อาหารเปน็ ยา...ส่วู ิถรี กั ษส์ ขุ ภาพ ISBN : 978-616-11-4869-0 ที่ปรึกษา ดร.สาธิต ปติ เุ ตชะ รฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ นายแพทยไ์ พจติ ร์ วราชิต ประธานคณะท่ีปรกึ ษารฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสุข พลเอก ภาณุวัชร นาควงษม์ คณะท่ีปรึกษารัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ นายสมศกั ดิ์ พะเนียงทอง คณะท่ปี รึกษารัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสุข นายแพทยย์ งยศ ธรรมวฒุ ิ อธบิ ดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คณะบรรณาธิการ นายแพทยณ์ รงค์ สายวงศ์ รองปลดั กระทรวงสาธารณสุข นายแพทยข์ วญั ชัย วิศษิ ฐานนท ์ รองอธิบดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก นายแพทยจ์ ักราวุธ เผอื กคง ผ้อู ำ� นวยการสถาบนั การแพทย์แผนไทย กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก นางอจั ฉรา เชียงทอง กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก นางสาวอุบลรตั น์ มโนศิลป ์ กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก นางสาวอรวิกา เกาะยอ กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก พมิ พ์คร้งั ที่ 1 : พฤษภาคม 2565 จ�ำนวนพิมพ ์ : 500 เลม่ จดั ทำ� โดย : สถาบันการแพทยแ์ ผนไทย กรมการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข พิมพท์ ่ี : บริษทั สามเจรญิ พาณชิ ย์ กรงุ เทพ จำ� กดั
กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยการดแู ลภาวะสขุ ภาพของประชาชน ลดภาวะความรนุ แรงของการเจบ็ ปว่ ยดว้ ย โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และ โรคไขมันในเลือด ซึ่งนับเป็นปัญหาสุขภาพท่ีส�ำคัญ ทั้งในมิติของจ�ำนวนการ เสยี ชวี ติ และภาระคา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นสขุ ภาพโดยรวม การสง่ เสรมิ ใหค้ นไทยมพี ฤตกิ รรม การบริโภคอาหารและการออกก�ำลังกายอย่างถูกต้อง เหมาะสม จึงเป็นหน่ึง ในภารกจิ ทีส่ �ำคัญของกระทรวงสาธารณสขุ คู่มือ “อาหารเป็นยา...สู่วิถีรักษ์สุขภาพ” เล่มน้ี เป็นจุดเร่ิมต้นของ กระบวนการดำ� เนินงานเพือ่ ขับเคล่อื นนโยบาย “อาหารเป็นยา” โดยอาศยั กลไก ความร่วมมือ และการเชื่อมโยงจากทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อให้ สามารถดำ� เนนิ งานไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมและครบวงจร เปน็ ตวั อยา่ งแนวทางปฏบิ ตั ิ ให้กับหน่วยงานที่เก่ียวข้องให้สามารถน�ำไปด�ำเนินการและขยายผลสู่วงกว้าง เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้ประชาชนเก่ียวกับความสำ� คัญของการบริโภคอาหาร เปน็ ยา น�ำไปสู่การสรา้ งเสริมสุขภาพตามวิถีธรรมชาตทิ ่เี หมาะสม รวมทงั้ สามารถ สรา้ งรายได้ สรา้ งเศรษฐกจิ ใหก้ บั ประเทศได้อกี ทางหน่งึ ในโอกาสนี้ ผมขอขอบคุณ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมอนามยั และสำ� นกั งานคณะกรรมการ อาหารและยา ที่เป็นแกนหลักส�ำคัญในการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานดังกล่าว ขอชนื่ ชมความอตุ สาหะของคณะผจู้ ดั ทำ� คมู่ อื “อาหารเปน็ ยา...สวู่ ถิ รี กั ษส์ ขุ ภาพ” 11
ทกุ ทา่ น และหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ คมู่ อื ฉบบั นจ้ี ะเปน็ ประโยชนส์ ำ� หรบั ผเู้ กย่ี วขอ้ ง ที่จะใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานเพ่ือสนับสนุนและขับเคล่ือนนโยบาย “อาหารเปน็ ยา” ให้ส�ำเร็จลลุ ว่ งไปไดด้ ้วยดี (ดร.สาธติ ปติ ุเตชะ) รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสุข
ปัจจุบันปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือโรค NCDs (Noncommunicable diseases) เปน็ ปญั หาสขุ ภาพทส่ี �ำคัญ กอ่ ให้เกดิ ผลกระทบท้ังทางดา้ นสุขภาพ และทางด้านจิตใจ อีกท้ังยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม โดยปัจจัย ส�ำคัญของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังส่วนใหญ่ล้วนมาจากพฤติกรรมการดูแลตนเอง และการบรโิ ภคอาหาร กระทรวงสาธารณสุขจึงได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของพฤติกรรมการ บรโิ ภคอาหารของประชาชนในแตล่ ะวนั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ภายใตส้ ถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 การมีสุขภาพร่างกาย ท่ีแข็งแรงถือเป็นสิ่งท่ีช่วยลดโรคภัยไข้เจ็บ ลดความรุนแรง หรือลดภาวะ แทรกซ้อนของโรคได้ จงึ ไดม้ ีนโยบายขบั เคล่อื น “อาหารเปน็ ยา” ขนึ้ และได้ จัดท�ำแนวทางการจัดกิจกรรมขับเคล่ือนนโยบายอาหารเป็นยาใน 15 จังหวัด 12 เขตสุขภาพข้ึน ในชื่อของ “อาหารเป็นยา...สู่วิถีรักษ์สุขภาพ” เล่มนี้ เพอ่ื สง่ ตอ่ การมสี ขุ ภาพดดี ว้ ยการรบั ประทานอาหารใหก้ บั ประชาชนทวั่ ประเทศ ผ่านการพัฒนาองค์ความรู้ สร้างความรอบรู้ ความเชื่อม่ัน และการยอมรับ ในการบริโภคอาหารเป็นยา นอกจากน้ีเพ่ือสื่อสาร และสร้างกระแสให้ ประชาชนตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ในการบรโิ ภคอาหารเปน็ ยา อกี ทง้ั ยงั สง่ เสรมิ ให้สถานประกอบกิจการร้านอาหารปรุงอาหารให้เป็นยาเพิ่มมากขึ้น และ ส่งเสริมการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารส�ำเร็จรูป และเคร่ืองด่ืมพร้อมจ�ำหน่าย ในชุมชนเพิ่มมากข้ึน โดยการสร้างกลไกความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบกิจการร้านอาหาร และผู้บริโภค เข้ามามสี ว่ นร่วมในการขับเคลื่อนนโยบายอาหารเป็นยา 11
คำ� นยิ ม คำ� นำ� สารบัญ 1. บทนำ� 1 1 1.1 ความเป็นมา 4 1.2 วตั ถุประสงค ์ 5 1.3 เปา้ ประสงค ์ 5 1.4 เป้าหมาย 5 1.5 นยิ ามทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2. ข้ันตอนการด�ำเนนิ งาน 7 ส่วนที่ 1 การดำ� เนินงานจดั กจิ กรรมเพื่อขบั เคลอื่ นนโยบายอาหารเป็นยา 7 สว่ นที่ 2 การคัดเลือกสถานประกอบการเขา้ รว่ มกิจกรรม 9 3. ผลลัพธ์การดำ� เนนิ งาน 11 สว่ นที่ 1 สถานประกอบกิจการรา้ นอาหาร ภตั ตาคาร และแผงลอย 11 ส่วนที่ 2 ผลติ ภัณฑ์อาหารส�ำเรจ็ รูป และเครือ่ งดม่ื พรอ้ มจำ� หนา่ ยในชมุ ชน 12 ภาคผนวก ภาคผนวก ก 14 ตวั อยา่ งเมนูอาหารสุขภาพ ภาคผนวก ข 1. Clean Food Good Taste และ Clean Food Good Taste Plus 35 2. เมนชู สู ขุ ภาพ 44 3. Foods for Health 47 4. หลักเกณฑก์ ารตรวจรบั รองความปลอดภยั ด้านสุขลักษณะ ผลิตภณั ฑ์อาหารและเครือ่ งดื่มสมุนไพร 49 ภาคผนวก ค ค�ำส่งั คณะกรรมการขับเคลอื่ นนโยบายอาหารเปน็ ยา 53
1.1 ความเป็นมา ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือโรค NCDs (Noncommunicable diseases) เป็นปัญหาท่ีส�ำคัญในระดับโลก เน่ืองด้วยกลุ่มโรคดังกล่าวคร่าชีวิต และบ่ันทอน สุขภาพของผู้คน และสง่ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ และสังคม ปัญหา ภาวะน้�ำหนักเกินและความอ้วนจัดเป็นปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่ส�ำคัญที่ก่อให้ เกิดโรค NCDs ตามมา สร้างผลกระทบทางสุขภาพท้ังปัญหาสุขภาพกายและ สขุ ภาพจติ ทเี่ ปน็ ปญั หาเฉยี บพลนั และปญั หาเรอ้ื รงั โดยเฉพาะโรคหวั ใจขาดเลอื ด และเสน้ เลอื ดตบี ยงั คงเปน็ สาเหตกุ ารสญู เสยี ปสี ขุ ภาวะอนั ดบั ตน้ ๆ ของประชากร ทวั่ โลก โดยพบเสยี ชวี ติ จากโรคหวั ใจขาดเลอื ด และเสน้ เลอื ดตบี ในปี 2562 ทำ� ให้ สญู เสียปีสขุ ภาวะร้อยละ 7.19 และ 5.65 ตามล�ำดับ (GBD Compare, 2562) โดยโรคอ้วนและการมีไขมันในเลือดสูงเป็นสาเหตุส�ำคัญในการเกิดโรคหัวใจ ขาดเลอื ดและเส้นเลือดตบี จงึ จดั เปน็ ปจั จัยเสี่ยงทางสุขภาพ จากข้อมูลการส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย คร้งั ท่ี 6 พ.ศ. 2562 - 2563 พบวา่ ภาวะน�ำ้ หนักเกินและโรคอ้วนในประเทศไทย มที ิศทางทีเ่ พิม่ ขนึ้ อยา่ งชดั เจน ท้ังในประชากรชายและหญงิ ถงึ แมว้ า่ ประชากร ชายจะมคี วามชกุ ต�่ำกวา่ หญงิ แต่มีอัตราการเพิม่ ทรี่ วดเรว็ กวา่ (วิชัย เอกพลากร และคณะ, 2563) การส�ำรวจดังกล่าวยังพบว่าประชาชนไทยอายุ 15 ปีข้ึนไป ร้อยละ 42.4 มีภาวะอ้วน (BMI ≥25 kg/m2) (เพศชายร้อยละ 37.8 และ เพศหญิงร้อยละ 46.4) ส�ำหรับภาวะอ้วนลงพุงประเมินโดยใช้เส้นรอบเอว ในประชากรไทยอายุ 15 ปีข้ึนไป (ผู้ชายรอบเอวไม่เกิน 90 เซนติเมตร ผู้หญิง รอบเอวไม่เกิน 80 เซนติเมตร) พบภาวะอ้วนลงพุง ร้อยละ 39.4 (เพศชาย ร้อยละ 27.7 และเพศหญิงร้อยละ 50.4) เมื่อเปรียบเทียบกับผลการส�ำรวจ สุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งท่ี 5 เมื่อปี 2557 พบความชุก อาหารเป็นยา... สูว่ ถิ รี กั ษส์ ขุ ภาพ 1
ของภาวะอว้ นมแี นวโนม้ สงู ขนึ้ อยา่ งชดั เจน โดยเฉพาะในผหู้ ญงิ จากความชกุ ภาวะ อ้วนเพิม่ จากร้อยละ 41.8 เปน็ รอ้ ยละ 46.4 ส่วนในผู้ชายเพิ่มจากรอ้ ยละ 32.9 เปน็ ร้อยละ 37.8 โดยโรคเหล่าน้ีล้วนมีสาเหตุมาจากปัจจัยเส่ียงที่สามารถป้องกันและ แก้ไขได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เกิดจากวิถีการด�ำเนินชีวิต ท่ีไม่สมดุล มีการบริโภคมากเกินความต้องการของร่างกาย ออกก�ำลังกายน้อย จากรายงานผลส�ำรวจพฤติกรรมสุขภาพของคนไทยในปี 2560 – 2564 จากระบบข้อมูล H4U ของกรมอนามัย พบคนไทยเกินคร่ึงกินผักไม่เพียงพอ สว่ นการกนิ น�ำ้ ตาลและไขมันมแี นวโนม้ เพม่ิ สงู ขึ้นเร่อื ย ๆ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข จึงได้ด�ำเนินนโยบายเพ่ือจะป้องกันและลดปัญหาดังกล่าว โดยด�ำเนินโครงการพัฒนาเมนูชูสุขภาพ มีการก�ำหนดเมนูที่ผ่านการรับรองเป็น เมนชู สู ขุ ภาพของอาหารมอื้ หลกั จะตอ้ งมผี กั เปน็ สว่ นประกอบอยา่ งนอ้ ยมอื้ ละ 2 ทพั พีตอ่ คน และมีสดั ส่วนไขมนั ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 30 ในทฤษฎกี ารแพทยแ์ ผนไทยไดก้ ลา่ วไวว้ า่ กนิ อยา่ งไรจะไมเ่ จบ็ ไมป่ ว่ ย ในองค์ความรู้ที่รู้กันเป็นธรรมดาในสมัยก่อนว่าท�ำไมเราต้องกินก็เพราะร่างกาย ของเราต้องการอาหารใหม่ น�ำไปสร้างพลังงานเพ่ือเจริญเติบโตและซ่อมแซม ส่วนท่ีสึกหรอ น่ันคือ ความรู้ต้ังแต่สมัยเรียนชั้นประถมของเราทุกคน และในทางการแพทย์แผนไทยยังได้กล่าวถึงเรื่องอาหารไว้ว่าเคร่ืองอาหาร (ส่วนประกอบ และส่วนปรุงรส) บอกสรรพประโยชน์ รสอาหารบอกสรรพคุณ ถ้ากินถูกส่วนถูกรส ก็จะไม่ป่วยไข้ ถ้ากินผิดเรียกกินอาหารผิดส�ำแดง เน่ืองจาก ไปขัดกับโรคหรืออาการที่เป็นอยู่ ทั้งที่รู้และยังไม่รู้ว่าเป็นโรค องค์ความรู้น้ี ได้สอนบอกลูกหลานต่อ ๆ มาเป็นเรื่องปกติ และหากเม่ือใดที่เจ็บป่วยก็ให้ไป ทส่ี วนขา้ งบา้ นหรอื หลงั บา้ น จะมตี วั ยาอยเู่ ตม็ ไปหมด ถา้ เจบ็ ปว่ ยมากขนึ้ ถงึ จะไป หาหมอ ซึ่งมีอยู่จ�ำนวนน้อยมาก ดังนั้น การไม่เจ็บป่วยด้วยการกินอาหารให้ถูก จงึ มคี วามสำ� คัญมาก ความรูเ้ หล่านใ้ี นสมยั ก่อนรู้กนั ทกุ บา้ น แต่ปัจจุบันรู้กนั นอ้ ย มาก จึงควรช่วยกันเผยแพร่เพ่ือให้ประชาชนตระหนักและเห็นความส�ำคัญของ การดูแลสุขภาพด้วยการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง และเหมาะสม ลดการเกิด โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) อันเน่ืองมาจากพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภค อาหาร 2 อาหารเป็นยา... สู่วถิ รี กั ษส์ ุขภาพ
สรรพรสของพืชผกั บอกสรรพประโยชน์ สรรพรสของพชื ผกั สรรพประโยชน์ - ฝาด สมาน - หวาน บำ� รงุ เนื้อ - มนั บำ� รงุ เสน้ - เค็ม รกั ษาเนือ้ - เปรยี้ ว ลดเสลด/ บ�ำรุงโลหติ - ขม บำ� รุงนำ�้ ด/ี ตับ - ร้อน ชว่ ยขับลม - เย็น ดบั ร้อนภายใน ดังน้ันเมนูน�้ำพริกจึงจัดเป็นเมนูท่ีส่งเสริมพฤติกรรมการกินผัก ของคนไทย โดยที่ต้องกินคู่กับผัก ซึ่งในหนังสือเล่มนี้จะมีเมนูประเภทน้�ำพริก มากกว่า 30 เมนู ซ่ึงเมนูน�้ำพริกเป็นเมนูที่ให้ไขมันต่�ำ มีวิตามิน แร่ธาตุ สารพฤกษเคมี และเสน้ ใยอาหารสูง จากผักท่ีน�ำมาจ้ิมกับนำ้� พรกิ เพ่อื ใหท้ กุ ทา่ น ไดเ้ ลอื กไปทำ� กนิ เอง จะชว่ ยใหท้ า่ นไดร้ บั พลงั งานจากอาหารทไ่ี มม่ ากเกนิ ไป และ ช่วยควบคุมน�้ำหนกั ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ส่งผลใหไ้ มเ่ ปน็ โรคอ้วนและ NCDs ตามมา จะเห็นได้ว่าอาหารไทยจะเน้นการประกอบอาหารด้วยวิธีการต้ม ย�ำ ต�ำ แกงเป็นหลัก ในแต่ละม้ืออาหาร ซึ่งเป็นกรรมวิธีการปรุงอาหารของ คนไทย ผดั จะเน้นนอ้ ยมาก ใชค้ วามมันจากน้ำ� มันน้อยมาก อาหารของคนไทย จึงเป็นอาหารของคนที่ไม่อยากอ้วน คนไทยในสมัยก่อน จะจิบยาลมอุ่นๆ หลงั มอื้ อาหาร เพอื่ ใหช้ ว่ ยยอ่ ยอาหารไดเ้ รว็ ขน้ึ หรอื ทานนำ้� สมนุ ไพร เชน่ นำ�้ มะตมู น้�ำขิง น้�ำใบสะระแหน่ ที่ผสมน�้ำตาลกรวดและน้�ำมะนาวลงไปเล็กน้อย เพอื่ เสริมรสชาตแิ ละชว่ ยยอ่ ยอาหาร อาหารเปน็ ยา... ส่วู ถิ รี ักษส์ ขุ ภาพ 3
กระทรวงสาธารณสขุ ไดเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของสขุ ภาพประชาชน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ โคโรนาไวรสั 2019 การมีสุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรงจะเป็นปราการหน่ึงท่ีช่วยในการต้านทาน โรคได้ ดังน้ันพฤติกรรมการดูแลสุขภาพจึงมีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งท่ีจะช่วย ส่งเสริมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงและลดโรคภัยไข้เจ็บได้ ซึ่งการรับประทาน อาหารเป็นพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ส�ำคัญอย่างหน่ึง จึงได้มีนโยบาย เพ่ือขับเคล่ือน “อาหารเป็นยา” โดยบูรณาการร่วมกันระหว่างคณะท่ีปรึกษา คณะรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานในระดับกรมภายใต้ การก�ำกับฯ ทั้ง 4 หน่วยงาน ได้แก่ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลอื ก กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กรมอนามยั และสำ� นกั งานคณะกรรมการ อาหารและยา รวมถึงเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้ สร้างกระแส สรา้ งความเขา้ ใจใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ องคค์ วามรู้ มคี วามเชอ่ื มน่ั นำ� ไปสกู่ ารบรโิ ภค อาหารเป็นยา และสร้างรายได้ สร้างเศรษฐกิจให้กับประเทศ น�ำครัวไทย ไปส่คู รวั โลก 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้ สร้างความรอบรู้ ความเช่ือม่ัน และ การยอมรบั ในการบรโิ ภคอาหารเป็นยา 2) เพอ่ื สอ่ื สาร และสรา้ งกระแสใหป้ ระชาชนตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ในการบรโิ ภคอาหารเปน็ ยา 3) เพ่ือส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการร้านอาหารปรุงอาหาร ใหเ้ ปน็ ยาเพิม่ มากข้นึ 4) เพ่ือส่งเสริมการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารส�ำเร็จรูป และเคร่ืองด่ืม พร้อมจำ� หนา่ ยในชุมชนเพิม่ มากข้นึ 5) เพื่อสร้างกลไกความร่วมมือของภาคีเครือข่ายท้ังหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน ผปู้ ระกอบกิจการร้านอาหาร และผบู้ ริโภคเข้ามามสี ว่ นรว่ ม ในการขับเคลื่อนนโยบายอาหารเป็นยา 4 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ิถรี กั ษส์ ุขภาพ
1.3 เปา้ ประสงค์ 1) คนไทยมีความรู้และใช้อาหารในการดแู ลสุขภาพ 2) อาหารไทยเป็นอาหารสุขภาพ นำ� ครัวไทยสู่ครวั โลก 3) พัฒนาอาหารไทยดว้ ยนวตั กรรมใหเ้ ปน็ ท่ยี อมรบั ระดบั สากล 1.4 เปา้ หมาย 1) พื้นท่ีเป้าหมาย คือ 15 จังหวัด ใน 12 เขตสุขภาพ ได้แก่ (1) จังหวดั เชียงราย (9) จงั หวดั มหาสารคาม (2) จงั หวดั อทุ ยั ธาน ี (10) จังหวัดสุรินทร์ (3) จังหวดั พิษณโุ ลก (11) จังหวัดอดุ รธานี (4) จงั หวดั สระบรุ ี (12) จังหวัดสกลนคร (5) จังหวัดนครปฐม (13) จังหวดั สุราษฎร์ธานี (6) จังหวัดเพชรบุรี (14) จังหวดั สงขลา (7) จงั หวดั ปราจนี บุรี (15) จงั หวดั พทั ลุง (8) จงั หวดั จนั ทบรุ ี 2) กลุ่มเป้าหมาย คือ สถานประกอบกิจการร้านอาหาร และผลิตภัณฑ์ อาหารส�ำเร็จรูปและเครือ่ งดื่มพรอ้ มจ�ำหน่ายในชมุ ชน 1.5 นยิ ามทีเ่ กย่ี วขอ้ ง “อาหารเปน็ ยา” หมายถงึ อาหารทม่ี ผี กั ผลไมพ้ นื้ บา้ น และสมนุ ไพร ท้องถิ่นเปน็ สว่ นประกอบ ปลอดจากเช้ือโรค สารเคมี และสารพษิ มคี ุณค่าทาง โภชนาการในปริมาณและสัดส่วนที่เหมาะสม มีส่วนช่วยในการเสริมสร้าง ภมู คิ มุ้ กนั ลดความเสย่ี งในการเปน็ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั สำ� หรบั ประชาชนทตี่ อ้ งการ ดูแลสุขภาพ อาหารเป็นยา... สวู่ ิถรี ักษ์สขุ ภาพ 5
“สถานประกอบกิจการร้านอาหาร” หมายถึง ภัตตาคาร ร้านอาหาร แผงลอย ได้แก่ ข้าวแกง อาหารตามส่ัง อาหารจานเดียว ก๋วยเตี๋ยว นำ้� พรกิ ขนม ของหวาน เครอ่ื งดม่ื สมนุ ไพร ผลไมต้ ดั แตง่ ทงั้ สำ� หรบั รบั ประทานทร่ี า้ น และสัง่ กลับบา้ น (Delivery) “ผลิตภัณฑ์อาหารส�ำเร็จรูป และเคร่ืองดื่มพร้อมจ�ำหน่าย ในชุมชน” หมายถึง ผลิตภัณฑ์อาหารส�ำเร็จรูปและเคร่ืองด่ืมพร้อมจ�ำหน่าย ในชุมชนท่ีมีผัก ผลไม้พ้ืนบ้าน และสมุนไพรท้องถ่ินเป็นส่วนประกอบ ไม่รวมถึง ผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร 6 อาหารเป็นยา... สวู่ ถิ ีรกั ษส์ ุขภาพ
ส่วนที่ 1 การด�ำเนนิ งานจัดกจิ กรรมเพื่อขบั เคล่อื นนโยบาย อาหารเป็นยา แต่งต้ังคณะกรรมการและ จดั ท�ำแผนการดำ� เนนิ งาน จดั ประชุมคณะกรรมการ คณะท�ำงานระดับจงั หวดั โครงการของจังหวัด และคณะท�ำงาน เพื่อติดตาม ความก้าวหนา้ การดำ� เนนิ งาน จดั เตรียมงานประชมุ วชิ าการ จัดประชมุ วิชาการ อาหารเป็นยา อาหารเปน็ ยา 1.1 แต่งตัง้ คณะกรรมการและคณะท�ำงานระดับจังหวดั ดังนี้ 1) คณะกรรมการอ�ำนวยการขับเคลื่อนโครงการอาหารเป็นยา ระดับจังหวดั ประกอบดว้ ย (1) ผวู้ ่าราชการจังหวัด เปน็ ประธานกรรมการ (2) หัวหนา้ ส่วนราชการทเี่ กีย่ วขอ้ งในระดบั จงั หวัด เปน็ กรรมการ (3) นายแพทยส์ าธารณสขุ จงั หวดั เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร 2) คณะกรรมการและคณะท�ำงานอ่นื ๆ ตามบรบิ ทของพน้ื ที่ 1.2 จดั ทำ� แผนการด�ำเนนิ งานโครงการของจงั หวัด 1.3 จดั ประชมุ คณะกรรมการ และคณะทำ� งาน เพอื่ ตดิ ตามความกา้ วหนา้ การด�ำเนินงาน 1.4 จดั เตรยี มงานประชมุ วชิ าการอาหารเปน็ ยา 1.5 จดั ประชุมวิชาการอาหารเป็นยา อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถีรกั ษส์ ขุ ภาพ 7
ตัวอยา่ ง การจดั เตรียมงานประชุมวิชาการอาหารเป็นยาคนจนั ท์ ของจังหวัด จนั ทบุรี (1) จัดหาสถานทีจ่ ัดงาน พรอ้ มกระแสไฟฟา้ โดยกิจกรรมประกอบ ดว้ ย 4 กจิ กรรมหลัก ดงั นี้ ● กจิ กรรมประชุมวชิ าการ ● บธู องคค์ วามรู้ ● บธู นวตั กรรม ผลิตภัณฑ์ สรา้ งเศรษฐกจิ ● คลินกิ การแพทย์แผนไทย (2) จัดหาวทิ ยากรผูบ้ รรยาย (3) จัดหาพธิ ีกรในพิธีเปดิ (4) จดั เตรยี มบคุ ลากรส�ำหรับใหบ้ รกิ ารในคลินกิ การแพทย์ (5) การลงทะเบียนส�ำหรับผเู้ ข้าร่วมงาน (6) การบรกิ ารด้านอาหารและเครือ่ งดื่มภายในงาน (7) จัดเตรียมบธู นทิ รรศการ ไดแ้ ก่ บธู องค์ความรู้ บูธผู้ประกอบการ จำ� หนา่ ยสินค้า บธู บรกิ ารอาหารและเคร่อื งด่มื (8) จัดเตรียมกิจกรรมสาธิตเชิงปฏิบัติการ และเจ้าหน้าที่พร้อม อุปกรณเ์ พื่อจดั Workshop ใหก้ ับผรู้ ่วมงาน (9) การตรวจหาเชอ้ื โคโรนาไวรสั 2019 ด้วยวธิ ี Antigen Test Kit (ATK) สำ� หรบั ผู้ออกบูธ และผ้เู ข้ารว่ มงาน (10) จดั เตรียมจดุ ปฐมพยาบาล 8 อาหารเป็นยา... ส่วู ถิ รี ักษ์สุขภาพ
สว่ นที่ 2 การคัดเลือกสถานประกอบการเข้ารว่ มกจิ กรรม ประเภทที่ 1 สถานประกอบกจิ การรา้ นอาหาร ภตั ตาคาร และแผงลอย ต้องผ่านเกณฑม์ าตรฐาน Clean Food Good Taste และดำ� เนนิ กิจกรรม 2 เรอ่ื ง ดังนี้ 1) Foods for Health 2) เมนูชูสุขภาพ ประเภทที่ 2 ผลิตภัณฑอ์ าหารส�ำเร็จรปู และเคร่ืองดมื่ พรอ้ มจ�ำหน่าย ในชมุ ชน ตอ้ งไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นจากสำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา หรอื ได้รับการรับรองมาตรฐานทางด้านสุขาภิบาลอาหารและน้�ำ และด�ำเนินกิจกรรม 2 เรอื่ ง ดงั นี้ 1) Foods for Health 2) เมนูชูสขุ ภาพ อาหารเป็นยา... สูว่ ิถีรกั ษ์สขุ ภาพ 9
หมายเหตุ : สามารถดูรายละเอียดหลกั เกณฑข์ ้างตน้ เพิ่มเตมิ ไดท้ างภาคผนวก 10 อาหารเป็นยา... สู่วิถีรักษส์ ขุ ภาพ
สว่ นท่ี 1 สถานประกอบกิจการรา้ นอาหาร ภตั ตาคาร และแผงลอย อาหารเป็นยา... สู่วถิ รี ักษส์ ุขภาพ 11
สว่ นท่ี 2 ผลิตภณั ฑ์อาหารส�ำเร็จรปู และเคร่อื งดื่มพรอ้ มจ�ำหนา่ ยในชมุ ชน 34 12 อาหารเปน็ ยา... สู่วถิ รี ักษส์ ขุ ภาพ
æ√°‘ ™øÈ’ “Ñ ÀÕ¡´Õ¬ °√–‡∑’¬ π”È â¡¡– π”È ª≈“ ‡°≈◊Õ π”È µ“≈∑ π”È ¡π— æ≈—ßß (°‚‘ ≈·§ ÚÙ˘ “√–πà“ อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถรี กั ษส์ ขุ ภาพ 13
11744 อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถีรกั ษส์ ุขภาพ
π”È æ√‘°°–ª‡î ® ‡§√Õ◊Ë ßª√ÿß Ú ™Õâ π°π‘ ¢â“« «‘∏∑’ ” Ò/Ù ∂«â ¬μ«ß °–ª‡î ® Ò/Ú ™âÕπ™“ Ò. ‚¢≈°æ√‘°‰∑¬ªÉπ°—∫æ√‘°¢’ÈÀπŸ «π °–ªî‡®„Àâ ‡ÀÁ¥π“ßøÑ“¬“à ß Úı ‡¡¥Á ‡¢“â °π— æ√‘°‰∑¬ªÉπ æ√‘°¢ÀÈ’ πŸ «π Û º≈ Ú. ‚¢≈°‡ÀÁ¥¬“à ß„Àâ≈–‡Õ¬’ ¥ ¡–Õ°÷ ´Õ¬≈–‡Õ’¬¥ Ò/Ù ∂⫬ Û. π” à«πº ¡„π¢âÕ Ò ·≈– Ú º ¡°π— ª√ÿß√ π”È ¡–π“« ¥«â ¬πÈ”¡–π“« π”È μ“≈ ‡°≈Õ◊ „ ¡à –Õ÷° ™‘¡√ „À⇢⓰—π π”È μ“≈ Ú ™Õâ π°π‘ ¢“â « Ù. √—∫ª√–∑“π°∫— º—° ¥ À√Õ◊ º—°πË÷ß√“¥°–∑‘ ‡°≈Õ◊ Ò/Ù ™Õâ π™“ §ÿ≥§“à ∑“ß‚¿™π“°“√μàÕπ”È Àπ—° Ò °√—¡( ¯ ™Õâ π°π‘ ¢â“«) æ≈—ßß“π ‚ª√μ’π ‰¢¡—𠧓√å‚∫‰Œ‡¥√μ „¬Õ“À“√ ·§≈‡´¬’ ¡ øÕ øÕ√ — ‡À≈°Á ‚´‡¥¬’ ¡ (°‚‘ ≈·§≈Õ√)’ (°√¡— ) (°√—¡) (°√¡— ) (°√¡— ) (¡‘≈≈‘°√—¡) (¡≈‘ ≈‘°√—¡) (¡≈‘ ≈‘°√—¡) (¡‘≈≈‘°√¡— ) ˘ˆ Ò.¯ .ˆ ÚÒ.˜ Û.Ú Ûı Ù Ú.Û Û˘˜ “√–π“à √⟠: ”À√—∫º∑Ÿâ ’°Ë ‘π¡ß— «‘√μ— ‘·≈–‡® ·μ‰à ¡§à «√ª√ÿß√ ®—¥¡“° อาหารเป็นยา... สวู่ ิถรี กั ษส์ ุขภาพ 11575
16 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ถิ ีรกั ษส์ ุขภาพ
อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถรี กั ษส์ ุขภาพ 17
18 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ถิ ีรกั ษส์ ุขภาพ
อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถรี กั ษส์ ุขภาพ 19
20 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ถิ ีรกั ษส์ ุขภาพ
อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถรี กั ษส์ ุขภาพ 21
22 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ถิ ีรกั ษส์ ุขภาพ
อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถรี กั ษส์ ุขภาพ 23
24 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ถิ ีรกั ษส์ ุขภาพ
อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถรี กั ษส์ ุขภาพ 25
26 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ถิ ีรกั ษส์ ุขภาพ
อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถรี กั ษส์ ุขภาพ 27
28 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ถิ ีรกั ษส์ ุขภาพ
อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถรี กั ษส์ ุขภาพ 29
30 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ถิ ีรกั ษส์ ุขภาพ
อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถรี กั ษส์ ุขภาพ 31
34 32 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ถิ ีรกั ษ์สุขภาพ
æ√°‘ ™øÈ’ “Ñ ÀÕ¡´Õ¬ °√–‡∑’¬ π”È â¡¡– π”È ª≈“ ‡°≈◊Õ π”È µ“≈∑ π”È ¡π— æ≈—ßß (°‚‘ ≈·§ ÚÙ˘ “√–πà“ อาหารเปน็ ยา... ส่วู ิถรี กั ษส์ ขุ ภาพ 33
34 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ถิ ีรกั ษส์ ุขภาพ
1.1 หลกั เกณฑก์ ารประเมนิ รับรองมาตรฐาน Clean Food Good Taste และ Clean Food Good Taste Plus 1.2 กระบวนการรับรองมาตรฐานดา้ นสุขาภิบาลอาหาร อาหารเปน็ ยา... สู่วิถรี กั ษ์สุขภาพ 35
1.3 การรับรองมาตรฐานสถานที่จ�ำหน่ายอาหาร: Clean Food Good Taste Plus (CFGT+) 36 อาหารเปน็ ยา... สูว่ ิถีรกั ษส์ ุขภาพ
เกณฑก์ ำรประเมนิ มำตรฐำนสขุ ำภบิ ำลอำหำร : สถำนทจ่ี ำ� หนำ่ ยอำหำร 14 “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” อาหารเปน็ ยา... ส่วู ถิ รี ักษ์สุขภาพ 37 (Clean Food Good Taste)
“อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” 15 (Clean Food Good Taste) 38 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ิถรี ักษส์ ขุ ภาพ
1739อาหารเป็นยา... สวู่ ิถรี กั ษ์สขุ ภาพ “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste)
2.2 นำ�้ ดืม่ และนำ�้ ใช้ (ตอ่ ) 40 อาหารเป็นยา... สู่วิถรี ักษส์ ขุ ภาพ 18 “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste)
1941อาหารเปน็ ยา... สู่วถิ รี กั ษ์สุขภาพ “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste)
42 อาหารเปน็ ยา... สวู่ ิถีรกั ษส์ ขุ ภาพ 20 “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste)
2143อาหารเปน็ ยา... สู่วถิ รี กั ษ์สุขภาพ “อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste)
Search