Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560

พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560

Description: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภารณี นิลกรณ์

Search

Read the Text Version

พรแะรผานชพบัฒญนญาตั ิคนเวอบงคแลมุ ะผพลฒั ิตนภาัณวิชฑา์ยชาพี สูบ (ID PLAN :ปIีกNพDาIรV.ศศIDึกU.ษA2LาD52E5V6E60L3OPMENT PLAN) ได้รบั ทุนอดุ หนุนการวจิ ยั และนวตั กรรม จากสานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) This project is funded by National Research Council of Thailand (NRCT)

1 พระราชบัญญัตคิ วบคุมผลติ ภัณฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 พระราชบญั ญตั ิควบคุมผลิตภัณฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ประกาศใช้ข้ึนเพื่อกาหนดมาตรการ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ และยกระดับคุ้มครองสุขภาพอนามัยของประชาชนโดยเฉพาะเด็กและ เยาวชนซึ่งเป็นทรัพยากรท่ีสาคัญของชาติให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน และให้สอดคล้องกับกรอบ อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลก โดยมีสาระสาคัญดังน้ี (สานักควบคุมการ บริโภคยาสูบ, 2560) (มาตรา 26) ห้ามผู้ใดขายหรือให้ซึ่งผลิตภัณฑ์ยาสูบแก่บุคคลซึ่งมีอายุต่ากว่ายี่สิบปีบริบูรณ์ ในกรณีท่ีมีข้อสงสัยเก่ียวกับอายุของผู้ซื้อหรือผู้รับการให้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ ให้ผู้ขายหรือผู้ให้ซึ่ง ผลติ ภัณฑ์ยาสบู แจ้งให้บคุ คลดังกล่าวแสดงบัตรประจาตัวประชาชนหรือหลักฐานอื่นที่แสดงอายุของ บุคคลน้ันกอ่ น แลว้ แตก่ รณี ห้ามผู้ใดใช้ จ้าง วาน หรือยินยอมให้บุคคลอายุต่ากว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ขายหรือให้ซึ่ง ผลติ ภัณฑย์ าสบู (มาตรา 27) ในการขายผลิตภัณฑ์ยาสูบโดยผู้ขายปลีก ห้ามผู้ขายปลีกกระทาการอย่างหน่ึง อย่างใด ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ขายผลิตภณั ฑ์ยาสูบโดยใช้เครือ่ งขาย (2) ขายผลิตภัณฑย์ าสบู โดยผ่านทางส่ืออิเลก็ ทรอนกิ สห์ รือเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (3) ขายผลติ ภัณฑ์ยาสบู นอกสถานทที่ ่ีระบไุ วใ้ นใบอนญุ าตขายยาสูบ (4) ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบโดยแจก แถม ให้ หรือแลกเปล่ียนผลิตภัณฑ์ยาสูบกับสินค้า อ่นื การให้บริการ หรือสทิ ธปิ ระโยชน์อืน่ แลว้ แต่กรณี (5) ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบโดยกระทาการในลักษณะที่แสดงถึงการลดราคาผลิตภัณฑ์ ยาสบู ณ จุดขาย (6) ขายสินค้าหรือให้บริการโดยมีการแจก แถม ให้ผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือแลกเปลี่ยน กบั ผลิตภัณฑ์ยาสูบ แล้วแต่กรณี (7) เรข่ ายผลิตภณั ฑย์ าสูบ (8) ให้หรอื เสนอให้สทิ ธใิ นการเขา้ ชมการแข่งขัน การแสดง การให้บริการ การชิงโชค การชงิ รางวลั หรอื สิทธิประโยชน์อ่ืนใดเป็นการตอบแทนแก่ผู้ซ้ือผลิตภัณฑ์ยาสูบหรือ แก่ผนู้ าหบี หอหรือสลากหรือสิ่งอ่ืนใดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ยาสูบมาแลกเปล่ียนหรือแลก ซือ้ (9) แสดงราคาผลิตภัณฑย์ าสูบ ณ จดุ ขายในลักษณะจูงใจให้บรโิ ภคผลิตภณั ฑ์ยาสบู (มาตรา 28) ห้ามผู้ใดแจกจ่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบในลักษณะเป็นตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือเพ่อื ใหผ้ ลิตภณั ฑ์ยาสูบแพรห่ ลาย หรือเพอื่ เป็นการจงู ใจสาธารณชนให้บริโภคผลิตภณั ฑ์ยาสูบ

พระราชบญั ญัตคิ วบคมุ ผลิตภัณฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 2 (มาตรา 29) หา้ มผูใ้ ดขายผลิตภณั ฑย์ าสูบในสถานที่ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) วดั หรือสถานทีส่ าหรบั ปฏิบัติพธิ ีกรรมทางศาสนา (2) สถานบริการสาธารณสุข สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล และร้านขายยา ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยา (3) สถานศึกษาตามกฎหมายว่าดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาติ (4) สวนสาธารณะ สวนสัตว์ และสวนสนุก (5) สถานท่อี ืน่ ตามทร่ี ัฐมนตรปี ระกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ อาจประกาศกาหนดระยะห่างจากสถานที่ตามวรรค หน่ึง เพ่ือมิให้มีการขายผลิตภัณฑ์ยาสูบภายในระยะห่างดังกล่าวก็ได้ ในการนี้ ให้มีการจัดทา เครอื่ งหมายหรือสัญลักษณ์ให้ทราบถึงเขตพืน้ ทท่ี ี่กาหนดดงั กลา่ วด้วย (มาตรา 30) ห้ามผใู้ ดโฆษณาหรือทาการสอ่ื สารการตลาดผลติ ภัณฑ์ยาสูบ (มาตรา 31) ห้ามผู้ใดแสดงชื่อหรือเครื่องหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบ แสดงชื่อหรือเครื่องหมาย ของผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือแสดงสัญลักษณ์หรือส่ิงอ่ืนใดโดยทาให้สาธารณชนเข้าใจว่า เป็นช่ือหรือเคร่ืองหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือชื่อหรือเคร่ืองหมายของผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ ยาสบู ทั้งน้ี เพื่อการโฆษณาผลติ ภณั ฑ์ยาสบู ในกรณีดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ในส่ิงพิมพ์ เทปหรือวัสดุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่อ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ หรอื ปา้ ยโฆษณา (2) ในโรงมหรศพ โรงภาพยนตร์ หรือในการแสดง การละเล่น การประกวด การแข่งขัน การ ให้บริการ หรือการประกอบกิจกรรมอนื่ ใดในลักษณะเดยี วกัน (3) ในส่ือส่ิงอื่นใดหรือสถานท่ีใดท่ีใช้เพื่อโฆษณาหรือทาการสื่อสารการตลาดได้ตามท่ีรัฐมนตรี ประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ (มาตรา 32) ห้ามผู้ใดนาช่ือหรือเคร่ืองหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบ ช่ือหรือเครื่องหมายของผู้ผลิต หรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ ไปแสดงบนผลิตภัณฑ์อื่นใดที่ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือนาช่ือหรือ เครื่องหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบมาตัด ต่อเติม หรือดัดแปลงข้อความให้เป็นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์น้ัน เพ่ือการโฆษณาช่ือหรือเครื่องหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบหรือชื่อหรือเคร่ืองหมายของผู้ผลิตหรือผู้นาเข้า ผลิตภณั ฑ์ยาสูบห้ามผู้ใดนาเขา้ เพอื่ ขาย โฆษณา หรือขายซ่ึงผลิตภัณฑ์ตามวรรคหนงึ่ ในราชอาณาจักร (มาตรา 33) ห้ามผู้ใดโฆษณาผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ชื่อหรือเครื่องหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบเป็นช่ือหรือ เครือ่ งหมายของผลติ ภัณฑน์ ั้น หรือโฆษณาโดยการนาชื่อหรือเคร่ืองหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบมาตัด ต่อ เติม หรือดัดแปลงข้อความให้เป็นส่วนหนึ่งของช่ือหรือเครื่องหมายของผลิตภัณฑ์น้ัน ท้ังน้ี ในลักษณะที่ อาจทาใหเ้ ข้าใจได้ว่าหมายความถึงการโฆษณาผลติ ภณั ฑย์ าสูบ

3 พระราชบญั ญตั คิ วบคมุ ผลติ ภัณฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 (มาตรา 34) ห้ามผู้ใดผลิต ขาย นาเข้าเพ่ือขายหรือเพื่อแจกจ่ายเป็นการทั่วไป โฆษณาหรือ ทาการส่ือสารการตลาดผลิตภณั ฑ์ ในราชอาณาจกั ร ดังตอ่ ไปน้ี (1) ผลติ ภณั ฑ์ทีม่ รี ปู ลักษณะทาให้เขา้ ใจได้วา่ เปน็ ส่ิงเลียนแบบผลิตภณั ฑ์ยาสูบ (2) ผลิตภัณฑ์ท่ีบริโภคโดยวิธีสูบและมีสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามท่ีรัฐมนตรี ประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ (3) หบี ห่อของผลติ ภัณฑต์ าม (1) และ (2) (มาตรา 35) ห้ามผู้ประกอบการและผู้มีส่วนเก่ียวข้องให้การอุปถัมภ์ หรือให้การสนับสนุน บคุ คล กล่มุ บุคคล หนว่ ยงานของรัฐ หรอื องค์กรเอกชน ในลักษณะอยา่ งหน่ึงอยา่ งใด ดังต่อไปน้ี (1) เปน็ การสรา้ งภาพลกั ษณ์ตอ่ ผลติ ภณั ฑย์ าสบู ผู้ผลิต หรอื ผนู้ าเข้าผลิตภณั ฑ์ยาสูบ (2) ท่สี ง่ ผลหรอื ทอ่ี าจส่งผลตอ่ การแทรกแซงนโยบายการควบคุมผลิตภัณฑย์ าสูบ (3) โฆษณาผลิตภัณฑย์ าสูบ ผู้ผลติ หรอื ผูน้ าเข้าผลติ ภัณฑย์ าสบู (4) ส่งเสริมการบริโภคยาสูบ ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับการกระทาในระหว่างผู้ประกอบการ ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง และ ผู้ซึ่งเก่ียวข้องกับกระบวนการผลิตและค้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือการบริจาค หรือการช่วยเหลือตาม มนุษยธรรมในกรณีท่ีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงห้ามผู้ใดเผยแพร่กิจกรรมหรือข่าวสาร เพื่อ ประชาสมั พันธ์กจิ กรรมตามวรรคหน่งึ และวรรคสอง (มาตรา 36) ห้ามผู้ขายปลีกผลิตภัณฑ์ยาสูบแสดงหรือยินยอมให้แสดงผลิตภัณฑ์ยาสูบ ณ สถานท่ขี ายปลีก การแสดงชอ่ื และราคาของผลติ ภัณฑ์ยาสบู และการแสดงการเป็นสถานท่ีขายปลีก ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอื่ นไขทร่ี ฐั มนตรปี ระกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ ใหผ้ ูข้ ายปลกี ผลิตภัณฑ์ยาสูบ แสดงสอื่ รณรงค์เพื่อการลด ละ เลิกการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ ท่ีกระทรวงสาธารณสุขจัดทาขึ้น ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีรัฐมนตรีประกาศกาหนดโดย คาแนะนาของคณะกรรมการ (มาตราที่ 37) ผลิตภัณฑ์ยาสูบท่ีจะขายในราชอาณาจักรต้องมีส่วนประกอบและสารท่ีเกิด จากการเผาไหมข้ องส่วนประกอบตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง ผผู้ ลิตหรือผู้นาเขา้ ผลิตภณั ฑ์ยาสูบตามวรรคที่หนึ่ง มีหนา้ ท่ีตอ้ งแจ้งรายการสว่ นประกอบของ ผลิตภัณฑ์ยาสูบ สารท่ีเกิดจากการเผาไหม้ของส่วนประกอบน้ัน และส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาสูบให้ กระทรวงสาธารณสุขดาเนินการตรวจสอบและเปิดเผยต่อสาธารณชนตามที่ได้รับแจ้ง ท้ังนี้ ตาม หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขทก่ี าหนดในกฎกระทรวง

พระราชบญั ญัตคิ วบคมุ ผลติ ภณั ฑ์ยาสบู พ.ศ. 2560 4 ในกรณีที่ผลิตภัณฑ์ยาสูบตามวรรคสองมีส่วนประกอบและสารที่เกิดจากการเผาไหม้ของ ส่วนประกอบเป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงตามวรรคหนึ่ง ให้กระทรวงสาธารณสุขออกใบรับรอง การจดแจ้งรายการส่วนประกอบของผลติ ภณั ฑย์ าสบู และสารที่เกิดจากการเผาไหม้ของส่วนประกอบนั้น ทัง้ นี้ การออกใบรับรอง อายุใบรับรอง และการออกใบแทนใบรับรองดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขท่กี าหนดในกฎกระทรวง ในกรณีท่ีผลิตภัณฑ์ยาสูบตามวรรคสองมีส่วนประกอบและสารท่ีเกิดจากการเผาไหม้ของ ส่วนประกอบไม่เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวงตามวรรคหน่ึง ให้รัฐมนตรีออกคาสั่งห้ามขาย ห้าม นาเข้า หรือให้ทาลายผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ผลิตหรือนาเข้านั้น และประกาศให้สาธารณชนได้รับทราบถึง คาส่ัง ค่าใช้จ่ายอันเกิดจากการตรวจสอบส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ยาสูบตามวรรคสอง หรือการ ทาลาย หรือการประกาศตามวรรคส่ี ให้ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบดังกล่าวเป็นผู้รับผิดชอบ คา่ ใช้จ่ายในการดาเนินการ ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเง่อื นไขทก่ี าหนดในกฎกระทรวง เพื่อคุ้มครองสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของประชาชน กฎกระทรวงตามวรรคหน่ึงจะ กาหนดให้รัฐมนตรีประกาศหลักเกณฑ์เกี่ยวกับรายละเอียดทางเทคนิค ทางวิชาการ หรือเรื่องท่ีต้อง เปลี่ยนแปลงรวดเรว็ กไ็ ด้ (มาตรา 38) ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ เพื่อขายในราชอาณาจักรต้องดาเนินการให้หีบ ห่อผลิตภัณฑ์ยาสูบหรือผลิตภัณฑ์ยาสูบมีขนาด สี สัญลักษณ์ ฉลาก รวมทั้งลักษณะการแสดง เครื่องหมายการค้า สัญลักษณ์ รูปภาพ และข้อความเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่ รฐั มนตรปี ระกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ ก่อนท่จี ะนาออกจากแหล่งผลิตหรือก่อนท่ีจะ นาเข้ามาในราชอาณาจักร แล้วแตก่ รณี ห้ามผู้ใดขายผลิตภัณฑ์ยาสูบท่ีมิได้จัดให้มีหีบห่อผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือแสดงเครื่องหมายการค้า สัญลักษณ์ รูปภาพ และข้อความ ตามที่กาหนดในวรรคหน่งึ เพื่อคุ้มครองสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของประชาชน ให้คณะกรรมการพิจารณาว่า สมควรปรับปรุงประกาศตามวรรคหน่ึงหรือไม่ ทุกสองปีนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ทั้งนี้ ใน กรณที ่มี ีความจาเป็น คณะกรรมการจะพิจารณาปรบั ปรงุ ประกาศดังกลา่ วในกาหนดระยะเวลาท่ีเร็วกว่า น้ันกไ็ ด้ (มาตรา 39) ห้ามผู้ใดผลิตหรือนาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ เพื่อขายในราชอาณาจักร ประเภทบุหร่ีซิ กาแรตทม่ี ขี นาดบรรจุตา่ กวา่ ย่ีสิบมวนตอ่ ซองหรอื ต่อภาชนะบรรจุบหุ รี่ซิกาแรต หา้ มไม่ให้มีการแบ่งขาย ผลติ ภัณฑย์ าสูบประเภทบุหรี่ซกิ าแรต การขายผลิตภัณฑ์ยาสูบประเภทอ่ืน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีรัฐมนตรี ประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ

5 พระราชบัญญตั คิ วบคมุ ผลิตภัณฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 (มาตรา 40) ให้ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ เพ่ือขายในราชอาณาจักร มีหน้าที่ส่งข้อมูล เก่ยี วกบั ปริมาณการผลติ หรือการนาเข้าในราชอาณาจักร ค่าใช้จ่ายด้านการตลาด รายได้ ค่าใช้จ่ายตาม มาตรา 35 รายงานประจาปี งบดุลที่ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตได้รับรองแล้ว และข้อมูลอ่ืนที่เป็นประโยชน์ ในการควบคมุ ผลติ ภณั ฑย์ าสูบให้แก่คณะกรรมการ ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ (มาตรา 41) ให้รัฐมนตรโี ดยคาแนะนาของของคณะกรรมการ มีอานาจประกาศประเภทหรือช่ือ ของสถานท่ีสาธารณะ สถานที่ทางาน และยานพาหนะ ให้ส่วนหน่ึงส่วนใดหรือทั้งหมดของสถานที่และ ยานพาหนะดังกลา่ ว เปน็ เขตปลอดบหุ รี่ รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ อาจกาหนดให้มีเขตสูบบุหร่ีในเขตปลอดบุหร่ีตาม วรรคหนึ่งก็ได้ (มาตรา 42) ห้ามผู้ใดสูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่ เว้นแต่เป็นเขตสูบบุหร่ีท่ีกาหนดตามมาตรา 41 วรรคสอง (มาตรา 43) เมอื่ รฐั มนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการประกาศให้สถานท่ีสาธารณะ สถานที่ ทางาน หรือยานพาหนะใด เป็นเขตปลอดบุหร่ี ให้ผู้ดาเนินการจัดให้สถานท่ีหรือยานพาหนะดังกล่าวมี สภาพและลกั ษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) มีเครือ่ งหมายแสดงไว้ใหเ้ หน็ ไดโ้ ดยชัดเจนวา่ เปน็ เขตปลอดบุหรี่ (2) ปราศจากอปุ กรณ์หรอื สงิ่ อานวยความสะดวกสาหรบั การสูบบหุ ร่ี (3) มสี ภาพและลกั ษณะอน่ื ใดตามท่ีรฐั มนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ (มาตรา 44) ในกรณีท่ีเขตปลอดบุหรี่ใดมีประกาศกาหนดเขตสูบบุหรี่ตามมาตรา 41 วรรคสอง ผูด้ าเนนิ การอาจจัดใหม้ ีเขตสบู บหุ ร่ไี ด้ โดยตอ้ งมสี ภาพและลกั ษณะ ดงั ต่อไปนี้ (1) มเี ครอ่ื งหมายติดแสดงไว้ให้เหน็ ไดโ้ ดยชดั เจนวา่ เป็นเขตสูบบุหร่ี (2) ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้าออกของสถานที่หรือยานพาหนะน้ัน หรือในบริเวณอื่นใดอันเปิดเผย เหน็ ได้ชัด (3) มีพ้นื ทเ่ี ปน็ สดั ส่วนชดั เจน โดยคานึงถึงการระบายอากาศที่เหมาะสม และไม่มีลักษณะท่ีอาจ กอ่ ใหเ้ กิดความเดอื ดรอ้ นราคาญแก่ผูอ้ นื่ (4) แสดงส่ือรณรงค์เพื่อการลด ละ เลิกการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบตามท่ีรัฐมนตรีประกาศ กาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ (5) มสี ภาพและลักษณะอื่นใดตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ

พระราชบัญญตั ิควบคมุ ผลติ ภณั ฑ์ยาสบู พ.ศ. 2560 6 (มาตรา 45) เคร่ืองหมายเขตปลอดบุหรี่ตามมาตรา 43(1) หรือเขตสูบบุหรี่ตามมาตรา 44(1) ท่ี ผู้ดาเนินการจัดให้มี ต้องเป็นไปตามลักษณะและวิธีการท่ีรัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของ คณะกรรมการ (มาตรา 46) ให้ผ้ดู าเนนิ การมีหน้าที่ประชาสมั พันธ์หรอื แจง้ เตอื นว่าสถานท่ีนั้นเป็นเขตปลอดบุหรี่ และควบคมุ ดแู ล หา้ มปราม หรือดาเนินการอื่นใด เพ่ือไมใ่ ห้มีการสบู บหุ รใ่ี นเขตปลอดบุหร่ี ในกรณีที่มีผู้ฝ่าฝืนสูบบุหรี่ในเขตปลอดบุหรี่ หากผู้ดาเนินการได้ดาเนินการตามวรรคหน่ึงตาม สมควรแล้ว ผ้ดู าเนินการน้นั ไม่มคี วามผดิ (มาตรา 53) ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 26 วรรคหน่ึงหรือวรรคสาม หรือมาตรา 27 (1) (2) หรือ (3) ต้อง ระวางโทษจาคกุ ไม่เกนิ สามเดือน หรอื ปรบั ไมเ่ กินสามหมื่นบาท หรอื ทง้ั จาทั้งปรบั (มาตรา 54) ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 27 (4) (5) (6) (8) หรือ (9) มาตรา 28 หรือมาตรา 29 ต้องระวาง โทษปรับไมเ่ กนิ ส่ีหมนื่ บาท (มาตรา 55) ผู้ใดฝ่าฝนื มาตรา 27 (7) ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ สองหมื่นบาท (มาตรา 56) ผ้ใู ดฝ่าฝืนมาตรา 30 หรือมาตรา 31 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ ไมเ่ กินห้าแสนบาท หรือทงั้ จาท้ังปรับ หากการกระทาความผิดตามมาตรา 30 หรือมาตรา 31 เป็นการกระทาของผู้ผลิต ผู้นาเข้า ผู้ ส่งออกผลิตภัณฑ์ยาสูบ ผู้รับทาการโฆษณา หรือผู้ทาการสื่อสารการตลาด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน หน่ึงปี หรือปรับไม่เกินก่ึงหนึ่งของค่าใช้จ่ายท่ีใช้ในการโฆษณาหรือทาการส่ือสารการตลาด ทั้งน้ี ค่าปรับ ตอ้ งไมน่ ้อยกวา่ หนึ่งลา้ นห้าแสนบาท หรือทง้ั จาทั้งปรบั นอกจากต้องระวางโทษตามวรรคหนึ่งและวรรคสองแล้ว ผู้ฝ่าฝืนต้องระวางโทษปรับอีกวันละไม่ เกนิ หา้ หมื่นบาท ตลอดเวลาที่ยงั ฝ่าฝนื หรอื จนกว่าปฏิบัติไดถ้ กู ต้อง (มาตรา 57) ผู้ใดฝา่ ฝืนมาตรา 32 วรรคหน่งึ ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกินหนึง่ แสนบาท ผ้ใู ดฝ่าฝนื มาตรา 32 วรรคสอง ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ ห้าหมื่นบาท (มาตรา 58) ผูใ้ ดฝา่ ฝนื มาตรา 33 ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท (มาตรา 59) ผู้ใดผลิต นาเข้าเพ่ือขายหรือเพ่ือแจกจ่ายเป็นการทั่วไป โฆษณา หรือทาการสื่อสาร การตลาดผลิตภัณฑ์ตามมาตรา 34 (1) (2) หรือ (3) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทผู้ใดขาย ผลิตภณั ฑ์ตามมาตรา 34 (1) (2) หรือ (3) ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ ห้าหมืน่ บาท (มาตรา 60) ผู้ประกอบการผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 35 วรรคหน่ึง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรบั ไมเ่ กินกงึ่ หนึ่งของคา่ ใช้จ่ายทใ่ี ช้ในการดาเนนิ กิจกรรมดังกล่าว ทั้งนี้ ค่าปรับต้องไม่น้อยกว่าหนึ่ง ล้านหา้ แสนบาท หรอื ท้ังจาทงั้ ปรับ

7 พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 ในกรณีที่การกระทาตามวรรคหน่ึง เป็นการกระทาของผู้รับจ้างหรือผู้ได้รับมอบหมายให้ ดาเนนิ การตามมาตรา 35 วรรคหนึง่ ให้ระวางโทษเช่นเดยี วกบั ผู้ประกอบการตามวรรคหนึ่ง ผมู้ ีส่วนเก่ยี วข้องผใู้ ดฝ่าฝืนมาตรา 35 วรรคหนง่ึ ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับ ไม่เกินหา้ แสนบาท หรือทัง้ จาท้งั ปรับ ผู้ใดฝ่าฝนื มาตรา 35 วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท (มาตรา 61) ผู้ขายปลีกผลิตภัณฑ์ยาสูบผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 36 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับ ไมเ่ กนิ ส่ีหมื่นบาท ผู้ขายปลีกผลิตภัณฑ์ยาสูบผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 36 วรรคสองและวรรคสาม ต้องระวาง โทษปรับไม่เกนิ ห้าพนั บาท (มาตรา 62) ในกรณีท่ีผู้ฝ่าฝืนมาตรา 26 มาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 32 มาตรา 33 หรือ มาตรา 36 วรรคหนึ่ง เป็นผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ ต้องระวางโทษเป็นสามเท่าของโทษท่ี บญั ญตั ิไว้สาหรบั ความผิดนน้ั (มาตรา 63) ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบผู้ใดไม่แจ้งรายการ แจ้งรายการไม่ครบถ้วน หรือแจ้งรายการอันเป็นเท็จ ตามมาตรา 37 วรรคสอง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือ ปรบั ไม่เกนิ สองแสนบาท หรอื ทัง้ จาทงั้ ปรับ ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบผู้ใดฝ่าฝืนคาสั่งห้ามขาย ห้ามนาเข้า หรือให้ทาลาย ผลิตภัณฑ์ยาสูบตามมาตรา 37 วรรคส่ี ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับไม่เกินห้าแสน บาท หรอื ทง้ั จาท้ังปรบั กรณีท่ีผ้ฝู า่ ฝนื คาสง่ั ห้ามขาย ห้ามนาเข้า หรือให้ทาลายผลิตภณั ฑ์ยาสูบตามมาตรา 37 วรรค สี่ มิใช่ผผู้ ลิตหรือผนู้ าเข้าผลติ ภณั ฑ์ยาสบู ต้องระวางโทษปรับไม่เกินส่หี ม่ืนบาท (มาตรา 64) ผ้ใู ดไมป่ ฏิบัตติ ามมาตรา 38 วรรคหนงึ่ ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กินสองแสนบาท ผู้ใดฝา่ ฝืนมาตรา 38 วรรคสอง ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กินสหี่ ม่นื บาท (มาตรา 65) ผู้ใดฝา่ ฝืนมาตรา 39 วรรคหนึง่ ต้องระวางโทษปรับไมเ่ กินสามแสนบาท ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 39 วรรคสอง หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 39 วรรคสาม ต้อง ระวางโทษปรบั ไม่เกินส่หี มน่ื บาท (มาตรา 66) ผู้ผลติ หรอื ผู้นาเข้าผลติ ภณั ฑย์ าสูบผู้ใดไม่ส่งข้อมูลหรือส่งข้อมูลไม่ครบถ้วนตาม มาตรา 40 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ หกเดอื น หรือปรบั ไม่เกินหน่ึงแสนบาท หรือทั้งจาทงั้ ปรับ ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบผู้ใดส่งข้อมูลอันเป็นเท็จตามมาตรา 40 ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกนิ สองแสนบาท หรือทั้งจาทง้ั ปรบั (มาตรา 67) ผู้ใดฝา่ ฝืนมาตรา 42 ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ หา้ พนั บาท

พระราชบัญญตั ิควบคุมผลิตภณั ฑย์ าสูบ พ.ศ. 2560 8 (มาตรา 68) ผดู้ าเนินการผใู้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 43 หรือมาตรา 44 ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่ เกินหา้ หม่ืนบาท (มาตรา 69) ผดู้ าเนนิ การผใู้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 45 ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กินหา้ พนั บาท (มาตรา 70) ผดู้ าเนินการผใู้ ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 46 วรรคหน่ึง ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน สามพนั บาท (มาตรา 71) ผใู้ ดขดั ขวางหรอื ไมอ่ านวยความสะดวกตามสมควรแก่พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีในการ ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีตามมาตรา 47 หรือมาตรา 48 ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรบั ไม่เกิน หน่งึ หม่ืนบาท หรอื ทงั้ จาทง้ั ปรบั (มาตรา 72) ผใู้ ดไม่ชาระเงินค่าปรบั ตามคาส่งั ท่ีออกโดยพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีตามมาตรา 48 (6) ภายในระยะเวลาท่ีกาหนดในคาส่งั โดยไม่มีเหตุอนั สมควร ตอ้ งระวางโทษปรบั เป็นสองเท่าของ ค่าปรบั ตามคาส่งั ดงั กลา่ ว (มาตรา 73) ในกรณีท่ีผกู้ ระทาความผิดเป็นนิติบุคคล ถา้ การกระทาความผิดของนิติบุคคล นนั้ เกิดจากการส่งั การหรือการกระทาของกรรมการ หรือผจู้ ดั การ หรือบคุ คลใดซ่งึ รบั ผิดชอบในการ ดาเนินงานของนิติบุคคลนน้ั หรือในกรณีท่ีบคุ คลดงั กล่าวมีหนา้ ท่ีตอ้ งส่งั การหรือกระทาการและละ เวน้ ไม่ส่งั การหรือไม่กระทาการจนเป็นเหตุใหน้ ิติบุคคลนนั้ กระทาความผิด ผนู้ ั้นตอ้ งรบั โทษตามท่ี บญั ญตั ิไวส้ าหรบั ความผดิ นนั้ ๆดว้ ย (มาตรา 74) บรรดาความผิดตามพระราชบญั ญัตินีท้ ่ีมีโทษปรบั สถานเดียว ใหค้ ณะกรรมการ หรอื ผซู้ ่งึ คณะกรรมการมอบหมายมีอานาจเปรียบเทียบไดต้ ามระเบียบท่ีคณะกรรมการกาหนดโดย ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เม่ือผตู้ อ้ งหาไดช้ าระเงินค่าปรบั ตามจานวนท่ีเปรยี บเทียบภายในระยะเวลาท่ีกาหนดแลว้ ให้ ถือวา่ คดีเลิกกนั ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา

9 พระราชบัญญตั ิควบคมุ ผลติ ภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 ข อ บ คุ ณ ค่ ะ