Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535

พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535

Description: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภารณี นิลกรณ์

Search

Read the Text Version

พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองสขุ ภาพ ของผู้ไมส่ บู บหุ ร่ี พ.ศ. 2535 เข้าสู่บทเรียน ไดร้ ับทุนอดุ หนนุ การวจิ ัยและนวัตกรรม จากสานักงานการวจิ ัยแห่งชาติ (วช.) This project is funded by National Research Council of Thailand (NRCT)

เพ่อื นๆ ครับ รู้ไหมว่า กฎหมายของ ประเทศเรามีพระราชบัญญัติคุ้มครอง สุขภาพของผ้ไู ม่สูบบุหร่ี พ.ศ. 2535 ด้วยนะ และมีความสาคัญอย่างย่งิ กับเรา รู้ค่ะว่ามีกฎหมาย แต่ไม่ทราบว่า สาคัญอย่างไรเก่ียวกับพระราชบัญญัติ คุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 สอนหน่อยได้ไหมค่ะ

พระราชบญั ญัติคุ้มครองสขุ ภาพของผ้ไู มส่ ูบบหุ ร่ี พ.ศ. 2535 พ ร ะ ร า ช บัญ ญั ติ คุ้ ม ค รอ ง สุ ข ภ า พ ข อ ง ผู้ ไ ม่ สู บ บุ ห ร่ี พ .ศ . 2 5 3 5 ประกาศใช้ข้ึนเพื่อเป็นการยอมรับในทางการแพทย์ว่า ควันบุหรี่เป็นผลเสี ย แก่สุขภาพของผู้สูบและผู้ไม่สูบบุหร่ีที่อย่ใู กล้เคียงหลายประการ นอกจากน้ั น ยังพิสูจน์ ได้ว่าการที่ผู้ไม่สูบบุหรี่ต้องสูดควันบุหร่ีซ่ึงผู้อ่ืนสูบเข้าไปก็ยังเป็น 2ผลเสี ยแก่สุขภาพของผู้นั้ นเช่นเดียวกับที่เกิดข้ึนกับผู้สูบบุหร่ีเอง โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในกรณีท่ีผู้สูดควันบุหร่ีนั้ นเป็นเด็ก สมควรที่จะคุ้มครองสุขภาพของ ผู้ไม่สูบบุหร่ีมิให้ต้องรับควันบุหร่ีในสถานท่ีสาธารณะ โดยการห้ามสูบบุหร่ี ในบางสถานที่หรือการจัดเขตให้สูบบุหรี่โดยเฉพาะหรือโดยวิธีอ่ืนๆ จึง จาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติน้ี โดยมีสาระสาคัญดังนี้ (สานั กควบคุมการ บรโิ ภคยาสูบ, 2558)

พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองสุขภาพของผ้ไู มส่ ูบบหุ ร่ี พ.ศ. 2535 2 ภาพตวั อยา่ ง สูดควนั บหุ รนี่ ั้นเป็นเดก็ สมควรทจ่ี ะคุ้มครองสุขภาพของผูไ้ ม่สบู บุหรมี่ ิให้ตอ้ งรบั ควนั บุหรใ่ี นสถานทสี่ าธารณะ

พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองสุขภาพของ ผู้ไม่สูบบุหร่ี พ.ศ. 2535 จาแนก ออกเป็นมาตราที่สาคัญได้ดังน้ีไป ฟังรายละเอียดกันเลยครับ ได้เลยค่ะ ช่วยบอกรายละเอียด แต่ละมาตราที่สาคัญให้ทราบ หน่อยได้ไหมค่ะ

พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองสขุ ภาพของผู้ไม่สบู บหุ ร่ี พ.ศ. 2535 ❖ (มาตรา 4) ให้รัฐมนตรีมีอานาจประกาศในราชกิจจานเุ บกษา 1. กาหนดช่ือหรือประเภทของสถานท่ีสาธารณะท่ีให้มีการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบ บหุ รี่ 2. กาหนดส่ วนหน่ึงส่ วนใดหรอื ทง้ั หมดของสถานทีส่ าธารณะตาม (1) เป็นเขตสูบบุหรี่หรือ เขตปลอดบหุ ร่ี 2 3. กาหนดสภาพ ลักษณะ และมาตรฐานของเขตปลอดบุหรี่และเขตสูบบุหรี่เก่ียวกับการ ระบายควันหรอื อากาศ 4. กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการแสดงเครื่องหมายในเขตสูบบุหร่ีหรือเขตปลอด บุหรี่ประกาศตาม (3) หรือ (4) ให้กาหนดวัน เวลา หรือระยะเวลาที่ผู้ดาเนิ นการจะต้อง ดาเนิ นการให้แล้วเสรจ็ ในประกาศดว้ ย

พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองสขุ ภาพของผ้ไู มส่ ูบบหุ รี่ พ.ศ. 2535 ❖ (มาตรา 5) เมือ่ รฐั มนตรปี ระกาศตามมาตรา 4 แลว้ ให้ผดู้ าเนินการมีหน้ าที่ 1. จัดให้ส่ วนหน่ึ งส่ วนใดหรือท้ังหมดของสถานท่ีสาธารณะเป็นเขตสูบบุหร่ีและเขต ปลอดบหุ ร่ี 22. จดั ให้เขตสูบบหุ รี่มีสภาพ ลกั ษณะ และมาตรฐานตามทรี่ ฐั มนตรกี าหนด 3. จัดให้มีเครื่องหมายในเขตสูบบุหร่ีหรือเขตปลอดบุหร่ีตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ รัฐมนตรีกาหนด

พระราชบญั ญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สบู บหุ ร่ี พ.ศ. 2535 ❖ (มาตรา 6) ห้ามมใิ ห้ผู้ใดสบู บหุ รีใ่ นเขตปลอดบหุ รี่ ❖ (มาตรา 7) ให้พนั กงานเจ้าหน้ าที่มีอานาจเข้าไปในสถานที่สาธารณะตามที่รัฐมนตรี ประกาศตามมาตรา 4 (1) และ (2) ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ข้ึนถึงพระอาทิตย์ตก 2หรือเวลาทาการของสถานท่ีนั้ น เพื่อตรวจสอบหรือควบคุมให้ การเป็นไปตาม พระราชบญั ญัติน้ี ❖ (มาตรา 8) ในการปฏิบัติหน้ าท่ี ให้พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีแสดงบัตรประจาตัวพนั กงาน เจ้าหน้ าที่ต่อบคุ คลท่ีเก่ียวข้อง บัตรประจาตัวพนั กงานเจ้าหน้ าท่ีให้เป็นไปตามแบบท่ี รฐั มนตรปี ระกาศกาหนดในราชกิจจานเุ บกษา

พระราชบญั ญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบหุ ร่ี พ.ศ. 2535 ❖ (มาตรา 9) ให้ผู้ดาเนิ นการและบรรดาผู้ท่ีเก่ียวข้องกับสถานที่สาธารณะอานวยความ สะดวกตามสมควรแกพ่ นั กงานเจา้ หน้ าทซี่ ่ึงปฏบิ ตั หิ น้าที่ตามมาตรา 7 ❖ (มาตรา 10) ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนั กงานเจ้าหน้ าที่เป็นเจ้า พนั กงานตามประมวลกฎหมายอาญา 2❖ (มาตรา 11) ผู้ดาเนิ นการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 5 (1) ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท ผู้ดาเนิ นการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 5 (2) ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน หน่ึงหมื่นบาท ผดู้ าเนินการผูใ้ ดไมป่ ฏบิ ตั ิตามมาตรา 5 (3) ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน สองพันบาท

พระราชบญั ญัติคุ้มครองสุขภาพของผไู้ มส่ ูบบหุ รี่ พ.ศ. 2535 ❖ (มาตรา 12) ผ้ใู ดฝ่าฝืนมาตรา 6 ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กินสองพันบาท ❖ (มาตรา 13) ผู้ใดขั ดขวางหรือไม่อานวยความสะดวกแก่พนั กงานเจ้าหน้ าที่ซ่ึง ปฏิบัติการตามมาตรา 7 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึ งเดือน หรือปรับไม่เกินสอง พันบาท หรอื ท้ังจาทง้ั ปรบั 2❖ (มาตรา 14) บรรดาความผิดตามพระราชบญั ญัตินี้ ให้พนั กงานสอบสวนผู้มีอานาจทา การสอบสวนคดีน้ั น มีอานาจเปรียบเทียบได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา ❖ (มาตรา 15) ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้ มีอานาจแต่งตั้งพนั กงานเจ้าหน้ าท่ี กับออกประกาศเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบญั ญัตนิ ้ี

เห็นไหมละครับ พระราชบัญญัตคิ ุ้มครอง สุขภาพของผไู้ ม่สูบบุหร่ี พ.ศ. 2535 มี ความสาคัญเป็นอย่างย่งิ และคุ้มครองผู้ไม่ สูบบุหร่ีอย่างพวกเราได้ด้วย อีกทั้งยังมีโทษ ปรับตามกฎหมายแบบจรงิ จังด้วยครับ เป็นความรู้ท่ีดีอย่างย่งิ และ สามารถนาความรู้ท่ีได้ไป เผยแพร่กับเพ่อื นๆ และคนใน ครอบครัวได้ ขอบคุณนะค่ะ

ขอบคุณค่ะ