Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560

Description: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภารณี นิลกรณ์

Search

Read the Text Version

พระราชบัญญัติควบคุม ผลิตภณั ฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 เข้าส่บู ทเรียน ไดร้ บั ทุนอดุ หนนุ การวิจยั และนวัตกรรม จากสานักงานการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.) This project is funded by National Research Council of Thailand (NRCT)

สวสั ดีครบั เพ่ือนๆวันนี้ผมจะพา เพ่ือนๆไปเรยี นรูพ้ ระราชบัญญัติ ควบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ไปเรยี นรูก้ นั ไดเ้ ลยครบั พระราชบญั ญัติควบคุม ผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 คืออะไรค่ะ

พระราชบญั ญัติควบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ประกาศใช้ ข้ึนเพ่ือกาหนดมาตรการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ และยกระดับคุ้มครอง สุขภาพอนามัยของประชาชนโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนซ่ึงเป็ น ทรัพยากรท่ีสาคัญของชาติให้มีปร2ะสิ ทธิภาพย่ิงข้ึน และให้สอดคล้อง กับกรอบอนุสั ญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลก โดยมสี าระสาคัญดงั น้ี (สานั กควบคุมการบริโภคยาสูบ, 2560)

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 2 ภาพตวั อย่าง ผลติ ภณั ฑย์ าสบู

พระราชบัญญัติควบคุม ผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ได้แบ่งเป็นหลาย มาตรา เดีย่ วกระผมจะอธบิ าย มาตราท่สี าคัญและเกย่ี วข้องให้ ฟังกันนะครบั ไดค้ ่ะ งนั้ ไปเรยี นรู้ มาตราที่สาคัญ กันเลยนะค่ะ

พระราชบญั ญัติควบคุมผลติ ภณั ฑ์ยาสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 26) ห้ามผู้ใดขายหรอื ให้ซ่ึงผลิตภัณฑ์ยาสูบ แก่บุคคลซ่ึงมีอายตุ า่กว่ายี่สิ บปีบรบิ ูรณ์ ในกรณีที่มี ข้ อสงสั ยเก่ียวกับอายุของผู้ซ้ือหรือผู้รับ การใ ห้ ผลิตภัณฑ์ยาสูบ ให้ผู้ขายหรือผู้ให้ซ่ึงผลิตภัณฑ์ 2ย า สู บ แ จ้ ง ใ ห้ บุ ค ค ล ดั ง ก ล่า ว แ ส ด ง บั ต ร ป ร ะ จ า ตั ว ประชาชนหรือหลักฐานอ่ืนที่แสดงอายุของบุคคล นั้นกอ่ น แลว้ แต่กรณี ❖ ห้ามผู้ใดใช้ จ้าง วาน หรือยินยอมให้บุคคลอายุตา่ กว่าสิ บแปดปี บริบูรณ์ ขายหรือให้ ซ่ึงผลิตภัณฑ์ ยาสูบ จาคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 30,000 บาท

พระราชบัญญัติควบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 27) ในการขายผลติ ภณั ฑย์ าสบู โดยผูข้ ายปลกี ห้ามผู้ขายปลกี กระทาการ อยา่ งหน่ึงอย่างใด ดังต่อไปนี้ 1. ขายผลติ ภณั ฑย์ าสูบโดยใช้เครื่องขาย 2. ขายผลติ ภณั ฑย์ าสูบโดยผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรอื เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 23. ขายผลิตภณั ฑย์ าสูบนอกสถานที่ทีร่ ะบไุ ว้ในใบอนญุ าตขายยาสบู 4. ขายผลติ ภณั ฑย์ าสบู โดยแจก แถม ให้ 5. ขายผลิตภณั ฑย์ าสบู โดยกระทาการในลักษณะทแี่ สดงถึงการลดราคา ณ จุดขาย 6. ขายสินค้าหรือให้บริการโดยมีการแจก แถม ให้ผลติ ภณั ฑย์ าสูบ 7. เร่ขายผลติ ภณั ฑย์ าสูบ 8. ให้หรือเสนอให้สิ ทธใิ นการเข้าชมการแข่งขัน การแสดง การให้บริการ 9. แสดงราคาผลิตภณั ฑย์ าสูบ ณ จุดขายในลกั ษณะจูงใจให้บรโิ ภค

พระราชบญั ญัตคิ วบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 28) ห้ามผู้ใดแจกจ่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบในลักษณะเป็นตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ ยาสูบ หรือเพ่ือให้ผลิตภัณฑ์ยาสูบแพร่หลาย หรือเพื่อเป็นการจูงใจสาธารณชนให้ บริโภคผลติ ภณั ฑย์ าสูบ ❖ (มาตรา 29) ห้ามผ้ใู ดขายผลติ ภณั ฑย์ าสูบในสถานท่ี ดงั ต่อไปนี้ 21. วัดหรอื สถานที่สาหรบั ปฏบิ ตั พิ ิธีกรรมทางศาสนา 2. สถานบริการสาธารณสุข สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล และร้าน ขายยาตามกฎหมายวา่ ด้วยยา 3. สถานศึ กษาตามกฎหมายวา่ ด้วยการศึ กษาแห่งชาติ 4. สวนสาธารณะ สวนสัตว์ และสวนสนุก 5. สถานที่อืน่ ตามทีร่ ัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ

พระราชบญั ญัตคิ วบคุมผลิตภณั ฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 2 ตัวอยา่ งผลติ ภณั ฑย์ าสบู ในลกั ษณะเป็นตวั อยา่ งของผลติ ภณั ฑย์ าสบู

พระราชบัญญัติควบคุมผลติ ภณั ฑ์ยาสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 30) ห้ามผใู้ ดโฆษณาหรอื ทาการสื่อสารการตลาดผลติ ภณั ฑ์ยาสบู ❖ (มาตรา 31) ห้ามผ้ใู ดแสดงชื่อหรอื เครอื่ งหมายของผลติ ภณั ฑ์ยาสบู แสดงช่ือหรอื เครอ่ื งหมายของ ผูผ้ ลติ หรอื ผู้นาเข้าผลติ ภณั ฑย์ าสบู หรอื แสดงสัญลกั ษณ์หรอื ส่ิงอ่นื ใดโดยทาให้สาธารณชนเข้าใจ ว่าเป็นช่ือหรอื เครอ่ื งหมายของผลติ ภณั ฑย์ าสบู หรอื ชื่อหรอื เครอ่ื งหมายของผู้ผลติ หรอื ผ้นู าเข้า 2ผลติ ภณั ฑย์ าสบู ทั้งนี้ เพื่อการโฆษณาผลติ ภณั ฑย์ าสบู ในกรณีดังต่อไปน้ี 1. ในส่ิงพิมพ์ เทปหรอื วสั ดุโทรทศั น์ ภาพยนตร์ วิทยกุ ระจายเสียง วทิ ยโุ ทรทศั น์ ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ หรอื ป้ายโฆษณา 2. ในโรงมหรศพ โรงภาพยนตร์ หรอื ในการแสดง การละเลน่ การประกวด การแข่งขัน การ ให้บรกิ าร หรอื การประกอบกิจกรรมอื่นใดในลกั ษณะเดียวกัน 3. ในส่ือส่ิงอน่ื ใดหรอื สถานทีใ่ ดที่ใช้เพื่อโฆษณาหรอื ทาการส่ือสารการตลาดไดต้ ามที่รฐั มนตรี ประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ

พระราชบญั ญัตคิ วบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 2 ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑย์ าสบู ในลักษณะโฆษณาหน้าปกนิตยสารในอดตี

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 32) ห้ามผู้ใดนาชื่อหรือเครื่องหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบ ชื่อหรือเคร่ืองหมาย ของผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ ไปแสดงบนผลิตภัณฑ์อื่นใดที่ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ ยาสูบ หรือนาชื่อหรือเคร่ืองหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบมาตัด ต่อเติม หรือดัดแปลง ข้อความให้เป็นส่ วนหน่ึ งของผลิตภัณฑ์นั้ น เพื่อการโฆษณาชื่อหรือเคร่ืองหมายของ 2ผลิตภัณฑ์ยาสูบหรือชื่อหรือเคร่ืองหมายของผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ ห้าม ผใู้ ดนาเข้าเพ่ือขาย โฆษณา หรอื ขายซ่ึงผลติ ภณั ฑต์ ามวรรคหน่ึงในราชอาณาจักร

พระราชบัญญัตคิ วบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 33) ห้ามผใู้ ดโฆษณาผลิตภณั ฑท์ ใ่ี ช้ช่ือหรอื เครอื่ งหมายของผลิตภณั ฑย์ าสูบ เป็นช่ือหรือเคร่ืองหมายของผลิตภณั ฑน์ ั้ น หรอื โฆษณาโดยการนาชื่อหรือเคร่ืองหมาย ของผลติ ภณั ฑย์ าสบู มาตัด ต่อเติม หรือดัดแปลงข้อความให้เป็นส่วนหน่ึงของช่ือหรือ เคร่ืองหมายของผลติ ภณั ฑน์ ้ั น ทั้งน้ี ในลักษณะทอี่ าจทาให้เข้าใจไดว้ ่าหมายความถึง การโฆษณาผลิตภณั ฑย์ าสบู 2

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 34) ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นาเข้าเพ่ือขายหรือเพื่อแจกจ่ายเป็นการทั่วไป โฆษณา หรือทาการส่ือสารการตลาดผลติ ภณั ฑ์ ในราชอาณาจกั ร ดังต่อไปน้ี 1. ผลติ ภณั ฑท์ ี่มรี ูปลักษณะทาให้เข้าใจไดว้ า่ เป็นส่ิงเลียนแบบผลิตภณั ฑย์ าสบู 2. ผลิตภัณฑ์ที่บริโภคโดยวิธีสูบและมีสารท่ีเป็นอันตรายต่อสุขภาพตามที่รัฐมนตรี 2ประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ(3) หีบห่อของผลิตภัณฑ์ตาม (1) และ (2)

พระราชบญั ญัตคิ วบคุมผลิตภณั ฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 35) ห้ ามผู้ประกอบการและผู้มีส่ วนเกี่ยวข้ องให้ การอุปถัมภ์ หรือให้ การ สนั บสนุนบุคคล กลุ่มบุคคล หน่ วยงานของรัฐ หรือองค์กรเอกชน ในลักษณะอย่าง หน่ึงอยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เป็นการสร้างภาพลกั ษณ์ต่อผลิตภณั ฑย์ าสบู ผผู้ ลิต 22. ทสี่ ่งผลหรือที่อาจส่งผลตอ่ การแทรกแซงนโยบายการควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสูบ 3. โฆษณาผลิตภณั ฑย์ าสบู ผผู้ ลติ หรือผู้นาเข้าผลติ ภณั ฑย์ าสบู 4. ส่ งเสริมการบริโภคยาสบู

พระราชบญั ญัตคิ วบคุมผลติ ภณั ฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 36) ห้ามผ้ขู ายปลกี ผลติ ภณั ฑย์ าสบู แสดงหรอื ยินยอมให้แสดงผลติ ภณั ฑย์ าสูบ ณ สถานทข่ี ายปลกี ❖ การแสดงชื่อและราคาของผลติ ภณั ฑย์ าสบู และการแสดงการเป็นสถานที่ขายปลีก ให้ เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขทรี่ ฐั มนตรปี ระกาศกาหนดโดยคาแนะนาของ คณะกรรมการ 2 ❖ ให้ผู้ขายปลกี ผลิตภณั ฑย์ าสบู แสดงสื่ อรณรงค์เพื่อการลด ละ เลิกการบริโภคผลิตภณั ฑ์ ยาสบู ที่กระทรวงสาธารณสขุ จดั ทาข้ึน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขที่รฐั มนตรี ประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ

พระราชบญั ญัตคิ วบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 ❖ (มาตราที่ 37) ผลิตภัณฑ์ยาสูบที่จะขายในราชอาณาจักรต้องมีส่ วนประกอบและสารท่ีเกิดจากการ เผาไหมข้ องส่วนประกอบตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง ❖ ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบตามวรรคท่ีหน่ึ ง มีหน้ าท่ีต้องแจ้งรายการส่ วนประกอบของ ผลติ ภณั ฑย์ าสบู ❖ ในกรณี ที่ผลิตภัณฑ์ยาสูบมีส่ วนประกอบและสารที่เกิดจากการเผาไหม้ของส่ วนประกอบให้ 2กระทรวงสาธารณสขุ ออกใบรบั รองการจดแจง้ รายการส่ วนประกอบของผลิตภณั ฑ์ยาสบู และสารท่ี เกิดให้รัฐมนตรีออกคาส่ั งห้ามขาย ห้ามนาเข้า หรือให้ทาลายผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ผลิตหรือนาเข้าน้ั น และประกาศให้สาธารณชนได้รบั ทราบถึงคาส่ั ง ❖ ค่าใช้จา่ ยอนั เกดิ จากการตรวจสอบส่วนประกอบของผลติ ภัณฑ์ยาสูบตามวรรคสอง หรอื การทาลาย ให้ผ้ผู ลติ หรอื ผนู้ าเข้าผลติ ภณั ฑย์ าสบู เป็นผู้รบั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยในการดาเนินการ ❖ เพื่อคุ้มครองสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของประชาชน กาหนดให้ รัฐมนตรีประกาศ หลกั เกณฑเ์ กี่ยวกับรายละเอยี ดทางเทคนิค

พระราชบัญญัตคิ วบคุมผลิตภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 38) ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้ าผลิตภัณฑ์ยาสูบ เพ่ื อขายในราชอาณาจักรต้อง ดาเนิ นการให้หีบห่อผลิตภัณฑ์ยาสูบหรือผลิตภัณฑ์ยาสูบมีขนาด สี สั ญลักษณ์ ฉลาก รวมท้ังลักษณะการแสดงเครื่องหมายการค้า สั ญลักษณ์ รู ปภาพ และข้อความเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีรัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของ 2คณะกรรมการ ก่อนท่ีจะนาออกจากแหล่งผลิตหรือก่อนที่จะนาเข้ามาในราชอาณาจักร แล้วแต่กรณี ❖ ห้ามผู้ใดขายผลติ ภณั ฑย์ าสบู ทม่ี ไิ ด้จดั ให้มีหีบห่อผลิตภณั ฑย์ าสูบ หรอื แสดงเครอ่ื งหมาย การค้า สัญลักษณ์ รูปภาพ และข้อความ ❖ เพื่อคุ้มครองสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของประชาชน ให้ คณะกรรมการ พิจารณาวา่ สมควรปรับปรุงประกาศตามวรรคหน่ึงทุกสองปี

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 39) ห้ามผู้ใดผลิตหรอื นาเข้าผลติ ภณั ฑย์ าสูบ เพ่ือขายในราชอาณาจกั ร ประเภท บหุ ร่ีซิกาแรตทมี่ ีขนาดบรรจุตา่กว่ายี่สิ บมวนตอ่ ซองหรือต่อภาชนะบรรจุบหุ รีซ่ ิกาแรต ❖ ห้ามไม่ให้มกี ารแบง่ ขายผลิตภณั ฑย์ าสบู ประเภทบหุ รี่ซิกาแรต ❖ การขายผลิตภณั ฑย์ าสูบประเภทอ่ืน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงอื่ นไขที่ 2รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ

พระราชบัญญัติควบคุมผลติ ภณั ฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 40) ให้ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ เพ่ือขายในราชอาณาจักร มีหน้ าที่ส่ ง ข้อมูลเก่ียวกับปริมาณการผลิตหรือการนาเข้าในราชอาณาจักร ค่าใช้จ่ายด้านการตลาด รายได้ ค่าใช้จ่ายตามมาตรา 35 รายงานประจาปี งบดุลท่ีผู้สอบบัญชีรับอนุญาตได้รับ ร อ ง แ ล้ ว แ ล ะ ข้ อ มู ล อื่ น ท่ี เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ย า สู บ ใ ห้ แ ก่ 2คณะกรรมการ ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีรัฐมนตรีประกาศกาหนดโดย คาแนะนาของคณะกรรมการ

พระราชบัญญัติควบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 41) ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของของคณะกรรมการ มีอานาจประกาศประเภท หรือช่ือของสถานที่สาธารณะ สถานท่ีทางาน และยานพาหนะ ให้ส่ วนหน่ึ งส่ วนใดหรือ ทง้ั หมดของสถานท่แี ละยานพาหนะดงั กล่าว เป็นเขตปลอดบหุ ร่ี ❖ รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ อาจกาหนดให้มีเขตสูบบุหร่ีในเขตปลอด บหุ รี่ตามวรรคหน่ึ งกไ็ ด้ 2

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภณั ฑ์ยาสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 42) ห้ามผู้ใดสูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่ เว้นแต่เป็นเขตสูบบุหร่ีท่ีกาหนดตาม มาตรา 41 วรรคสอง ❖ (มาตรา 43) เมื่อรฐั มนตรโี ดยคาแนะนาของคณะกรรมการประกาศให้สถานที่สาธารณะ สถานที่ทางาน หรือยานพาหนะใด เป็นเขตปลอดบุหร่ี ให้ผู้ดาเนิ นการจัดให้สถานท่ี 2หรือยานพาหนะดงั กล่าวมสี ภาพและลักษณะ ดงั ต่อไปนี้ 1. มีเครอื่ งหมายแสดงไวใ้ ห้เห็นได้โดยชัดเจนว่าเป็นเขตปลอดบหุ ร่ี 2. ปราศจากอปุ กรณ์หรอื ส่ิ งอานวยความสะดวกสาหรบั การสบู บหุ ร่ี 3. มี ส ภ า พ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ อ่ื น ใ ด ต า ม ที่ รั ฐ ม น ต รี ป ร ะ ก า ศ ก า ห น ด โ ด ย ค า แ น ะ น า ข อ ง คณะกรรมการ

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 44) ในกรณี ที่เขตปลอดบุหรี่ใดมีประกาศกาหนดเขตสูบบุหร่ีตามมาตรา 41 วรรคสอง ผู้ดาเนิ นการอาจจัดให้ มีเขตสูบบุหร่ีได้ โดยต้องมีสภาพและลักษณะ ดังต่อไปน้ี 1. มเี คร่อื งหมายติดแสดงไวใ้ ห้เห็นไดโ้ ดยชัดเจนวา่ เป็นเขตสบู บหุ รี่ 22. ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้าออกของสถานที่หรือยานพาหนะนั้ น หรือในบริเวณอ่ืนใดอัน เปิดเผยเห็นไดช้ ัด 3. มีพื้นที่เป็นสั ดส่ วนชัดเจน โดยคานึ งถึงการระบายอากาศท่ีเหมาะสม และไม่มีลักษณะ ทอี่ าจกอ่ ให้เกิดความเดือดรอ้ นราคาญแก่ผ้อู ่ืน 4. แสดงสื่ อรณรงค์เพื่อการลด ละ เลิกการบริโภคผลติ ภณั ฑย์ าสบู ตามทีร่ ัฐมนตรีประกาศ กาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ 5. มสี ภาพและลกั ษณะอนื่ ใดตามท่ีรฐั มนตรีประกาศกาหนด

พระราชบัญญัติควบคุมผลติ ภณั ฑ์ยาสบู พ.ศ. 2560 2 ภาพตัวอย่าง เคร่ืองหมายแสดงเขตปลอดบหุ รี่

พระราชบัญญัติควบคุมผลติ ภณั ฑ์ยาสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 45) เครื่องหมายเขตปลอดบุหรี่ตามมาตรา 43(1) หรือเขตสูบบุหร่ีตามมาตรา 44(1) ที่ผู้ดาเนิ นการจัดให้มี ต้องเป็นไปตามลักษณะและวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศ กาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ ❖ (มาตรา 46) ให้ผู้ดาเนิ นการมีหน้ าท่ีประชาสั มพันธ์หรือแจ้งเตือนว่าสถานท่ีน้ั นเป็นเขต 2ปลอดบุหร่ี และควบคุมดูแล ห้ามปราม หรือดาเนิ นการอ่ืนใด เพื่อไม่ให้มีการสูบบุหร่ี ในเขตปลอดบหุ ร่ี ❖ ในกรณี ท่ีมีผู้ฝ่าฝืนสูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่ หากผู้ดาเนิ นการได้ดาเนิ นการตามวรรค หน่ึ งตามสมควรแล้ว ผดู้ าเนินการนั้ นไม่มคี วามผดิ

พระราชบญั ญัติควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 53) ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 26 วรรคหน่ึ งหรือวรรคสาม หรือมาตรา 27 (1) (2) หรือ (3) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือท้ังจาทั้ง ปรับ ❖ (มาตรา 54) ผูใ้ ดฝ่าฝืนมาตรา 27 (4) (5) (6) (8) หรือ (9) มาตรา 28 หรือมาตรา 29 ต้อง ระวางโทษปรับไมเ่ กินส่ี หมนื่ บาท 2 ❖ (มาตรา 55) ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 27 (7) ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ สองหมน่ื บาท

พระราชบญั ญัติควบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 56) ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 30 หรือมาตรา 31 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไมเ่ กินห้าแสนบาท หรือทง้ั จาทง้ั ปรับ ❖ หากการกระทาความผิดตามมาตรา 30 หรือมาตรา 31 เป็นการกระทาของผู้ผลิต ผู้นาเข้า ผู้ส่ งออกผลิตภัณฑ์ยาสูบ ผู้รับทาการโฆษณา หรือผู้ทาการสื่ อสารการตลาด ต้องระวาง 2โทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับไม่เกนิ ก่ึงหน่ึงของค่าใช้จา่ ยท่ีใช้ในการโฆษณาหรือทา การส่ื อสารการตลาด ท้ังนี้ ค่าปรับต้องไม่น้ อยกว่าหน่ึ งล้านห้าแสนบาท หรือท้ังจาท้ัง ปรบั ❖ นอกจากต้องระวางโทษตามวรรคหน่ึงและวรรคสองแล้ว ผู้ฝ่าฝืนต้องระวางโทษปรับอีก วนั ละไม่เกนิ ห้าหม่นื บาท ตลอดเวลาท่ยี ังฝ่าฝืนหรอื จนกวา่ ปฏิบตั ไิ ด้ถูกต้อง

พระราชบัญญัตคิ วบคุมผลิตภณั ฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 57) ผูใ้ ดฝ่าฝืนมาตรา 32 วรรคหน่ึ ง ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กินหน่ึงแสนบาท ผใู้ ดฝ่าฝืนมาตรา 32 วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไมเ่ กนิ ห้าหมน่ื บาท ❖ (มาตรา 58) ผ้ใู ดฝ่าฝืนมาตรา 33 ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ สองแสนบาท ❖ (มาตรา 59) ผใู้ ดผลติ นาเข้าเพื่อขายหรือเพ่ือแจกจ่ายเป็นการทั่วไป โฆษณา หรือทาการ 2ส่ื อสารการตลาดผลิตภัณฑ์ตามมาตรา 34 (1) (2) หรือ (3) ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน หน่ึ งแสนบาทผู้ใดขายผลิตภัณฑ์ตามมาตรา 34 (1) (2) หรือ (3) ต้องระวางโทษปรับไม่ เกนิ ห้าหมืน่ บาท

พระราชบัญญัติควบคุมผลติ ภณั ฑ์ยาสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 60) ผู้ประกอบการผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 35 วรรคหน่ึ ง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน หน่ึ งปี หรือปรับไม่เกินก่ึงหน่ึ งของค่าใช้จ่ายท่ีใช้ในการดาเนิ นกิจกรรมดังกล่าว ทั้งนี้ ค่าปรับตอ้ งไม่น้อยกว่าหน่ึงล้านห้าแสนบาท หรอื ทง้ั จาทง้ั ปรบั ❖ ในกรณี ที่การกระทาตามวรรคหน่ึ ง เป็นการกระทาของผู้รับจ้างหรือผู้ได้รับมอบหมาย 2ให้ดาเนิ นการตามมาตรา 35 วรรคหน่ึ ง ให้ระวางโทษเช่นเดียวกับผู้ประกอบการตาม วรรคหน่ึ ง ❖ ผู้มีส่ วนเกี่ยวข้องผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 35 วรรคหน่ึ ง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึ งปี หรอื ปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทัง้ จาทงั้ ปรบั ❖ ผใู้ ดฝ่าฝืนมาตรา 35 วรรคสาม ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกินห้าแสนบาท

พระราชบญั ญัติควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 61) ผ้ขู ายปลกี ผลิตภณั ฑย์ าสบู ผูใ้ ดฝ่าฝืนมาตรา 36 วรรคหน่ึง ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกนิ สี่หมน่ื บาท ❖ ผู้ขายปลีกผลติ ภณั ฑย์ าสูบผู้ใดไมป่ ฏิบตั ิตามมาตรา 36 วรรคสองและวรรคสาม ตอ้ ง ระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ ห้าพันบาท 2❖ (มาตรา 62) ในกรณีทีผ่ ฝู้ ่าฝืนมาตรา 26 มาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 32 มาตรา 33 หรอื มาตรา 36 วรรคหน่ึ ง เป็นผ้ผู ลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภณั ฑย์ าสบู ต้องระวางโทษเป็นสาม เทา่ ของโทษทบ่ี ญั ญัตไิ วส้ าหรับความผิดน้ั น

พระราชบญั ญัตคิ วบคุมผลิตภณั ฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 63) ผู้ผลติ หรอื ผู้นาเข้าผลิตภณั ฑย์ าสบู ผู้ใดไมแ่ จง้ รายการ แจง้ รายการไม่ ครบถ้วน หรือแจ้งรายการอันเป็นเทจ็ ตามมาตรา 37 วรรคสอง ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่ เกินหกเดอื น หรอื ปรับไม่เกนิ สองแสนบาท หรือท้ังจาท้งั ปรบั ❖ ผผู้ ลิตหรอื ผูน้ าเข้าผลติ ภณั ฑย์ าสูบผใู้ ดฝ่าฝืนคาส่ังห้ามขาย ห้ามนาเข้า หรือให้ทาลาย 2ผลติ ภณั ฑย์ าสบู ตามมาตรา 37 วรรคสี่ ต้องระวางโทษจาคุกไมเ่ กินหน่ึงปี หรอื ปรบั ไม่ เกนิ ห้าแสนบาท หรือทั้งจาท้งั ปรับ ❖ กรณีทผ่ี ูฝ้ ่าฝืนคาส่ั งห้ามขาย ห้ามนาเข้า หรือให้ทาลายผลิตภณั ฑย์ าสูบตามมาตรา 37 วรรคสี่ มใิ ช่ผูผ้ ลิตหรอื ผนู้ าเข้าผลิตภณั ฑย์ าสูบ ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินสี่ หมื่นบาท

พระราชบัญญัติควบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 64) ผใู้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 38 วรรคหน่ึ ง ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกนิ สองแสน บาท ❖ ผูใ้ ดฝ่าฝืนมาตรา 38 วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่เกนิ สี่หม่นื บาท ❖ (มาตรา 65) ผใู้ ดฝ่าฝืนมาตรา 39 วรรคหน่ึ ง ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกนิ สามแสนบาท 2ผ้ใู ดฝ่าฝืนมาตรา 39 วรรคสอง หรือไมป่ ฏิบตั ิตามมาตรา 39 วรรคสาม ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ สี่ หม่ืนบาท ❖ (มาตรา 66) ผผู้ ลิตหรอื ผู้นาเข้าผลิตภณั ฑย์ าสูบผใู้ ดไม่ส่งข้อมลู หรือส่งข้อมลู ไมค่ รบถ้วน ตามมาตรา 40 ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดอื น หรอื ปรับไมเ่ กินหน่ึงแสนบาท หรือ ท้ังจาทง้ั ปรบั ❖ ผ้ผู ลติ หรอื ผนู้ าเข้าผลิตภณั ฑย์ าสบู ผใู้ ดส่งข้อมลู อันเป็นเท็จตามมาตรา 40 ตอ้ งระวาง โทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ สองแสนบาท หรอื ทง้ั จาทง้ั ปรบั

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 67) ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 42 ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท ❖ (มาตรา 68) ผู้ดาเนิ นการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 43 หรือมาตรา 44 ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกินห้าหมืน่ บาท ❖ (มาตรา 69) ผ้ดู าเนิ นการผู้ใดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรา 45 ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ ห้าพันบาท 2❖ (มาตรา 70) ผู้ดาเนิ นการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 46 วรรคหน่ึ ง ต้องระวางโทษปรับไม่ เกนิ สามพันบาท ❖ (มาตรา 71) ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อานวยความสะดวกตามสมควรแก่พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีใน การปฏิบตั ิหน้ าท่ีตามมาตรา 47 หรือมาตรา 48 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึ งเดือน หรือ ปรบั ไม่เกนิ หน่ึงหมน่ื บาท หรือท้ังจาทั้งปรบั

พระราชบญั ญัติควบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (มาตรา 72) ผู้ใดไม่ชาระเงินค่าปรับตามคาส่ั งที่ออกโดยพนั กงานเจ้าหน้ าที่ตามมาตรา 48 (6) ภายในระยะเวลาท่ีกาหนดในคาส่ั งโดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องระวางโทษปรับ เป็นสองเท่าของค่าปรับตามคาส่ังดงั กล่าว ❖ (มาตรา 73) ในกรณี ท่ีผู้กระทาความผิดเป็นนิ ติบุคคล ถ้าการกระทาความผิดของนิ ติ 2บุคคลน้ั นเกิดจากการส่ั งการหรือการกระทาของกรรมการ หรือผู้จัดการ หรือบุคคลใด ซ่ึงรับผิดชอบในการดาเนิ นงานของนิ ติบุคคลน้ั น หรือในกรณี ท่ีบุคคลดังกล่าวมีหน้ าท่ี ต้องสั่ งการหรือกระทาการและละเว้นไม่สั่ งการหรือไม่กระทาการจนเป็นเหตุให้นิ ติ บคุ คลน้ั นกระทาความผดิ ผนู้ ั้ นต้องรับโทษตามทบ่ี ญั ญัตไิ วส้ าหรบั ความผิดน้ันๆดว้ ย

พระราชบัญญัตคิ วบคุมผลิตภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 ❖ (ม าตรา 7 4) บรรด าค วาม ผิ ด ตาม พ ระราชบัญญั ติ นี้ ท่ีมีโทษ ปรับสถานเดียว ให้ คณะกรรมการหรือผู้ซ่ึงคณะกรรมการมอบหมายมีอานาจเปรียบเทียบได้ตามระเบียบที่ คณะกรรมการกาหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ❖ เมื่อผู้ต้องหาได้ชาระเงินค่าปรับตามจานวนท่ีเปรียบเทียบภายในระยะเวลาท่ีกาหนดแล้ว 2ให้ถือวา่ คดีเลกิ กันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

เป็นอยา่ งไรกันบา้ งครบั เพ่ือนๆ เน้ือหาแต่ละมาตรา อาจจะเยอะ ไปหน่อยนะครบั แตก่ ส็ าคัญ มากๆ กระผมอยากให้เพ่ือนๆได้ ทราบกนั ไว้นะครบั ความรูท้ ี่ดิฉันได้ จากการเรยี นรูว้ ันน้ี เป็นประโยชน์ กับ ตวั ดฉิ ันมากเลยค่ะ ข้อมลู อาจจะมาก แตเ่ ป็นประโยชน์ที่ ดกี ับการเรยี นรู้ เลยนะค่ะ

ขอบคุณค่ะ