Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546

พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546

Description: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภารณี นิลกรณ์

Search

Read the Text Version

พระราชบัญญัติ คุ้มครองเดก็ พ.ศ. 2546 เข้าสบู่ ทเรียน ได้รับทุนอุดหนนุ การวิจยั และนวตั กรรม จากสานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) This project is funded by National Research Council of Thailand (NRCT)

สวัสดีค่ะเพ่อื นๆ วันน้ีดฉิ ันจะพา เพ่อื นๆ ไปเรียนรู้ พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ในแต่ละ มาตรากันนะค่ะ พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 แต่ละมาตราสาคัญกับเรา อย่างไรบ้างครับ

พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองเดก็ พ.ศ. 2546 สาระสาคัญท่ีใช้ มี 2 มาตราท่ี สาคัญ มีสาระสาคัญดงั น้ี มาตรา 44 กล่าวไว้วา่ พนั กงานเจ้าหน้ าท่หี รือผู้มีหน้ าท่ีคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก ตามมาตรา 24 พบเห็นหรอื ได้รบั แจ้งจ2ากผู้พบเห็นเดก็ ท่ีเส่ี ยงตอ่ การกระทาผิด ให้สอบถามเด็กและดาเนิ นการหาข้อเท็จจรงิ เก่ียวกับตวั เด็ก มาตรา 45 กล่าวไว้ว่า ห้ามมิให้เด็กซ้ือหรือเสพสุราหรือบุหร่ีหรือเข้าไปใน สถานท่ีเฉพาะเพื่อการจาหน่ ายหรือเสพสุราหรือบุหร่ี หากฝ่าฝืนให้พนั กงาน เจ้าหน้ าท่ีสอบถามเด็กเพื่ อทราบข้ อมูลเก่ียวกับเด็กและมีหนั งสื อเรียก ผูป้ กครองมารว่ มประชุมเพ่ือปรึกษาหารอื ว่ากล่าวตักเตือน ให้ทาทัณฑ์บน

พระราชบญั ญัติคุ้มครองเดก็ พ.ศ. 2546 ❖ มาตรา 44 พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีหรือผู้มีหน้ าท่ีคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กพบเห็นหรือได้รับ แจ้งจากผู้พบเห็นเด็กท่ีเส่ี ยงต่อการกระทาผิดให้สอบถามเด็กและดาเนิ นการหา ข้อเท็จจริงเก่ียวกับตัวเด็ก รวมทั้งสภาพความสั มพันธ์ภายในครอบครัว ความ เป็นอยู่ การเล้ียงดู อุปนิ สั ย และความปร2ะพฤตขิ องเด็กเพื่อทราบข้อมูลเก่ียวกบั เดก็ ถ้าเห็ นว่าจาเป็นต้องคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็ก โดยวิธีส่ งเข้ าสถาน คุ้มครองสวัสดิภาพหรือสถานพัฒนาและฟ้ ืนฟูก็ให้เสนอประวัติพร้อมความเห็นไป ยังปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี เพ่ือพิจารณาสั่ งให้ใช้ วิธีการคุ้มครองสวัสดิภาพท่ีเหมาะสมแก่เด็ก ถ้าหากไม่เข้าสถานคุ้มครองก็ให้ ผู้ปกครองดแู ลเดก็ ตามข้อกาหนดต่อไป

เพ่อื นๆ เห็นไหมค่ะว่า พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 นั้นเป็นพระพระราชบัญญัตทิ ี่เข้มมากเลยนะ ค่ะ เช่น มาตรา 44 คุ้มครองเด็กท่ีเส่ียงต่อการกระทาผดิ ส่วน มาตรา 45 ห้ามมิให้เด็กซ้อื หรอื เสพสุราหรอื บุหร่ี หรือเข้าไปในสถานท่ีเฉพาะเพ่อื การจาหน่ายหรอื เสพสุรา หรือบุหรี่ เพ่อื นๆ ต้องเล่ียงในการกระทาผดิ นะค่ะ

ข้อกาหนดเพื่อป้องกนั มิให้เด็กมคี วามประพฤตเิ สี ยหาย หรอื เสี่ ยงตอ่ การกระทาผดิ 1. ระมดั ระวงั มใิ ห้เดก็ เข้าไปในสถานทีห่ รอื ท้องที่ใดอันจะจงู ใจให้เดก็ ประพฤติตนไม่สมควร 2. ระมัดระวงั มใิ ห้เดก็ ออกนอกสถานทอี่ ยอู่ าศั ยในเวลากลางคืน เว้นแตม่ ีเหตจุ าเป็นหรอื ไปกบั ผปู้ กครอง 3. ระมัดระวงั มิให้เดก็ คบหาสมาคมกบั บคุ คลหรอื คณะบคุ คลที่จะชักนาไปทางเสื่ อมเสี ย 24. ระมดั ระวงั มิให้เดก็ กระทาการใดอนั เป็นเหตใุ ห้เด็กประพฤติเสียหาย 5. จดั ให้เด็กไดร้ บั การศึ กษาอบรมตามสมควรแกอ่ ายุ สติปัญญา และความสนใจของเด็ก 6. จดั ให้เด็กไดป้ ระกอบอาชีพทเ่ี หมาะสมกับความถนัดและความสนใจของเด็ก 7. จดั ให้เดก็ กระทากิจกรรมเพื่อพัฒนาตนเองทางด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และบาเพ็ญประโยชน์ ต่อสั งคม

ข้อกาหนดเพ่อื ป้องกันมใิ ห้เด็กมีความ ประพฤติเสียหาย หรอื เส่ียงต่อการกระทาผดิ สาคัญมากเลยนะครับ

พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ❖ มาตรา 45 ห้ามมิให้เด็กซ้ือหรือเสพสุราหรือบุหร่ี หรือเข้าไปในสถานท่ีเฉพาะเพื่อ การจาหน่ ายหรือเสพสุราหรือบุหร่ี หากฝ่าฝืนให้พนั กงานเจ้าหน้ าท่ีสอบถาม เด็กเพื่อทราบข้อมูลเก่ียวกับเด็กและมีห2นั งสื อเรียกผู้ปกครองมาร่วมประชุมเพ่ือ ปรึกษาหารือ ว่ากล่าวตักเตือน ให้ทาทัณฑ์บน หรือมีข้อตกลงร่วมกันเก่ียวกับ วิธีการและระยะเวลาในการจัดให้ เด็กทางานบริการสั งคมหรือทางาน สาธารณประโยชน์ และอาจวางข้อกาหนดให้ผู้ปกครองต้องปฏิบัติข้อใดข้อหน่ึ ง หรอื วางข้อกาหนดอ่ืนใดเพ่ือแกไ้ ข หรอื ป้องกนั มใิ ห้เด็กกระทาความผดิ ข้ึนอกี

ดิฉันหวังว่าเพ่อื นๆ จะเข้าใจ พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ในแต่ละมาตรามากข้ึนนะค่ะ เป็นเด็กดีได้โดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหร่ีนะ ขอบคุณสาหรับความรู้ดีๆ นะครับที่มาแบ่งปัน ขอบคุณครับ

ขอบคุณค่ะ