Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore The Silk Road

The Silk Road

Published by Kachornpon, 2021-11-09 03:57:02

Description: The Silk Road (เส้นทางสายไหม)

Search

Read the Text Version

I คำนำ เส้นทางสายไหม (The Silk Road) เส้นทางการส่งการค้าและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นศูนย์กลางของอันตรกิริยาทางวัฒนธรรมผ่านภูมิภาคของทวีปเอเชียที่เช่ือม กบั ตะวนั ตกและตะวนั ออกโดยการเชือ่ มโยงพอ่ ค้าวาณิช ผ้แู สวงบุญ นักบวช ทหาร ชนเร่ ร่อนแ ละผู้อ าศัยใ นเมือ งจาก จีนแ ละอิน เดียไ ปยังท ะเลเ มดิ เต อร์เร เนีย น ระหว่างเวลาหลายสมัย เพื่อมุ่งผลักดันการเชื่อมโยงและเส้นทางการค้าในภูมิภาค เพิม่ บทบาทของบริษทั จนี ในเวทสี ากล และเพ่มิ การเขา้ ถงึ ตลาดโลกของจีน หรืออีก นัยหน่ึง คือภาคต่อของยุทธศาสตร์ออกสู่ตลาดโลก (Going Out Strategy) ของ จีนผ่านมาตรการสนับสนนุ การลงทุนในต่างประเทศของรัฐบาลจีนท่ีดาเนินต่อเน่ือง มากว่าทศวรรษ

สำรบัญ II คำนำ I บทนำ III 01 - ประวตั คิ วำมเปน็ มำเสน้ ทำงสำยไหม ( 01 – 04 ) 02 - เสน้ ทำงสำยไหม เสน้ ทำงกำรคำ้ แห่งอนำคต ( 05 - 20 ) “จนี กับเศรษฐกจิ โลก” 03 - ย้อนรอยเส้นทำงสำยไหม ( 21 – 29 ) 04 - วฒั นธรรมบนเส้นทำงสำยไหม ( 30 – 34 ) 05 - เส้นทำงสำยไหมยคุ โบรำณและยุคกลำง ( 35 – 60 ) 06 - เสน้ ทำงสำยไหมแหง่ ศตวรรษท่ี 21 และโอกำสของประเทศไทย (One Belt One Road and opportunity of Thailand) ( 61 – 71 ) บรรณำนกุ รม IV - V

III บทนำ เส้นทางสายไหม (Silk Road) เป็นเส้นทางการค้าและการแลกเปล่ียน วัฒนธรรมของจีนในยุคโบราณที่เช่ือมต่อภูมิภาคเอเชีย กับยุโรป และแอฟริกา ปัจจบุ นั รฐั บาลจีนได้นาแนวคิดเส้นทางสายไหมในอดีตกลับมาอีกครั้ง เพ่ือพัฒนา เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างจีนกับนานาประเทศท้ังในระดับ ภูมิภาคและระดับโลก ภายใต้ช่ือใหม่ทเ่ี รียกว่า “หน่งึ แถบหนง่ึ เส้นทาง” หรอื “One Belt, One Road” โดยในภาษาจนี คอื อีตา้ ยอีลู่ (Yi Dia Yi Lu) โครงการ “หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง” (One Belt, One Road) เส้นทาง สายไหมศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย เส้นทางสายไหมทางบก คือ ถนนและทาง รถไฟจากจีนมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก และเส้นทางสายไหมทางทะเล คือ เสน้ ทางทางทะเลจากจนี มงุ่ หนา้ ลงใต้แลว้ เข้าสูท่ ิศตะวนั ตก

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 1 - 01ประวตั ิควำมเปน็ มำ เสน้ ทำงสำยไหม

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 2 - เส้นทำงสำยไหม (The Silk Road) เป็นชุดเส้นทางการส่งการค้าและวัฒนธรรม ซ่ึ ง เ ป็ น ศู น ย์ ก ล า ง ข อ ง อั น ต ร กิ ริ ย า ท า ง วัฒนธรรมผ่านภูมิภาคของทวีปเอเชียที่ เชอื่ มกับตะวนั ตกและตะวันออก กำรเชื่อมโยงพ่อค้ำวำณิช ผู้แสวง บญุ นกั บวช ทหำร ชนเร่ร่อนและผู้อำศัยใน เมืองจีนและอินเดียไปยังทะเลเมดิเตอร์- เรเนยี นระหว่ำงเวลำหลำยสมัย เสน้ ทำงสำย ไหมมีควำมยำว 6,437 กิโลเมตร ได้ช่ือมำ จำกกำรค้ำผ้ำไหมจีนที่มีกำไรมำกตลอด เส้นทำง เร่มิ ตัง้ แต่รำชวงศฮ์ ั่น ต้ังแต่ 206 ปี ก่อน ค.ศ.จนถึงปีค.ศ. 220 โดยรำชวงศ์ฮ่ัน ได้ขยำยเส้นทำงกำรค้ำส่วนเอเชียกลำงรำว 114 ปีกอ่ น ค.ศ. สว่ นใหญ่ผ่ำนคณะทูตและ กำรสำรวจของผู้แทนทำงกำรทูตจักรวรรดิ จีน จำงเชียน (Zhang Qian) ซ่ึงชำวจีนให้ ควำมสนใจมำกกับควำมปลอดภัยของ ผลติ ภัณฑ์

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 3 - กำรค้ำและกำรขยำยกำแพงเมืองจีนเพื่อ ประกันกำรคุ้มครองของเส้นทำงกำรค้ำบนเส้นทำง สำยไหม เป็นปัจจัยสำคัญต่อกำรพัฒนำของ อำรยธรรมจีน อนุทวีปอินเดีย เปอร์เซีย ทวีปยุโรป และคำบสมุทรอำหรับ โดยเปิดอันตรกิริยาทาง การเมืองและเศรษฐกจิ ทางไกลระหวา่ งอารยธรรม อีกทั้งเส้นทางสายไหมยังใช้เป็นการค้าทาง วัฒนธรรมในบรรดาอารยธรรมตามเครือข่ายเส้นทาง ด้วยผู้ค้าหลักระหว่างยุคโบราณ คือ ชาวจีน เปอร์เซีย กรีก ซีเรีย โรมัน อาร์มีเนีย อินเดียและแบกเตรีย (Bactrian) และตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึง 8 เป็น ชาวซอกเดีย (Sogdian) ระหว่างการเจริญของศาสนา อิสลาม พ่อค้ำอำหรับกลำยเป็นผู้โดดเด่นในกำร ประชุมคณะกรรมกำรมรดกโลกสมัยสำมัญคร้ังท่ี 38 พ.ศ. 2557 ณ กรุงโดฮำ ประเทศกำตำร์ซึ่งมีมติให้ ขน้ึ ทะเบยี นเสน้ ทำงสำยไหมในจีน คำซัคสถำน และ คีร์กีซสถำน เป็นมรดกโลกภำยใต้ชื่อ เส้นทำงสำย ไหม : โครงข่ำยเส้นทำงฉนวนฉำงอำน - เทียนชำน โดยให้เหตุผลว่าเส้นทางน้ีเป็นท่ียอมรับกันว่ามรดก ทางอารยธรรมของมนุษยชาติในฐานะเป็นเส้นทาง โ บ ร า ณ ใ น ก า ร ติ ด ต่ อ ค้ า ข า ย แ ล ะ สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง ตะวนั ออกกับตะวันตก

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 4 - เสน้ ทำงสำยไหม “แม้ผ้ำไหมเป็นสินค้ำหลักจำกจีน แต่ก็มีกำรค้ำสินค้ำ อ่ืนจำนวนมำก เช่น ศำสนำ ปรัชญำหลำยควำมเชื่อและ เทคโนโลยตี ่ำง ๆ นอกจำกกำรคำ้ ทำงเศรษฐกจิ เสน้ ทำงสำยไหม ยังใช้เป็นกำรค้ำทำงวัฒนธรรมในบรรดำอำรยธรรมตำม เครือขำ่ ยเสน้ ทำงด้วย”

THE SILK ROAD (เส้นทางสายไหม) - 5 - 02 เส้นทำงสำยไหม เส้นทำงกำรคำ้ แห่งอนำคต “จนี กบั เศรษฐกิจโลก”

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 6 - “ปจั จุบนั จนี เป็นประเทศผู้นำทำงเศรษฐกิจลำดบั 2 ของโลก” แต่ก่อนการเปิดประเทศ อย่างทางการในปี 1978 ภำยใต้ของผู้นำประธำนำธิบดีเหมำเจ๋อตุง ระบบเศรษฐกิจของจีนเป็น ระบบเศรษฐกิจแบบวำงแผนจำกส่วนกลำง (Centrally Planned Economy) ควบคุมจากรัฐ อย่างเขม้ งวด และไมเ่ อ้อื ต่อการเปดิ เสรีของประเทศ ดังนนั้ ภายหลงั การเปิดประเทศ 2 ปี ค.ศ.1980 ท่ี ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม า ธิ ก า ร ป ร ะ จ า ส ภ า ผู้ แ ท น ป ร ะ ช า ช น แ ห่ ง ช า ติ (National People’s Congress : NPC) มมี ตใิ ห้ทดลองนาระบบเศรษฐกิจตลาดมา ใช้ในเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ตั้งขึ้นใหม่ การ พัฒนาเศรษฐกิจของจีนจึงเป็นการปฏิรูป แ บ บ ค่ อย เ ป็ นค่ อ ย ไ ป ( gradualism) ทยอยเปิดกว้างและปฏิรูปเศรษฐกิจใน ด้านต่างๆ ตำมแนวทำงกำรปกครองแบบ สั ง ค ม นิ ย ม แ ล ะ ก ำ ร ใ ช้ ก ล ไ ก ท ำ ง กำรตลำด จนทาให้เส้นทางพัฒนา เศรษฐกิจของจีนมีลักษณะเฉพาะที่เป็น เอกลักษณ์ของจีนเอง และมีระบบ เศรษฐกิจที่มีช่ือเรียกอย่างเป็นทางการว่า “ Socialist Market Economy with Chinese Characteristics” หรือ “เศรษฐกิจกลไกตลำดแบบจนี ”

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 7 - พัฒนำกำรของเส้นทำงสำยไหมใหม่ ยุทธศำสตร์เส้นทำงสำยไหมใหม่ ปรากฏต่อประชาคมโลกครั้งแรก ใน เดือนกันยายน 2556 ในระหว่างการเยือนคาซัคสถานของ นำยสี จิ้นผิง ประธำนำธิบดีจีนได้แถลงเปิดตัวคร้ังแรกถึงการริเร่ิมโครงกำร “แถบเศรษฐกิจ เส้นทำงสำยไหม” หรือ “One Belt and One Road” โดยในภำษำจีนคือ อี ต้ำยอลี ู่ (Yi Dia Yi Lu) หรือ “หนง่ึ แถบ หนึ่งเส้นทำง” ในภาษาไทย “เส้นทางนี้ ประกอบด้วยเครือข่ายถนนและเส้นทางรถไฟเช่ือมจีนกับยุโรปผ่านเอเชียกลาง ” และในเดือนตุลาคมของปีเดียวกัน นายสี จ้ินผิง เดินทางไปเยือนอินโดนีเซีย และ กล่าวเปิดตัวโครงกำร “เสน้ ทำงสำยไหมทำงทะเล” ท่เี ชอ่ื มท่าเรือจีนกับท่าเรือใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และยุโรป ตลอดเส้นทางบก และเส้นทางทะเลจะมีการลงทุนปรับปรุงท่าเรือ และสร้างศูนย์การผลิต อุตสาหกรรมและการคา้ ขึน้

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 8 - “เส้นทำงสำยไหมใหม่” (New Silk Road) แบ่งเป็นเส้นทำง สำยไหมทำงบก (Silk Road Economic Belt : One Belt) และเส้นทำง สำยไหมทำงทะเล (Maritime Silk Road : One Road) มีวัตถุประสงค์ เพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจของทวีปเอเชีย ยุโรป และแอฟริกาเข้าด้วยกัน เส้นทางสายไหมใหม่นจ้ี ะนามาซ่ึงการเปล่ียนแปลงท้ังดา้ นของเศรษฐกิจ ด้านการเมือง และด้านสังคมของประชาคมโลก เน่ืองจากเป็นนโยบาย การพัฒนาที่มีมูลค่าสูงที่สุดเท่าที่ เคยมีมา และเป็นนโยบายที่มีการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาก ท่ีสุดของโลก ท้ังน้ีเพราะพาดผ่าน 65 ประเทศ ใน 6 ภูมิภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เอเชียกลาง ตะวันออก กลาง และแอฟริกาเหนือ เอเชียใต้ และยุโรป เม่ือรวมสถิติของทุกประเทศ เข้าด้วยกันจะพบว่า ประเทศต่าง ๆ ท่ี อยู่บนเส้นทางสายไหมใหม่ มีประชากร รวมกัน คิดเป็นร้อยละ 62.3 ของท้ัง ประชากรโลก มีผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ประเทศ (GDP) รวมกันคิดเป็นร้อยละ 30 ของ GDP โลก และมีการบริโภค ภาคครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 24 ของ การบริโภคในครัวเรือนของท้ังโลก อีก ทั้ง One Belt One Road จะเป็น โครงการที่ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน ระดบั โลกที่มีขนาดใหญม่ ากทสี่ ดุ

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 9 - สำเหตทุ ี่เรยี กวำ่ เสน้ ทำงสำยไหมใหม่ (Silk Road) มใิ ช่เพราะเสน้ ทางนี้จนี จะคา้ ขาย หรือไม่ แต่เป็นการเรียก เพื่อแสดงให้เห็นถึงนัยยะทางประวัติศาสตร์ ด้วยเส้นทางสายไหม โบราณ ถือเป็นเส้นทางการค้าเก่าแก่ จากหลักฐานทางโบราณคดี ทาให้เช่ือว่าต้ังแต่ 300 ปี ก่อนศรสิ ต์ศักราช จีนไดต้ ดิ ต่อค้าขายกบั โลกตะวันตกแล้ว โดยเฉพาะสินค้าไหมจากจีนซึ่งเป็นท่ี นยิ มในราชสานกั โรมนั (ยโุ รป) ถอื เปน็ สนิ คา้ ฟุ่มเฟือยที่มีราคาแพง เส้นทำงขนส่ง ทำงบก ที่ห่างไกลและ ยากลาบากด้วยระยะทาง กว่า 8,000 ไมล์ อัตรา ภาษีที่สูง และการเก็บค่า ผ่านทางในพื้นท่ีต่าง ๆ เชน่ เดยี วกัน

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 10 - กำรค้ำตำมเส้นทำง สำยไหมทำงทะเล การเดินเรือ ต้องอาศัยลมมรสุม ต้องเผชิญ ค ว า ม เ ส่ี ย ง น า นั ป ก า ร ใ น ก า ร เดินเรือ และผ่านมือพ่อค้าคน กลางหลายทอด นอกจากเป็นเส้นทางการค้าที่สาคัญแล้ว เส้นทางสายไหมยังเป็นเส้นทางแห่ง การแลกเปลย่ี นอารยธรรม การเผยแพร่ศาสนา วัฒนธรรม และนวัตกรรมระหว่างภูมิภาค เอเชยี ตะวนั ออกกลาง ยโุ รป อยา่ งกวา้ งขวาง

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 11 - กำรพัฒนำ ควำมร่วมมือ และเงินทุน ปัจจัยควำมสำเรจ็ ของเสน้ ทำงสำยไหมใหม่ เนื่องจากเส้นทางสายไหมเป็นโครงการ พฒั นาท่มี ีขนาดและมลู ค่ามหาศาล เชอ่ื มโยงจนี กบั นานาชาติกว่า 64 ประเทศ เส้นทางการค้านี้จะ เ กิ ด ขึ้น ไ ด้ ต้ อ งอ า ศั ย ปั จ จั ย ส นับ ส นุน ห ลั ก 3 ประการ คอื 1.โครงการพัฒนาทางเศรษฐกิจตาม เส้นทางสายไหม 2.ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ บ น เส้นทางสายไหมใหม่ 3.เงินลงทุนสนับสนุนโครงการพัฒนาใน เส้นทางสายไหมใหม่

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 12 - 1. โครงกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจตำม เสน้ ทำงสำยไหม ยุทธศำสตร์เส้นทำงสำยไหมใหม่ ประกอบด้วยโครงการและแผนงานเพื่อ พัฒนาในพ้ืนท่ียุทธศาสตร์ต่างๆ โดยเร่ิมต้น ที่การพัฒนาในเมืองหลักท่ีเป็นศูนย์กลาง แห่งการค้าของแต่ละภูมิภาค หลังจากน้ันมี ก า ร ข ย า ย ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ เ ส้ น ท า ง ใ ห้ เ ป็ น เครือข่ายของเส้นทางเดียวกัน ดังคากล่าว ท่ีว่า หนึ่งแถบ หน่ึงเส้นทำง (One Belt One Road) หน่ึงแถบ (One Belt) หน่งึ แถบ หรือเรียกอีกช่ือว่ำ แถบเศรษฐกิจเส้นทำง สำยไหมใหม่ (New Silk Road Economic Belt) คอื เครือข่ายเส้นทางบกจาก จนี ไปยัง 6 ภูมิภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียกลาง ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ เอเชียใต้ และยุโรป แบ่งการพัฒนาออกเป็น 6 เส้นทาง นอกจากน้ีในระเบยี งเศรษฐกจิ ท่ตี ดิ กบั ชายฝง่ั ยังเช่อื มโยงเป็นเครือข่าย เดียวกันกับเส้นทางเดินเรือทะเล ซึ่งแต่ละระเบียงเศรษฐกิจนอกจากจะมุ่งสร้าง โครงสร้างพ้นื ฐานเพอื่ เพ่ิมประสิทธภิ าพการขนส่ง ไดแ้ ก่ ถนน รถไฟ รวมถึงท่าเรือ และท่อส่งน้ามัน นอกจากน้ีในจุดศูนย์กลางการกระจายสินค้า ส่ิงอานวยความ สะดวกอ่ืน ๆ ถูกสร้างหรือพัฒนาข้ึนเพื่อรองรับการเจริญเติบโตทางการค้า เช่น เขตเศรษฐกิจพิเศษ การข้ามแดน ศลุ กากร เปน็ ต้น

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 13 - หน่งึ เสน้ ทำง (One Road) หนง่ึ เสน้ ทำง หรือ เส้นทำงสำย ไหมทำงทะเลในศตวรรษที่ 21 (21st Century Maritime Silk Road) เป็น เส้นทางเดินเรือท่ีเช่ือมจีนกับประเทศใน มหาสมทุ รตา่ ง ๆ เขา้ ด้วยกัน อีกท้ังความ แ อ อั ด ช่ อ ง แ ค บ ม ะ ล ะ ก า แ ล ะ ก า ร เ ป็ น เขตอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาและสิงคโปร์ ซึ่งมีข้อพิพาทกับจีน ทาให้เส้นทางสาย ไหมทางทะเลเป็นเครื่องมือท่ีจะช่วยลด การพึ่งพาจากช่องแคบมะละกา จีนจึงให้ ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร ล งทุ น แ ล ะ ก า ร ประกอบการท่าเรือต่าง ๆ ตามเส้นทาง สายไหมใหมน่ ้ี ในทศวรรษที่ผ่านมา จีนได้ ลงทุนในการสนับสนุนท้ังการสร้างท่าเรือ ใหม่ การพัฒนาศักยภาพท่าเรือท่ีมีอยู่เดิม ร ว ม ถึ ง เ ข้ า ไ ป ล ง ทุ น ป ร ะ ก อ บ ก า ร เป็นจำนวนเงินกว่ำ 5 พันล้ำนเหรียญ สหรัฐ ฯ ในทำ่ เรือต่ำง ๆ ท่วั โลก

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 14 - กำรลงทุนของจีนในท่ำเรอื ตำมนโยบำย One Belt One Road โดยจีนได้พัฒนา ทำ่ เรอื หลกั 4 ทำ่ เพ่ือ ร อ ง รั บ เ ส้ น ท า ง ส า ย ไหมใหม่ ได้แก่ -ทา่ เรอื ฝโู จว (Fuzhou Port) - ท่ า เรือ เฉ วีย น โ จ ว (Quanzhou Port) - ท่ า เ รื อ ก ว า ง โ จ ว (Guanzhou Port) -ท่ า เ รื อ จ้ า น เ จี ย ง (Zhanjiang Port) มซ่ึงหแาบสง่มเทุสรน้ อทนิ ำกเงดำเียดรินล-เงอรท่าือวุนอเอปขกออเรงปเ์ จซน็ นีีย2ใ-นเสททน้ ำ่ะทเเำรลงอืเมตคดอืำิเตมชอนารยโ์เฝรยเงั่บนตำียะนยวนั -Oอยอnโุ กรeขปอB(งCeจolนี tas-OtทanlะCeเลhจRinนี oaใตa-้d-South China Sea - Indian Ocean - Persian Gulf - The Mediterranean Sea - Europe) ชายฝั่งตะวนั ออกของจนี - ทะเลจีนใต้ - มหาสมทุ รแปซิฟิกตอนใต้ (Coastal China - South China Sea - South Pacific Ocean)

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 15 - 2. ควำมร่วมมือระหว่ำง ประเทศตำมเส้นทำงสำย ไหมใหม กำรริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทำง Belt and Road Initiative (BRI) หรือ One Belt One Road (OBOR) ชว่ ยเชือ่ มจนี กับสงั คมโลกใหแ้ น่นแฟน้ ยงิ่ ขึ้น ช่วยขจัดอุปสรรค ทางการค้าที่สาคัญบางประการของจีนให้หมดไป และสร้าง เส้นทางอนาคตใหม่ให้กับจีนและสังคมโลก อย่างไรก็ตาม โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ในต่างประเทศ นอกจากจะต้อง ไดร้ บั การอนมุ ตั จิ ากเจา้ ของพืน้ ท่ีหรือรฐั บาลของประเทศนั้น ๆ แล้ว ความร่วมมอื ระหวา่ งกันและการผสานผลประโยชน์อย่าง ยุตธิ รรม จึงจะทาให้โครงการพัฒนาเหล่านั้นมีความยัง่ ยนื ด้วย โครงการกอ่ สรา้ งตามเส้นทางสายไหมใหม่ ลว้ นเป็นโครงการที่ มีมูลค่ามหาศาล และเช่ือมโยงกันระหว่างประเทศ การผสาน ความร่วมมือจึงต้องเกิดจากการผลักดันในระดับรัฐต่อรัฐ ผ่านข้อตกลงระหว่างรัฐทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาค จีนผู้ เป็นหัวเรือใหญ่ได้มุ่งแสดงให้เห็นถึงความจริงจังท่ีจะผลักดัน โครงการเหล่านี้ โดยสง่ สัญญาณจากการผ่านการเยอื นของผนู้ า ระดับประเทศจีน และการผสานความร่วมมือทั้งระดับพหุรัฐ ระดับรฐั และระดับทอ้ งถ่ิน

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 16 - กำรประชุมสดุ ยอดผนู้ ำ “หนงึ่ แถบ หน่ึงเส้นทำง ว่ำด้วยควำมร่วมมือระหว่ำง ประเทศ” เม่ือวันที่ 14 - 15 พฤษภาคม 2560 ณ กรุงปักก่ิง (Joint Communique of the Leaders Roundtable of the Belt and Road Forum for International Cooperation) มีผู้นาประเทศ 29 ประเทศ พร้อมกับผู้แทนจากรัฐบาล มากกว่า 1,000 คน จาก 110 ประเทศ เข้าร่วมการประชุม เสมือนเป็นเครือ่ งชี้วัดถึงความสาคัญ และท่าที จากนานาชาติในการเข้าร่วมเส้นทางสายไหมใหม่ และในเดือนเมษายนปี 2562 จะมีการ ประชุมในสุดยอดผู้นา “หน่ึงแถบ หนึ่งเส้นทำง ว่ำด้วยควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศ” คร้ังที่ 2 ณ กรุงปักกิ่ง (2nd Belt and Road Forum for International Cooperation) ซ่ึงการประชุมแต่ละคร้ังสะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้มและปฏิกิริยาของนานาชาติที่มีต่อ นโยบาย One Belt One Road ของจนี

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 17 - 3. เงนิ ลงทนุ สนบั สนนุ ตำมโครงกำรพฒั นำในเสน้ ทำงสำยไหมใหม่ นอกจากจนี เปน็ หวั เรือใหญใ่ นการกาหนดยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมใหม่ แล้ว จีนยังเป็นนายทุนที่สรรหาและเตรียมแหล่งเงินทุนไว้รองรับการพัฒนาแก่ ประเทศสมาชกิ ผูเ้ ขา้ ร่วมดว้ ย เพราะศักยภาพในการพัฒนาของในแต่ละประเทศไม่ เท่ากัน ดังนั้นเพื่อขับเคลื่อนโครงการต่าง ๆ ให้เกิดขึ้นอย่างราบร่ืน จีนจึงได้จัดตั้ง กองทุนและสถำนบันกำรเงิน เพ่ือรองรับกำรพัฒนำบนเส้นทำงสำยไหมใหม่ โดยเฉพำะ 2 แห่ง ไดแ้ ก่ 1) กองทนุ เสน้ ทางสายไหม (Silk Road Fund) 2) ธนาคารเพ่ือการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเอเชีย (Asian Infrastructure Investment Bank หรือ AIIB

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 18 - 1). กองทุนเสน้ ทำงสำยไหม (Silk Road Fund) กองทุนสายไหมใหม่ (Silk Road Fund Co., Ltd.) ก่อต้ังขึ้น ณ กรุงปักก่ิง เม่ือวันท่ี 29 ธันวาคม 2557 ร่วมกันจัดตั้งสถำบันกำรเงินหลักของจีน 4 แห่ง คือ สานักงานบริหารเงินตรา ต่างประเทศแห่งชาติจีน (State Administration of Foreign Exchange) บริษัทเพื่อการลงทุน แห่งชาติจนี (China Investment Corporation) ธนาคารเพื่อการพัฒนาจีน (China Development Bank) และธนาคารเพื่อการส่งออกและการนาเข้าแห่งประเทศจีน (China Development Bank and Export - Import Bank of China) กองทุนสายไหมใหม่ ได้รับการออกแบบมาเพื่อส่งเสริมการ พัฒนาและความเจริญรุ่งเรืองร่วมกันของประเทศจีนและประเทศอ่ืน ๆ ในโครงการเส้นทางสายไหม ใหม่ ในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา กองทุนสายไหมใหม่ เข้าไปลงทุนในโครงการต่าง ๆ เช่น โรงไฟฟ้าพลังน้า ณ กรุงอิสลามาบัต ในปากีสถาน บริษัทยาง Pirelli จัดต้ัง China – Kazakhstan Production Capacity Cooperation Fund Co., Ltd. โรงก๊าซธรรมชาติเหลว (Yamal LNG) ในรัสเซีย โรงงานผลิตนา้ สะอาดและพลังงาน ในอาหรบั เอเมอรเ์ รต อียปิ ต์ และภูมิภาคใกล้เคียง

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 19 - 2). ธนำคำรเพอ่ื กำรลงทุนโครงสร้ำงพน้ื ฐำนเอเชีย (Asian Infrastructure Investment Bank หรอื AIIB) ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐานเอเชีย เป็นธนาคารเพ่ือการพัฒนาแบบพหุภาคี (Multilateral Development Bank) มีภารกิจสาคัญในการสนับสนุนด้านการเงินเพ่ือการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะโครงสร้างพ้ืนฐานในเอเชีย สานักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงปักก่ิง เริ่ม ดาเนินการในเดือนมกราคม 2559 และปัจจุบันมีสมาชิก 93 ประเทศ AIIB เป็นสถาบันการเงินที่มี ลักษณะคล้ายธนาคารโลก และธนาคารเพ่ือการพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank/ADB) อย่างไรก็ตาม นำยจิน หล่ี ฉุน ประธำน AIIB ได้กล่ำวไว้ว่ำ “AIIB จะต้องมีจิตวิญญำณที่สร้ำงสรรค์ และไม่เลียนแบบธนำคำรโลกและไม่คัดลอก ADB แต่เรำควรทบทวนและรับประสบกำรณ์กำรเงินทั้ง สองเพ่ือเรียนรู้ และมุ่งมั่นท่ีจะสร้ำงสถำบันกำรเงินแบบพหุภำคี ด้วยแนวคิดกำรกำกับดูแลท่ี เหมำะสมกับศตวรรษท่ี 21” การดาเนินงานของ AIIB เพิ่งอยู่ในระยะเริ่มต้น และต้องใช้เวลาในการ เรยี นรู้ เพ่ือให้สามารถปล่อยสนิ เชอื่ ทเ่ี หมาะสมแก่ประเทศสมาชิกได้

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 20 - เสน้ ทำงสำยไหม เส้นทำงกำรค้ำแห่งอนำคต “จีนกับเศรษฐกจิ โลก” “เสน้ ทำงสำยไหมใหม่” (New Silk Road) แบง่ เปน็ เส้นทำงสำยไหมทำงบก (Silk Road Economic Belt : One Belt) และเส้นทำงสำยไหมทำงทะเล (Maritime Silk Road : One Road) มวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือเชอ่ื มโยง เศรษฐกิจของทวีปเอเชีย ยุโรป และแอฟรกิ ำเขำ้ ด้วยกัน

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 21 - ยอ้ นรอย 03 เส้นทำงสำยไหม

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 22 - เส้นทำงสำยไหมใหม่ (New Silk Road Economic Belt and New Maritime Silk Road) หรือเรียกโดยย่อว่ำ (One Belt One Road : OBOR) เป็นแผนพัฒนาและ ยทุ ธศาสตรแ์ ห่งชาตขิ องสาธารณรฐั ประชาชนจนี ซงึ่ ปรากฏตอ่ สายตาชาวโลกอย่างเปน็ ทางการ ตั้งแตป่ ี 2556 โดยนายสีจิน้ ผิง ประธานาธิบดขี องจีน ไดป้ ระกาศรอ้ื ฟื้นเส้นทางสายไหมในอดีต มาต่อยอดและพัฒนาเป็น “เส้นทำงสำยไหมใหม่” แบ่งเป็นเส้นทำงสำยไหมทำงบก (One Belt) และทำงทะเล (One Road) มีวัตถุประสงค์เพ่ือเชื่อมโยงเศรษฐกิจของทวีป เอเชีย ยุโรป และแอฟริกำเข้ำดว้ ยกัน เส้นทางสายไหมใหมน่ ีจ้ ะนามาสกู่ ารเปล่ยี นแปลงท้ังทางเศรษฐกิจ การเมือง และ สังคมของประชาคมโลก เน่ืองจากเป็นนโยบายการพัฒนาท่ีมีมูลค่าสูงท่ีสุดเท่าที่เคยมีมา และเป็นนโยบายท่มี ีการปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศมากที่สุดของโลก ท้ังนี้ เพราะเส้นทาง สายไหมใหม่ จะพาดผ่าน 65 ประเทศ ใน 6 ภูมิภาค เมื่อรวมสถิติของทุกประเทศเข้า ดว้ ยกันจะพบว่า ประเทศต่าง ๆ ท่ีอยู่บนเส้นทางสายไหมใหม่ มีประชากรรวมกัน คิดเป็น ร้อยละ 62.3 ของทั้งประชากรโลก มีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รวมกันคิดเป็น ร้อยละ 30 ของ GDPโลก และมีการบริโภคภาคครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 24 ของการ บริโภคในครัวเรือนของท้ังโลก อีกท้ัง One Belt One Road จะเป็นโครงการท่ีก่อสร้าง โครงสร้างพ้ืนฐานระดับโลกที่มีขนาดใหญ่มากท่ีสุด เมื่อเปรียบเทียบกับโครงการในระดับ เดยี วกนั คือ โครงการมารแ์ ชลของสหรฐั ฯ ที่เกิดข้ึนเพื่อช่วยฟ้ืนฟูสภาพเศรษฐกิจท่ีถดถอย ของยุโรป หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ซึ่งมีมูลค่า ณ ปัจจุบันประมาณ 130 พันล้านเหรียญ สหรฐั ฯ ก็มขี นาดเพยี ง 1 ใน 11 ของ One Belt One Road เท่านั้น

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 23 - เส้นทำงสำยไหม : เม่อื ไหมของจนี มคี ่ำดั่งทองในอำณำจักรโรมัน จากหลกั ฐานทางโบราณคดี ทาใหเ้ ชื่อว่าตง้ั แต่ 300 ปกี ่อนศริสต์ศักราช จีนได้ติดต่อค้าขายกับโลกตะวันตกแล้ว โดยเฉพาะสินค้าไหมจากจีน ซึ่งเป็นท่ี นิยมในราชสานักโรมัน ถือเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยที่มีราคาแพง เนื่องจากเส้นทาง ขนสง่ ทางบกทหี่ า่ งไกลและยากลาบาก มีอตั ราภาษีทีส่ ูง และมีค่าผา่ นทางในพื้นท่ี ตา่ ง ๆ แต่ดว้ ยคุณภาพของสนิ คา้ ทีด่ จี งึ เปน็ ท่ีต้องการ ดังนั้นไหมจึงมีค่ำมำก บ่งบอกสถำนะทำงสังคมของผู้ครอบครอง ชาวโรมันซื้อสินค้าจากโลกตะวันออกมูลค่ามหาศาล ในช่วง ค.ศ.22 จักรพรรดิ ทิเบอริอุส (Tiberius) ทรงกล่ำวว่ำ ชำวโรมันใช้เงินไปกับของฟุ่มเฟือยจำก โลกตะวันออกมำกเกินไป งเป็นสำเหตุให้ผู้บริหำรกรุงโรมพยำยำมยุติกำรซื้อ สนิ คำ้ ฟมุ่ เฟือ่ ยเหลำ่ นี้ เพรำะทำให้เงนิ ในทอ้ งพระคลังร่อยหรอ

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 24 - ยุคที่การค้าบนเส้นทางสายไหมรุ่งเรืองมีอยู่หลายช่วงเวลา เพราะจีน สามารถควบคุมเส้นทางสายไหมได้ ได้แก่ สมัยราชวงศ์ฮ่ัน (ค.ศ.206 - 221) ราชวงศ์ถัง (ค.ศ.618 - 907) และราชวงศ์มองโกล (ค.ศ.1200 - 1360) เดิมเส้นทำงกำรค้ำจำกจีนไปยังยุโรปน้ี เรียกว่ำ “เส้นทำงตะวันตก” จนถึง ทศวรรษ 1870 นักภูมิศำสตร์ชำวเยอรมันช่ือ เฟอร์ดินำนด์ ฟวอน ไรซ์โธเฟน (Van Richthofen) เรียกเส้นทำงนวี้ ่ำ “เสน้ ทำงสำยไหม” (Silk Road) เสน้ ทางสายไหมมอี ายุ 2,000 กว่าปี ก่อนจะเส่อื มถอยลงจากสาเหตุ หลายประการ เช่น การพฒั นาการเดนิ เรอื ของชาตติ ะวันตก เทคนิคการเลยี้ ง ไหมทไี่ ม่ได้เป็นความลับและแพรข่ ยายมากขนึ้ การขยายอิทธิพลของรสั เซีย เข้ามาในเอเชยี กลางในชว่ งศริสตศ์ ตวรรษท่ี 19 เป็นต้น

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 25 - หำกแบง่ ตำมจดุ เรม่ิ ต้นเส้นทำงสำยไหมมี 2 เสน้ ทำง หลกั คือ เส้นทำงจำกฝั่งตะวนั ตกมำยงั ตะวนั ออก และฝ่งั ตะวันออกไปยังฝั่งตะวนั ตก 1. เส้นทำงจำกตะวันตกมำยังตะวันออก เส้นทางน้ีเริ่มจากเมืองคานีซ (สเปน) - คอร์โดบา (สเปน) - วาเลนเซีย (สเปน) - เจนัว (อิตาลี) - ออสเตรีย –บชี า - เตหะราน (อหิ ราน) - ทะเลทรายโกบี – ทร่ี าบสูงระหวา่ งเทอื กเขาหมิ าลัยกบั รสั เซยี – กาแพงเมอื งจีน สินคำ้ จำกฝ่งั ตะวนั ตกที่นำไปคำ้ ขำยแก่ฝ่ังตะวันออก ได้แก่ ม้า อานม้า ตน้ องุ่น ผลองนุ่ สุนัข และสัตวแ์ ปลก ๆ ขนสตั ว์ หนงั สัตว์ น้าผ้งึ ผลไม้ เครื่องแก้ว ผา้ ห่มขนสตั ว์ พรมขนสัตว์ สิ่งทอ (เช่นผ้ามา่ น) ทองคา เงิน อูฐ ทาส อาวุธและชุด เกราะ เป็นต้น ในจานวนนี้ส่วนหน่ึงเป็นสินค้าจาเป็นที่ใช้ในการเดินทางของกอง คาราวาน

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 26 - 2. เส้นทำงจำกตะวันออกไปยังตะวนั ตก เส้นทำงสำยไหมท่ีเริ่มต้นท่ีจีนมี 2 เส้นทำงหลัก คือ เส้นทำง สำยเหนือ และเส้นทำงสำยใต้ โดยเส้นทางเร่ิมจากเมืองลั่วหยาง (จีน) - โอเอซิสหลานโจว (จีน) - โอเอซิสตุนหวง (จีน) - ตะวันออกกลาง (เลบานอน) เสน้ ทำงแยก 2 เส้น คือ ขน้ึ เหนอื ไปกรุงแบกแดดต่อไปยัง ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและเข้ำสู่ยุโรป หรือ ลงใต้ไปอินเดียซึ่งบรรจบ กับเส้นทำงสำยใหม่ทำงทะเล อย่างไรก็ตามเส้นทางแยกย่อยต่าง ๆ ข้นึ อยูก่ บั วตั ถปุ ระสงคข์ องพ่อคา้ ในกองคาราวาน สินค้ำจำกฝั่งตะวันตก ที่นำไปค้ำขำยแก่ฝ่ังตะวันออก ได้แก่ ไหม ชา สีย้อมผ้า อัญมณี เคร่ืองเคลือบ (เช่น จาน ชาม ถ้วย แจกัน) เครื่องลายคราม เครื่องเทศ (เช่น อบเชย และขิง) ส่ิงประดิษฐ์จาก ทองแดงและทองคา ยา นา้ หอม งาชา้ ง ข้าว กระดาษ ดนิ ปนื เปน็ ตน้

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 27 - กอ่ นที่เส้นทำงทดี่ นิ ของเส้นทำงสำยไหมทำงบกจะเกดิ ขึ้น จีนได้พัฒนาการติดต่อทาง ทะเลกับต่างประเทศแล้ว โดยเส้นทางสายไหมทางทะเลเป็นเครือข่ายการค้าระหว่างจีนกับ ตา่ งประเทศ เส้นทางเร่ิมต้นที่เมืองท่าเรือในภาคตะวันออกของจีน เช่น กว่างโจว หนิงปอ หยาง โจว เผ่ิงหลาย ฯลฯ โครงขา่ ยเส้นทางสายไหมทางทะเล แบ่งออกเปน็ 2 เสน้ ทาง คือ 1.เสน้ ทำงทะเลจีนตะวันออก (East China Sea Routes) เส้นทางทะเลจีนตะวันออกมีมานานกว่า 3,000 ปี เร่ิมต้นคร้ัง แรกในสมัยราชวงศ์โจว บันทึกทางประวัติศาสตร์ได้กล่าวถึงในศตวรรษ ท่ี 12 ก่อนคริสตกาล กษัตริย์หวูแห่งราชวงศ์โจวได้ส่งข้าราชสานักจีน ชื่อว่า Ji Zi เดินทางโดยใช้เส้นทางทะเลจีนตะวันออก ออกจากอ่าวป๋ัว ไห่ของคาบสมุทรซานตงไปยังทะเลเหลือง เดินทางไปยังเกาหลีใน ปัจจบุ ัน ซง่ึ Ji Zi ได้เผยแพร่วธิ ีการเล้ยี งไหมและการปั่นด้ายในเกาหลี

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 28 - 2. เส้นทำงทะเลจีนใต้ (South China Sea Routes) เส้นทางทะเลจีนใต้ ตามบันทึกประวัติศาสตร์พบว่า จีนมีการติดต่อทาง การคา้ กับคาบสมุทรมลายูมาตง้ั แตส่ มยั ราชวงศฮ์ ่นั (206 –220 กอ่ นคริตส์กาล) ผ่าน ช่องแคบมะละกา จากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปยังอ่าวเบงกอล เชื่อมโยงจีนกับ ชายฝง่ั ของมหาสมุทรอนิ เดีย ซงึ่ มีเส้นทางแล่นเรือต่อไปยังทะเลแดงในอ่าวเปอร์เซีย และทวปี แอฟริกา เส้นทำงสำยไหมทำงทะเลมีส่วนสำคัญอย่ำงยิ่งต่อกำรค้ำและ เศรษฐกิจของจีนโบรำณ ดังน้ันสมัยราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน และ ราชวงศ์หมิงได้วางระบบการจัดการและกฎระเบียบการค้าแก่พ่อค้าชาว ต่างประเทศต่างๆ สร้างรายได้มหาศาลจากการค้าต่างประเทศ รวมถึง แลกเปล่ียนสนิ ค้ากบั ดนิ แดนอันหา่ งไกล และยงั มกี ารแลกเปลี่ยนและวัฒนธรรม ต่าง ๆ สินค้าส่งออกท่ีสาคัญของจีน ได้แก่ ผ้าไหม เคร่ืองเคลือบดินเผา ชา น้าตาล เป็นต้น ส่วนสินค้านาเข้ามีความหลากหลายมากมาย เช่น อัญมณี สมุนไพร เคร่ืองเทศ งาช้าง เคร่ืองแก้ว ผ้าฝ้าย เขาสัตว์ เครื่องทองและ เครอื่ งเงนิ เปน็ ต้น

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 29 - ยอ้ นรอยเส้นทำงสำยไหม “ชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 7 อำณำจักรโรมนั เสือ่ มอำนำจ จกั รวรรดิอสิ ลำมเรืองอำนำจ ขยำยอิทธิพลเขำ้ สสู่ เปนและเอเชยี กลำง พอ่ คำ้ อำหรับไดส้ รำ้ งทักษะกำรเดินเรือจนเปน็ ผคู้ วบคมุ เสน้ ทำงกำรเดินเรอื โดยเฉพำะเสน้ ทำงกำรคำ้ เครอ่ื งเทศ (Spice Route) ซ่ึง ในสมยั โบรำณแหล่งผลคิ เครอ่ื งเทศมีเพียง 2 แห่ง เทำ่ นัน้ คอื อินเดีย และ หม่เู กำะโมลุกกะของอินโดนเี ซยี (ถกู เรยี กว่ำ หมู่เกำะเคร่อื งเทศ)”

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 30 - 04 วัฒนธรรม บนเส้นทางสายไหม

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 31 - จยำอี้ว์กวน หรือ ด่ำนจยำอ้ีว์ เ ป็ น ด่ า น แ ร ก ข อ ง ก า แ พ ง เ มื อ ง จี น ท่ี ทอดตัวผ่านทะเลทรายโกบีบริเวณสุด เขตแดนภาคตะวันตกของจีน ได้รับฉายา นามว่าเป็น “ด่ำนย่ิงใหญ่แห่งแรกของ ใต้หล้ำ” เป็นด่านท่ีมีบทบาทสาคัญบน เส้นทางสายไหมโบราณ เป็นแห่งท่ี ผสมสผสำนระหว่ำงวัฒนธรรมเส้นทำง สำยไหมกับกำแพงเมอื งจีน

ด่ำนจยำอ้ีว์กวน สร้างข้ึนในช่วงต้นสมัย THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 32 - ราชวงศ์หมงิ (ค.ศ.1368 - 1644) ช่วงปี ค.ศ. 1539- 1540 เพอื่ ป้องกนั การรุกรานผู้นาชนเผ่าจากดินแดน เอเชยี กลาง Timur ผู้พชิ ิตดินแดน Turco-Mongol กาแพงเมืองจีนส่วนจยาอ้ีว์กวนน้ี สร้างข้ึน จากดนิ เหนียว ทาใหด้ ่านกาแพงเมืองจีนแห่งน้ีมีโทน สี เ ห ลื อ ง ก ล ม ก ลื น กั บ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ท ะ เ ล ท ร า ย ที่ ล้อมรอบตัวกาแพง ซ่ึงแตกต่างจากกาแพงเมืองจีน สว่ นอื่นๆซึง่ สรา้ งจากหนิ และอฐิ “จยำอี้ว์กวน” ต้ังอยู่ใน “เมือง จยำอ้วี ก์ วน” ซ่งึ เป็นหน่วยปกครองของมณฑล กันซู่แห่งภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ จีน พ้ืนท่ีรอบเขตแดนเมืองจยา อ้ีว์กวน: ทิศตะวันออกติดเมืองจ่ิวเฉวียนซ่ึงเป็นเมือง สาคัญในระเบียงเหอซี ทิศตะวันตกติดเมืองอ้ีว์- เหมิน ซ่ึงเป็นถ่ินน้ามัน, ทิศเหนือติดแคว้น ปกครองตัวเอง Yugur แห่งเมืองจางเย่ว์ซ่ึงอยู่ เย้ืองกับศูนย์ยิงดาวเทียมจ่ิวเฉวียน (Jiuquan Satellite Launch Center) เป็นพื้นที่สบ เช่ือมระหว่างมณฑลกันซู่ เขตปกครองตัวเอง อุยกูร์มณฑลซินเจียง มณฑลชิงไห่ และมณฑล มองโกเลียเข้าด้วยกันเป็นช่องทำงหลักของ เส้นทำงสำยไหมโบรำณ และเป็นท่ีต้ังของ กำแพงเมืองจีนช่วงสุดเขตแดนทิศตะวันตก จยาอ้ีว์กวนเป็นศูนย์เปล่ียนถ่ายสู่สะพานข้าม ทวีปสายใหม่ระหว่างเอเชียและยุโรป (New Eurasian Land Bridge) และเป็นทางแยก ของเส้นทางคมนาคมที่เชื่อมแผ่นดินตอนใน ของจนี เขา้ กับซินเจียง และเอเชยี กลาง

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 33 - ภำพมรดกวฒั นธรรมบนเสน้ ทำงสำยไหม

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 34 - วฒั นธรรมบนเสน้ ทำงสำยไหม “กำแพงเมอื งจีนส่วนจยำอีว้ ก์ วนนี้ สรำ้ งข้ึนจำกดินเหนียว ทำให้ดำ่ นกำแพง เมืองจนี แห่งนี้มีโทนสเี หลอื งกลมกลนื กบั ภมู ปิ ระเทศทะเลทรำยทล่ี อ้ มรอบตวั กำแพง ซงึ่ แตกตำ่ งจำกกำแพงเมืองจีนสว่ นอ่นื ๆซงึ่ สร้ำงจำกหนิ และอฐิ ”

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 35 - 05เสน้ ทำงสำยไหม ยุคโบรำณและยคุ กลำง

1.เนอื่ งจำกเหตุกำรณ์ทำงประวตั ิศำสตร์ มัน THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 36 - ย้อนกลับไปช่วงก่อนคริตกาลคือกว่า 2,000 ปีมาแล้ว ข้อมูลในยุคแรก ๆ ซ่ึงไม่มีบันทึกไว้แต่ใช้หลักฐานทาง โบราณคดหี รอื จากภาพวาด ทจ่ี ารึกตามถา้ ศาสนสถาน ตา่ ง ๆ ความน่าเช่ือถือย่อมมีน้อยกว่ายุคหลังคริสตกาล ไม่ว่าจะในตะวันออกกลาง ในเอเชียกลางหรือในจีนก็ ตาม แมใ้ นชว่ งครสิ ตกาล 1,000 ปีแรก ก็ยังมีข้อสังเกต ว่าอาณาจกั รหรือราชวงศท์ ุกยคุ ทกุ สมัย มีเกิด มีดับ ภัย พบิ ัติ กบฏ สงครามภายใน-ภายนอก การถกู รกุ รานจาก รฐั อืน่ หรือชนเผ่าเรร่ ่อน (nomads) มีช่วงวิกฤตและการ ล่มสลายเป็นเวลาที่ยาวนาน ย่อมมีผลกระทบต่อการ บันทึกข้อมูล ข่าวสารตลอดจนผลกระทบต่อบทบาท ของเส้นทางสายไหมในการเช่ือมโยงระหว่างส่วนต่าง ๆ ของยูเรเซีย ส่วนหน่ึงมาจากการขาดการส่งเสริมและ การให้ความคุ้มครอง การอานวยความสะดวกโดยรัฐ ขณะเดยี วกนั ก็มีบางช่วงที่ชนช้ันพ่อค้าพัฒนามาจากชน เผ่าเร่ร่อนจนอยู่เป็นชุมชนเกษตรกรรมหรือเมือง หรือ อาจจะยังเร่ร่อนแต่เป็นตัวกลางทางการค้า เช่น พ่อค้า Sogdians ใน Sogdiana แถบทะเลอาราล (Aral) บริเวณเอเชียกลาง ซ่ึงปัจจุบันอยู่ในกลุ่มประเทศที่ลง ท้ายด้วย “สถาน” (stan) ท้ังหลาย บทบาทของพ่อค้า Sogdians นี้มีมาก โดยเฉพาะตั้งแต่คริสตวรรษท่ี 4 เรื่อยมา (แม้อาจจะมีช่วงถดถอย แต่ก็ฟ้ืนบทบาทใน เวลาต่อมา) เป็นเวลาเกือบหน่ึงพันปี พ่อค้ากลุ่มน้ีมี บันทึกเป็นเอกสาร Sogdians letters ที่รู้จักกันดี ออกเปน็ ประจาทาให้เรารคู้ วามเปน็ ได้

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 37 - 2.เส้นทำงสำยไหมไม่มีจุดเริ่มต้นและจุดจบ ใน ท่แี ห่งใดแห่งหนึง่ มนั ทางานเหมือนเป็นเสน้ เลอื ดในรา่ งกาย ของเรา ในขณะที่ยุคโบราณ ยุโรปยังล้าหลังกว่าตะวันออก กลางและจีน อินเดียทางสายไหมทางบกเป็นจุดเชื่อมท่ี สาคัญระหว่างภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนท้ังหมดกับเอเซีย โดยเฉพาะอินเดียกับจีนหรือในยุคแรกๆ ตะวันออกกลาง แถบเมโสโปเตเมีย ซ่ึงในแง่ที่ตั้งท่ีอยู่ตรงกลาง ๆ บวกกับ ความอุดมสมบูรณ์สาหรับการเกษตรกรรม ส่งผลต่อการ เตบิ โตเปน็ เมืองใหญๆ่ จึงเป็นจุดยทุ ธศาสตรท์ ีส่ าคญั เหมือน เป็นศูนย์กลางของโลกหรือจักรวาล เช่นเดียวกับท่ีจีนเองก็ เชื่อว่าประเทศของตนเป็นเช่นนั้น แม้ปัจจัยพ้ืนฐานจะเป็น สาเหตุสาคัญท่ีทาให้ภูมิภาคตะวันออก ตะวันตกต้องการ ติดต่อกันไม่ว่าจะเป็นการค้าหรือการเดินทาง การเผยแพร่ แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมหรือศาสนาก็ตาม และแม้ว่า ผลติ ภัณฑ์ เชน่ ไหมจะเปน็ จดุ ขายของจีน เริ่มต้นเป็นหัวใจ ของถนนสายไหม ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ทำให้เช่ือได้ว่ำ เส้นทำงสำยไหมจำกจีนมำทำงตะวันตก ซ่ึงเร่ิมในสมัย ราชวงศ์ฮ่ัน ซึ่งมีอายุประมาณ 400 ปี เร่ิมจากช่วง 200 ปี ก่อนครสิ ตกาลน้ัน แสนยานุภาพของจนี ซึ่งพัฒนาในช่วงนี้มี ววิ ัฒนาการจากการถกู รุกรานจากชนเผา่ เรร่ ่อนจนต้องสยบ ยอ่ มตกเปน็ เบ้ยี ลา่ ง ตอ้ งใหส้ ่วยหรือบรรณาการเป็นไหมแก่ ชนเผ่าเร่ร่อนอยู่ช่วงเวลาหนึ่งจนในท่ีสุดจีนในยุคราชวงศ์ ฮั่นสามารถปราบชนเผ่าเร่ร่อนและคงความเป็นใหญ่ขยาย มาทางตะวันตกและเอเซียกลาง นาไปสู่การบรรจบพบกัน ของการใช้ภาวะแวดล้อมใหม่เพ่ือการค้าการเชื่อมต่อกัน ระหว่างโรม เมดิเตอเรเนียนและจีน อินเดีย ผ่านเอเชีย กลาง น่ีคือจุดเร่ิมต้นประมาณ 500 ปีแรก (200 bce – 300 ce)

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 38 - 3.ในช่วงเวลำน้ีควำมเป็นจริงแต่ไหนแต่ไรมำ การค้าทางไกลทางทะเลก็มีมาตลอด ฮิบปาลุส (Hippalus) ได้พบเส้นทางการค้าผ่านทะเลแดงกับชายฝั่งตะวันตกของอินเดียและมี ความสาคัญเพมิ่ ขน้ึ เร่อื ยๆ ทา่ เรือฝั่งทะเลแดงสามารถดูแลการค้าของจักรวรรดิโรมัน ของอียิปต์กับจีน อินเดีย และคาบสมุทรอาระเบีย คร่ึงหนึ่งของสินค้าจากจีนจะเป็นเคร่ืองเทศนาเข้า โดยพ่อค้าจาก จักรวรรดิกุษาณะ (Kushan) และสินค้าคร่ึงหน่ึงจากตะวันออกกลางไปจีนจะเป็นเคร่ืองสาอาง ช่วง คริสตกาล 200 ปแี รกรัฐโรมนั เกบ็ ภาษีนาเข้าอัตรา 25% ของมูลค่าสินค้า เพราะฉะนั้นการค้าทางไกล โดยทางทะเลเป็นทางเลือกทดแทนกันได้กับทางบกมานานแล้ว เช่ือกันว่ำแม้จักรวรรดิมองโกลจะมี บทบำททำใหเ้ กดิ ควำมมนั่ คงและเสถียรภำพกำรเช่ือมโยงทำงบกแถบยูเรเซีย ประมาณกว่า 200 ปี จนถึงปลายศตวรรษท่ี 14 การคา้ ทางทะเลตั้งแต่บริเวณอินโดนีเซีย ทะเลจีนใต้ ตะวันออกเฉียงใต้ผ่าน มหาสมุทรอินเดียมาทางอ่าวเปอร์เซียหรือทะเลแดงค่อยๆ ทวีความสาคัญมากข้ึนเรื่อย ๆ ตั้งแต่ ประมาณศตวรรษที่ 10 เป็นตน้ มา อย่ำงไรก็ตำม “กำรค้ำไหมส่วนใหญ่จะทำผ่ำนกองคำรำวำนทำง บกบนเส้นทำงสำยไหม” เช่ือกันว่าทางสายไหมคงถึงจุดอ่ิมตัวประมาณหลังยุคทองของราชวงศ์ถัง โดยเฉพาะหลังคริสตวรรษท่ี 9 ในภาพรวมเสน้ ทางสายไหมในช่วงต้ังแตป่ ระมาณ 200 ปีก่อนครสิ ตกาล จะมีชว่ งหยดุ ชะงกั มบี ทบาทน้อยมาก แม้จะไม่หายตายจากในช่วงศตวรรษที่ 3 และที่ 4 ซ่ึงเป็นช่วงที่ จีนและอินเดียทางเหนือมีปัญหา ยุคทองของเส้นทางสายไหมในช่วงพันปีแรกน่าจะอยู่ระหว่าง ศตวรรษที่ 5 กับศตวรรษท่ี 8 ซ่งึ เป็นยุคทองของจนี ตรงกบั ราชวงศส์ ยุ และราชวงศถ์ งั

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 39 - 4.จักรวรรดหิ รืออำณำจกั รชนเผ่ำเรร่ อ่ น มีการเปล่ยี นสภาพหรือล่มสลาย ในแตล่ ะช่วง เสน้ ทำงสำยไหมไม่ได้หำยไปจำกภูมิภำคยูเรเซีย มีช่วงขาลงแต่ก็จะ มีการฟื้นตวั เพราะทั้งภูมภิ าคมีความเจริญเติบโต การเปล่ียนแปลงของประชากร ของชุมชนอารยธรรมเกษตรกรรม ของชุมชนเมือง ซึ่งล้วนแล้วแต่ทาให้เกิดความ ต้องการของมนุษย์ท่ีจะติดต่อซ่ึงกันและกัน เม่ือเข้าศตวรรษที่ 12 แม้ว่าจักรวรรดิ มองโกล (ช่วงต้นศตวรรษท่ี 13 ถึงปลายศตวรรษท่ี 14) จะมีส่วนช่วยให้ผลิตภัณฑ์ ไหมของจีนมีความต้องการมากข้ึน เม่ือคานึกถึงคุณภาพและราคาซึ่งถูกกว่าไหมท่ี ขายในจักรวรรดิ Byzantine หรือในอิหร่าน และยังทาให้ไหมจีนยังเป็นท่ีนิยม โดยเฉพาะในยโุ รปมากข้นึ

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 40 - 5.ในเอเชียกลำงซึ่งเป็นจุดเช่ือมยุทธศำสตร์สำคัญระหว่ำงตะวันออก ตะวันตก กำร เดินทำงและบทบำทของพ่อค้ำ Sogdiansเป็นพาหะและกลไกสาคัญของการส่งออกนาเข้าสินค้า โดยเฉพาะประเภทฟุ่มเฟอื ย แกนกลางของเส้นทางการคา้ เชน่ จากจีน (Trans Asian Trade Routes) นอกจากไหมพ่อค้า Sogdians ค้าทาส โลหะ หินแร่มีค่า ขนสัตว์จากทางเหนือของยุโรป เคร่ืองเงิน อาพัน ผลิตภัณฑ์ประเภททองเหลือง พริกไทย กระดาษ ลูกอม น้าตาล เครื่องสาอาง โดยเฉพาะจาก เปอร์เซีย เป็นต้น อย่ำงไรก็ตำม มันไม่ใช่เพียงแค่กำรค้ำแลกเปลี่ยนสินค้ำอย่ำงเดียวที่สำคัญ กำร อพยพของคน กำรเดินทำงแลกเปล่ียนควำมรู้ควำมคิดและวัฒนธรรมกำรถ่ำยทอดควำมรู้และ วทิ ยำกำร หลายอย่างมากจากนักบวชหรือพระ ผลของการเผยแพร่ศาสนาจากศูนย์กลาง 3 ศาสนาท่ี เป็นแหลง่ กาเนิดในเอเชยี ตะวันตก คอื Judaism อสิ ลามและศาสนาครสิ ต์ และศาสนาพุทธจากอินเดีย มาท่ีตะวันออกกลาง เอเชียผ่านอาฟกานิสถานมายังจีน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เกาหลี ญ่ีปุ่น ล้วนมี ความสาคัญไมแ่ พ้การคา้

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 41 - “เส้นทำงสำยไหม (Silk Road) ร่องรอยอำรยธรรมในเอเชยี กลำงแห่ง อุซเบกสิ ถำนและเติร์กเมนิสถำน”

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 42 - ตำมรอยเส้นทำงสำยไหมใน อุซเบกสิ ถำนและเตริ ก์ เมนสิ ถำน เส้นทำงสำยไหม ไม่ใช่ชื่อของถนนเส้นเดียว แต่คือกลุ่มของถนน หลำยๆเส้นรวมกัน ใช้สัญจรในกำรค้ำขำย ขนส่งสินค้ำและไอเดีย นานกว่า 1,500 ปี เชื่อมระหว่างจีนกับตะวันตก เพื่อใช้ในกำรกำรขนส่งสินค้ำ ควำมคิด วัฒนธรรม หรือแม้กระทั่งโรคติดต่อ อย่างเช่น กาฬมรณะ (Black Death) ที่ คร่าชีวิตชาวตะวันตกในกลางศตวรรษที่ 14 กว่า 200 ล้านคน พ่อค้าชาว ตะวันออกขนส่งไหมท่ีใช้ตัดทอชุดเส้ือผ้าสาหรับราชสานักตะวันตก รวมถึงสินค้า อื่นๆเช่น หยก หินสวยงาม ชา และเครื่องเทศ เพ่ือแลกกับ ม้า เคร่ืองแก้ว ทองคา เงิน สง่ิ ทอ และสนิ ค้าอตุ สาหกรรมอื่นๆจากพอ่ ค้าตะวนั ตก เส้นทำงสำยไหม มีระยะทางประมาณ 6,437 กิโลเมตร เป็นเส้นทางการค้าท่ี ยาวที่สุดในประวัติศาสตร์ ตัดผ่านภูมิประเทศที่น่าสะพรึง รวมถึงทะเลทรายโกบิและ ขุนเขาปาร์มี โดยเส้นทางสัญจรน้ีไม่ได้รับการดูแลจากรัฐบาลใดๆเลย ทาให้ถนนมีความ ทุรกันดารมาก และอนั ตรายเต็มไปดว้ ยหมู่โจร ดังนั้นกำรเดนิ ทำงบนถนนเส้นนี้จึงเป็นไป ในรูปแบบคำรำวำนกลมุ่ ใหญ่ โดยมอี ฐู และฝูงสตั วเ์ อือ้ อำนวยตลอดเส้นทำง

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 43 - มำร์โค โปโล (Marco Polo) เป็นหน่ึง ในพอ่ คำ้ ช่ือดงั ชำวเวนิสที่ใชเ้ ส้นทำงสำยไหม เม่ือเขา เดินทางไปขายสินค้ากับบิดาเม่ือตอนอายุ 17 และได้ เขียนบันทึกการเดินทางที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ เอาไวใ้ ห้ชนรุ่นหลังได้ศึกษา การแลกเปลี่ยนข้อมูลและ ความคิดผ่านเส้นทางนี้ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงด้าน เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆบนโลกของเรา รวมถึง การเปลี่ยนแปลงทางการเมอื งท่สี าคัญ เช่น การค้าขาย ม้าระหว่างจีนและตะวันตกทาให้จีนสามารถมีพลัง อานาจในการสู้รบ ในขณะท่ี ดินปืนจากจีนทาให้ รปู แบบการสงครามฝง่ั ยุโรปเปลี่ยนไป เส้นทำงสำยไหม ตัดผ่านหลายประเทศรวมถึง อุซเบกิสถำน และ เติร์กเมนิสถำน ซึ่งยังทิ้งร่องรอยความรุ่งเรือง หรูหราไว้ในดินแดน แห่งอารยธรรมเหลา่ นจ้ี นกระทัง่ ปจั จุบัน

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 44 - ซำมำร์คนั ด์ (Samarkand), อุซเบกสิ ถำน เมืองซำมำร์คันด์ (Samarkand) สถานท่ีสาคญั ของเสน้ ทางสายไหมท่ี หน่ึง เน่ืองจากเป็นทางตัดผ่าน เส้นทางการค้าระหว่างเอเชียและ ยุโรป เป็นทางผ่านของวัฒนธรรม โลกยาวนานหลายพันปี และเป็น ศูนย์กลางการค้าที่รุ่งเรืองเฟ่ืองฟู ที่สดุ เ น่ื อ ง จ า ก ใ น ยุ ค โ บ ร า ณ ตอนปลายและยุคกลางตอนต้น ซำ มำรค์ นั ด์ถูกปกครองโดยพ่อค้ำชำว Sogdian ต้นตระกูลชำวอิหร่ำน (Persian) ผู้ท่ีถูกกล่าวขานว่ามี ทกั ษะเปน็ เลศิ ทำงกำรค้ำ ได้เข้ำมำ มีบทบำทสำคัญในกำรปูพื้นฐำน กำรคำ้ อย่ำงดีเยี่ยมใหก้ บั เมืองนี้

THE SILK ROAD (เสน้ ทำงสำยไหม) - 45 - “ตอ่ มำในปี ค.ศ. 1220 ซำมำรค์ นั ด์ ถูกรกุ รำนและถกู ทำลำยจำก กองทัพซึ่งนำโดยเจงกสิ ขำ่ น (Chengis Khan) สถำปตั ยกรรมทำง ประวัติศำสตรท์ ่ีงดงำมถกู ทำลำยเหลอื เพียงซำกปรักหักพัง”

THE SILK ROAD (เส้นทำงสำยไหม) - 46 - จากนั้นในปี ค.ศ. 1370 ทาเมอร์เลน (Tamerlane) หรือ อามีร์ ติมูร์ (Amir Timur) แห่งราชวงศ์ Timurid เข้าครอบครอง ตั้งให้ ซามาร์คันด์เป็นเมืองหลวง ได้กระตุ้นการค้าขาย ให้เฟื่องฟูยิ่งขึ้นไปอีก และที่สาคัญราชวงศ์นี้ได้ สรา้ งเมืองใหม่อยา่ งต่อเนือ่ ง หน่ึงในสถาปัตยกรรม ที่งดงามเกนิ คาบรรยาย คอื ชำห์อีซินดำ (Shah-i Zinda) ซ่ึงเป็นสิ่งก่อสร้างที่สมบูรณ์ท่ีสุดจากยุค กลางศตวรรษท่ี 14 ถึง กลางศตวรรษท่ี 16 สร้าง ดว้ ยกระเบือ้ งเซรามิคหลากสี ทาให้ดูโดดเด่น และ สวยงาม ก า ร ค้ า ข า ย ท่ี ซ า ม า ร์ คั น ด์ เ ฟ่ื อ ง ฟู ตั้ ง แ ต่ ยุคโบราณ และยุคกลาง เนื่องจากเป็นชุมทาง การค้าจากอินเดียและจีน แต่เมื่อปี 1500 กลุ่ม Shaybanids ชาวอุซเบกเข้าปกครองและยกให้ซา มาร์คันด์ กลายเป็นเมืองน้องของ เมืองบูคาร่า (Bukhara) ซึ่งเป็นศูนย์กลางใหม่ในสมัยน้ัน ทาให้ ซามาร์คนั ด์ ถกู ลดความสาคญั ลงไปอย่างมาก และ กลายเปน็ เมืองท่ีเงยี บเหงา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook