Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างวิชางานเชื่อมอาร์ทังสเตนแก๊สคลุม-1 (1)

โครงสร้างวิชางานเชื่อมอาร์ทังสเตนแก๊สคลุม-1 (1)

Published by bedphuwit, 2021-03-15 04:09:39

Description: โครงสร้างวิชางานเชื่อมอาร์ทังสเตนแก๊สคลุม-1 (1)

Search

Read the Text Version

วช-ร 03 การจัดทาโครงสรา้ งรายวิชา รายวชิ า งานเชอ่ื มอาร์กทังสเตนแก๊สคลุม 1 รหัสวิชา ……… ระดบั ชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี จดั ทาโดย นายภูวิศ มณี ตาแหนง่ ครูผู้ช่วย โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลช่างเคง่ิ อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คาอธิบายรายวชิ า งานเชื่อมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม 1 รหสั วชิ า ........... จุดประสงคร์ ายวชิา 1. มีสามารถปฏิบตั ิงานเชื่อม แผน่ เหลก็ กลา้ คาร์บอนตาแหน่งท่าเชื่อม 1F, 2F,3Fและ1G, 2G 2. สามารถปฏิบตั ิงานตรวจสอบงานเชื่อมดว้ ยการพนิ ิจไดต้ ามมาตรฐาน 3. มีกิจนิสยั ในการทา งานที่ดีปฏิบตั ิการเช่ือม โดยใชอ้ ุปกรณ์ความปลอดภยั ส่วนบคุ คลครบถว้ น สมรรถนะรายวชิ า 1. เช่ือมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม แผน่ เหลก็ กลา้ คาร์บอนตาแหน่งท่าเชื่อม 1F, 2F,3F และ1G, 2Gไดต้ าม มาตรฐานที่กาหนด 2. ตรวจสอบงานเช่ือมเหลก็ กลา้ คาร์บอนตาแหน่งท่าเช่ือม 1F, 2F,3F และ1G, 2G ดว้ ยการพนิ ิจไดต้ ามข้นั ตอน 3. วิเคราะห์ขอ้ บกพร่องงานเชื่อมดว้ ยการพนิ ิจไดต้ ามมาตรฐาน ค าอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบตั ิเก่ียวกบั เคร่ืองมือ วสั ดุ อุปกรณ์ในงานเช่ือม เทคนิคงานเช่ือมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม แผน่ เหลก็ กลา้ คาร์บอนตา แหน่งท่าเช่ือม 1F, 2F, 3F และ1G, 2G ตรวจสอบแนวเชื่อมดว้ ยการพนิ ิจ โดยใชอ้ ุปกรณ์ ถูกตอ้ งตามหลกั ความปลอดภยั และอาชีวอนามยั รายวชิ า งานเชือ่ มอาร์กทงั สเตนแกส๊ คลุม 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5/3 จานวน 80 ชัว่ โมง ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562

โครงสรา้ งรายวชิ า รายวิชา งานเช่อื มอาร์กทงั สเตนแก๊สคลมุ 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี5/3 จานวน 80 ชัว่ โมง ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ที่ ชื่อหน่วย รหสั มฐ.ตัวชวี้ ดั / สาระสาคัญ เวลา คะแนน ผลการเรยี นรู้ (ชม.) K P A 1 ความรู้เบ้ืองตน้ ในงาน 1. อธิบายถงึ หลกั ความปลอดภยั ในงาน การเชื่อมทกิ (Tungsten Inert Gas welding, TIG) หรืออีกช่ือหน่ึงคือการ 8 31 1 เช่ือมอาร์กทงั สเตนแก๊ส เช่ือมอาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม 1 เชื่อมอาร์คทงั สเตนแก๊สปกคลมุ (Gas Tungsten Arc Welding, GTAW) เป็น คลุม 1 2. จาแนกประเภทและชนิดของแก๊สท่ี กระบวนการเช่ือมแบบอาร์คชนิดหน่ึงท่ีใช้ แท่งอิเลก็ โทรดเป็นทงั สเตนในการเช่ือม บริเวณบ่อหล่อมจะมีแก๊ส ใชใ้ นงานเชือ่ มอารก์ ทังสเคนแกส๊ คลมุ ปกคลมุ เพอ่ื ป้องกนั บ่อหลอมจากการปนเป้ื อนหรือการทาปฏิกิริยากบั อากาศรอบขา้ ง แกส๊ เฉ่ือยท่ีใชก้ นั ทวั่ ไป คืออาร์กอน หรือ ฮีเลี่ยม อยา่ งไรกต็ ามแกส๊ ฮีเลี่ยมน้นั ราคาแพงกวา่ อาร์กอนมาก ในการเชื่อมมีท้งั แบบเติมลวด และไม่เติมลวดลงไปในบ่อหลอม ในการเชื่อมมีกระแสไฟฟ้าน้ีเป็ นตวั กระตุน้ ใหแ้ ก๊สท่ีปลายทงั สเตนอิเลก็ โทรดกลายเป็ นไอออน และทาใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นระหวา่ งทงั สเตนอิเลก็ โทรดและบ่อหลอมเห็นเป็นลาพลาสมา การเชื่อมทิกน้ีนิยมใชก้ บั ชิ้นงานท่ีมีลกั ษณะบาง ทาจากสเตนเลสสตีล และโลหะกลมุ่ ท่ีไม่ไดม้ ีเหลก็ เป็นองคป์ ระกอบหลกั เช่น อะลูมิเนียมอลั ลอย แมกนีเซียมอลั ลอย ทองแดงอลั ลอย นิกเกิลอลั ลอย และ ไทเทเนียมอลั ลอย เป็ นตน้ กระบวนการเชื่อมทิกมีขอ้ เด่นเหนือกระบวนการเช่ือมอื่นๆ เช่น shielded metal arc welding (SMAW) หรือ gas metal arc welding (GMAW) ใน ดา้ นการควบคุมคุณภาพและความแขง็ แรงของแนวเช่ือม แต่ขอ้ ดอ้ ยคือ เป็นกระบวนการเช่ือมที่ตอ้ งอาศยั ทกั ษะของช่างเชื่อมสูง และไมเ่ หมาะกบั แนวเช่ือมขนาดใหญ่ เนื่องจากกระบวนการเชื่อมทาไดช้ า้ ทีละนอ้ ย

2 การใชเ้ คร่ืองมือและ 1. แนะนาการใช้ เครอ่ื งมืออุปกรณใ์ น อุปกรณ์ควบคมุ การทางานของเครอื่ งเชือ่ ม 12 81 1 อุปกรณ์ในงานเช่ือม งานเชอ่ื มอาร์กทงั สเตนแก๊สคลมุ 1 ในท่ีนี้จะกลา่ วถงึ อุปกรณค์ วบคมุ การทางานโดยท่วั ไปท่ีมีอย่ใู นของเครื่อง อาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม 2.เพือ่ ให้มกี ิจนสิ ยั ทด่ี ใี นการทางานด้วย เชื่อม TIG แต่ในปัจจบุ ันเคร่ืองเชอ่ื ม TIG ได้พฒั นาใหม้ อี ปุ กรณ์เสรมิ ความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยประณตี (Function) เพมิ่ มากขน้ึ ในเครอ่ื งเชือ่ ม TIG เพ่ือช่วยใหช้ ่างเชอื่ มสามารถ 1 รอบคอบ ซอื่ สัตย์ และปลอดภยั ปฏบิ ตั ิงานเชื่อมได้สะดวกมากยิ่งขึ้น และ ทาใหค้ ุณภาพของแนวเช่ือมดีขึ้น อุปกรณ์โดยทวั่ ไปท่มี ไี ด้แก่ 1. Remote Control เป็นอุปกรณค์ วบคุมการทางานของเคร่อื ง เช่ือม ท่ตี อ่ ออกมาควบคุมทภี่ ายนอกเคร่ืองเช่ือม ในระยะไกลซ่ึงสามารถ ควบคุมไดท้ ้ังกระแสเช่อื ม,การไหลของแก๊สปก คลุม Remote Control มีทั้งชนดิ ควบคุมการทางานดว้ ยมือ(Hand Remote) และชนิดควบคมุ การทางานดว้ ยเทา้ (Foot Remote) 2. High Frequency Switch เปน็ สวิทช์ของความถี่สงู ส่วนมากจะมี สวทิ ช์ปรบั ข้ึนอยกู่ ับลกั ษณะของเคร่ืองเชอื่ ม ตาแหนง่ ทค่ี วบคมุ บางเคร่ือง อาจเรียกไมเ่ หมอื นกนั หรือตาแหนง่ อาจไมเ่ หมอื นกนั โดยให้พิจารณาจาก เครอ่ื งเชื่อมทใี่ ชอ้ ยเู่ ป็นหลัก บางเคร่อื งกไ็ ม่มอี ุปกรณช์ นิดน้ี โดยท่วั ไปมี 3 ตาแหนง่ คอื “ Start ”/ “On” จะทาให้ความถี่สงู เกดิ ข้ึนในขณะเรม่ิ ต้นอารค์ ในชว่ ง ระยะเวลาหนึง่ เท่านนั้ และจะถูกตดั ออกโดยมีวงจรอัตโนมัตคิ วบคมุ อยู่ ภายในเครอ่ื ง ซง่ึ ความถท่ี ่ีใช้ในตอนเร่ิมตน้ อาร์ค จะใช้กบั การเช่อื มดว้ ย ไฟเชื่อมกระแสตรง เชน่ การเชอ่ื มเหล็กกล้าไร้สนมิ หรือ สแตน เลส ในการเชื่อมปลายแทง่ ทังสเตนอเี ลคโทรดจะไมส่ ัมผสั กับ ชน้ิ งาน ซ่งึ เปน็ การชว่ ยไม่ให้ปลายแท่งทงั สเตนอีเลคโทรดสกปรก

3 เทคนิคในงานเช่ือมอาร์ก 1. บอกเทคนิคการเชื่อมอาร์กทงั สเตน การเช่อื มงานโลหะบางๆ ใหแ้ นบเนยี นด้วยการเช่อื มแบบ TIG 12 7 2 1 ทงั สเตนแก๊สคลุม 1 แก๊สคลุม 1 ได้ เชื่อมงานบางๆ เนียนๆ ดว้ ยวิธกี ารแบบ TIG 2. เขา้ ใจวิธีการและเทคนิคการเช่ือม หลกั การเชอ่ื มอารค์ ทงั สเตนโดยใชก้ า๊ ซปกคุลมแนวเช่ือม อาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม 1 1-1 หลักการเชอ่ื ม TIG รูปท่ี 1-1 แสดงถึงหลักการเชอ่ื ม TIG การเชื่อมแบบน้ีจะใชล้ วดทังสเตนเปน็ ขว้ั อเิ ล็กโทรด(ไม่มกี ารเผาไหมล้ วด) และอาจจะมกี ารเติมลวดเชอ่ื มหรือไมเ่ ตมิ กไ็ ด้ การอารค์ ไฟฟา้ จะถกู สรา้ ง จากกระแสไฟฟ้าทผี่ ่านตวั นาและละอองของก๊าซท่ปี กคลมุ 4 ตาแหนง่ ท่าเชอ่ื ม 1F, 1. อธิบายตาแหน่งท่าเช่ือม 1F, 2F,3F ทา่ เชอื่ มหรอื ตาแหนง่ ของการเชื่อมทั้งเชื่อมแก๊ส และเชื่อมไฟฟ้านั้น พอจะ 40 4 25 1 แบง่ ลกั ษณะไดด้ งั นี้

2F,3F และ1G, 2G และ1G, 2G 1.ทา่ ราบ 2. ปฏิบตั ิงานเชื่อมอาร์กทงั สเตนแก๊ส ใช้สัญลักษณ์ F (FLAT POSITION) เป็นการเช่อื ม ชิน้ งานทีว่ างอยใู่ น ระนาบเดยี วกันกับพนื้ ราบซงึ่ ไม่ มีปัญหาเรอ่ื งแรงดึงดูดของโลก จึงเปน็ ทา่ คลุม 1 ดว้ ยท่าเช่ือม1F, 2F,3F และ1G, เช่ือมที่เช่อื มงา่ ยกวา่ ทา่ เชือ่ ม อนื่ ๆ 2G 2.ทา่ ขนานนอน 3. ปฏิบตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั ในการ ใชส้ ัญลักษณ์ H (horizontal position) หรือท่าระดับเปน็ การเชอ่ื ม ทางาน ช้นิ งานที่วางอยใู่ นแนวระดบั ซ่งึ ขนานกบั แนวระนาบ ในการเชือ่ มท่าเชอื่ ม นน้ี น้ั แรงดงึ ดดู ของโลกจะมีผลต่อ การเช่ือม ทาให้เกิดข้อบกพร่อง คือรอย แหว่ง(Undercut) ขอบดา้ นบนของรอยเชอ่ื ม 3.ท่าตง้ั ใช้สัญลักษณ์ V (vertical position) เป็นการเช่อื มชิ้นงานทีว่ างอยใู่ น แนวด่งิ ซ่ึงตั้งฉากกับแนวระดบั ในการ เช่ือมท่าน้นี น้ั แรงดงึ ดดู ของโลก จะ มีผลตอ่ การเชื่อมเช่นกัน ตามทศิ ทางของ การเชอื่ ม 4.ท่าเหนอื ศรี ษะ ใชส้ ญั ลักษณ์ OH (overhead position) เป็นการเชือ่ มชน้ิ งานทว่ี างอยู่ ในแนวระนาบ ในระดับ เหนอื ศีรษะของผู้เช่ือม ในการเช่ือมทา่ น้นี ้นั แรง ดงึ ดูดของโลก มผี ลตอ่ การเชอ่ื มเปน็ อยา่ งมากทัง้ ข้บกพรอ่ งในรอยเช่อื ม และอันตรายจากสะเกด็ ไฟโลหะทหี่ ลอมละลาย และความร้อนจากเปลว ไฟทส่ี ะทอ้ นกลับ 5.ทา่ ขนานนอน ใช้สัญลักษณ์ H (horizontal position

5 การตรวจสอบแนวเชื่อม 1. อธิบายการตรวจสอบแนวเช่ือมได้ การตรวจสอบทางงานเช่ือมโลหะแบง่ ออกเปน็ 2 แบบ คอื 8 3 11 2. วิเคราะห์จุดบกพร่ องในแนวเช่ือม 1. การตรวจสอบแบบไม่ทาลายสภาพ (Non Destructive Testing) เปน็ การทดสอบและประเมินจดุ บกพรอ่ งในวตั ถตุ ่างๆ เช่นรอยแตกรา้ ว อาร์กทงั สเตนแก๊สคลุม 1 ได้ หรอื สารฝงั ตวั ในงานเช่ือมและการหลอมละลาย หากมกี ารพบจุดบกพร่อง ก็ทาการแก้ไขซอ่ มแซมใหด้ ขี นึ้ กรรมวิธกี ารตรวจสอบแบบไมท่ าลายสภาพคอื 1.1 การทดสอบดว้ ยรงั สี Radiographic Testing 1.2 การทดสอบดว้ ยคลนื่ ความถีส่ งู Ultrasonic Testing 1.3 การทดสอบด้วยสารแทรกซึม Penetrant Testing 1.4 การทดสอบด้วยอนภุ าคสนามแมเ่ หลก็ Magnetic Particle Testing 2. การตรวจสอบแบบทาลายสภาพ (Destructive Testing) เป็นการตรวจสอบเพือ่ หาคณุ สมบัตทิ างกลเปน็ หลัก เชน่ ทดสอบ แรงดึง Tensile Strength , แรงกระแทก Impact เพอื่ จะได้ทราบวา่ ช้นิ งานเชื่อม ที่ทาการเชอ่ื มมานาเมื่อมีการนาไปใช้งานตามสภาวะต่างๆสามารถใช้งาน ไดไ้ ม่เกิดการเสยี หาย กรรมวธิ ีการตรวจสอบแบบทาลายสภาพคือ 2.1 การทดสอบแรงดงึ Tensile Testing 2.2 การทดสอบแรงกระแทก Impact Toughness Testing 2.3 การทดสอบความแขง็ Hardness Testing 2.4 การทดสอบด้วยการงอ Bend Testing สอบกลางภาค 20 สอบปลายภาค 20 80 65 30 5 รวมท้งั สิ้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook