอเมรกิ า

ยงั มีปรศิ นาอกี หลายเร่อื งทย่ี งั ไมไ่ ดร้ ับความกระจ่าง เปน็ ต้นวา่ เรอื ลกึ ลบั ทีม่ ีผู้ รอดชวี ิตเหน็ ในช่วงเวลาทไ่ี ททานกิ กำ�ลงั อับปางน้ันคอื เรอื ลำ�ใดแน่ บา้ งก็เชอ่ื ว่าเปน็ เรอื แค ลิฟอรเ์ นยี น แต่บา้ งก็คิดวา่ อาจไมใ่ ช่เพราะหลักฐานเท่าท่สี อบสวนไดย้ ังไม่เพียงพอท่จี ะชี้ ชัดลงไปเชน่ นั้นรวมทง้ั เรื่องที่ว่าไททานกิ อบั ปางในลักษณะใดกนั แน่ จากค�ำ บอกเลา่ ของผู้ รอดชวี ิตทว่ี า่ ไททานิกหกั เปน็ 2 ท่อนนน้ั ผู้เชีย่ วชาญในสมยั นัน้ รวมทงั้ คนทั่วไปไมค่ ่อยให้ ความเชื่อถอื นกั คดิ ว่าผู้เล่าเห็นเหตกุ ารณ์ไม่ชดั และเลา่ ผิดพลาดมากกว่า สว่ นใหญค่ งเชอื่ วา่ เรือไททานิกจมลงไปท้ังลำ� ผลจากการทพ่ี นกั งานวิทยโุ ทรเลขของเรือแคลฟิ อร์เนยี นหลบั เป็นเหตุใหไ้ มส่ ามารถไป ชว่ ยไททานิกได้ทนั ทำ�ใหต้ อ่ มามกี ารเพ่มิ เตมิ กฎเกี่ยวกบั การเดนิ เรอื ข้ึนมา น่นั คือเรอื ทกุ ลำ�ตอ้ งมีพนกั งานวทิ ยอุ ยูป่ ระจ�ำ หนา้ ท่ตี ลอดเวลา และในปี ค.ศ. 1913 หนว่ ยเรือ ลาดตระเวนส�ำ รวจภูเขานำ้�แขง็ ก็ถกู จัดตงั้ ขึ้นเพื่อสำ�รวจเส้นทางและแจง้ เตอื นเกี่ยวกับ ภเู ขาน้�ำ แขง็ ในเสน้ ทางเดินเรอื สายแอตแลนติกเหนอื ข่าว ไททานิก จมบนหนงั สือพิมพ์ New York Her

ขา่ ว ไททานกิ จมบนหนังสอื พิมพเ์ ดอะนวิ ยอรก์ ไทมส์ หน้า 26.

ชวี ติ ทยี่ งั เหลอื อยู่ หายนะภยั ไททานกิ ครง้ั นี้มผี รู้ อดชีวติ ทัง้ ส้ินกว่า 700 คนและมผี ้เู สียชวี ิตกว่า 1,500 คน นบั เป็นภยั พบิ ตั คิ รงั้ ร้ายแรงครง้ั หนึง่ ในประวัตศิ าสตรก์ ารเดินเรอื อนั ท่ีจริงแลว้ ผู้ทร่ี อดชีวิตจากเรือไททานกิ มิได้มแี ตเ่ พียงผ้หู ญงิ และเด็กเทา่ นนั้ แตย่ ัง มีชายด้วย จากการสรปุ ข้อเทจ็ จรงิ พบว่าชายท่รี อดชีวิตมที ้งั ผู้โดยสารช้นั 1, 2, 3 และ ลูกเรอื บุคคลทีร่ อดชวี ติ บางคนทนี่ า่ กลา่ วถึงคอื เจ. บรซู อิสเมย์ กรรมการผจู้ ัดการไวต์ สตาร์ ผ้คู นสว่ นใหญ่ต่างสงสยั กันว่าอิสเมย์รอดมาได้อยา่ งไรท้ังๆทผี่ ู้ชายส่วนใหญเ่ สยี ชวี ิต หมดเน่ืองจากสละที่นัง่ ใหแ้ ก่สตรแี ละเด็ก ชวี ิตในช่วงหลังของอสิ เมย์ต้องลม้ ละลายทาง เกียรติยศเพราะสงั คมตราหน้าวา่ เขารอดมาได้เพราะแยง่ ที่ของสตรแี ละเด็ก บางคนก็พดู กนั วา่ อสิ เมย์พรางตัวเปน็ หญงิ เพือ่ ลงเรือ แตอ่ สิ เมยช์ ้แี จงวา่ ตนลงเรือชชู ีพ ลำ�สดุ ท้าย เมอื่ เห็นยังมีทว่ี า่ งจึงไดล้ งเรือไปและก็ไม่ได้พรางตวั เปน็ สตรีแตอ่ ย่างใด

Molly Brown มอลลี่ บราวน์ นางมอลลี บราวน์ (เปน็ ผูท้ ่ีใหแ้ จก็ ยมื ชุดใหญ่ใส่เพอ่ื ไปงานเลี้ยงอาหารใน ภาพยนตร)์ ซ่ึงเป็นพวกเศรษฐใี หมท่ เี่ ดนิ ทางไปกบั เรอื ไททานกิ เม่ืออยใู่ นเรือ ชชู พี นางบรา วน์ไดแ้ สดงความเขม้ แข็งและกล้าหาญ ในสภาพทที่ กุ คนหมดเรีย่ วแรง เธอได้แสดงบทบาท ผนู้ ำ�โดยให้สง่ั คนในเรือชว่ ยกันพายเรอื มงุ่ ไปยังเรือคารเ์ พเทยี และพยายามชว่ ยคนท่ีตก น�้ำ หลังจากวิกฤตการณค์ ร้ังน้ี ชวี ติ ของนางบราวน์กร็ ่งุ เรอื งข้ึน จากเดมิ ทส่ี ังคมช้นั สูงใน เมอื งเดนเวอรไ์ มย่ อมรบั เธอ แตจ่ ากวีกรรมอนั กล้าหาญทำ�ให้เธอก้าวไปไกลถึงขนาดไดร้ บั เสนอการชอ่ื ใหเ้ ข้าชิงตำ�แหน่งวฒุ สิ มาชิกทเี ดียว รวมท้งั ยังมีผู้น�ำ เรื่องราวของเธอไปสร้าง เป็นภาพยนตร์ แต่อยา่ งไรก็ดี ในบน้ั ปลายของชวี ิต เธอกเ็ ปลี่ยนไปกลายเป็นคนท่คี ่อนขา้ ง เห็นแกต่ วั เจ้าหน้าทข่ี องเรือไททานกิ ทร่ี อดชวี ิตไมม่ ใี ครเลยสักคนเดียวทส่ี ามารถกา้ วไปถึง ต�ำ แหนง่ กปั ตนั เรือ และเมือ่ ตน้ ปี ค.ศ. 1997 นางเอดทิ ไฮส์แมน ผู้ทม่ี ีชีวติ รอดจากเรอื ไททานิกท่ีมอี ายุมาก ท่สี ุดก็ได้เสยี ชีวติ ลง เธออยูใ่ นเหตกุ ารณ์เรือไททานกิ เมอ่ื อายุ 15 ปีและเสียชวี ติ ลงเมื่ออายุ ได้ 100 ปี หนา้ 28.

ภาพเรือ อาร์เอ็มเอชไททานิค จมสู่ก้นบึง้ มหาสมุทร หน้า 29.



เหตุการณ์โศกนาฏกรรมแห่งทอ้ งทะเล คร้ังใหญใ่ นประวตั ิศาสต์ สู่ภาพยนตท์ โี่ ดง่ ดงั ทส่ี ุดและตราตึงใจคนทง้ั โลก ภาพยนตรเ์ รอ่ื ง “TITANICไททานิก” หนา้ 31.

ไททานิก (องั กฤษ: Titanic) เป็นภาพยนตรข์ องสหรฐั อเมรกิ า ออกฉายในปี ค.ศ. 1997 ผลิตโดย ทเวนตีส์เซ็นจรู ฟี อ็ กซ์ และ พาราเมาต์พิกเจอส์ น�ำ แสดงโดย ลโี อนารโ์ ด ดคี าปริโอ และ เคต วนิ สเลต ก�ำ กบั โดย เจมส์ คาเมรอน โดยเคยเปน็ ภาพยนตร์ท่ที �ำ ราย ได้สูงสุดในประวตั ิศาสตร์อนั ดับท่ี 1 มานานถงึ 12 ปี ดว้ ยมูลค่ามากถึง 1,848,813,795 ดอลลาร์สหรัฐท่วั โลก จนกระท่งั ในปี ค.ศ. 2010 ภาพยนตร์ อวตาร โดยฝีมือผู้ก�ำ กบั คน เดียวกัน เจมส์ คาเมรอน ทำ�รายได้สงู สุดแทนทไ่ี ททานกิ ปัจจุบันเปน็ ภาพยนตรท์ ี่ท�ำ ราย ได้สูงสดุ ตลอดกาลอนั ดับท่ี 2 James Francis Cam- eron เจมส์ แคเมรอน ผกู้ ำ�กบั Leonardo DiCaprio ลีโอนาร์โด ดิแคพรโี อ นกั แสดงนำ�ชาย Kate Elizabeth Wins- let เคต เอลิซาเบธ วินสเล็ต นกั แสดงนำ�หญงิ

เพลง My Heart Will Go On เพลงประกอบภาพยนตร์ ซง่ึ ประพันธ์โดยวิลล์ เจนนิ่ง อำ�นวยเพลงโดย เจมส์ ฮอร์เนอร์ และวอลเตอร์ เอฟฟานาซีฟ ขับร้องโดย เซลนี ดอิ อน ไดร้ บั ความนิยมเปน็ อย่างสงู สถานวี ิทยพุ ากันเปิดเพลงนท้ี ุกวัน นานนับเดอื น ความคลัง่ ไคล้ในเพลงนยี้ งั ส่งผลไปถงึ เวอร์ช่ันอน่ื ๆ ของเพลงนี้ ท้งั ฉบบั บรรเลงโดย เคนนี จี หรือ ฉบบั นักร้องชาวไทย จนมีผู้แปลงค�ำ ร้องเพลงน้เี ปน็ ภาษาไทย บันทกึ เสียงจ�ำ หนา่ ย ส�ำ หรบั เนอื้ เร่ืองย่อนั้น ผมคงไมก่ ล่าวถงึ นะครับ เพราะเช่อื วา่ หลายๆ คนคงทราบดีอยูแ่ ลว้ แตจ่ ะขอพูดถึงประเด็นที่เก่ยี วกับประวตั ิศาสตร์จากภาพยนตรด์ ีกว่าครับ ฉากรักอมตะทโี่ ดง่ ดงั ส�ำ หรับคุณคา่ ทางประวัติศาสตร์ของไททานคิ นนั้ คงเปน็ ความตงั้ ใจของคาเมร่อนทจ่ี ะ ถา่ ยทอดเรื่องราวการจมของไททานคิ ผา่ นทางแผน่ ฟิลม์ โดยผ่านศิลปะการเลา่ เร่ืองดว้ ย ภาพอย่างประณีต และใช้ตวั ละครกับเรอื่ งราวทสี่ รา้ งขน้ึ แทรกซมึ เขา้ ไปกบั การไหลลน่ื ของ เรอ่ื งราวในประวัติศาสตรไ์ ด้อยา่ งกลมกลนื และแนบเนียน แล้วยังเสริมความโดดเด่นของ พฤติกรรมและเรือ่ งราวของบรรดาผโู้ ดยสารตอนเรอื ลม่ ได้อยา่ งนา่ ประทบั ใจ จนไททานคิ ไดเ้ ป็นภาพยนตร์ประวัติศาสตรท์ ีม่ ีเสน่ห์และมชี วี ติ ชวี าอยา่ งท่สี ดุ เรื่องหน่งึ ถงึ แมว้ ่าก่อน หนา้ นจี้ ะมีการสร้างภาพยนตรเ์ กยี่ วกับการจมของไททานิคมาหลายเร่อื ง แตไ่ มม่ เี รอ่ื งใดท่ี ไดร้ บั ความนยิ มและอยูใ่ นความทรงจำ�ได้ขนาดน้ี

คาเมรอ่ นสามารถสร้างความสมดลุ ระหว่างเหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์ เร่อื งราวท่ี แต่งเติม ความสนุกสนานต่ืนเต้น โศกนาฏกรรม และความประทับใจแบบบรรยากาศของ หนังฮอลลวี ูด้ ไว้ได้อย่างกลมกลืนและกระชบั โดยเฉพาะ ตอนทแ่ี จ็คสิ้นลมในขณะที่ยงั กมุ มอื ของโรสไวแ้ นน่ โดยที่โรสยังไมร่ ตู้ วั เรอื มารบั ผูช้ ายผ้หู ญิงและเด็ก 705 คนขณะทเ่ี รอื เดนิ สมทุ รเดินทางไปอเมริกา ฉากทแี่ จค็ กำ�ลงั จะสนิ้ ลมในขนาดท่ี กมุ มือโรสไว้แน่น หน้า 34.

บรรณานุกรรม ขอขอบคณุ แหลง่ ทมี่ าสำ�หรบั การสบื คน้ ขอ้ มูล 1. บุคคลที่มอี ยู่จริงในประวตั ศิ าสตร์ เรือไททานิค https://teen.mthai.com/variety/80388.html 2.ประวตั ิเรอื ไททานกิ https://sites.google.com/site/titanicreuxthiminacacm/ hetukarn-reux-thi-tha-ni-kxab-pang 3.black and white photos tell the heroic story of how a modest ocean liner the SS Carpathia was thrust into history https://www.dailymail.co.uk/news/article-5598615/ Black-white-photos-Titanic-survivors-Carpathia.html 4. [RMS TITANIC]โศกนาฏกรรมอกี ฝัง่ ของโลก https://pantip.com/topic/31919100 5. ไททานกิ (ภาพยนตร์) https://th.wikipedia.org/wiki/ไททานิก (ภาพยนตร์) 6. เอด็ เวริ ์ด สมธิ https://th.wikipedia.org/wiki/เอ็ดเวิร์ด_สมิธ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook