Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้โลหะวิทยาเบื้องต้นป

แผนการจัดการเรียนรู้โลหะวิทยาเบื้องต้นป

Published by bedphuwit, 2021-08-13 12:19:42

Description: แผนการจัดการเรียนรู้โลหะวิทยาเบื้องต้นป

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู กลมุ สาระการเรียนรู ชางอุตสาหกรรม รายวชิ า โลหะวทิ ยาเบ้อื งตน จดั ทาํ โดย นายภวู ศิ มณี ตาํ แหนง ครผู ชู ว ย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 31 ตําบลชา งเค่ิง อําเภอแมแจม จงั หวดั เชียงใหม สํานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สํานกั งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก คํานํา แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาโลหะวิทยาเบ้ืองตน สาขาวิชาชางเชื่อมโลหะ ประเภทวิชา ชางอุตสาหกรรม ภายในเอกสารประกอบการเรียน มีส่ือประกอบการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนไดเขาใจ ในเน้ือหาวิชาที่เรียนไดมาก ย่ิงขึ้น เนื่องจากวิชาโลหะวิทยาเปนวิชาท่ีมีวัสดุอุปกรณ รวมทั้งขั้นตอนในการทํางานจํานวนหลายข้ันตอน จึงจําเปน อยา งยง่ิ ท่จี ะมีเอกสารเพื่อใหป ระกอบการเรียนและเพือ่ เพมิ่ ความเขาใจของผเู รยี นมากย่งิ ข้นึ เน้ือหาของแผนการจัดการเรียนรูฉบับนี้ ประกอบดวยเนื้อหาทางดานทฤษฎีเรื่องสมบัติของโลหะ แผนภูมิ สมดุลของเหล็กคารไบด โครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP อิทธิพลของความรอนที่มีผลตองานเช่ือม การ ทดสอบเหล็ก และการปรบั ปรุงคุณสมบตั ขิ องโลหะโดยใชค วามรอ น ผูจัดทําขอขอบพระคุณเจาของหนังสือ ตํารา และเอกสารตาง ๆ ท่ีไดนํามาอางอิง ตลอดจนผูอํานวยการอดิ สรนายอดิสร แดงเรือน ผูอํานวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห๓๑ และคณะครูท่ีเก่ียวของทุกทานท่ีใหการ สนบั สนุนในการจดั ทําแผนการสอนจนสาํ เร็จลลุ ว งดว ยดี ภวู ิศ มณี

สารบญั ข คาํ นาํ หนา ท่ี สารบัญ ก คาํ อธบิ ายรายวชิ า ข ผังมโนทัศน 1 โครงสรา งรายวิชา 2 แผนการจดั การเรยี นรูห นวยท่ี ๑ เรื่อง สมบัตขิ องโลหะ 3 แผนการจดั การเรยี นรูหนวยที่ ๒ เร่ือง แผนภมู สิ มดุลของเหล็กคารไบด ๖ แผนการจัดการเรียนรหู นวยท่ี ๓ เรื่องโครงสรา งของโลหะแบบ ๑๐ ๑๔ BCC FCCและHCB ๑๘ แผนการจัดการเรยี นรูหนวยท่ี ๔ เร่ือง อทิ ธิพลของความรอนทมี่ ผี ล ๒๒ ๒๖ ตอบริเวณงานเช่ือม ๓๑ แผนการจดั การเรียนรหู นว ยท่ี ๕ เรื่องการทดสอบเหลก็ ๓๔ แผนการจดั การเรียนรหู นวยที่ ๖ เร่อื งการปรับปรุงคณุ สมบตั ิของโลหะ โดยใชความรอน แบบประเมนิ ผลคะแนน หลกั เกณฑการประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน

๑ คาํ อธิบายรายวิชา รายวิชา โลหะวทิ ยาเบื้องตน รหัสวชิ า ..ง๓๒๒o๕.. ช้ัน ม.5 เวลา ๔0 ช่วั โมง จาํ นวน 2 หนวยกติ คาํ อธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาและเรียนรเู กย่ี วกบั โลหะวิทยาเบอื้ งตน คณุ สมบัตขิ องวสั ดุ กรรมวิธีการผลิตเหล็กชนดิ ตา งๆ การ ปรับปรงุ คณุ สมบตั ิของเหล็กกลาดวยความรอน การศึกษาโครงสรา งจลุ ภาคเน้อื โลหะ และการทดสอบความแขง็ ซงึ่ เปนพ้ืนฐานบนความกา วหนาทางโลหะวิทยาเปน หลกั เพ่ือนําไปประยกุ ตในวงการอตุ สาหกรรมเปนทั้งศาสตรและศิลป อยใู นตัว โลหะวยิ าคือศาสตรและศิลปแ หงการจดั หาและปรับปรงุ โลหะเพ่ือใหสอดคลองกับความตองการและความ พอใจของมลมนษุ ยชาติ โดยการใชกระบวนการเขาใจเกี่ยวกบั สมบัติของโลหะ โครงสรา งโลหะ แผนภูมิสมดลุ เหล็กและเหล็กคารไบดผลของความ รอ นจากการเชอื่ มทีม่ ตี องานเชอ่ื ม มีทกั ษะในการทดสอบหาสมบตั ิของโลหะไดตามหลักการ แสดงความรูเกี่ยวกบั โลหะวิทยาเบอื้ งตน ทดสอบสมบัตขิ องโลหะอยางงา ย ตรวจสอบโครงสรางจลุ ภาคและมหัพภาคของเหลก็ กลา ปลกู ฝงใหผ ูเ รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีวนิ ัยมคี วามรบั ผิดชอบ สามัคคีในกลมุ มุงม่ันในการทํางาน บูรณาการกับหลัก ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง พอประมาณ มีเหตุผล มหี ลักภมู คิ มุ กนั มที ักษะการปฎบิ ัติงาน ความคดิ สรา งสรรค สามารถทาํ งานอยา งเปน ระบบ ระเบียบวินัย ตระหนกั ในคุณคาและเจตคติท่ดี ตี อ วิชาโลหะวทิ ยาเบ้ืองตน พรอมท้งั มสี มรรถนะและคุณลักษณะอนั พึงประสงค ตามแตเ หมาะสม จุดประสงคร ายวชิ า 1. เพอื่ ใหมีความเขาใจหลกั การเกยี่ วกบั สมบตั ิของโลหะ โครงสรา งโลหะ แผนภูมสิ มดุลเหล็ก- เหลก็ คารไบด ผลของความรอ นจากการเชื่อมทมี่ ตี อ การเช่ือม 2. เพ่ือใหม ที กั ษะในการปฏิบัตงิ านดา นโลหะวิทยาเบือ้ งตน ตามมาตรฐาน 3. เพื่อใหมเี จตคตทิ ่ดี ตี อการปฏบิ ัตงิ านดา นโลหะวทิ ยาเบือ้ งตน รวมท้ังหมด 3 จดุ ประสงค

๒ ผงั มโนทัศน รายวชิ าโลหะวทิ ยาเบอ้ื งตน รหสั วชิ า ง๓๒๒o๕ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรยี นท่ี ๑ ปก ารศึกษา 256๔ ช่อื หนวย 1. สมบตั ิของโลหะ ชอ่ื หนวย 2. แผนภูมิสมดลุ ของ เหล็กคารไบด จํานวน 6 ชวั่ โมง : 10 คะแนน จํานวน 8 ชวั่ โมง : 10 คะแนน ชอื่ หนว ย 3.โครงสรา งของโลหะ แบบ BCC FCC และHCP จํานวน 7 ชว่ั โมง : 10 คะแนน รายวชิ า โลหะวิทยาเบอ้ื งตน ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 จํานวน 40 ช่ัวโมง ชอื่ หนวย ๖.การปรบั ปรงุ คณุ สมบัติ ชอื่ หนว ย ๔ .อิทธิพลของความรอ นท่ี ของโลหะโดยใชความรอ น มผี ลตอ บรเิ วณงานเชอ่ื ม จาํ นวน 7 ชวั่ โมง : 10 คะแนน จํานวน 5 ช่วั โมง : 10 คะแนน ชือ่ หนวย 5. การทดสอบเหลก็ จํานวน 7 ช่ัวโมง : 10 คะแนน

โครงส รายวชิ า โลหะวทิ ยาเบ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 5 ภ รหัส มฐ.ตัวชวี้ ัด/ ที่ ช่อื หนวย ผลการเรยี นรู 1 หนวยท่ี 1 สมบตั ขิ องโลหะ 1. นกั เรียนแยกประเภทของสมบัตขิ องโลหะได 2. นักเรยี นเลือกโลหะวิทยาเบอ้ื งตน ไปใชได 3. นกั เรยี นมีความใฝร ูใฝเ รียน ซ้ือสตั ยสุจริต และมีระเบยี บวินัย 2 หนวยที่ 2 1. บอกขน้ั ตอนการทําแผนภมู สิ มดุลของเหล็ก เหล็กคารไ บดไ ด แผนภมู ิสมดลุ ของเหล็ก 2. อธบิ ายข้นั ตอนการปรบั สมดลุ ของเหลก็ เหล็กคารไบดได คารไ บต 3. อธิบายการเลือกใชวัสดแุ ละอุปกรณป ระกอบได

๓ สรางรายวชิ า เวลา คะแนน A บอ้ื งตน รหสั วชิ า ..ง๓๒๒o๕.. (ชม.) รวม ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา256% 6 ๑๐ KP ๒ สาระสาํ คญั ๔๔ 1.สมบตั ิทางเคมี 2.สมบตั ิทางฟส ิกส 3.สมบตั ทิ างกลของโลหะ 4.การปฏิบตั ิงานเก่ยี วกบั สมบตั ิของโลหะ 1 ศัพทท ีใ่ ชในแผนภูมิสมดุล - คารบอน 20 ๑๐ ๔ ๔ ๒ 2 ระบบที่อยูในสภาวะสมดลุ 3 ลักษณะของแผนภมู ิ

โครงส รายวชิ า โลหะวทิ ยาเบ ชั้น มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 ภ รหัส มฐ.ตัวช้ีวดั / ท่ี ชอ่ื หนว ย ผลการเรยี นรู 3 โครงสรา งของโลหะแบบ 1 อธิบายลกั ษณะโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP ได BCC FCC และHCP 2. อธิบายวธิ กี ารปรบั โครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 3.นักเรยี นมคี วามใฝรูใ ฝเรียน ซือ้ สตั ยส ุจรติ และมีระเบียบวินั 4 อทิ ธพิ ลความรอนทม่ี ีผล 1. บอกอทิ ธพิ ลของความรอ นทม่ี ีผลตอ บริเวณงานเชอ่ื มได ตอบริเวณงานเชอื่ ม 2. อธิบายข้นั ตอนอทิ ธิพลของความรอนที่มผี ลตอบริเวณงานเชอ่ื ได 3. นักเรยี นมีความใฝรูใฝเรียน ซื้อสัตยสจุ รติ และมรี ะเบียบวินัย

๔ สรางรายวชิ า เวลา คะแนน A บอื้ งตน รหัสวชิ า ..ง๓๒๒o๕.. (ชม.) รวม ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา256๔ ๗ ๑๐ KP ๒ สาระสาํ คัญ ๔๔ ด 1 การศกึ ษาโครงสรางจุลภาค P ได 2 เคร่อื งมืออปุ กรณในการทดสอบ 3 ช้นิ งานทดสอบ 4 ลําดับขนั้ การเตรียมช้นิ งาน 5 ขน้ั ตอนปฏบิ ตั ิการเตรียมชน้ิ งาน 6 การใชและการบาํ รุงรักษาอปุ กรณและ เคร่อื งมอื 1 บรเิ วณงานเช่ือม ๕ ๑๐ ๔ ๔ ๒ อม 2 บริเวณกระทบรอน (HAZ) 3. การปฏิบัติงานเก่ียวกบั อิทธพิ ลของความ รอนที่มผี ลตอ บริเวณงานเช่ือม

โครงส รายวชิ า โลหะวทิ ยาเบ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 ภ รหัส มฐ.ตัวชี้วัด/ ท่ี ชื่อหนวย ผลการเรยี นรู 5 การทดสอบเหลก็ 1. บอกชนดิ ของการทดสอบเหลก็ ได 2. บอกขั้นตอนการทดสอบเหล็กได 3. บอกชนดิ ของอุปกรณในการทดสอบเหลก็ ได 6 การปรับปรงุ คณุ สมบัติของ 1. บอกชือ่ วัสดทุ ่ีใชในการปรับปรงุ คุณสมบัติของโลหะโดยใช โลหะโดยใชความรอน ความรอนได 2. บอกข้ันตอนการปรับปรงุ คุณสมบัตขิ องโลหะโดยใชค วามรอน ได 3. บอกชนดิ ของอุปกรณในการปรับปรุงคณุ สมบตั ขิ องโลหะโดย ใชค วามรอนได รวม สอบกลางภาค สอบปลายภาค รวมท้ังหมด

๕ สรางรายวิชา เวลา คะแนน A บื้องตน รหัสวชิ า ..ง๓๒๒o๕.. (ชม.) รวม ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา256๔ ๗ ๑๐ KP ๒ ๗ ๑๐ สาระสาํ คญั ๔๔ 1 ชนดิ ของการทดสอบความแข็ง ๔๔๒ 2 การทดสอบความแข็งแบบรอ็ กเวลล 3 การทดสอบความแข็งแบบบริเนลล 4 การวัดความแขง็ ดว ยกลอ งขยาย 5 การทดสอบความแขง็ แบบวกิ เกอร 6 การทดสอบความแข็งแบบซอร 1 เหล็กกลาคารบ อน 2 ประเภทของเหลก็ กลาคารบอน น 3 การศึกษาโครงสรางจุลภาคและความหมาย 4 การอบชุบโลหะ 5 การทาํ การอบออ น 6 การอบปกติ 7 การชุบแข็ง ๔๐ ๖๐ ๒๔ ๒๔ ๑๒ ๒๐ ๒๐ ๑๐๐

๖ แผนการจดั การเรียนรหู นวยท่ี 1 กลมุ สาระการเรียนรู ชางอตุ สาหกรรม ช่ือวชิ า โลหะวทิ ยาเบอื้ งตน รหสั วชิ า ง32205 ชื่อหนว ยสมบตั ขิ องโลหะ จํานวน 6 ชัว่ โมง ผูสอน นายภูวศิ มณี โรงเรียนราชประชานุเคราะห 31 1. สาระสําคญั ยคุ ปจจุบันอาจนบั ไดวา เปนยุคโลหะ มนุษยไดส รางสรรคอารยะธรรมทางวตั ถุ มีพืน้ ฐานอยู บนความกาวหนา ทางโลหะวิทยาเปนหลกั ใหญ ความสําคัญของวิชาน้ี นับวันจะยงิ่ ทวีคุณคา ในตัวเอง ยิ่ง ๆ ขึ้นไมวา จะเพ่ือการนาํ ไปประยุกต ในวงการอตุ สาหกรรม ของวศิ วกรรม หรือในการ วทิ ยาศาสตร บริสทุ ธิ์ วทิ ยาศาสตร เกีย่ วกับอวกาศ หรือวทิ ยาศาสตรท างทหารกต็ าม ลว นตอ งการ ผลงาน การประดิษฐค ดิ คน วิเคราะหวิจยั ของนักโลหะทงั้ ส้นิ เพือ่ เปนพน้ื ฐาน เพือ่ รองรบั งาน ประยกุ ต ในแตล ะสาขาวชิ าโลหะวทิ ยา เปน วชิ าการทเ่ี ปน ท้งั ศาสตรแ ละศิลป อยูใ นตวั เองบรรดา ชางฝมือตา งๆน้ัน ท่ีไดประดิษฐงานโลหะโดยอาศยั โลหะสาํ เรจ็ รปู เชนโลหะแผน โลหะแทง และทอ โลหะประดษิ ฐงานศลิ ปะ รวมท้ังการหลอ หลอมขนึ้ รูปโลหะเขาเหลานนั้ กําลงั ใชว ิชาการโลหะวิทยา ใน แงข องศลิ ปะ สวนทางการศกึ ษาโครงสรา งของโลหะ การตรวจสอบคุณสมบัติของโลหะการวิเคราะห วจิ ยั โลหะผสม เปน การใชกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรเขาชว ยศกึ ษาโลหะ ในแงน ี้จึงถอื วา โลหะ วิทยาศาสตรในแงอตุ สาหกรรมโลหะทัว่ ไปมักใชความรทู าง โลหะทง้ั ศาสตร และศลิ ปะควบคูก ันเรา อาจใหคําจํากัดความวชิ าโลหะวิทยาใหกะทัดรดั ไดว า “โลหะวทิ ยาคือ ศาสตรและศลิ ปแ หงการจดั หา และปรบั ปรุงโลหะเพื่อใหสอดคลอ งกบั ความตอ งการและความพอใจของมวลมนุษยชาติ” 2. จดุ ประสงคท ่วั ไป เพ่ือใหเ ขา ใจสมบัติของโลหะ 3. จดุ ประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แยกประเภทของสมบัติของโลหะได 2. บอกเครอ่ื งมอื งานทดสอบสมบตั ิของโลหะได 3. อธิบายการใชเ ครื่องมอื ทดสอบสมบตั ิของโลหะได 4. สาระการเรยี นรู 1.สมบัติทางเคมี 2.สมบตั ทิ างฟส ิกส 3.สมบัติทางกลของโลหะ 4. การปฏิบตั ิงานเกีย่ วกับสมบัตขิ องโลหะ 4.1 การเตรยี มวสั ด-ุ อุปกรณ 4.2 กระบวนการปฏบิ ตั งิ าน 5. การวเิ คราะห- วิจารณงานท่ไี ดร ับมอบหมาย

๗ 5. กจิ กรรมการเรยี นรู 1. ครูกลาวทักทายนักเรียนพรอมแนะนําช้ีแจงแผนการเรียนในรายวิชาโลหะวิทยาเชน ระยะเวลาในการจัดการเรียนรู หลักการแนวทางการคิดในการเรียน การประเมินผลงาน เพ่ือความ เขา ใจกอ นการเรยี นเร่ืองความรพู ืน้ ฐานเก่ยี วกับสมบัติของโลหะ 2. ครูแจกเอกสารประกอบการเรียนรูเรื่องสมบัติของโลหะซ่ึงประกอบดวย แบบฝกหัดทาย บทเรียนที่1 รายงานบทปฏิบัติการบทที่1 แบบทดสอบทายบทเรียนท่ี 1 และอธิบายหลักการและ กระบวนการสรางองคค วามรพู ้ืนฐานเกยี่ วกับสมบตั ขิ องโลหะ 3. ครนู าํ ภาพตัวอยา ง และตวั อยางโลหะชนิดตางๆ ใหน กั เรยี นดูในขณะทําการสอน 4. ครูสาธติ วธิ กี าร หลกั การและกระบวนการสมบัติของโลหะ 5. ครูมอบหมายงานใหนักเรียน รายงานบทปฏิบัติการบทที่ 1 ตามหลักการ วิธีการ และจิตพิสัยท่ีดีในการปฏิบัติงาน โดยใหนักเรียนนําตัวอยางชิ้นงานที่ครูเตรียมไวใหจํานวน 10 ตัวอยางและใหนักเรียนแบงกลุมกันปฏิบัติงาน โดยคัดเลือกชนิดของวัสดุ ที่ครูจัดเตรียมไวใหตาม หมายเลข 1 ถงึ 10 มาทาํ การวิเคราะห 6. นักเรียนปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายโดยใชวัสดุ อุปกรณในการปฏิบัติงานอยาง คุมคา เอื้อเฟอเผ่ือแผ ชวยเหลือแบงปนซ่ึงกันและกัน และปฏิบัติงานดวยความซ่ือสัตย สุจริต มุงม่ัน ใชเวลาอยางคุมคา 7. ครู-นักเรียนรวมกันทํา การวิเคราะห-วิจารณ งานท่ีไดรับมอบหมายหนาช้ันเรียนดวย ความซอื่ ตรง มงุ มั่น ใชเ หตผุ ล และสติปญ ญา ในการวเิ คราะหว ิจารณ 6. สือ่ และแหลง การเรยี นรู 1 ) ส่ือส่ิงพมิ พ 1.1) แบบฝกหัดทา ยบทเรียน และแบบทดสอบทายบทเรียน เร่อื งสมบตั ขิ องโลหะ 1.2) เอกสารประกอบการเรยี น เร่อื งสมบตั ขิ องโลหะ 1.3) ใบเฉลยแบบฝกหัดทายบทเรียน และแบบทดสอบทายบทเรียน เร่ืองสมบัติ ของโลหะ 1.4) เกณฑประเมินผลงานตามรายงานบทปฏบิ ตั กิ ารเรือ่ งสมบัติของโลหะ 1.5) แบบสังเกตพฤติกรรม เรอ่ื งความรูพืน้ ฐานเกีย่ วกบั สมบัตขิ องโลหะ 2 ) สือ่ โสตทัศน 2.1) วดี ีทศั นเร่ืองความรพู ้นื ฐานเกีย่ วกบั สมบตั ขิ องโลหะ 3) ส่ือของจริง 3.1) ตวั อยา งโลหะชนิดตางๆ 3.2) ตัวอยางสมบตั ิของโลหะชนิดตางๆ

๘ 7. หลกั ฐานการเรยี นรูที่ตองการ 1) หลักฐานความรทู ตี่ อ งการ - การทาํ แบบทดสอบทายบทเรยี นที่ 1 2) หลักฐานการปฏบิ ตั งิ านทต่ี องการ - การปฏบิ ัติการบทท่ี 1 เร่ืองสมบัติของโลหะ 8. การวัดและประเมินผล 1) วิธกี ารประเมิน - ประเมนิ โดยการสังเกตขณะเรียน และขณะปฏิบตั งิ าน - ประเมินจากการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนท่ี 1 และการทําแบบทดสอบทาย บทเรยี นท่ี 1 - ประเมินจากการปฏิบัติการบทที่ 1 เร่อื งสมบัตขิ องโลหะ 2) เครอื่ งมือประเมนิ - แบบประเมินผลการทาํ แบบฝก หดั ทายบทเรียนท่ี 1 และการทําแบบทดสอบทาย บทเรยี นที่ 1 เรอ่ื งสมบัติของโลหะ - เกณฑประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการเร่ืองความรูพื้นฐานเกี่ยวกับ สมบตั ิของโลหะ - แบบประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการบทที่ 1 เร่ืองความรูพื้นฐาน เกีย่ วกับสมบตั ขิ องโลหะ - แบบสังเกตพฤติกรรม เรอ่ื งความรพู ้นื ฐานเกี่ยวกบั สมบัตขิ องโลหะ 3) เกณฑการประเมิน 1) เตรยี มเครอ่ื งมอื -วัสดุ อุปกรณ อยางถูกตองเหมาะสม 2) การปฏิบัติการบทท่ี 1 เรื่องสมบัติของโลหะตามหลักการ ข้ันตอน การ ปฏิบตั ิงานและเงอื่ นไขในการมอบหมายงาน 3) มีจติ พิสยั ท่ดี ใี นการปฏิบัตงิ าน

๙ 9. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู 1) ขอ สรุปหลงั การจดั การเรียนรู ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 2) ปญ หาทพ่ี บ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 3) แนวทางแกป ญ หา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (.................................................) นายภูวิศ มณี

๑๐ แผนการจดั การเรียนรหู นว ยที่ 2 กลมุ สาระการเรยี นรู ชางอตุ สาหกรรม ช่อื วชิ า โลหะวทิ ยาเบ้ืองตน รหสั วชิ า ง32205 ชอ่ื หนวยแผนภูมสิ มดลุ ของเหลก็ คารไบด จาํ นวน 8 ชั่วโมง ผสู อน นายภูวศิ มณี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 31 1. สาระสาํ คญั การศึกษาแผนภมู ิสมดลุ ของเหลก็ กบั คารบอนมคี วามสาํ คัญมากเพราะคณุ สมบตั ิของ เหลก็ ท่ีใชอยูในงานวิศวกรรมเปลยี่ นแปลงตามปริมาณของคารบ อนที่ผสมอยูใ นเหลก็ และการทจ่ี ะ เขาใจถึงคุณสมบัติตาง ๆ ของเหล็กไดด ี ยอมตอ งเขา ใจเรื่องของแผนภูมสิ มดลุ ของเหล็กกับคารบ อน เปน หลกั ในการศึกษาแผนภมู นิ จ้ี ะตอ งทาํ ความเขาใจความหมายของศัพทท เี่ กี่ยวของเสยี กอน 2. จดุ ประสงคท ัว่ ไป เพอ่ื ใหรูถึงแผนภูมิสมดลุ ของเหล็ก เหล็กคารไบด 3. จุดประสงคเ ชิงพฤติกรรม 1. บอกข้ันตอนการทาํ แผนภูมสิ มดลุ ของเหล็ก เหลก็ คารไ บดไ ด 2. อธบิ ายขน้ั ตอนการปรับสมดลุ ของเหลก็ เหลก็ คารไ บดได 3. อธบิ ายการเลอื กใชว สั ดแุ ละอุปกรณประกอบได 4. สาระการเรียนรู 4.1 ศพั ทท ่ใี ชใ นแผนภูมสิ มดลุ - คารบ อน 4.2 ระบบที่อยใู นสภาวะสมดลุ 4.3 ลักษณะของแผนภมู ิ 5 การปฏบิ ัติงานเก่ยี วกับการแผนภูมิสมดลุ ของเหล็ก เหลก็ คารไ บด 5.1 การเตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ 5.2 กระบวนการปฏิบัตงิ าน 6 การวเิ คราะห-วจิ ารณง านทไ่ี ดร บั มอบหมาย 5. กิจกรรมการเรียนรู 1. ครูกลาวทกั ทายนกั เรยี น เพ่อื ความตอเน่อื งในการเรยี นเรื่องแผนภมู สิ มดุลของเหล็ก เหล็ก คารไ บด 2. ครูแจกเอกสารประกอบการเรียนรูเรื่อง แผนภูมิสมดุลของเหล็ก เหล็กคารไบดซึ่ง ประกอบดวย แบบฝกหัดทายบทเรียนท่ี 2 แบบทดสอบทาย บทเรียนท่ี 2 และอธิบายหลักการ และกระบวนการสรางแผนภมู สิ มดุลของเหล็ก เหล็กคารไบด 3. ครูนําภาพตัวอยาง และตัวอยางแผนภูมิสมดุลของเหล็ก เหล็กคารไบดชนิดตางๆ ให นักเรียนดูในขณะทาํ การสอน 4. ครสู าธิตวธิ กี าร หลักการและกระบวนการวเิ คราะหแผนภมู สิ มดลุ ของเหล็ก เหลก็ คารไบด

๑๑ 5. ครูมอบหมายงานใหนักเรียน รายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 2 ตามหลักการ วิธีการ และ จิตพิสัยท่ีดีในการปฏิบัติงาน โดยใหนักเรียนนําตัวอยางช้ินงานท่ีครูเตรียมไวใหจํานวน 10 ตัวอยาง และใหนกั เรียนแบงกลุมกันปฏิบัติงาน โดยคัดเลือกชนิดของวัสดุ ที่ครูจัดเตรียมไวใหตามหมายเลข 1 ถึง 10 มาทําการวิเคราะห 6. นักเรียนปฏิบัติงานตามท่ีไดรับมอบหมายโดยใชวัสดุ อุปกรณในการปฏิบัติงานอยาง คุมคา เอ้ือเฟอเผื่อแผ ชวยเหลือแบงปนซ่ึงกันและกัน และปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตย สุจริต มุงมั่น ใชเวลาอยางคมุ คา 7. ครู-นักเรียนรวมกันทํา การวิเคราะห-วิจารณ งานท่ีไดรับมอบหมายหนาชั้นเรียนดวย ความซื่อตรง มุงมัน่ ใชเ หตุผล และสติปญญา ในการวิเคราะหว จิ ารณ 6.สือ่ และแหลงการเรยี นรู 1 ) ส่ือสงิ่ พมิ พ 1.1) แบบฝกหัดทายบทเรียน และแบบทดสอบทายบทเรียน เรื่องแผนภูมิสมดุล ของเหล็ก เหลก็ คารไ บด 1.2) เอกสารประกอบการเรยี นเร่ืองแผนภมู สิ มดุลของเหลก็ เหล็กคารไบด 1.3) รายงานบทปฏบิ ัตกิ ารเรื่องแผนภูมสิ มดลุ ของเหล็ก เหล็กคารไ บด 1.4) ใบเฉลยแบบฝกหัดทายบทเรียน และแบบทดสอบทายบทเรียน เรื่องแผนภูมิ สมดุลของเหล็ก เหลก็ คารไ บด 1.5) เกณฑประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการเร่ืองแผนภูมิสมดุลของเหล็ก เหล็กคารไ บด 1.6) แบบประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการเร่ืองแผนภูมิสมดุลของเหล็ก เหลก็ คารไ บด 1.7) แบบสงั เกตพฤติกรรม เร่ืองแผนภมู สิ มดุลของเหลก็ เหลก็ คารไ บด 2 ) สอื่ โสตทศั น 2.1) ส่อื ประสม 2.2) วดี ที ศั นเ รื่องแผนภูมิสมดุลของเหลก็ เหล็กคารไบด 3) ส่ือของจรงิ 3.1) แผนภมู ิสมดุลของเหล็ก เหล็กคารไ บดชนดิ ตา งๆ 3.2) แผนชนิดตา งๆ 7. หลักฐานการเรียนรทู ่ตี อ งการ 1) หลักฐานความรูท ี่ตอ งการ - รอ งรอยการทาํ แบบทดสอบทา ยบทเรยี นท่ี 2 - รองรอยการศกึ ษา คนควาเพ่ิมเตมิ จากการทาํ แบบฝก หัดทายบทเรียนท่ี 2 2) หลกั ฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ตี องการ

๑๒ - รายงานบทปฏิบัติการบทที่ 2 เรื่องแผนภูมิสมดุลของเหล็ก เหล็กคารไบดชนิด ตางๆ 8. การวดั และประเมินผล 1) วิธกี ารประเมิน - ประเมินโดยการสังเกตขณะเรยี น และขณะปฏบิ ัตงิ าน - ประเมินจากการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนที่ 2 และการทําแบบทดสอบทาย บทเรยี นที่ 4 - ประเมินจากรายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 2 เร่ืองแผนภูมิสมดุลของเหล็ก เหล็ก คารไบดช นิดตา งๆ 2) เครื่องมือประเมิน - แบบประเมินผลการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนที่ 2 และการทําแบบทดสอบทาย บทเรียนท่ี 4 เรื่องแผนภมู สิ มดุลของเหล็ก เหลก็ คารไบดชนดิ ตา งๆ - ใบเฉลยแบบประเมินผลการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนท่ี 2 และการทํา แบบทดสอบทา ยบทเรียนท่ี 4 เรอ่ื งแผนภมู ิสมดุลของเหลก็ เหล็กคารไบดชนิดตางๆ - เกณฑประเมินผลงานตามรายงานบทปฎิบัติการเรื่องแผนภูมิสมดุลของเหล็ก เหลก็ คารไ บดชนดิ ตางๆ - แบบประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 2 เรื่องแผนภูมิสมดุลของ เหลก็ เหลก็ คารไ บดช นดิ ตา งๆ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม เรอื่ งแผนภมู ิสมดลุ ของเหล็ก เหล็กคารไ บดช นิดตา งๆ 3) เกณฑการประเมนิ 1) เตรียมเคร่อื งมือ-วัสดุ อุปกรณ อยา งถูกตอ งเหมาะสม 2) รายงานบทปฏิบัติการบทที่ 2 เร่ืองแผนภูมิสมดุลของเหล็ก เหล็กคารไบดชนิด ตางๆ ตามหลกั การ ข้ันตอน การปฏบิ ัตงิ านและเง่อื นไขในการมอบหมายงาน 3) มจี ิตพิสยั ทด่ี ใี นการปฏิบัติงาน

๑๓ 9. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู 1) ขอสรปุ หลงั การจดั การเรียนรู ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 2) ปญหาท่ีพบ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 3) แนวทางแกป ญหา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (.................................................) นายภวู ิศ มณี

๑๔ แผนการจดั การเรียนรูหนว ยท่ี 3 กลุม สาระการเรยี นรู ชา งอตุ สาหกรรม ชื่อวชิ า โลหะวทิ ยาเบ้อื งตน รหสั วชิ า ง32205 ช่ือหนวยโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP จาํ นวน 7 ชวั่ โมง ผสู อน นายภูวศิ มณี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห 31 1. สาระสาํ คญั โครงสรา งผลึกของโลหะ (Crystal Structure of Metal) โดยธรรมชาติของโลหะแลว จะสามารถคงสภาพอยไู ด 3 สถานะดวยกนั คือ แกส (Gas state), ของเหลว (Liquid state) และของแขง็ (Solid state) ทัง้ น้ขี ้นึ อยูกับอุณหภูมแิ ละความดนั หรือทงั้ สองอยางรวมกันที่จะเปน ตัว เปลย่ี นแปลงสถานะของโลหะเอง 2. จดุ ประสงคท วั่ ไป เพ่ือใหรลู กั ษณะโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 3. จุดประสงคเชงิ พฤตกิ รรม 1 อธิบายลกั ษณะโครงสรา งของโลหะแบบ BCC FCC และHCP ได 2. อธบิ ายวธิ กี ารปรบั โครงสรา งของโลหะแบบ BCC FCC และHCP ได 3. อธิบายวิธเี ก็บรกั ษาโลหะได 4. สาระการเรยี นรู 1 การศึกษาโครงสรา งจลุ ภาค 2 เคร่อื งมอื อปุ กรณในการทดสอบ 3 ชน้ิ งานทดสอบ 4 ลําดับขน้ั การเตรียมชิ้นงาน 5 ขัน้ ตอนปฏิบตั ิการเตรียมชนิ้ งาน 6 การใชและการบาํ รุงรกั ษาอปุ กรณและเครอ่ื งมือ 7 การปฏิบตั งิ านเกีย่ วกับการศกึ ษาลกั ษณะโครงสรา งของโลหะ 7.1 การเตรยี มวัสด-ุ อุปกรณ 7.2 กระบวนการปฏบิ ตั ิงาน 8 การวเิ คราะห-วิจารณง านทไี่ ดร ับมอบหมาย

๑๕ 5. กิจกรรมการเรียนรู 1. ครูกลา วทกั ทายนกั เรียน พรอ มอธิบายสรปุ บทเรยี นหนวยท่ี 3 เพื่อความตอ เนื่องในการ เรียนเรอ่ื งโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 2. ครแู จกเอกสารประกอบการเรยี น เรอื่ งโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP ซง่ึ ประกอบดวย แบบฝกหัดทา ยบทเรยี นที่ 3 รายงานบทปฏบิ ตั กิ ารบทท่ี 3 แบบทดสอบทา ย บทเรยี นที่ 3 และอธิบายหลักการและกระบวนการสรา งองคความรูการโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 3. ครูนําภาพตัวอยา ง และตัวอยางโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP ชนดิ ตางๆ ใหน กั เรยี นดูในขณะทาํ การสอน 4. ครสู าธติ วิธกี ารหลักการและกระบวนการโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 5. ครูมอบหมายงานใหนักเรียน รายงานบทปฏิบัติการบทที่ 3 ตามหลักการ วิธีการ และ จิตพิสัยท่ีดีในการปฏิบัติงาน โดยใหนักเรียนนําตัวอยางช้ินงานท่ีครูเตรียมไวใหจํานวน 10 ตัวอยาง และใหนักเรียนแบงกลุมกันปฏิบัติงาน โดยคัดเลือกชนิดของวัสดุ ที่ครูจัดเตรียมไวใหตามหมายเลข 1 ถงึ 10 มาทําการวเิ คราะห 6. นักเรียนปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายโดยใชวัสดุ อุปกรณในการปฏิบัติงานอยาง คุมคา เอื้อเฟอเผื่อแผ ชวยเหลือแบงปนซ่ึงกันและกัน และปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตย สุจริต มุงมั่น ใชเ วลาอยางคมุ คา 7. ครู-นักเรียนรวมกันทํา การวิเคราะห-วิจารณ งานท่ีไดรับมอบหมายหนาชั้นเรียนดวย ความซ่อื ตรง มุงม่ัน ใชเหตผุ ล และสติปญญา ในการวเิ คราะหว จิ ารณ 6.สือ่ และแหลงการเรยี นรู 1 ) ส่อื สิ่งพมิ พ 1.1) แบบฝก หัดทา ยบทเรยี น และแบบทดสอบทายบทเรียน เรือ่ งโครงสรางของ โลหะแบบ BCC FCC และHCP 1.2) เอกสารประกอบการเรยี นเร่อื งโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 1.3) รายงานบทปฏบิ ตั ิการเรื่องโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 1.4) เกณฑประเมินผลงานตามรายงานบทปฎิบัติการ เร่ืองโครงสรางของโลหะ แบบ BCC FCC และHCP 1.5) แบบสังเกตพฤตกิ รรม เร่อื งโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 2 ) สือ่ โสตทัศน 2.1) สอ่ื ประสม 2.2) วีดที ัศนเรือ่ งโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 3) ส่ือของจริง 3.1) ตวั อยางโครงสรา งของโลหะแบบ BCC FCC และHCPชนดิ ตางๆ

๑๖ 7. หลักฐานการเรียนรูท่ีตองการ 1) หลักฐานความรทู ต่ี องการ - รองรอยการทาํ แบบทดสอบทายบทเรียนที่ 3 - รอ งรอยการศึกษา คนควาเพ่ิมเติมจากการทาํ แบบฝก หัดทา ยบทเรียนท่ี 3 2) หลกั ฐานการปฏิบตั ิงานทตี่ อ งการ - ปฏิบัติการบทท่ี 3 เรือ่ งโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และ HCP 8. การวดั และประเมนิ ผล 1) วธิ ีการประเมิน - ประเมนิ โดยการสังเกตขณะเรียน และขณะปฏิบัติงาน - ประเมินจากการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนที่ 3 และการทําแบบทดสอบทาย บทเรียนที่ 3 - ประเมินจากรายงานบทปฏิบัติการบทที่ 3 เร่ืองโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 2) เครือ่ งมอื ประเมิน - แบบประเมนิ ผลการทาํ แบบฝก หัดทา ยบทเรียนที่ 3 และการทําแบบทดสอบทาย บทเรียนท่ี 3 เรอ่ื งโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP - เกณฑประเมินผลงานตามรายงานบทปฎิบัติการเร่ืองโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และHCP - แบบประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 3 เรื่องโครงสรางของโลหะ แบบ BCC FCC และHCP - แบบสังเกตพฤติกรรม เรอ่ื งโครงสรา งของโลหะแบบ BCC FCC และHCP 3) เกณฑก ารประเมนิ 1) เตรียมเคร่อื งมอื -วสั ดุ อุปกรณ อยางถกู ตอ งเหมาะสม 2) รายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 3 เร่ืองโครงสรางของโลหะแบบ BCC FCC และ HCP ตามหลักการ ขั้นตอน การปฏบิ ตั งิ านและเงอ่ื นไขในการมอบหมายงาน 3) มจี ิตพิสยั ท่ดี ใี นการปฏิบตั ิงาน

๑๗ 9. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู 1) ขอ สรปุ หลงั การจดั การเรียนรู ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 2) ปญหาทพ่ี บ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 3) แนวทางแกปญหา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (.................................................) นายภวู ิศ มณี

๑๘ แผนการจดั การเรยี นรูหนวยท่ี 4 กลุมสาระการเรียนรู ชางอตุ สาหกรรม ชอื่ วิชา โลหะวทิ ยาเบอ้ื งตน รหสั วิชา ง32205 ชือ่ อิทธพิ ลของความรอ นทีม่ ผี ลตอ บริเวณงานเชอื่ ม จํานวน ๕ ช่ัวโมง ผูส อน นายภวู ศิ มณี โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 31 1. สาระสําคญั ในการทาํ งานของเคร่อื งจักรและอปุ กรณทเ่ี ปน สว นประกอบของเคร่อื งจักรนน้ั ส่ิงที่เกิดมา พรอมกับการทาํ งานของเครือ่ งจกั รคอื ความรอ น ดังน้ันส่งิ ท่ตี องมีควบคูกนั กบั เครอื่ งจักรก็คอื การ ระบายความรอน เพ่ือทจ่ี ะควบคุมและรักษาระดับความรอ นไมใหมากเกนิ ไปจนเปนอันตรายตอ เครอ่ื งจกั รซึง่ นาํ มาสคู วามเสียหายตอ การผลิตอนั เนื่องมาจากตอ งหยุดเคร่ืองจักรที่เสียหายดงั กลาว เพื่อซอ มแซม 2. จดุ ประสงคท ว่ั ไป เพื่อใหร อู ทิ ธพิ ลของความรอ นที่มผี ลตอบริเวณงานเช่อื ม 3. จุดประสงคเ ชงิ พฤติกรรม 1. บอกอิทธพิ ลของความรอนท่ีมผี ลตอบริเวณงานเชือ่ มได 2. อธบิ ายขั้นตอนอทิ ธิพลของความรอนที่มผี ลตอ บรเิ วณงานเช่ือมได 4. สาระการเรยี นรู 1 บรเิ วณงานเช่ือม 2 บรเิ วณกระทบรอน (HAZ) 3. การปฏิบตั งิ านเกย่ี วกับอิทธิพลของความรอ นทมี่ ีผลตอ บริเวณงานเชอื่ ม 3.1 การเตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ 3.2 กระบวนการปฏิบตั งิ าน 4. การวเิ คราะห- วิจารณง านทีไ่ ดร ับมอบหมาย 5. กิจกรรมการเรียนรู 1. ครกู ลาวทกั ทายนักเรยี น แจงจุดประสงคก ารเรยี น เพอื่ ใหนกั เรยี นมเี ปา หมายในการเรยี น 2.ครูแจกเอกสารประกอบการเรียนรูเร่ืองอทิ ธิพลของความรอ นทม่ี ีผลตอ บริเวณงานเชื่อม ซึง่ ประกอบ ดวย แบบฝก หดั ทา ยบทเรยี นที่ 4 รายงานบทปฏบิ ตั ิการบทท่ี 4 แบบทดสอบทา ย บทเรยี นท่ี 4 และอธบิ ายหลักการของความรอนทีม่ ผี ลตอ บรเิ วณงานเชื่อม 3. ครูนําภาพตวั อยาง และตัวอยา งความรอ นที่มผี ลตอ บริเวณงานเช่อื ม ชนดิ ตา งๆ ให นกั เรยี นดูในขณะทาํ การสอน 4. ครสู าธติ วิธกี าร หลกั การและกระบวนการอทิ ธพิ ลของความรอ นท่ีมผี ลตอ บรเิ วณงานเชอื่ ม

๑๙ 5. ครมู อบหมายงานใหนักเรียน รายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 4 ตามหลักการ วิธีการ และ จิตพิสัยท่ีดีในการปฏิบัติงาน โดยใหนักเรียนนําตัวอยางช้ินงานท่ีครูเตรียมไวใหจํานวน 10 ตัวอยาง และใหนักเรียนแบงกลุมกันปฎิบัติงาน โดยคัดเลือกชนิดของวัสดุ ท่ีครูจัดเตรียมไวใหตามหมายเลข 1 ถงึ 10 มาทําการวเิ คราะห 6. นักเรียนปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายโดยใชวัสดุ อุปกรณในการปฏิบัติงานอยาง คุมคา เอื้อเฟอเผื่อแผ ชวยเหลือแบงปนซึ่งกันและกัน และปฏิบัติงานดวยความซ่ือสัตย สุจริต มุงมั่น ใชเ วลาอยา งคุมคา 7. ครู-นักเรียนรวมกันทํา การวิเคราะห-วิจารณ งานท่ีไดรับมอบหมายหนาช้ันเรียนดวย ความซอ่ื ตรง มุงม่นั ใชเ หตุผล และสติปญ ญา ในการวเิ คราะหว ิจารณ 6.สอื่ และแหลงการเรยี นรู 1 ) สื่อสง่ิ พมิ พ 1.1) แบบฝก หัดทายบทเรียน และแบบทดสอบทายบทเรียน เรอื่ งอิทธพิ ลของความรอ นทม่ี ี ผลตอ บริเวณงานเชอ่ื ม 1.2) เอกสารประกอบการเรียน เร่อื งอิทธิพลของความรอนท่มี ผี ลตอบริเวณงานเชอื่ ม 1.3) รายงานบทปฎิบัตกิ ารเร่ืองอิทธพิ ลของความรอ นทม่ี ผี ลตอ บรเิ วณงานเชอ่ื ม 1.4) ใบเฉลยแบบฝกหัดทา ยบทเรยี น และแบบทดสอบทายบทเรียน เร่ืองอทิ ธพิ ลของความ รอนที่มีผลตอ บริเวณงานเชื่อม 1.5) เกณฑประเมนิ ผลงานตามรายงานบทปฎบิ ัตกิ ารเรือ่ งอิทธพิ ลของความรอนท่ีมผี ลตอ บริเวณงานเชื่อม 1.6) แบบประเมินผลงานตามรายงานบทปฎบิ ัติการเร่อื งอิทธิพลของความรอนทีม่ ผี ลตอ บรเิ วณงานเชื่อม 1.7) แบบสังเกตพฤติกรรม เรอ่ื งอิทธิพลของความรอ นทมี่ ผี ลตอ บรเิ วณงานเช่อื ม 2 ) สอ่ื โสตทัศน 2.1) สือ่ ประสม 2.2) วดี ีทัศนเรื่องอทิ ธิพลของความรอ นที่มผี ลตอบรเิ วณงานเชื่อม 3) สอ่ื ของจริง 3.1) ตัวอยา งอทิ ธิพลของความรอ นทีม่ ผี ลตอบรเิ วณงานเช่อื ม ชนิดตา งๆ 3.2) เครอื่ งเชอ่ื ม 7. หลักฐานการเรียนรทู ่ีตอ งการ 1) หลกั ฐานความรูท่ตี องการ - รอ งรอยการทําแบบทดสอบทายบทเรยี นที่ 5 - รอ งรอยการศกึ ษา คน ควา เพิม่ เติมจากการทาํ แบบฝก หดั ทา ยบทเรียนท่ี 5 2) หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงานทตี่ องการ

๒๐ - รายงานบทปฏิบัติการบทที่ 5 เร่ืองอิทธิพลของความรอนที่มีผลตอบริเวณงาน เช่อื ม 8. การวัดและประเมินผล 1) วธิ กี ารประเมิน - ประเมนิ โดยการสงั เกตขณะเรยี น และขณะปฏบิ ตั ิงาน - ประเมินจากการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนที่ 5 และการทําแบบทดสอบทาย บทเรียนท่ี 5 - ประเมินจากรายงานบทปฏิบัติการบทที่ 5 เร่ืองอิทธิพลของความรอนที่มีผลตอ บรเิ วณงานเชือ่ ม 2) เคร่ืองมือประเมนิ - แบบประเมนิ ผลการทําแบบฝกหดั ทา ยบทเรียนที่ 5 และการทาํ แบบทดสอบทาย บทเรยี นท่ี 5 เรือ่ งอทิ ธพิ ลของความรอนทมี่ ีผลตอ บริเวณงานเชือ่ ม - ใบเฉลยแบบประเมินผลการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนท่ี 4 และการทํา แบบทดสอบทายบทเรยี นที่ 5 เรอื่ งอทิ ธพิ ลของความรอ นทีม่ ผี ลตอ บรเิ วณงานเชอ่ื ม - เกณฑป ระเมินผลงานตามรายงานบทปฎิบัติการเร่ืองอิทธิพลของความรอนท่ีมีผล ตอ บรเิ วณงานเชื่อม - แบบประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 4 เร่ืองอิทธิพลของความ รอนท่ีมีผลตอบรเิ วณงานเชือ่ ม - แบบสงั เกตพฤติกรรม เรอื่ งอทิ ธพิ ลของความรอ นทมี่ ผี ลตอบรเิ วณงานเชือ่ ม 3) เกณฑก ารประเมนิ 1) เตรียมเครื่องมือ-วัสดุ อุปกรณ อยา งถกู ตอ งเหมาะสม 2) รายงานบทปฏิบัติการบทที่ 4 เรื่องอิทธิพลของความรอนท่ีมีผลตอบริเวณงาน เชื่อม ตามหลกั การ ข้ันตอน การปฏิบัติงานและเงือ่ นไขในการมอบหมายงาน 3) มีจิตพสิ ยั ทีด่ ใี นการปฏิบตั ิงาน

๒๑ 9. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู 1) ขอสรุปหลงั การจดั การเรียนรู ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 2) ปญ หาท่ีพบ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 3) แนวทางแกปญ หา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (.................................................) นายภูวศิ มณี

๒๒ แผนการจดั การเรยี นรูหนวยท่ี 5 กลมุ สาระการเรียนรู ชา งอตุ สาหกรรม ช่ือวิชา โลหะวทิ ยาเบอ้ื งตน รหสั วิชา ง32205 ช่ือการทดสอบเหลก็ จํานวน ๗ ชั่วโมง ผูส อน นายภูวศิ มณี โรงเรียนราชประชานุเคราะห 31 1. สาระสําคญั การทดสอบเหลก็ ท่วั ไปมอี ยู 3 ประเภท 1. การทดสอบเเรงดงึ คือ หนว ยแรงมีทศิ ทางตัง้ ฉาก กับพน้ื ทีห่ นาตดั วธิ ีการทดสอบ - นํา ต.ย.เหล็ก ไปเขาเครอ่ื ง ดงึ เหลก็ จนกระทง่ั เหล็กขาด อานคาเเรง ท่ีกระทาํ P - หาขนาดหนาตัดของ ต.ย.เหลก็ A - Tensile Stress = P/A 2. การทดสอบแรงเฉอื น คอื หนว ยแรงมที ิศทางขนานกบั พื้นที่รับแรงเฉอื น วธิ กี ารทดสอบ - นํา ต.ย.เหลก็ 2 ช้นิ เชอ่ื มติดกัน ดึงเหลก็ จนกระทง่ั เหลก็ ขาด อา นคา เเรงที่กระทํา P - หาขนาดพน้ื ท่รี ับแรงเฉือน A - Shearing Stress = P/A 3. การทดสอบแรงบดิ คือ โครงสรางทรี่ บั แรงหรอื โมเมนตท พ่ี ยายามบิดสว นของ โครงสรางน้ัน วธิ กี ารทดสอบ - นาํ ต.ย.เหลก็ ไปเขา เครื่อง ออกแรงบดิ จนกระท่งั เหลก็ ขาด อา น คาเเรงบดิ ทก่ี ระทํา T - ให c เปน รศั มีของ ต.ย.เหล็ก - ให J คือคาโพลาโมเมนตอ ินเนอรเ ชียของหนา ตัด ต.ย.เหลก็ - Torsion Stress = T.c/J 2. จุดประสงคท ่วั ไป เพอื่ ใหรูจกั วิธกี ารทดสอบเหล็ก 3. จุดประสงคเชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกชนิดของการทดสอบเหลก็ ได 2. บอกขน้ั ตอนการทดสอบเหล็กได 3. บอกชนิดของอุปกรณใ นการทดสอบเหลก็ ได 4. สาระการเรียนรู 1 ชนิดของการทดสอบความแขง็ 2 การทดสอบความแขง็ แบบร็อกเวลล 3 การทดสอบความแขง็ แบบบรเิ นลล 4 การวดั ความแขง็ ดว ยกลองขยาย 5 การทดสอบความแขง็ แบบวกิ เกอร 6 การทดสอบความแข็งแบบซอร 8 การปฏิบตั งิ านเก่ียวกับการทดสอบเหลก็ 8.1 การเตรียมวสั ด-ุ อปุ กรณ 8.1 กระบวนการปฏบิ ัตงิ าน 9 การวเิ คราะห- วจิ ารณง านที่ไดร บั มอบหมาย

๒๓ 5. กิจกรรมการเรยี นรู 1. ครูกลา วทกั ทายนกั เรยี น แจงวัตถุประสงคใ นการเรียนเพ่ือใหนักเรยี นรเู ปาหมายของการ เรยี นในเรือ่ งท่ีตองเรยี น 2. ครูแจกเอกสารประกอบการเรียนรูเรื่องการทดสอบเหล็ก ซึ่งประกอบดวย แบบฝกหัด ทายบทเรียนที่ 6 รายงานบทปฏิบัติการบทที่ 5 แบบทดสอบทายบทเรียนที่ 5 และอธิบาย หลกั การและกระบวนการสรางองคความรูการทดสอบเหล็ก 3. ครูนําภาพตัวอยาง และตัวอยางการทดสอบเหล็กชนิดตางๆ ใหนักเรียนดูในขณะทําการ สอน 4. ครูสาธติ วิธกี าร หลักการและกระบวนการทดสอบเหลก็ 5. ครูมอบหมายงานใหนักเรียน รายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 5 ตามหลักการ วิธีการ และ จิตพิสัยท่ีดีในการปฏิบัติงาน โดยใหนักเรียนนําตัวอยางช้ินงานที่ครูเตรียมไวใหจํานวน 10 ตัวอยาง และใหน กั เรียนแบงกลุมกันปฏิบัติงาน โดยคัดเลือกชนิดของวัสดุ ท่ีครูจัดเตรียมไวใหตามหมายเลข 1 ถึง 10 มาทาํ การวเิ คราะห 6. นักเรียนปฏิบัติงานตามท่ีไดรับมอบหมายโดยใชวัสดุ อุปกรณในการปฏิบัติงานอยาง คุมคา เอ้ือเฟอเผื่อแผ ชวยเหลือแบงปนซึ่งกันและกัน และปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตย สุจริต มุงมั่น ใชเวลาอยางคุม คา 7. ครู-นักเรียนรวมกันทํา การวิเคราะห-วิจารณ งานท่ีไดรับมอบหมายหนาช้ันเรียนดวย ความซอ่ื ตรง มุงมนั่ ใชเหตผุ ล และสติปญ ญา ในการวเิ คราะหวิจารณ 6.สือ่ และแหลง การเรยี นรู 1 ) ส่อื ส่ิงพมิ พ 1.1) แบบฝกหัดทา ยบทเรียน และแบบทดสอบทายบทเรียน เรือ่ งการทดสอบเหล็ก 1.2) เอกสารประกอบการเรียน เรอ่ื งการทดสอบเหลก็ 1.3) รายงานบทปฏบิ ัติการเรื่องการทดสอบเหลก็ 1.4) ใบเฉลยแบบฝกหัดทายบทเรียน และแบบทดสอบทายบทเรียน เรื่องการ ทดสอบเหลก็ 1.5) เกณฑป ระเมนิ ผลงานตามรายงานบทปฏบิ ัติการเรือ่ งการทดสอบเหลก็ 1.6) แบบประเมนิ ผลงานตามรายงานบทปฏิบัตกิ ารเรื่องการทดสอบเหล็ก 1.7) แบบสังเกตพฤติกรรม เร่อื งการทดสอบเหล็ก 2 ) ส่อื โสตทัศน 2.1) สอ่ื ประสม 2.2) วีดที ศั นเ รือ่ งการทดสอบเหลก็ 3) สือ่ ของจรงิ 3.1) ตัวอยา งการทดสอบเหลก็ ชนดิ ตางๆ 3.2) เครอื่ งการทดสอบเหลก็

๒๔ 7. หลักฐานการเรียนรทู ี่ตอ งการ 1) หลกั ฐานความรูท ่ตี องการ - รอ งรอยการทาํ แบบทดสอบทายบทเรียนที่ 5 - รองรอยการศกึ ษา คน ควา เพม่ิ เติมจากการทําแบบฝก หดั ทายบทเรียนที่ 5 2) หลักฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีตอ งการ - รายงานบทปฏิบัตกิ ารบทท่ี 5 เรอ่ื งการทดสอบเหลก็ 8. การวัดและประเมินผล 1) วธิ กี ารประเมนิ - ประเมินโดยการสงั เกตขณะเรียน และขณะปฏิบตั ิงาน - ประเมินจากการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนที่ 5 และการทําแบบทดสอบทาย บทเรียนท่ี 6 - ประเมินจากรายงานบทปฏบิ ัติการบทท่ี 5เร่อื งการทดสอบเหล็ก 2) เครอ่ื งมือประเมนิ - แบบประเมินผลการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนที่5 และการทําแบบทดสอบทาย บทเรยี นที่ 56 เร่ืองการทดสอบเหล็ก - ใบเฉลยแบบประเมินผลการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนท่ี5 และการทํา แบบทดสอบทา ยบทเรียนที่ ๕ เรื่องการทดสอบเหล็ก - เกณฑประเมินผลงานตามรายงานบทปฏบิ ัติการเร่ืองการทดสอบเหลก็ - แบบประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการบทที่ 56 เรื่องการทดสอบเหล็ก - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม เรื่องการทดสอบเหล็ก 3) เกณฑก ารประเมนิ 1) เตรยี มเครือ่ งมือ-วัสดุ อปุ กรณ อยางถกู ตองเหมาะสม 2) รายงานบทปฏิบัติการบทที่ 5 เร่ืองการทดสอบเหล็ก ตามหลักการ ขั้นตอน การปฏิบตั งิ านและเงอื่ นไขในการมอบหมายงาน 3) มีจติ พิสยั ทด่ี ใี นการปฏบิ ัตงิ าน

๒๕ 9. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู 1) ขอสรุปหลงั การจัดการเรียนรู ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 2) ปญหาทีพ่ บ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 3) แนวทางแกป ญ หา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (.................................................) นายภวู ศิ มณี

๒๖ แผนการจดั การเรียนรูหนวยที่ 6 กลมุ สาระการเรียนรู ชางอตุ สาหกรรม ชอ่ื วชิ า โลหะวทิ ยาเบ้ืองตน รหสั วิชา ง32205 ชื่อการปรบั ปรุงคณุ สมบตั ขิ องโลหะโดยใชค วามรอ น จาํ นวน ๑๐ ชั่วโมง ผสู อน นายภูวศิ มณี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห 31 1. สาระสาํ คญั Heat Treatment of steel การปรับปรุงคณุ สมบัตขิ องเหลก็ กลา โดยการใชกรรมวิธีทาง ความรอนไดแ ก การอบออ น (Annealing) การอบปกติ (Normalizing) การชบุ แข็ง (Hardening) การอบคืนตัว (Martempering) และการชุบผวิ แขง็ (Surface Hardening) กรรมวธิ ีท่ใี ชทาํ กบั งาน สรา งช้ินสว นเคร่อื งจกั รกลโดยท่วั ไปไมวา จะ เปนงานท่ีผา นการข้ึนรปู รอ น เชน การรดี (Hot Rolling) หรอื การตีข้นึ รูป (Hot Forging) เหล็กจะถกู เผาท่อี ณุ หภูมิคอ นขางสงู จะไดเหลก็ ท่มี เี กรนโต มี ลักษณะเปน Dendrite และ ไมสมํา่ เสมอ มขี อเสยี ทจ่ี ะตองปรบั ปรุงกอ นนาํ ไปใชง าน โดยเฉพาะอยา ง ย่ิงงานท่ผี า นการ ข้นึ รปู เยน็ เชน การรดี (Cold Rolling) หรอื การตีขน้ึ รปู ทาํ ใหโครงสรางภายในของ เหลก็ จะเกิด การบิดเบ้ยี วไปตามทิศทางของแรงกระทาํ ทําใหเกดิ ความเครยี ดภายในสูญเสียความ เหนียว และมคี วามแข็งเพม่ิ ข้นึ ในลกั ษณะทไ่ี มส มาํ่ เสมอ สงิ่ ที่เกิดขึ้นในลักษณะทไ่ี มด เี หลา นีส้ ามารถ ทาํ ใหห มดไปและปรับปรุงใหด ีข้นึ โดนเฉพาะขนาดของเกรนของเนอื้ เหลก็ ทาํ ใหมีขนาดเลก็ ละเอียด และสมาํ่ เสมอไดด วยวธิ กี ารทาํ Normalizing ซง่ึ จะเนนในเรอ่ื งของการปรบั ปรุงโครงสรางมากทสี่ ดุ (Grain refinement ) 2. จุดประสงคท ่ัวไป เพอ่ื ใหร ูวธิ กี ารการปรบั ปรุงคุณสมบตั ิของโลหะโดยใชความรอน 3. จดุ ประสงคเชงิ พฤตกิ รรม 1. บอกชื่อวัสดทุ ่ใี ชในการปรับปรงุ คุณสมบตั ิของโลหะโดยใชความรอ นได 2. บอกขั้นตอนการปรับปรงุ คุณสมบัตขิ องโลหะโดยใชค วามรอนได 3. บอกชนิดของอปุ กรณใ นการปรับปรงุ คณุ สมบตั ิของโลหะโดยใชค วามรอ นได 4. สาระการเรยี นรู 1 เหล็กกลาคารบอน 2 ประเภทของเหล็กกลา คารบอน 3 การศกึ ษาโครงสรางจลุ ภาคและความหมาย 4 การอบชุบโลหะ 5 การทําการอบออน 6 การอบปกติ 7 การชบุ แข็ง 8 การปฏิบตั ิงานเกยี่ วกับการปรับปรงุ คณุ สมบัตขิ องโลหะโดยใชค วามรอน 8.1 การเตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ

๒๗ 8.2 กระบวนการปฏบิ ัตงิ าน 9 การวิเคราะห- วิจารณงานทไ่ี ดร บั มอบหมาย 5. กิจกรรมการเรยี นรู 1. ครูกลาวทักทายนักเรียน แจงวัตถุประสงคในการเรียนเพ่ือใหนักเรียนรูเปาหมายของการ เรียนในเร่ืองที่ตองเรยี น 2. ครูแจกเอกสารประกอบการเรียนรูเร่ือง การปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะโดยใชความรอน ซ่ึงประกอบดวย แบบฝกหัดทายบทเรียนที่ 6 รายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 6 แบบทดสอบทาย บทเรยี นท่ี 7 และอธบิ ายหลกั การและกระบวนการปรบั ปรงุ คณุ สมบตั ขิ องโลหะโดยใชความรอน 3. ครูนําภาพตัวอยาง และตัวอยางการปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะโดยใชความรอนชนิด ตางๆ ใหน กั เรียนดูในขณะทําการสอน 4. ครูสาธติ วิธกี าร หลกั การและกระบวนการปรบั ปรุงคณุ สมบัติของโลหะโดยใชความรอน 5. ครูมอบหมายงานใหนักเรียน รายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 6 ตามหลักการ วิธีการ และ จิตพิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน โดยใหนักเรียนนําตัวอยางชิ้นงานที่ครูเตรียมไวใหจํานวน 10 ตัวอยาง และใหนกั เรียนแบงกลุมกันปฎิบัติงาน โดยคัดเลือกชนิดของวัสดุ ที่ครูจัดเตรียมไวใหตามหมายเลข 1 ถงึ 10 มาทําการวิเคราะห 6. นักเรียนปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายโดยใชวัสดุ อุปกรณในการปฏิบัติงานอยาง คุมคา เอื้อเฟอเผื่อแผ ชวยเหลือแบงปนซ่ึงกันและกัน และปฏิบัติงานดวยความซ่ือสัตย สุจริต มุงมั่น ใชเวลาอยา งคุมคา 7. ครู-นักเรียนรวมกันทํา การวิเคราะห-วิจารณ งานที่ไดรับมอบหมายหนาชั้นเรียนดวย ความซื่อตรง มุง มน่ั ใชเ หตผุ ล และสตปิ ญ ญา ในการวิเคราะหวจิ ารณ 6.สือ่ และแหลงการเรียนรู 1 ) สื่อสง่ิ พมิ พ 1.1) แบบฝกหัดทายบทเรียน และแบบทดสอบทายบทเรียน เรื่องการปรับปรุง คุณสมบัตขิ องโลหะโดยใชค วามรอ น 1.2) เอกสารประกอบการเรียน เร่ืองการปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะโดยใชความ รอน 1.3) รายงานบทปฏบิ ตั กิ ารเรอ่ื งการปรับปรุงคุณสมบัตขิ องโลหะโดยใชความรอ น 1.4) ใบเฉลยแบบฝกหัดทายบทเรียน และแบบทดสอบทายบทเรียน เร่ืองการ ปรับปรงุ คุณสมบตั ขิ องโลหะโดยใชค วามรอ น 1.5) เกณฑประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการเร่ืองการปรับปรุงคุณสมบัติ ของโลหะโดยใชค วามรอ น 1.6) แบบประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการเรื่องการปรับปรุงคุณสมบัติของ โลหะโดยใชค วามรอ น 1.7) แบบสังเกตพฤติกรรม เรอื่ งการปรับปรงุ คณุ สมบตั ิของโลหะโดยใชค วามรอน

๒๘ 2 ) สือ่ โสตทัศน 2.1) ส่อื ประสม 2.2) วีดีทัศนเรือ่ งการปรบั ปรงุ คณุ สมบัติของโลหะโดยใชค วามรอ น 3) ส่ือของจริง 3.1) ตัวอยา งการปรับปรงุ คณุ สมบตั ิของโลหะโดยใชค วามรอ นชนดิ ตา งๆ 3.2) เครือ่ งเช่อื มแกส 7. หลักฐานการเรียนรูท่ตี อ งการ 1) หลกั ฐานความรูท ่ีตองการ - รอ งรอยการทําแบบทดสอบทา ยบทเรียนที่ 6 - รองรอยการศึกษา คนควาเพมิ่ เตมิ จากการทําแบบฝกหดั ทายบทเรยี นที่ 6 2) หลกั ฐานการปฏิบัติงานทีต่ อ งการ - รายงานบทปฏิบัติการบทที่ 6 เรื่องการปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะโดยใชความ รอน 8. การวัดและประเมนิ ผล 1) วธิ ีการประเมนิ - ประเมินโดยการสังเกตขณะเรียน และขณะปฏิบตั งิ าน - ประเมินจากการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนท่ี 6 และการทําแบบทดสอบทาย บทเรียนท6ี่ - ประเมินจากรายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 6 เรื่องการปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะ โดยใชความรอ น 2) เครอื่ งมือประเมนิ - แบบประเมนิ ผลการทําแบบฝกหดั ทายบทเรียนที่ 6 และการทาํ แบบทดสอบทา ย บทเรียนท่ี 7 เรอื่ งการปรับปรงุ คุณสมบตั ขิ องโลหะโดยใชความรอ น - ใบเฉลยแบบประเมินผลการทําแบบฝกหัดทายบทเรียนที่ 6 และการทํา แบบทดสอบทายบทเรยี นที่ 6 เรอ่ื งการปรบั ปรงุ คณุ สมบัตขิ องโลหะโดยใชค วามรอน - เกณฑประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการเร่ืองการปรับปรุงคุณสมบัติของ โลหะโดยใชค วามรอ น - แบบประเมินผลงานตามรายงานบทปฏิบัติการบทท่ี 6 เรื่องการปรับปรุง คุณสมบัตขิ องโลหะโดยใชค วามรอ น - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม เรอ่ื งการปรับปรุงคณุ สมบตั ขิ องโลหะโดยใชความรอ น 3) เกณฑก ารประเมิน 1) เตรยี มเครือ่ งมอื -วสั ดุ อปุ กรณ อยา งถกู ตองเหมาะสม 2) รายงานบทปฏิบตั กิ ารบทท่ี 6 เร่อื งการปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะโดยใชความ รอ น ตามหลักการ ขน้ั ตอน การปฏิบัติงานและเงอื่ นไขในการมอบหมายงาน 3) มจี ติ พสิ ยั ท่ดี ใี นการปฏบิ ตั งิ าน

๒๙ 9. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู 1) ขอสรปุ หลงั การจดั การเรียนรู ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 2) ปญ หาท่ีพบ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................... 3) แนวทางแกป ญ หา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (.................................................) นายภูวศิ มณ

๓๐ รายการตรวจสอบและอนุญาตใหใช  ควรอนญุ าตใหใ ชใ นการสอนได  ควรปรบั ปรงุ เกย่ี วกบั ...................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................. ลงช่อื ( นายภวู ศิ มณี ) ครูผชู ว ย ............./.........................../...............  เหน็ ควรอนุญาตใหใ ชในการสอนได  ควรปรบั ปรุงดังเสนอ  อนื่ ๆ................................................................................................................................ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................. ลงชื่อ ( นายวเิ ศษ ฟองตา ) รองผูอํานวยการฝา ยวิชาการ ............./.........................../...............  อนญุ าตใหใชในการสอนได  อืน่ ๆ................................................................................................................................ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ลงชอ่ื ( นายอดิสร แดงเรือน ) ผอู ํานวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 31 ............./.........................../...............

๓๑ ใบประเมนิ ผลคะแนนพฤตกิ รรม ช่ือ ……………......สกุล ………………………วันที่ปฎิบัติงาน..........เดือน..................พ.ศ............. ช่ืองาน ……………………รายงานบทปฏบิ ตั ิการที่….… หนว ยท่ี ….…กลมุ ………… เลขที่…… คําแนะนําสําหรับการประเมิน 2 หมายถึง ทุกคร้ัง 1 หมายถึง บางครั้ง 0 หมายถึง ไมเคย จดุ ประเมิน คะแนน ความ คะแนน หมายเหตุ 0 1 2 สาํ คญั ที่ได ดานความพอประมาณ 1. การใชวสั ดุ – อปุ กรณ อยางประหยดั …… …… …… 5 …….. ดา นความมเี หตุผล 2. การมสี วนรวมแสดงความคดิ เหน็ …… …… …… 5 …….. ดานความมภี ูมคิ มุ กนั ท่ีดี 3. แตง กายตามกฎระเบียบของวทิ ยาลัย …… …… …… 5 …….. 4. การตรงตอ เวลา …… …… ……. 5 …….. ดานความรอบรู …… …… …… 5 …….. 5. ซักถาม คนควา กระตือรือรนในการหาความรู …… …… …… 5 …….. ดา นความรอบคอบ/ระมัดระวงั 6.ไมเ สพสง่ิ เสพยต ดิ เชนเหลา บุหรี่ …… …… …… 5 …….. …… …… …… 5 …….. ดา นความอดทน 7. ปฎบิ ัตงิ านใหบ รรลวุ ัตถุประสงค ดา นความซ่ือสัตย สุจรติ 8. ปฎบิ ัติหนาท่ที ไ่ี ดรบั มอบหมายตามเวลาทีก่ ําหนด ดา นความขยนั …… …… …… 5 …….. 9. มคี วามตงั้ ใจปฎิบัตงิ านเตม็ ความสามารถ ดา นการแบงปน …… …… …… 5 …….. 10. ทาํ งานรว มกับคนอ่นื ได รวมคะแนนท่ไี ด คะแนนทไี่ ด = ……………………. คะแนน ผลการประเมนิ ที่ได  60 % ผาน  ต่าํ กวา 60 % ไมผ า น บันทกึ ผูป ระเมนิ ……….………………………….………………………………………………… ลงชอื่ ………………………….. ผปู ระเมนิ (…………………..………..) วนั ท…่ี …..…/…………..…/……....…

๓๒ ใบประเมนิ ผลรายงานบทปฏบิ ตั กิ าร ช่ือ ……………......สกุล ………………………วันที่ปฎิบัติงาน..........เดือน..................พ.ศ............. สาขาวชิ า………….………………………ระดบั ชนั้ ………… กลมุ ………… เลขท…ี่ …………. ช่ืองาน ………….……….………รายงานบทปฏิบตั กิ ารท…่ี .…หนว ยท่ี ….…จาํ นวน …….… คาบ จุดประเมนิ คะแนน ความ คะแนน หมายเหตุ การเตรยี มงาน 0.1 0.2 0.4 1 สําคญั ที่ได 1 การเตรยี มเครอ่ื งมือ-วัสดุ อุปกรณ 0.3 0. 5 … … … … … … ….2..... …...... รายงานบทปฏิบตั กิ าร 2 ตอบถูก มากกวา50 % - 100 % ขึ้น … … … … … … ….4...... …...... ไปถอื วา ผา น ไดคะแนนเทา กับ 1 …….. 3 ตอบผิด 0 – 50 % ไดคะแนน ขอละ …….. 0.1 คะแนน …….. จติ พสิ ัย …….. 5 ความปลอดภยั ในการปฎบิ ตั งิ าน … … … … … … ….1….. 6 การใชเครอื่ งมอื และอุปกรณ … … … … … … ….1….. 7 การทาํ ความสะอาดพน้ื ที่ปฎบิ ัติงาน … … … … … … ….1….. 8 เวลาทใ่ี ชใ นการปฎิบัติงาน … … … … … … ….1….. รวม ผลการประเมนิ ที่ได คะแนนท่ีได = ……………………. คะแนน  60 % =ผา น1000 ×  ต่ํากวา 60 % ไมผ า น 100 บันทึกผูประเมนิ ……….………………………….………………………………………………… ลงชื่อ……………………….. ผปู ระเมนิ (…………………..………..) วันท…ี่ …..…/…………..…/……....…

๓๓ หลกั เกณฑก ารประเมนิ ผลการปฎบิ ตั ิงาน จดุ ประเมนิ เกณฑก ารใหค ะแนน 1. การเตรียมเครื่องมือ-วสั ดุ อุปกรณ 0.1เตรยี มเคร่ืองมือ-วัสดุอปุ กรณ ขาด 5 ชิ้นขน้ึ ไป 0.2 เตรยี มเครอ่ื งมอื -วัสดุอปุ กรณ ขาด 4 ช้ิน 0.3 เตรยี มเครื่องมือ-วัสดอุ ุปกรณ ขาด 3 ชนิ้ 0.4 เตรยี มเครื่องมือ-วสั ดอุ ุปกรณ ขาด 2 ชิ้น 0.5 เตรียมเคร่ืองมือ-วัสดุอุปกรณ ขาด 1 ช้นิ 1 เตรยี มเครื่องมอื -วสั ดอุ ุปกรณ ตามกาํ หนด 2. ตอบถูก มากกวา50 % - 100 % ข้ึนไปถือวา 0.1 ตอบถูก 1 ขอ ผา น 0.2 ตอบถกู 2 ขอ ไดค ะแนนเทากบั 1 0.3 ตอบถูก 3 ขอ ตอบผิด 0 – 50 % ไดคะแนน ขอละ 0.1 0.4 ตอบถกู 4 ขอ คะแนน 0.5 ตอบถูก 5 ขอ 1 ตอบถกู มากกวา 5 ขอ ขึน้ ไป 5. ความปลอดภยั ในการปฎิบตั งิ าน 0.1 ถูกตกั เตือนมากกวา 5 ครัง้ ขน้ึ ไป 0.2 ถูกตักเตือน 4 ครั้ง 0.3 ถูกตักเตอื น 3 ครั้ง 0.4 ถกู ตกั เตอื น 2 ครัง้ 0.5 ถูกตกั เตือน 1 คร้งั 1 ไมถูกตักเตือน 6. การใชเครือ่ งมือและอุปกรณ 0.1 ใชเ ครอ่ื งมอื และอุปกรณผ ิดประเภทจนชํารดุ เสียหาย ไมท าํ ความสะอาด จัดเกบ็ ไมถกู ตอ ง 0.2 ใชเคร่ืองมือและอปุ กรณผดิ ประเภท ไมทาํ ความสะอาด จดั เก็บไมถ กู ตอ ง 0.3 ใชเคร่อื งมอื และอปุ กรณถกู ตอง ไมท ําความ สะอาด และจดั เกบ็ ไมถ ูกตอง 0.4 ใชเครือ่ งมือและอุปกรณถ กู ตอ ง ทําความ สะอาดไมค รบ และจดั เกบ็ ไมถ กู ตอง 0.5 ใชเ ครือ่ งมอื และอปุ กรณถ กู ตอง ทําความ สะอาด แตจ ดั เก็บไมถ ูกตอง 1 ใชเ คร่อื งมอื และอุปกรณ ทาํ ความสะอาด จดั เกบ็ อยางถกู ตอง

๓๔ หลกั เกณฑก ารประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน จุดประเมนิ เกณฑก ารใหค ะแนน 7. การทาํ ความสะอาดพ้นื ทปี่ ฏิบัติงาน 0.1 ไมทาํ ความสะอาดพืน้ ท่ีกอนและหลัง ปฏิบตั ิงาน 0.2 ทาํ ความสะอาดพ้นื ทเี่ ฉพาะกอนปฏบิ ัตงิ าน 0.3 ทาํ ความสะอาดพืน้ ที่เฉพาะหลังปฏิบตั ิงาน 0.4 ทาํ ความสะอาดพนื้ ที่กอนและหลงั ปฏิบตั ิ งาน เปนบางสวน 0.5 ทําความสะอาดพืน้ ท่กี อนและหลังปฏบิ ัติ งาน ทัง้ หมด 1 ทําความสะอาดพนื้ ท่ีกอนและหลังปฏิบตั ิงาน รวมทั้งบรเิ วณรอบๆโรงงานท้งั หมด 8. เวลาทีใ่ ชในการปฏิบัติงาน 0.1 เกินมา 5 ช่วั โมง 0.2 เกนิ มา 4 ชวั่ โมง 0.3 เกนิ มา 3 ชว่ั โมง 0.4 เกนิ มา 2 ช่วั โมง 0.5 เกนิ มา 1 ชั่วโมง 1 ตามเวลาทกี่ าํ หนด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook