Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SONY

SONY

Published by Kachornpon, 2020-05-25 02:37:23

Description: SONY_13570121_กิตติกานต์-ลี้ศิริพัฒนกุล_ออกแบบเว็บ

Search

Read the Text Version

บทนำ� คนญปี่ ุ่นคนหนึง่ ช่อื อากิโอะ มอรติ ะ เดินทางไปสหรฐั อเมริกาพรอ้ มกบั ส่งิ ประดษิ ฐ์ใหม่ของบรษิ ัท มนั เปน็ วิทยุทรานซิสเตอร์ขนาดเล็กทบ่ี ริษัทของเขาคิด ค้น ข้นึ มา ตอนนัน้ ในสหรฐั อเมริกามแี ตว่ ทิ ยุขนาดใหญ่เพราะสอดคล้ องกบั วถิ ีชีวติ ทอ่ี ยู่ ในบา้ นขนาดใหญ่ ไม่มีใครคดิ ว่าทกุ หอ้ งควรจะมีวทิ ยุของตวั เองมอรติ ะ เชือ่ ม่นั ใน สง่ิ ประดษิ ฐข์ องบริษัท แตเ่ มอ่ื เดนิ ทางไปขายตามบรษิ ัทตา่ ง ๆ กลับได้รับการปฏเิ สธ จนถึงควิ ของบริษัทบโู รวา ยักษใ์ หญ่ด้านเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ของสหรฐั อเมรกิ า บูโรวาชอบวิทยุทรานซิสเตอร์ของมอริตะมากแผนกจัดซื้อเสอนซื้อ ๑๐๐,๐๐๐เครอื่ ง แต่มเี ง่ือนไขขอ้ เดียวตอ้ งติดยี่หอ้ บูโรวา บนวิทยุ หมายความวา่ เขา จะซอ้ื วทิ ยุนี้ แตต่ อ้ งใชแ้ บรนด์ของเขาเองมอรติ ะ ตัดสนิ ใจปฏิเสธออรเ์ ดอร์มหาศาล ดงั กลา่ วฝา่ ยจดั ซอื้ แปลกใจกบั การตดั สินใจครั้งน้ี ชือ่ บรษิ ัทของเราเปน็ ช่อื ตราสินค้าท่ีมีช่อื เสยี งซึง่ ใช้เวลากว่า ๕๐ ปีในการ สรา้ งขึ้นมา แต่ไม่มีใครได้ยินช่อื ตราสินคา้ ของคุณเลย ทำ�ไมไมใ่ ช่ประโยชน์จากช่อื ขอ เรามอรติ ะ เขา้ ใจแต่เขามีความมงุ่ มนั่ บางอย่างในใจ เมอ่ื ๕๐ ปีกอ่ น ชื่อบโุ รวาคงไม่มใี ครรจู กั เหมอื นกบั ชอื่ ตราสนิ ค้าของ ผม ในวันน้ี ผมมาทน่ี ีพ่ ร้อมกันสนิ ค้าชนดิ ใหม่ และในตอนน้ผี มกำ�ลงั เรม่ิ ก้าวแรกสำ�หรบั ระยะเวลา ๕๐ ปีกตอ่ จากนีผ้ มสัญญากบั คุณได้เลยวา่ ช่ือของเราจะต้อง มีช่ือเสยี ง เหมือนบริษทั คณุ ในปจั จุบันนีแ้ นน่ อน การตดั สินใจคร้งั น้นั ถือเป็นการตดั สินใจครั้งที่ มอริตะ เช่อื มั่นวา่ ถูกต้อง ทีส่ ุดครั้งหนึง่ ของเขา หากคุณเดินตามรอยเทา้ ของคนอ่นื คุณจะไมม่ ีรอยเท้าเป็นของตวั เอง “Sony“

ทีม่ าของบรษิ ทั sony สารบัญ จดุ เรม่ิ ต้น sony 1-4 SONYCOMPANY 5 9 PACIFIC WAR 1 & SONY 11 - 14 จุดเรมิ่ ต้นสู่ความสำ�เรจ็ ของ SONY 15 - 16 17 - 18 SONY EVOLUTION LOGO 19 - 38 สิ่งประดิษฐท์ ีส่ ำ�คัญของ SONY 39 - 50 PLAYSTATION EVOLUTION บรรณานกุ รม 51

- PAGE 1 -

FOR EDUCATION ONLY SONY ? ทมี่ า ชอื่ โซนี่ของบรษิ ัทเกดิ จากการนำ�เอาคำ�สองคำ�คือ “โซนสั ” และ “ซันน่ี” มาผสมกนั คำ�ว่า “โซนัส” เป็น ภาษาลาตนิ แปลวา่ เสยี ง หรอื เกย่ี วกบั เสียง อีกคำ�หนงึ่ คือ “ซันน่ี” แปลวา่ ลูกน้อย เหตทุ ่ีนำ�สองคำ�น้มี าใชร้ วม กัน กเ็ พอ่ื ใหค้ ำ�ว่า โซนี่ มคี วามหมายถงึ คนหนุ่มสาวก ลมุ่ เล็ก ๆ ท่ีเตม็ เปีย่ มไปด้วยพลัง และความมุ่งมนั่ ทจ่ี ะ สรรคส์ ร้างสงิ่ ใหม่ ๆ ท่ีเป็นนวัตกรรม อยา่ งไรข้ ีดจำ�กัด FRIST PRODUCT - PAGE 2 -

FIRST PRODUCT OF SONY SONY GLOBAL 1950 AKIO MOLITA เขาเกิดในครอบครัวท่ีทำ�สาเก, อยา่ งไรกต็ ามเขาพบวา่ ตวั เองนน้ั ชอบ เตา้ เจย้ี ว และซอสถัว่ เหลืองขาย คณติ ศาสตรแ์ ละฟสิ กิ ส์ จงึ ตดั สนิ ใจไป ในหมูบ่ ้านโคะซุงะยะ (ปจั จบุ นั ศกึ ษาตอ่ และจบการศกึ ษาสาขาฟสิ กิ ส์ อยใู่ นเมืองโทะโกะนะเมะ) โดย จากมหาวิทยาลัยหลวงโอซะกะใน เป็นบุตรคนโตในบรรดาพี่น้อง ปี 1944 และจงึ เขา้ รบั ราชการทหาร ทง้ั หมดสคี่ น โดยเขาได้รบั การ ในกองทพั เรอื จกั รวรรดญิ ป่ี นุ่ ทย่ี ศ ฝึกสอนจากบิดามาต้ังแต่ยังเยา นายเรอื ตรรี ะหวา่ งสงครามแปซฟิ กิ วัยเพื่อสืบทอดกิจการครอบครัว - PAGE 3 -

AKIO MORITA SONY LOGO 1955 AKIO MOLITA ในปี 1946 หลงั ส้นิ สดุ สงคราม โมะ ใ น ร ะ ย ะ แ ร ก ผ ลิ ต เ ค ร่ื อ ง แ ล ะ ริตะและอิบุกะได้ร่วมกันจัดตั้งบริษัท อุปกรณ์บันทึกเทปตลอดจนวิทยุ วิศวกรรมโทรคมนาคมโตเกียวโดย พกพา จนกระทงั่ ในปี 1958 ท้ัง ท่โี มะริตะเป็นหนุ้ สว่ นใหญส่ ุด ดว้ ย สองคนจึงตัดสินใจเปลี่ยนชื่อ ทุนจดทะเบยี น 190,000 เยน บรษิ ทั เปน็ โซน่ี (มาจากคำ�ละตนิ และมลี ูกจา้ งเรมิ่ แรก 20 คน ซง่ึ “SONUS” แปลวา่ เสยี ง กบั คำ� ในขณะนน้ั โมะรติ ะมอี ายุเพยี ง 25 อเมรกิ ัน “SONNY-BOYS”) ปี ในขณะทอ่ี บิ ุกะมอี ายุ 38 ปี - PAGE 4 -

- PAGE 5 -

FOR EDUCATION ONLY STARTING POINT SONY SONYGROUP - PAGE 6 -

SONY & PACIFIC WAR ในเดอื นกนั ยายน ปี 1945 มาซารุ อบิ กุ ะ กลบั ไปยังโตเกียวเพ่อื เร่มิ งานในเมืองท่ถี ูกทำ�ลาย หลงั สงคราม หอ้ งแคบๆทม่ี ตี สู้ วทิ ชบ์ อรด์ โทรศพั ท์ อยบู่ นชน้ั สามของหา้ งสรรพสนิ คา้ ชิ โรคยิ ะในนฮิ อมบาชิ กลายเปน็ หอ้ งทำ�งานขอ งอบิ คุ ะ และทมี งานตวั ตกึ รอดมาไดท้ า่ มกลาง ไฟสงคราม - PAGE 7 -

AKIO MOLITA & MASARU IBUKA OFFICE ผนังคอนกรีตภายนอกมีรอยแตกร้าวทั่วไป หมด ทที่ ำ�งานใหม่นีไ้ มม่ ีหน้าต่าง เลก็ และดู หม่นหมอง งานปรบั ปรุงสภาพทีห่ ำ�งานเริม่ ต้น อยา่ งชา้ ๆ ด้วยแผ่นเหล็กซลิ ิคอน สวา่ น และ เครื่องมือเคร่อื งไม้อื่นๆ ที่ส่งมาจากโรงงานท่ซี ู ซุกะ - PAGE 8 -

SONY COMPANY 1950 ในปี 1950 บรษิ ทั ไดเ้ รม่ิ ผลติ เครอ่ื งบนั ทกึ เสยี ง เพอ่ื จำ�หนา่ ยทดแทนการนำ�เขา้ จาก สหรฐั ฯ และ ในปี 1955 บรษิ ทั ประสบความสำ�เรจ็ ในการพฒั นาวทิ ยทุ รานซสิ เตอร์ สำ�เรจ็ เปน็ รายแรกของญป่ี นุ่ และเปน็ รายทส่ี องของโลก. ตอ่ มา ในปี 1958 บรษิ ทั ไดเ้ ปลย่ี นชอ่ื เปน็ SONY เพอ่ื เปน็ แบรนด์ ในการขายสนิ คา้ - PAGE 9 -

SONY COMPANY 1950 AKIKO & MORITA อบิ กุ ะเปน็ คนคดิ โมรติ ะเปน็ คนขาย เปน็ ภาพพจนข์ อง ภายหลงั จากตระเวนเจรจาอยนู่ าน โมรติ ะกไ็ ดร้ บั บรษิ ทั ทเ่ี ปลย่ี นชอ่ื ใหมภ่ ายหลงั ประสบความสำ�เรจ็ ใน ขอ้ เสนอ ทจ่ี ะสง่ั ซอ้ื วทิ ยทุ รานซสิ เตอรข์ องโซนี การพฒั นาวทิ ยทุ รานซสิ เตอร์ เปน็ รายทส่ี องของ จากบรษิ ทั ชน้ั นำ�ของสหรฐั ฯ เปน็ จำ�นวนถงึ หนง่ึ โลก(โดยชา้ กวา่ บรษิ ทั แรกในสหรฐั ฯ เพยี งไมก่ เ่ี ดอื น) แสนเครอ่ื ง. ทง้ั น้ี โดยมเี งอ่ื นไขวา่ โซนจี ะตอ้ งผลติ โมรติ ะกเ็ ดนิ ทางไปสหรฐั ฯ เพอ่ื หาชอ่ งทางทำ�ตลาด เพอ่ื ขายในแบรนดข์ องบรษิ ทั น.้ี โมรติ ะปฏเิ สธทจ่ี ะ ทำ�สญั ญาขายสนิ คา้ ซง่ึ มมี ลู คา่ มหาศาลสำ�หรบั บรษิ ทั เปดิ ใหม่ เพราะเหน็ วา่ หนทางของบรษิ ทั คอื การตอ้ งสรา้ งแบรนดข์ องตนเองขน้ึ มาใหไ้ ด.้ - PAGE 10 -

- PAGE 11 -

FOR EDUCATION ONLY PACIFIC WAR & SONY ? - PAGE 12 -

PACIFIC WAR จกั รวรรดญิ ป่ี นุ่ เรม่ิ นโยบายชาตนิ ยิ มโดยใชค้ ำ�ขวญั ท่ี วา่ “เอเชยี เพอ่ื ชาวเอเชยี ” (ASIA FOR ASIATICS) วนั ท่ี 3 พฤศจกิ ายน ค.ศ. 1938 ไดป้ ระกาศนโยบาย “การจดั ระเบยี บใหมใ่ นเอเชยี ตะวนั ออกและการสรา้ ง วงไพบลู ยร์ ว่ มแหง่ มหาเอเชยี บรู พา” และใหค้ วามรว่ ม มอื กบั ฝา่ ยอกั ษะ โดยมเี ปา้ หมายยดึ ครองประเทศจนี และประเทศในเอเชียอันตกเป็นอาณานิคมของชาติ ตะวนั ตก - PAGE 13 -

สงครามสน้ิ สดุ ลงดว้ ยการทง้ิ ระเบดิ นวิ เคลยี รถ์ ลม่ ฮโิ ระชิ มะและนะงะซะกิ และการทง้ิ ระเบดิ ทางอากาศครง้ั ใหญโ่ ดย กองทพั อากาศสหรฐั อเมรกิ า ประกอบกบั การรกุ ราน แมนจเู รยี ของสหภาพโซเวยี ต สง่ ผลใหญ้ ป่ี นุ่ ยอมจำ�นน และเปน็ จดุ สน้ิ สดุ ของสงครามโลกครง้ั ทส่ี อง อากโิ อะ โมรติ ะ เลอื กสมคั รเปน็ ทหารชา่ ง จากการทเ่ีขา้ เปน็ ทหาร วจิ ยั ทำ�ใหเ้ ขาไดร้ จู้ กั กบั มาซารุ อบิ กู ะ เมอ่ื โมรติ ะเดนิ ทางมาถงึ โตเกยี วไดร้ ว่ มจดั ตง้ั บรษิ ทั ขน้ึ มาในปี 1946 ชอ่ื ‘บรษิ ทั วศิ วกรรมโทรคมนาคมแหง่ โตเกยี ว’ หรอื ‘โตเกยี ว ซชู นิ เคน็ เคยี วโจ’ จนกลายเปน็ เครอื ขา่ ยบรษิ ทั ขา้ มชาตทิ ม่ี มี ลู คา่ เปน็ พนั ลา้ นดอลลารใ์ นทส่ี ดุ - PAGE 14 -

จุดเริม่ ต้นสู่ความสำ�เรจ็ ของ SONY บรษิ ทั เรม่ิ ตน้ ดว้ ยการสรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑอ์ ยา่ งหมอ้ หงุ ขา้ ว และเรม่ิ ทำ�เครอ่ื ง บนั ทกึ เสยี งโดยใชเ้ สน้ ลวด แตบ่ รษิ ทั ทท่ี ำ�เสน้ ลวดบางน้ี ไมย่ อมขายให้ เนอ่ื งจากเปน็ บรษิ ทั เลก็ และทำ�ใหบ้ รษิ ทั ของโมรติ ะมงุ่ พฒั นาการใชเ้ ทปแทน ซง่ึ มขี อ้ ดกี วา่ การใช้ ลวดบนั ทกึ เสยี งมากมาย เพราะสามารถตดั ตอ่ ได้ ซง่ึ เครอ่ื งบนั ทกึ เทปนน้ั หวั ใจอยู่ ทเ่ี ทปในทส่ี ดุ กส็ ามารถผลติ เครอ่ื งเลน่ เทปได้ - PAGE 15 -

เครอ่ื งบนั ทกึ เทปขายดมี ากและเขาได้ เดนิ ทางไปอเมรกิ า เพอ่ื ดงู านและซอ้ื ลขิ สทิ ธส์ิ ง่ิ ประดษิ ฐข์ องBELL LAPในอเมรกิ าทช่ี อ่ื วา่ ทรานซสิ เตอรก์ ลบั มาดว้ ย เมอ่ื เขาสามารถผลติ เครอ่ื งเลน่ เทปและเทปได้ จากการทบ่ี รษิ ทั ใหญข่ น้ึ และการออกไปดู แตค่ นสว่ นใหญไ่ มซ่ อ้ื เนอ่ื งจากคนไมเ่ หน็ คณุ คา่ งานตา่ งประเทศ ทำ�ใหร้ วู้ า่ ชอ่ื บรษิ ทั ยาวเกนิ มนั ดงั นน้ั เขาจงึ ไปสาธติ การใชเ้ ครอ่ื งเลน่ เทปใน ไป ชอ่ื โซน่ี เกดิ จากคำ�สองคำ�คอื “โซนสั ” และ ทต่ี า่ งๆ เชน่ ศาล เพอ่ื ใชใ้ นการบนั ทกึ คำ�ใหก้ าร “ซนั น”่ี มาผสมกนั คำ�วา่ “โซนสั ” เปน็ ภาษาลา แทนการจดชวเลขของเจา้ หนา้ ท่ี ตนิ แปลวา่ เสยี ง หรอื เกย่ี วกบั เสยี ง อกี คำ�หนง่ึ คอื “ซนั น”่ี แปลวา่ ลกู นอ้ ย เกดิ เปน็ คำ�ใหม่ คอื โซน่ี หมายถงึ คนหนมุ่ สาวกลมุ่ เลก็ ๆ ทเ่ี ตม็ เปย่ี ม ไปดว้ ยพลงั ในปี 1958 บรษิ ทั ไดน้ ำ�ชอ่ื “โซน่ี คอรป์ อเรชน่ั ” มาใชเ้ พอ่ื ตอบสนองแนวความ คิดเก่ียวกับการขยายกิจการออกไปสู่โลก ภายนอก - PAGE 16 -

- PAGE 17 -

FOR EDUCATION ONLY SONY EVOLUTION LOGO 1955 - NOW ตามที่กล่าวมา sony เริ่มต้นขึ้นในปี 1955 และใช้ Logo ในลักษณะ Name-only mark ตราสัญลักษณ์ เกิดจาก”โซนัส” และ “ซันนี่” มาผสมกัน คำ�ว่า “โซนัส” เป็นภาษา ลาตินแปลว่าเสียง หรือเกี่ยวกับเสียง อีกคำ� หนึ่งคือ “ซันนี่” แปลว่าลูกน้อย เกิดเป็นคำ� ใหม่ คือ โซนี่ หมายถึงคนหนุ่มสาวกลุ่มเล็กๆ ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง ในปี 1958 บริษัท ได้นำ�ชื่อ “โซนี่คอร์ปอเรชั่น” มาใช้เพื่อตอบ สนองแนวความคิดเกี่ยวกับการขยายกิจการ ออกไปสู่โลกภายนอก FIRST LOGO 1946 - PAGE 18 -

FORD MUFSOTARNEGDUSCHAETLIBOYNGOT5N0L0Y - PAGE 19 -

FOR EDUCATION ONLY IMPORTANT PRODUCT ALL PRODUCT SONY - PAGE 20 -

- PAGE 21 -

FOR EDUCATION ONLY IMPORTANT PRODUCT PRODUCT 1 (1947) เริ่มต้นด้วยการทำ�หม้อหุงขา้ ว บริษัทเร่ิมต้นด้วยการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อย่างหม้อ หงุ ข้าว และเร่มิ ทำ�เครอื่ งบนั ทึกเสยี งโดยใชเ้ สน้ ลวด แต่ บรษิ ทั ท่ที ำ�เสน้ ลวดบางนี้ ไมย่ อมขายให้ เนื่องจากเปน็ บรษิ ทั เลก็ และทำ�ใหบ้ รษิ ทั ของโมรติ ะมุง่ พัฒนาการใชเ้ ทป แทน ซึ่งมขี ้อดีกวา่ การใชล้ วดบนั ทกึ เสียงมากมาย เพราะ สามารถตัดตอ่ ได้ ซึง่ เคร่ืองบนั ทึกเทปนัน้ หัวใจอยูท่ เี่ ทป ในทส่ี ดุ กส็ ามารถผลิตเคร่อื งเลน่ เทปได้ FIRST PRODUCT - PAGE 22 -

- PAGE 23 -

PRODUCT 2 (1950) FIRST JAPANESE TAPE RECORDER เร่มิ ทำ�เครอื่ งบันทึกเสียงโดยใชเ้ ส้นลวด แต่บรษิ ทั ท่ที ำ�เส้นลวด ไมย่ อมขายให้ เนอ่ื งจากเปน็ บริษัท เลก็ และทำ�ใหบ้ ริษัทของโมรติ ะม่งุ พัฒนาการใช้ เทปแทน ซงึ่ มขี ้อดีกว่าการใชล้ วดบนั ทึกเสยี ง มากมาย เพราะสามารถตดั ตอ่ ได้ ซงึ่ เครื่องบันทึก เทปนนั้ หัวใจอยทู่ ่เี ทป - PAGE 24 -

FORD QUADRICYCLE ( FIRST ) - PAGE 25 - FIRST JAPAN TRANSISTOR

FOR EDUCATION ONLY PRODUCT 3 (1955) SONY FIRST TRANSISTOR RADIO กลางศตวรรษท่ี 19 เน่ืองจากเรอื่ งบันทกึ เทปขายดีมาก ดงั นั้นจึงไดเ้ ดินทางไปดู งานท่ีประเทศอเมรกิ าและซอ้ื ลขิ สิทธิ์ ส่ิงประดษิ ฐ์ วทิ ยุทรานซิส เตอร์ จากประเทศอเมรกิ า เพอ่ื มาผลิตและขายเป็นเจา้ แรกใน ประเทศ ญป่ี นุ่ - PAGE 26 -

FORD QUADRICYCLE ( FIRST ) - PAGE 27 -

FOR EDUCATION ONLY PRODUCT 4 (1968) SONY PORTABLE TV กลางศตวรรษที่ 19 เปน็ โทรทศั น์ สี แบบ ไตรนติ อล ซ่ึงเป็นที่นยิ มมากใน ประเทศญี่ปุ่นในขณะนัน้ ตอ่ มาจึงทำ�ให้ SONY เร่ิม ขยายกจิ การขน้ึ เรื่อยๆ - PAGE 28 -

SONY WALKMAN TPS-L2 - PAGE 29 -

FOR EDUCATION ONLY PRODUCT 5 (1979) FRIST SONY WALKMAN SONY WALKMAN เคร่ืองแรก นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายท้ังในประเทศและนอกประเทศ เนื่องจาก ทางSONY ไดม้ ุ้งเนน้ กลมุ่ เปา้ หมายทอ่ี ยากฟังเพลง ส่วนตัวในขณะเดนิ ทาง หรือออกกำ�ลงั กาย ทมี่ าของคำ�ว่า WALKMAN นนั้ คือ สามารถสวมใสเ่ ดนิ ไปไหนมาไหนได้ - PAGE 30 -

1989 HANDYCAM - PAGE 31 -

FOR EDUCATION ONLY PRODUCT 6 (1989) FRIST SONY HANDYCAM จากตน้ ศตวรรษท่ี 19 จนถงึ ปลาย ศตวรรษ ชอ่ื การเรยี ก HANDYCAM มาจากการผสมกันระหว่างคำ�ว่า HAND + CAMERA จงึ กลายมาเปน็ กลอ้ งมือถอื หรือ HANDYCAM ทเี่ รยี กกันอยา่ งตดิ หูในยุคนัน้ เป็นการบนั ทกึ ลงเทป <ฟีลม์วดี ีโอ> - PAGE 32 -

- PAGE 33 - PLAYSTATION 1 (1994)

FOR EDUCATION ONLY PRODUCT 7 (1994) PLATSTATION 1 SONY COMPUTER เครื่องเพลย์สเตชันเปิดตัวคร้ังแรกในประเทศญ่ีปุ่นในวันท่ี 3 ธันวาคม 1994 เปดิ ตวั ครง้ั แรกในประเทศสหรฐั อเมริกา เมอ่ื วนั ท่ี 9 กนั ยายน 1995 เปดิ ตัวคร้งั แรกในยุโรปในวัน ท่ี 29 กันยายน 1995 โดยราคาเปดิ ตัวครัง้ แรกในอเมริกา อยทู่ ่ี 299 ดอลลารส์ หรฐั ต่อเครือ่ ง และการเปดิ ตวั ดงั กล่าว ประสบความสำ�เรจ็ อยา่ งสงู การผลิตเครอ่ื งเพลยส์ เตชันน้นั ยาวนานตอ่ เนื่องถึง 11 ปี เปน็ เคร่ืองเกมคอนโซลที่มีสายการ ผลิตยาวนานทส่ี ดุ จนเม่อื วันท่ี 23 มนี าคม ป2ี 006 ทางโซนี่ ประกาศยุติสายการผลิต PLAYSTATION 1 - PAGE 34 -

- PAGE 35 -

FOR EDUCATION ONLY PRODUCT 8 (2003) BLU RAY DISC SONY COMPUTER จานบลเู รย์ หรือ บีดี (BD) คอื รปู แบบของจานแสงสำ�หรับ บันทกึ ข้อมูลความละเอียดสงู ช่อื ของจานบลเู รยม์ าจากช่วง ความยาวคลื่นท่ใี ช้ในระบบบลเู รย์ ท่ี 405 NM ของเลเซอร์สี “ฟ้า” ซึ่งทำ�ให้สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ได้มากกว่าดีวดี ที ่ีมขี นาดแผ่น เท่ากัน มาตรฐานของจานบลเู รย์พฒั นาโดยกลุ่มของบริษทั ทเี่ รยี กวา่ BLU-RAY DISC ASSOCIATION ซ่งึ นำ�โดย ฟิลิปสแ์ ละโซนี เปรยี บเทียบกบั เอชดีดีวดี ี (HD-DVD) ทม่ี ี ลกั ษณะและการพัฒนาใกลเ้ คียงกนั จานบลเู รย์มีความจุ 25 GB ในแบบชน้ั เดยี ว (SINGLE-LAYER) และ 50 GB ในแบบ สองชั้น (DOUBLE-LAYER) ขณะท่เี อชดีดีวดี ีแบบช้นั เดยี ว มี 15 GB และสองชั้นมี 30 GB โดยสามารถเพิ่มการหักเหแสง ได้ท้ังหมด 4 ชนั้ เพม่ิ ความจใุ นการอ่านเขยี นไปท่ี 128 GB เลย ทเี ดียว - PAGE 36 -

- PAGE 37 - PLAYSTATION 3 (2006)

FOR EDUCATION ONLY PRODUCT 9 (2006) PLATSTATION 3 SONY COMPUTER เป็นเคร่ืองเล่นวดิ โี อเกมตระกลู เพลย์สเตชันร่นุ ท่ี 3 ของบรษิ ัท โซน่คี อมพิวเตอรเ์ อน็ เตอรเ์ ทนเมนต์ ถอื เป็นเคร่ืองเลน่ วดิ ีโอ เกมยคุ ท่ี 7 และมกี ารเปล่ยี นดไี ซนต์ ัวเครื่องพรอ้ มกับเปลี่ยน โลโกใ้ หม่อกี ด้วย นอกน้ันยังคงเหมือนเดิมทกุ ประการ จาก PS1 และ PS2 เครือ่ งเพลย์สเตชนั เปน็ เครอ่ื งเกมคอนโซล เคร่อื งแรกทข่ี ายได้มากกวา่ 100 ลา้ นเครื่องทวั่ โลก ในปี 2008 มีการประมาณการกันวา่ เคร่ืองเพลย์สเตชนั 3 สามารถ ขายได้ถงึ 102 ลา้ นเครื่อง ทัว่ โลก - PAGE 38 -

- PAGE 39 -

PLAYSTATION EVOLUTION ในชว่ งทา้ ยของยุคเคร่ืองเกมซเู ปอรแ์ ฟมคิ อม (SFC, ทางฝ่งั ตะวนั ตกเรียก SNES) บรษิ ัทนินเทนโดมคี วาม สนใจในตัวสอ่ื บนั ทกึ รูปแบบใหมท่ ีเ่ รียกว่า CD-ROM ซึง่ พัฒนาโดยบริษัทโซนีแ่ ละฟลิ ิป ทางนินเทนโดจึง ตดิ ตอ่ กบั ทางโซน่ี ในขอ้ เสนอร่วมกนั ผลิตอปุ กรณ์ เสรมิ แบบใหมใ่ ห้กบั เคร่อื งSFC โดยอุปกรณ์เสริมทวี่ า่ จะทำ�ใหเ้ ครื่องเกมSFCสามารถเล่นเกมจากแผ่น CD- ROM ได้ โดยใช้ชอ่ื ว่า SNES-CD นอกจากน้นั แลว้ ทางโซนยี่ ังสนใจท่ีจะผลิตเครอ่ื งเกมชนดิ ใหม่ ท่สี ามารถ เลน่ เกมจากทง้ั ตลับของ SFC และจากแผ่น CD-ROM ทัง้ สองบรษิ ัทจึงตกลงเซ็นสญั ญาร่วมกัน โครงการผลติ เคร่อื ง SNES-CD ได้มีการประกาศตอ่ สาธารณชนคร้ังแรกในงานแสดงสิค้าอิเล็กทรอนิกส์ CONSUMER ELECTRONICS SHOW (CES) ปี 1991 แตเ่ หตกุ ารณพ์ ลิกผัน เม่อื ประธานบรษิ ทั นิน เทนโดในขณะน้ันเกิดไม่พอใจในเนื้อหาของข้อตกลงใน สัญญาฉบับเก่าทที่ ำ�กับโซน่ี เน่ืองจากเห็นวา่ ทางโซนี่ จะไดส้ ทิ ธิในเกมทุกเกมทีผ่ ลติ ออกมาในรูปแบบ CD- ROM ทางนนิ เทนโดจึงได้ยกเลกิ ข้อตกลงการพฒั นา รว่ มกับโซนี่ทงั้ หมดกลางงาน CES และไดเ้ ปล่ยี นไปเซ็น สัญญากับทางฟลิ ปิ แทน ทางนินเทนโดได้ฟ้องร้องขอให้ศาลส่ังให้โซน่ีระงับการ พฒั นา แตศ่ าลไมร่ ับฟอ้ ง ในที่สดุ ในปี 1991 เครื่อง เพลย์สเตชันรนุ่ ตน้ แบบก็ถูกผลติ ออกมา - PAGE 40 -

EVOLUTION PLAYSTATION 1 FOR FIRST TO NOW PLAYSTATION ร่นุ แรกวางจำ�หน่ายคร้งั แรกในวันท่ี 3 ธ.ค. 1994 กลายเป็นเคร่ืองเลน่ เกมคอนโซลเคร่ืองแรกท่ีถกู จำ�หน่ายไปมากกวา่ 100 ล้านเครื่อง และถกู ยกใหเ้ ป็นหนึ่งใน GENERATION ที่ 5 ของเกมคอนโซลรว่ มกับ SEGA SAT- URN และ NINTENDO 64 ท่ตี า่ งฟาดฟนั กนั อยา่ งดุเดือดใน ชว่ งกลางยคุ 90 - PAGE 41 -

EVOLUTION PLAYSTATION 2 FOR FIRST TO NOW วางจำ�หน่ายครง้ั แรกท่ีญปี่ ุน่ ในวนั ที่ 4 ม.ี ค. 2000 และข้นึ แท่น กลายเป็นเครื่องเกมคอนโซลที่ขายดีมากท่ีสุดจนถึงปัจจุบัน โดยมยี อดจำ�หน่ายเกินกวา่ 155 ล้านเครอื่ งในชว่ งระยะ 12 ปตี ดิ พร้อมกบั ข้ึนแทน่ เป็นส่วนหนึ่งของเคร่ืองเกมคอนโซล ใน GENERATION ท่ี 6 ร่วมกบั SEGA DREAMCAST, GAMECUBE ของ NINTENDO และ XBOX ของ MIC- ROSOFT แตก่ เ็ อาชนะผู้แข่งไดอ้ ยา่ งขาดลอยด้วยการปลอ่ ย เกมออกมามากมายกว่า 2,000 เกม - PAGE 42 -

EVOLUTION PLAYSTATION 2 SLIMLINE FOR FIRST TO NOW ถัดมาอีกเกอื บ 4 ปหี ลงั จาก PLAYSTATION 2, ในเดือน ก.ย. ปี 2004 SONY กว็ างจำ�หนา่ ย PLAYSTATION 2 SLIMLINE - รุ่นรองทีม่ ขี นาดเลก็ กว่ารุ่นหลักออกมาเปน็ ตวั ท่ีสอง ไม่เพยี งระบบท่เี ลก็ กวา่ เทา่ นั้น แต่มนั ยังเงยี บกว่าและมา พร้อมกบั พอร์ต ETHERNET อีกด้วย - PAGE 43 -

EVOLUTION PLAYSTATION 3 FOR FIRST TO NOW วางจำ�หนา่ ยครั้งแรกทีญ่ ่ปี ุ่นในวันที่ 11 พ.ย. 2006 และอีก หน่ึงสัปดาห์ต่อมาก็ลัดฟ้าไปวางจำ�หน่ายในโซนอเมริกาเหนือ โดยมียอดจำ�หน่ายท่วั โลกมากกวา่ 80 ลา้ นเคร่ือง คแู่ ขง่ สำ�คัญ ของ PLAYSTATION 3 คือ XBOX 360 และ NINTEN- DO WII ด้วยราคา 599.99 USD ถอื วา่ แพงไปหน่อย แต่ มันก็เป็นเคร่ืองเล่นเกมเคร่ืองแรกท่ีสามารถเล่นแผ่นบลูเรย์ได้ หากมองในจุดนี้ถือว่าถูกมากเมื่อเทียบกับเครื่องเล่นบลูเรย์ใน ยคุ น้ัน - PAGE 44 -

EVOLUTION PLAYSTATION 3 SLIM FOR FIRST TO NOW SONY ปล่อย PLAYSTATION 3 SLIM ในเดอื น ก.ย. 2009 นอกจากัจะเป็นเครอื่ ง PLAYSTATION ขนาดเลก็ และบางเบาตัวทส่ี ามแลว้ แต่มนั ยังประหยดั พลงั งานมากขนึ้ แถมยังทำ�งานเงยี บกวา่ รุ่นที่ผ่านมาอกี ดว้ ย พรอ้ มกับถอด สวติ ช์ดา้ นหลังออกไป และยงั มาพร้อมกับโลโก้ PS3 แบบใหม่ - PAGE 45 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook