50 4. ฝึกแบบ 1 x 2 คือ ฝ่ายรกุ 1 คน ฝา่ ยรับ 2 คน ผู้ยิงประตจู ะฝกึ ซ้อมพรอ้ มไปกบั ฝ่ายรับซง่ึ ทำ หน้าที่คุมตัวต่อตัว ฝ่ายรับคนที่สองจะช่วยฝ่ายรับคนท่ีหนึ่ง ในการคุมพื้นท่ี และคอยสอด และคุ้มกัน (Cover) 5. ฝึกแบบ 2 x 2 ผู้เล่นฝา่ ยรุกมี 2 คน คอื ผ้ยู งิ ประตู กับคนคอยสนับสนุน ผ้เู ล่นฝ่ายรบั มี 2 คน คือ คมุ ตวั ตอ่ ตวั 1 คน และคอยช่วยคมุ พน้ื ท่ี 1 คน 6. รูปแบบการฝึกแบบ 2 x 1 หรือ 1 x 2 ค่อยๆ เพ่ิมเป็น 2 x 3 หรือ 3 x 2 และ 4 x 4 ตามลำดับ การฝึกแบบเข้มข้น-พฤติกรรมในการรุกและการรับ จุดมุ่งหมายของทีมที่ดีก็คือ ต้องมี ความสามารถท้ังในการรุก และการรับเท่าๆ กัน ดังนั้นจงึ ต้องมีการฝึกซ้อมการกระจายบทบาทการรุก และการรับ การฝึกแบบ 2 x 1 1. ฝ่ายรุก 2 ฝ่ายรับ 1 ฝ่ายรุก 2 คน จะฝึกหน้าท่ีที่สำคัญ 2 อยา่ ง คือ หน้าทใ่ี นการทำประตู และหน้าทใ่ี นการจ่าย หรือส่งผา่ นลกู การฝึกแบบ 2 x 1 ขนึ้ ไปจนกระทั่ง 11 x 11 ตามลำดับ ผู้ฝึกสอนต้องสังเกตการเล่น ของผู้เล่นเพื่อนำไปปรับการเล่นของผู้เล่นให้เหมาะสมในการ แขง่ ขนั จรงิ คร้ังต่อไปได้ ตารางที่ 18 แสดงการฝกึ การรุกและการรับ แบบที่ 1 การรกุ ความมงุ่ หมายของการฝึก การรับ กลยทุ ธ์ - วิง่ เพื่อสร้างท่วี า่ ง - นำกฎของการรบั มาใช้ - ใช้ประโยชนจ์ ากท่ีวา่ ง - ฝา่ ยรุก - คมุ งาน ฝา่ ยบอล - คุมตวั ตอ่ ตัว (Man to Man - ใหผ้ เู้ ล่นฝ่ายรกุ อยู่ในตำแหนง่ - คุมงาน ฝา่ ยบอล Marking) ที่เหมาะสม - ตวั ทำประตู - การเขา้ หาลกู บอล - การส่งลูกขา้ งสนาม (Square เทคนิค - การสกดั ลกู บอล Pass) - การแยง่ ลูกบอล - การส่งลูกไปด้านหน้า สมรรถภาพ - การตามลกู บอล (Through Pass) - ลูกชิ่ง (Wall Pass) - ความเรว็ - ทำประตู (Scoring) - ความเร็วในการเขา้ ถึงลกู บอล กอ่ นฝา่ ยตรงข้าม - ตัวทำประตู ใช้การเคลือ่ นท่ี - การใชร้ ่างกายในการไดล้ กู โดยไม่มีลูกบอล บอลมาครอง - ความอดทน - ใชพ้ ฤตกิ รรมตัวต่อตัว (Man to Man) ไดด้ ี ทม่ี า : การกีฬาแห่งประเทศไทย (2558 : ออนไลน)์ คมู่ อื การพฒั นาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลศิ
51 1. แบบฝึกขั้นเรม่ิ ตน้ เมื่ออยู่ใกล้ประตูหน้าท่ขี องผู้เลน่ ที่ทำหนา้ ทรี่ ุก และโดยเฉพาะตัวจ่ายลูกบอล (Schemer) ก็คือ การใหต้ ัวยงิ ประตู (Striker) อยใู่ นตำแหนง่ ท่ีจะยงิ ประตูได้ ตวั ยิงประตูควรพยายามหนีจากผเู้ ลน่ ฝ่ายตรง ขา้ ม โดยการเคล่ือนตวั เข้าไปใหล้ กึ ด้านหนา้ ประตู หรอื ออกไปสู่ปกี สิ่งทีส่ ำคัญลำดบั แรก คือ การครองลูก บอล ดังน้ัน การผ่านลูกบอลกลับไปให้ตัวจ่ายจึงต้องทำอย่างดี แต่ก็ต้องหาโอกาสท่ีจะยิงประตูด้วย ตลอดเวลาโดยตัวจ่ายใช้ท่ีว่างให้มีประโยชน์ในการรุกเม่ือมีโอกาส ผู้เล่นฝ่ายรับมุ่งเฉพาะ การคุมคน ใกล้ชดิ ตัวทีส่ ดุ (Close–Marking) ของตัวยงิ ประตู 1.1 แบบฝึกขั้นเร่ิมต้น 1 : 2 ฝา่ ยรุกมเี พียงคนเดียว และจะต้องใช้แทกตกิ และเทคนิคทุกอย่างท่ีมี เพ่ือจะสามารถยิงประตู ให้ได้ ฝ่ายรับท่ีเป็น Man-Marker จะถูกชี้นำโดยฝ่ายรับทำหน้าที่ Cover และพยายามที่จะครองลูก ฟุตบอลให้ได้ ถ้า Man-Marker พลาดคนที่ Cover ก็จะเข้ามา และคนที่พลาดที่จะทำหน้าที่หมุนลงไป Cover แทน (คอื ยังคงใหจ้ ำนวนของฝา่ ยตนมากกวา่ ฝ่ายตรงข้าม) 2. แบบฝกึ ขน้ั สูง มีฝ่ายรุก 3 คน (Striker 2 คน ต่อ Man-Marking ของฝ่ายรับ 2 คน) ย่ิงมีฝ่ายรุกมากเท่าไร โอกาสในการเคลอื่ นตัวเพ่ือเปิดที่วา่ ง และการส่งลกู บอลมมี ากขน้ึ และผู้เล่นที่เปน็ ตัวจ่าย จะตอ้ งตามเกม ให้ทัน และใชป้ ระโยชน์ให้ได้ อีกอย่างหนึ่งท่ีต้องทำ คือ การยิงประตูให้ได้ และจะตอ้ งไม่มองข้ามความ เป็นไปไดข้ องการสง่ ลูกบอลกลับหลัง (Back Passess) มาให้ในขณะท่ไี มส่ ามารถพาลูกบอลไปข้างหน้าได้ หน้าท่ขี องผู้เลน่ ท่ีเปน็ Man Marking ของฝ่ายรบั กเ็ หมอื นเดิม 2.1 แบบฝกึ ข้ันสูง 2 : 3 ฝ่ายรกุ มี 2 คน และฝา่ ยรับมี 3 คน ฝ่ายรับทเี่ พ่ิมเข้ามาทำใหค้ วาม เป็นไปไดใ้ นการป้องกันมีมากขนึ้ ฝ่ายรุกก็จะต้องพยายามหาโอกาสท่ีจะเข้าทำประตู โดยการส่งผ่านลูก บอลเลี้ยง และอ่ืนๆ คน ที่ทำหน้าที่ Cover จะทำหน้าท่ีสั่งเกม ประสานงานหนักข้ึน และการเล่นตาม ตำแหน่งของเขาก็ยุ่งยากขึ้นดว้ ย คมู่ อื การพฒั นาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ
52 แสดงการฝึกการรกุ และการรับ ตารางท่ี 19 แสดงการฝึกการรกุ และการรับ แบบท่ี 2 การรกุ ความม่งุ หมายของการฝึก การรับ - เมอ่ื ผเู้ ล่นทเี่ ปน็ ตัวรกุ ได้ครอง กลยุทธ์ - ฝึกหัด SPACE - MARKING ลูกบอลตอ้ งพยายามใชแ้ ทกตกิ - ZONE - MARKING ฝา่ ยรบั ทกุ อยา่ งทจ่ี ะทำใหส้ ามารถยงิ - เหมอื นในแบบ 1 : 1 พยายามช่วยอีกคนหน่งึ คือ คน ประตู แมว้ ่าฝ่ายรบั จะมจี ำนวน การรกุ : เป็นคนตดั สนิ ใจ หน่งึ ทำหนา้ ที่ Man-Marking มากกว่า การรบั : คุมคน (Man Marking) คนหลงั ทำหน้าท่ี Cover คอื คอยสอด (cover) คอยคุมพื้นที่ และชว่ ยเหลือ - การเล้ียงลกู ฟตุ บอล เทคนคิ - เทคนคิ ของฝ่ายรบั ทท่ี ำหนา้ ท่ี - การพาตวั เข้าไปแทรกบังลูก สมรรถภาพ -Man-Marking ยงั คง บอล ระหว่างลกู บอลและฝา่ ยรบั เหมอื นเดิม - การล่อหลอก - ฝ่ายรบั ทเี่ ปน็ คนคมุ พนื้ ท่ี - การใช้ความแขง็ แรงเพอ่ื (Space Marking) ซ่งึ คอย ครอบครองลูกฟุตบอล Cover นน้ั ฝกึ หัดการเล่นตาม ตำแหนง่ โดยเฉพาะ เขาเพยี ง คอยคุ้มกันโดยตรงเมอื่ ฝ่ายรบั คนทำหนา้ ที่ MAN-MARKING พลาดไปเทา่ นั้น แตเ่ ขากย็ ังได้ ครองลูกฟตุ บอลด้วย ท่ีมา : การกีฬาแหง่ ประเทศไทย (2558 : ออนไลน)์ 3. แบบฝึกขัน้ แขง่ ขัน แบบฝึกน้ีจะมีผู้เล่นท่ีเป็นตัวยิงประตู และตัวจ่ายมากขึ้นเพ่ือมุ่งไปสู่การฝึกใช้ท่ีว่างให้เป็น ประโยชน์ และการยิงประตเู พมิ่ จำนวนฝ่ายรุก และฝ่ายรบั ขนึ้ ฝ่ายรับเลน่ เหมือนเดิม 3.1 แบบฝึกขึ้นแขง่ ขัน 3 : 4 จะเพิ่มจำนวนผู้เล่นมากข้ึนตามลำดับ โดยยังให้ฝ่ายรับมีจำนวนมากกว่าฝ่ายรุก และฝ่ายรุก พยายามบุกเข้าไปยิงประตู ตอนน้ีฝา่ ยรุกต้องใช้กฎทุกอย่างของการรกุ ในการพยายามเจาะแนวป้องกัน ของฝา่ ยรบั ที่ทำหนา้ ที่ Man – To – Man และการคุมพ้ืนท่ี (Space – Marking) คู่มอื การพฒั นาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศ
53 ตารางที่ 20 แสดงการฝกึ การรกุ และการรบั แบบที่ 3 การรุก ความมุง่ หมายของการฝกึ การรับ กลยทุ ธ์ - สรา้ งและใช้ประโยชนข์ อง - พยายามแยง่ การครองลกู พนื้ ท่ีว่าง - กฎของการรุก และการรับ ฟตุ บอล - ช่วยสนบั สนนุ - ทำทีว่ า่ งให้แคบลง - จบโดยการยงิ ประตู เทคนคิ - ทำใหก้ ารรกุ ชา้ ลง - สรา้ งความมนั่ ใจในการครอง - นำวธิ ีการของการรุก และการ - การบงั คตู่ ่อสู้ (Screening) ลูกฟุตบอล รบั มาใช้ - ทำเกมให้ชา้ ลง - การส่งลกู ดว้ ยวิธีตา่ งๆ - พยายามเขา้ ใกลล้ ูกฟุตบอล - การเลย้ี งลกู ดว้ ยวิธีต่างๆ - การตัดลกู ฟตุ บอล - การยิงประตู - การตามลกู ฟตุ บอล - ความเรว็ - ควบคมุ ฝ่ายรุก - ความอดทน - ตามเพอ่ื แยง่ เป็นฝา่ ยครอง - การใช้กำลงั เพอื่ เจาะผา่ น ลกู ฟุตบอล สมรรถภาพ - การฝกึ เพื่อใหร้ า่ งกายกำบังคู่ ตอ่ สู้ ทม่ี า : การกีฬาแห่งประเทศไทย (2558 : ออนไลน)์ การใช้แบบฝกึ แบบ 2 x 2 ในการฝกึ เป็นทมี แบบฝกึ ขั้นเรม่ิ ต้น 2 x 2 ใชพ้ ื้นที่ให้มีฝ่ายรุก 2 คน และฝ่ายรับ 3 คนจุดมุ่งหมายข้ันพ้ืนฐาน : พยายามครองลูกบอลไว้ และเปลี่ยนจากฝ่ายรุกเป็นฝ่ายรับ หรอื จากฝา่ ยรบั เปน็ ฝา่ ยรกุ แบบฝึกนเ้ี ป็นแบบฝกึ หนา้ ท่ี 4 อย่างที่ใช้ในการแขง่ ขันจรงิ นัน้ คือฝา่ ยรกุ ที่เปน็ ตัวยงิ ประตูและเป็นตัวสนับสนุน ตอ่ สูก้ ับฝา่ ยรับ 2 คน ที่ทำหนา้ ที่ควบคุม และคุมพ้นื ท่ีผู้เลน่ ทกุ คนต้อง สามารถทำหน้าที่ 4 อย่างน้ีได้ แบบฝึกข้ันสูงคล้ายแบบฝึก 1x1 น้ันคือเป็นการพัฒนาให้มีพื้นท่ีเพิ่มข้ึน และมุ่งไปสู่การยิงประตู แบบฝึกขั้นแข่งขัน ฝึกในพื้นที่คร่ึงหน่ึงของสนาม ทั้งทีมรุกและทีมรับ (รวม ผรู้ กั ษาประตูด้วย) แตโ่ ค้ชจะมอบหมายหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งให้เฉพาะคน การเล่นไปในเชงิ แข่งขนั มากข้ึน เพอ่ื ฝึกการใช้กำลงั ท่จี ำเปน็ ต้องใชใ้ นการแขง่ ขัน การใช้แบบฝึกแบบ 2 x 2 ในการฝึกเป็นทีม 2 x 2 – 11 x 11 ข้อสังเกตต่อไปนี้จะเห็นได้ ชัดเจนว่าเนื่องจากการเลน่ แบบ 2 x 2 น้ัน ขึ้นอย่กู ับการครองลกู บอลจึงควรจะฝกึ โดยใช้ฝา่ ยรกุ 2 คน กับ ฝ่ายรับ 2 คน จากแบบฝึกที่ผ่านมาจะสังเกตได้ว่าการรุกท่ีดีต้องมีความลึก (เช่นเดียวกับการับที่ดี เหมอื นกนั ) ดงั นนั้ จึงควรจดั การโดยใหฝ้ า่ ยรุกที่เปน็ Striker เลน่ โดยมฝี ่ายรุกอกี คนคอย Support อยูข่ ้าง หลัง และให้ฝ่ายรับเป็น Man – Marker มีผู้ช่วยคอย Cover พ้ืนที่ว่างอยู่ข้างหลัง แบบฝึกแบบ 2 x 2 เปน็ หน่วยเล็กทสี่ ุดทก่ี ฎโดยทวั่ ๆ ไปของการเล่นฟตุ บอลสามารถจำเป็นฝึกหัดได้ ฝ่ายทไ่ี ดล้ กู บอลมาครอง ค่มู ือการพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ
54 คือฝ่ายรุกและคตู่ อ่ สู้กลายเป็นฝ่ายรับไป ผู้เล่นท่ีได้ครองลูกบอลจะต้องรู้ตวั ว่าตอ้ งทำหนา้ ที่รุก และผูเ้ ล่น อีกคนหนึ่งก็ตอ้ งคอย SUPPORT ส่วนฝ่ายรบั นนั้ ผูเ้ ลน่ ทอี่ ยู่ใกล้ลูกมากทสี่ ุดจะทำหน้าท่ี Man – Marker ในขณะท่ีผเู้ ล่นอกี คนหนึ่งทำหนา้ ท่ีช่วย Cover ให้ ทั้งฝ่ายรุก และฝ่ายรบั ไม่ควรเลน่ แนวเดียวกนั (Line) มิฉะน้ันจะทำให้ลืมกฎของความลึก การฝึกควร พัฒนาไปสู่แบบฝึกแบบ 11 x 11 ซ่ึงโดยพ้ืนฐานแล้ว บทบาทของผ้เู ลน่ ยังคงเหมือนเดมิ แตเ่ นื่องจากจำนวนที่ผู้เล่นเพม่ิ ขนึ้ ฝ่ายรกุ ก็จะมีโอกาสมากข้ึน ซ่งึ ก็จะ เป็นการเพิ่มความระมัดระวังให้แก่ฝ่ายรับมีมากข้ึนด้วย หน้าที่ของโค้ชในฐานะผู้ควบคุมการเล่นจะมี ความสำคัญมากข้ึน โค้ชจะเน้นหนักในเรื่องของการดูว่าผู้เล่นทุกคนตระหนักดีถึงความมุ่งหมายทาง เทคนิค และโคช้ จะพยายามคน้ หาสาเหตขุ องข้อบกพรอ่ งของผู้เล่นทกุ คน โคช้ จะเพ่ิมการฝึกจาก 2 x 2 เปน็ 3 x 3, 4 x 4, 5 x 5, 7 x 7, 8 x 8 ไปจนถึง 11 x 11 ตาม มาตรฐานการเลน่ ท่ผี ู้เลน่ เลน่ ไดต้ ามแต่ว่าจะต้องการฝึกแบบไหน Jankowski (2015 : Online) ได้กล่าวว่า The KNVB Aacademy ในประเทศฮอลแลนด์น้ัน ไดก้ ำหนด ทฤษฏีในการฝกึ ซ้อมโดยแยกเปน็ ช่วงอายุในการฝึกซอ้ ม ไว้ดงั นี้ 1. ช่วงอายตุ ำ่ กวา่ 6 ปี ควรทจี่ ะเรยี นรู้ และฝกึ ในการควบคุมลกู ฟุตบอล 2. ชว่ งอายุตำ่ กวา่ 7 ปี ควรทจ่ี ะม่งุ เนน้ การกระทำไปกับลกู ฟุตบอล 3. ชว่ งอายตุ ำ่ กว่า 10 ปี ควรทีจ่ ะมงุ่ เนน้ ในการเรยี นรู้เป้าหมายในการเลน่ 4. ชว่ งอายตุ ่ำกวา่ 12 ปี ควรทจ่ี ะมงุ่ เน้นการนำทักษะพื้นฐานมาใชใ้ นการเลน่ 5. ช่วงอายุตำ่ กวา่ 14 ปี ควรทีจ่ ะมุง่ เน้นการนำทักษะพน้ื ฐานมาใช้ในการเลน่ ใหเ้ ป็นทีม 6. ช่วงอายุตำ่ กว่า 16 ปี ควรท่ีจะมุ่งเน้นการเล่นเปน็ ทีม 7. ชว่ งอายตุ ำ่ กวา่ 18 ปี ควรที่จะมุง่ เนน้ การเรยี นร้กู ารแข่งขัน Jankoeski (2015 : Online) ได้กลา่ ววา่ หลักการพัฒนา 5 ขั้นของแต่ละชว่ งอายุ มีดังน้ี 1. ช่วงอายุ 7 ปีขึน้ ไป ควรท่จี ะฝึกทกั ษะ และความสามารถในการเล่นฟุตบอล 2. ช่วงอายุ 8 ปีข้ึนไป ควรทจ่ี ะฝึกเกมในพื้นทีข่ นาดเล็ก 3. ชว่ งอายุ 10 ปีข้นึ ไป ควรที่จะฝึกเกมในพนื้ ท่ีขนาดเล็ก ระหวา่ ง 5 ต่อ 5 คน หรือ 7 ต่อ 7 คน 4. ชว่ งอายุ 13 ปขี ึน้ ไป ควรท่จี ะฝึกเกมในพ้นื ท่ขี นาดเลก็ ระหวา่ ง 8 ตอ่ 8 คน 5. ชว่ งอายุ 14 ปขี นึ้ ไป ควรทีจ่ ะฝกึ การเล่น 11 ตอ่ 11 คน สรุปไดว้ า่ หลกั การฝึกกีฬาฟตุ บอลนนั้ จะตอ้ งคำนึงถึง ช่วงอายุ เทคนคิ ต่างๆที่ผู้ฝกึ ควรจะ ได้รับ ในการฝึกในแต่ละข้ันตอน โดยการฝึกจะแบ่งออกเป็น การรุกและการรับ การครอบครองบอล ซึ่งเป็น ปัจจัยสำคญั เพอ่ื ท่ีจะส่งเสริมใหผ้ ู้ทไ่ี ดร้ ับการฝกึ สามารถนำรปู แบบท่ีไดฝ้ ึกไปใช้ในสถานการณ์แขง่ ขันจริง เทคนคิ การฝึกกีฬาฟุตบอล เจริญ กระบวนรัตน์ (2554) ได้กล่าวฟุตบอล เป็นเกมการเล่นที่ต้องอาศัยทักษะเบื้องต้นมาก ท่ีสดุ และใชอ้ วัยวะเกือบทุกส่วนของร่างกาย นอกจากมือ และแขนเท่าน้นั การฝึกทักษะเบอ้ื งต้นทถี่ ูกวธิ ี เป็นสง่ิ สำคญั เพราะจะพฒั นาไปสู่ทกั ษะขน้ั สูงซ่ึงจะนำไปใชใ้ นการเล่นทีมต่อไป 1. การเคล่อื นไหว และการทรงตวั (Movement and Body Balance) เป็นสิ่งสำคัญในการเตรียมร่างกายสำหรับการเล่นฟุตบอล เพ่ือให้ผู้เล่นเกิดความตื่นตัว และ คล่องตัวในการเล่น ถ้าหากการฝึกท่าทางในการเคลื่อนไหวทำไดอ้ ย่างถูกต้องแล้ว จะทำใหก้ ารเล่น และ คมู่ อื การพฒั นาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ
55 การครอบคลองลูกบอลไดด้ ี การเคลอ่ื นไหวและการทรงตัวน้นั มีดงั นีค้ ือ การเคลอ่ื นไปในทิศทาง ข้างหน้า ข้างหลัง ข้างซ้าย และขา้ งขวา ดว้ ยท่าทางตา่ งๆ เช่น การเดิน วงิ เหยาะ การวง่ิ ปานกลาง ว่งิ เร็ว กระโดด การว่ิงแล้วหยดุ การกลบั ตวั การวิ่งถอยหลงั สลบั เท้า การสไลดเ์ ทา้ ถอยหลัง และการสไลด์เทา้ ไปด้านข้าง ทง้ั ซ้าย และขวา เปน็ ต้น การเลน่ ฟตุ บอลส่วนใหญ่จะใช้เทา้ มากที่สุด จงึ ต้องมีการ ทรงตวั ทีด่ ี และอาศัย ความสัมพันธข์ องร่างกายคือการกางแขน แกวง่ แขน ประกอบด้วย 1.2 การสรา้ งจงั หวะในการเล่น (Timing) การสร้างจังหวะในการเล่นหมายถึง การสรา้ งความคุ้นเคยกับลูกบอลเป็นการสร้างจังหวะใน การเลน่ เพอ่ื ให้รนู้ ้ำหนกั จังหวะ และทศิ ทางของลกู ฟตุ บอล การสร้างความค้นุ เคยกบั ลกู บอลแบง่ ออกเปน็ 2 วิธดี ังนี้ 1.2.1 การสร้างความคุ้นเคยบนพ้ืนดิน หมายถึง การสร้างความเคยชิน กับลูกบอล โดย การบังคบั ลกู บอลในขณะอย่บู นพื้นดนิ ให้เคล่อื นทีไ่ ปในทิศทางท่ีต้องการ สามารถฝกึ ไดห้ ลายวธิ ี ดังนี้ 1.2.2 การสรา้ งจงั หวะด้วยฝ่าเท้า โดยการกระโดดใช้ฝ่าเท้าแตะลูกบอลอยู่กบั ท่ี สลับเท้า ซา้ ย และเท้าขวา 1.2.3 การสรา้ งจังหวะด้านฝา่ เทา้ โดยการยนื อยูก่ บั ที่ ใช้ฝ่าเท้าด้านขวาดงึ ลกู บอล เข้าหา ตัว แล้วใช้ขา้ งเทา้ ด้านในแปรลูกบอลไปทางเท้าซ้าย ใช้ฝา่ เท้าข้างซ้ายดงึ ลูกบอลเขา้ หาตัว ใชข้ ้างเท้าดา้ น ในแปลูกบอลไปยงั เท้าขวา ทำเชน่ นสี้ ลบั กันไป 1.2.4 กระโดดและใชฝ้ า่ เทา้ ดนั ลูกบอลเคลอ่ื นไปข้างหน้า สลับเท้าซา้ ย และเท้าขวา 1.2.5 กระโดดถอยหลงั ฝ่าเท้าดึงบอลกลบั ถอยหลังสลบั เทา้ ซ้ายและเท้าขวา 1.2.6 ใช้เทา้ ส่วนปลายคลึงลูกบอลหมนุ รอบตัวเอง 1.2.7 ใช้ข้างเท้าดา้ นในเลีย้ งลูกบอลไปมาให้บังคับลูกบอลใหอ้ ยู่ระหว่างเทา้ ทัง้ สองข้างอยู่ กับทหี่ รือเคลือ่ นทไ่ี ปข้างหน้า และถอยหลัง 1.2.8 ใชข้ า้ งเท้าด้านในเลย้ี งลกู บอลหมุนรอบตวั เอง 1.2.9 ใช้ขา้ งเท้าด้านในเลี้ยงลูกบอลซกิ แซก็ ไปข้างหนา้ ด้วยเท้าซ้าย และเท้าขวา 1.2.10 เลี้ยงลูกฟุตบอลดว้ ยหลงั เทา้ เคลอ่ื นท่ีไปข้างหน้าโดยให้เท้าแตะลูกบอลท้งั เทา้ ซา้ ย และเท้าขวา 1.2.11 ใชข้ ้างเท้าดา้ นนอก เล้ยี งลกู บอลหมนุ รอบตวั เอง 1.2.12 ใช้ข้างเท้าด้านนอกและข้างเท้าด้านในเล้ียงลูกบอลสลับข้างละ 1 ครั้ง หมุนรอบ ตัวเอง 1.3 การสร้างความคุ้นเคยกลางอากาศ หมายถึง การสร้างความเคยชินกับลูกบอล โดยการ บังคับลกู บอลในขณะอยู่บนกลางอากาศไม่ใหต้ กลงสพู่ ้นื ซงึ่ สามารถฝึกได้หลายวิธี ดงั น้ี 1.3.1 เคาะลูกฟุตบอลด้วยหลงั เทา้ ทลี ะข้าง และสลบั เท้าซา้ ยขวาโดยให้ปลายเทา้ เชดิ หรือ ชี้ขนึ้ เล็กน้อย 1.3.2 เดาะลกู ฟุตบอลด้วยเข่า โดยการใชห้ น้าขาส่วนกลางเดาะลูกบอลทลี ะขา้ ง และเดาะ สลบั ซ้ายขวา ระหวา่ งการเดาะลูกบอลต้องใหข้ าต้งั ฉาก ควรเดาะลูกบอลไม่ให้สงู เกินศรี ษะ ของผูเ้ ล่น 1.3.3 เดาะลูกฟุตบอลด้วยศีรษะ โดยใช้มือโยนลูกบอลขึ้นไปในอากาศ เหนือศีรษะสูงไม่ เกิน 2 ฟุต ย่อเข่าลงยืดตัวขึ้นใช้หน้าผากส่วนบนเดาะลูกบอล เพราะบริเวณหน้าผากเป็นจุดท่ีแข็งที่สุด ของศีรษะ คมู่ อื การพฒั นาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ
56 1.3.4 เดาะลูกฟุตบอลด้วยข้างเท้าดา้ นใน และดา้ นนอก 1.3.5 เดาะลูกฟุตบอลกับคู่ด้วยข้างเทา้ ด้านใน โดยมีผ้เู ล่น 2 คนต่อลูกบอล 1 ลูก ส่งลูก บอลให้คู่ไปมากลางอากาศหรือเล่นเป็นกลมุ่ อาจจะมากกวา่ 2 คนกไ็ ด้ 2. การส่งลูกฟุตบอล ความหมายการส่งลูกฟุตบอล (การเตะลูกฟุตบอล) การส่งลูกฟุตบอล (Kicking) การเตะลูกฟุตบอลเป็นทักษะพื้นฐานในการเล่นฟุตบอล ผู้เล่นจะต้องฝึกซ้อมให้เกิดความ ชำนาญเพื่อสง่ ลูกให้เพ่ือนร่วมทมี และเพอ่ื ให้เป็นการยิงประตู หลักการสง่ ลูกฟุตบอลมี 4 ประเภท ดังน้ี การสง่ ลูกเรยี ด มีจดุ ประสงคเ์ พอ่ื ใหส้ ง่ บอลให้เพอื่ นรว่ มทีม ในลักษณะของลกู บอลเรียดพืน้ ลูกบอลตอ้ งไม่ ลอยสูงหรอื กระดอน สง่ ใหเ้ พอื่ นรว่ มทีมรบั หรอื ครอบครองบอลไดง้ า่ ย ได้แก่ การส่งลกู เรียดด้วยหลังเทา้ วิธปี ฏิบตั ิ ยนื ให้เปน็ เส้นตรงกับลูกฟุตบอล (อยู่ขา้ งหลังลูกฟตุ บอล) เทา้ หลกั วางขนานกับลูกฟุตบอลห่าง ประมาณ 1 ฝ่ามือ ปลายเท้าหลักอยู่ก่ึงกลางของลูกฟุตบอล น้ำหนักอยู่ที่เท้าหลัก เท้าท่ี ใช้ในการเตะ ปลายเท้างุ้มยึดข้อเท้าให้นิ่ง ใช้หลังเท้าส่วนท่ีมีเชือกเส้นบนส่งลูก เข่างอยึดให้แน่นให้เข่าอยู่เหนือลูก ฟุตบอลเพ่อื ไมใ่ หล้ กู โดง่ หรอื ลอยขนึ้ ลำตัวโน้มไปข้างหนา้ ศรี ษะตรงก้มหนา้ ลงเล็กนอ้ ย ตาชำเลอื ง ดเู ปา้ หมาย และดลู กู บอลกอ่ นสง่ ลกู ฟตุ บอล แขนกางออกเลก็ นอ้ ยเพ่ือการทรงตวั ใชแ้ รงเหวีย่ งจากสะโพก ไมก่ ระตุกหรือสลดั ขอ้ เท้า เม่ือหลังเทา้ กระทบลกู ฟตุ บอลไปแลว้ ใหป้ ลอ่ ยตามไมเ่ กรง็ การสง่ ลกู เรยี ดด้วยข้างเท้าด้านใน อทุ ัย สงวนพงษ์ (2553) ได้กล่าวว่า การส่งลกู ฟุตบอลดว้ ยขา้ งเทา้ ด้านในอาจเรยี กอกี อยา่ งหน่ึง วา่ ลูกแป เป็นการการเตะที่ง่าย ส่งลูกฟุตบอลมีความแน่นอน แม่นยำ ส่งได้ทุกโอกาส ทุกสถานการณ์ ไม่วา่ ลูกฟตุ บอลนัน้ จะอย่บู นพ้ืนหรือลอยในอากาศ แล้วแต่ความต้องการของผู้ส่งแต่ต้องเป็นระยะส้ันๆ เชน่ การส่งหรือยงิ ประตโู ดยเฉพาะระยะทีไ่ ด้ผลแน่นอน และแม่นยำ เกยี รตศิ กั ดิ์ เสนาเมือง (2554 : ออนไลน)์ ได้กล่าวว่า การส่งลูกฟตุ บอลด้วยขา้ งเท้าด้านในหรือ เรยี กว่า ลกู แป ในการแข่งขน้ั ฟตุ บอลการส่งลูกฟุตบอลด้วยข้างเท้าด้านในจะใช้อยู่เป็นประจำ เพราะว่า เป็นการสง่ ท่แี มน่ ยำ และรวดเรว็ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ การส่งดว้ ยขา้ งเท้าด้านในเปน็ ทักษะเบอื้ งต้นทีใ่ ชม้ ากทสี่ ดุ ในการเลน่ ฟตุ บอล เพราะขา้ งเท้าด้าน ในเป็นส่วนท่ีกว้างท่ีสุดของเท้าสามารถรับ และส่งลูกฟุตบอลได้อย่างแม่นยำ และแน่นอน ยืนให้เป็น เสน้ ตรงกับลูกฟตุ บอล โดยอย่ดู า้ นหลงั ของลูกฟตุ บอล เท้าหลักวางขนานกับลกู ฟุตบอล ปลายเทา้ ชต้ี รงไป ทางเป้าหมาย และห่างลูกฟุตบอลประมาณ 1 คืบเป็นอย่างน้อย เท้าท่ีใช้เตะให้แบะเข่าออกด้านข้าง ปลายเทา้ บิดออกช้ีขนานด้านข้าง ขอ้ เท้า ขอ้ เข่า ยดึ ให้แนน่ ใชแ้ รงเหวย่ี งขาจาก สะโพก (ทำใหม้ ลี ักษณะ คล้ายไม้ตกี อล์ฟ) ให้ฝ่าเท้าตรงขนานกับพื้น ใช้ข้างเท้าด้านในบรเิ วณเชือกผูก รองเท้า เส้นบนวัดลงมา ประมาณ 3 นิ้ว เตะลูกบอลบริเวณตรงกลางของลูกฟุตบอลเท้าไม่เกร็งปล่อย ตามสบาย ลำตัวตรงทิ้ง นำ้ หนักไปยังเท้าหลัก ศีรษะตรงก้มหน้าลงเล็กนอ้ ย ตาชำเลืองดูเปา้ หมาย และดูลูกบอลก่อนเตะลกู กาง แขนเลก็ น้อยเพ่อื การทรงตวั คู่มอื การพฒั นาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศ
57 การสง่ ลูกเรยี ดดว้ ยข้างเทา้ ด้านนอก วธิ ีปฏบิ ัติ ตาชำเลืองดผู ้รู ับหรอื ทิศทางทจ่ี ะสง่ ไปกอ่ นแล้วจงึ มองท่ลี ูกฟุตบอล เมือ่ จะเตะใหจ้ รดเทา้ ทไี่ มไ่ ด้ เตะอยู่ระดับเดียวกันกับลูกฟุตบอล ในลักษณะเอนตัวออกข้างนอกเล็กน้อย เพื่อช่วยในการทรงตัว น้ำหนักตัวอยู่บนเท้าที่เป็นหลัก ยกเท้าข้างหน้าที่ใช้เตะขึ้น งอเข่าเล็กน้อยแตะลูกด้วยข้างเท้าด้านนอก (ด้านน้ิวกอ้ ย) โดยการเหว่ยี งจากสะโพก เท้าทใี่ ช้เตะลกู ใชข้ ้างเทา้ ด้านนอก เตะลูกฟุตบอลบริเวณส่วนหลงั ของลูกฟุตบอลด้านในใกล้ตัว เมื่อเตะลูกฟุตบอลไปแล้วปล่อยเท้าตามไปด้วย การส่งลูกเรียดด้วยหัว รองเท้า และส้นเท้า การสง่ สองอยา่ งนีไ้ ม่ได้ใชบ้ ่อยนกั เพราะเปน็ ทักษะขนั้ สูงเหมาะสำหรบั ผู้เลน่ ทชี่ ำนาญ จะใช้กต็ ่อเมื่อจวนตัวหรือชิงจังหวะกับคตู่ ่อสู้ หรือส่งลกู ในระยะส้ันๆ สำหรบั การเตะด้วยส้นเท้าน้ันเป็น การหลอกล่อคู่ต่อสู้เพือ่ ลกู ฟุตบอลให้เพื่อนร่วมทีม ข้อเสียของการเตะลูกฟุตบอลทั้งสอง อยา่ งนี้คือ ไม่มี ความแน่นอน และความแม่นยำมนี ้อย การส่งลกู ช้อน การส่งลูกชอ้ นเป็นการสง่ ลูกโดง่ ข้ามศีรษะคูต่ ่อสูใ้ ห้ เพื่อนร่วมทมี ระยะไกล เช่น การตั้งเตะของกองหลงั การโยนลูกฟุตบอลเพอื่ เปลี่ยนทิศทางของการเล่น และการเตะมุม การส่งลกู ช้อนด้วยหลงั เท้า วธิ ีปฏิบตั ิ จรดเทา้ หลักห่างลกู ฟุตบอลพอประมาณให้ปลายเทา้ จรดต่ำกว่าลกู ฟตุ บอลเลก็ น้อย การยืนให้ ยืนเฉียงเป็นมุมประมาณ 45 องศา ทิ้งน้ำหนักตัวไปยังเท้าหลัก ตามองท่ีเป้าหมายก่อน และมองลูก ฟตุ บอล เท้าที่ใช้ส่งหลงั เท้าส่วนทตี ิดกับข้างเท้าด้านใน สัมผัสส่งลูกฟุตบอลให้อยไู่ ด้ลูกฟุตบอลมากที่สุด การเตะใช้แรงเหวี่ยงจากสะโพก หลังจากเตะลูกฟุตบอลออกไปแลว้ ให้ปล่อยเทา้ ที่เตะตามสบาย เหว่ียง แขนตามธรรมชาติ เงยหนา้ ข้ึนเพื่อให้ลุกลอยโดง่ ขึน้ การส่งลกู ไซด์โค้ง การสง่ ลูกไซด์โคง้ มีสองลักษณะ คอื การส่งดว้ ยข้างเท้าด้านใน และข้างเท้า ด้านนอก รวมถึงการเตะลูกชิพ (Chip) ซ่ึงเป็นการส่งลูกฟุตบอลข้ามศีรษะระยะใกล้ เป็นทักษะขั้นสูง สำหรับนกั กฬี าทมี่ คี วามชำนาญจงึ ไมข่ อกล่าวในที่น้ี การส่งลูกกลางอากาศ คอื การสง่ ลูกท่ีลอยมาในอากาศจังหวะเดียวโดยไม่ตกพน้ื เปน็ การเตะ คอ่ นข้างยาก เพราะผู้เล่นไม่มีเวลาจะหยดุ ลูกฟตุ บอลได้ ส่วนใหญ่จะใช้ในการยงิ ประตู และป้องกนั ประตู การสง่ ลกู กลางอากาศ มี 2 ลกั ษณะ ดังน้ี การสง่ ลกู ฮาลฟ์ วอลเลย์ (Half Valley) เปน็ การส่งด้วยหลังเทา้ ข้างเท้าด้านใน และข้างเท้าด้าน นอก การส่งลูกฮาล์ฟวอลเลย์ เป็นการส่งขณะท่ีลูกฟุตบอลลอยมาตรงตัวหรือข้างตัวเป็น การเตะใน ระยะใกลต้ ัว การส่งลูกฮาล์ฟวอลเลย์ด้วยหลังเท้าเป็นการส่งลูกกลางอากาศขณะที่ลูกฟุตบอลลอยมา ตรงหน้า สอยตามองท่ลี กุ บอล เทา้ หลกั ต้องวางใหพ้ อดีกบั ลูกทก่ี ำลงั จะตกลงมาปลายเทา้ หลัก ช้ตี รงไปยงั เป้าหมายท่จี ะส่ง เทา้ ท่ใี ช้สง่ ปลายเทา้ งุม้ งอเข่าเหวย่ี งขา โดยใช้แรงเหวีย่ งจากสะโพก ใช้หลงั เท้าเคาะลูก บอล ลำตวั ตรง ศรี ษะตรง เหวย่ี งแขนไปตามสบาย การส่งลกู ฮาล์ฟวอลเลยด์ ้วยข้างเท้าดา้ นในและการส่งลูกฮาล์ฟวอลเลยด์ ้วยข้างเท้า ด้านนอก เป็นการสง่ ลูกทีล่ อยมาทางด้านตรงหรอื ด้านข้าง วิธกี ารสง่ จะเหมือนกบั การสง่ ลกู กลางอากาศดว้ ยหลงั เท้า แตจ่ ะแตกต่างกนั ตรงท่ใี ช้เท้าสว่ นขา้ งเท้าดา้ นใน และสว่ นขา้ งเท้าดา้ นนอกเตะลูกบอล คู่มือการพัฒนาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลิศ
58 การสง่ ลกู วอลเลย์ วธิ ีปฏบิ ตั ิ เป็นการสง่ ลูกฟุตบอลดว้ ยหลงั เทา้ เตะขณะทล่ี ูกฟตุ บอลลอยมาด้านข้างของลำตัว และห่างจาก ลำตัวประมาณ 1 ช่วงแขน รอให้ลูกลอยต่ำลงมาระดับสะเอว เอยี งเข้าหาลูกฟุตบอล แล้วใช้หลังเทา้ เตะ ลูกฟุตบอลเหว่ียงขาไปข้างหน้าขนานกับพื้นโดยใช้แรงเหว่ียงจากสะโพก เข่าและข้อเท้า เอียงตัวไป ทางดา้ นเทา้ หลัก เหวี่ยงแขนไปตามสบาย การเตะแบบนใ้ี ช้สำหรบั การยิงประตุ แต่ไม่ควรใชใ้ นกานสกัด ก้ันเพราะเปน็ การส่งลกู ฟุตบอลท่ีไมแ่ นน่ อน โดยเฉพาะการเลน่ อยูห่ นา้ ประตูของทีมเราเอง การสง่ ลูกพรอ้ ม สำหรบั การส่งลกู พร้อม เราสามารถจะนำเอาวธิ กี ารเตะเกอื บทง้ั หมดทแ่ี นะนำมาแล้วมาใช้เตะ ได้ เพราะการส่งลูกพร้อมก็คือการส่งลูกที่กระทบพื้นแล้วกำลังจะกระดอนขึ้นมาคร้ัง แรกมีลักษณะ เหมอื นกับว่าเราจะหยดุ และจะส่งพร้อมกนั พอดี วิธปี ฏบิ ตั ิ หนั หน้าเขา้ หาทศิ ทางท่ีลกู ฟุตบอลลอยมา กะระยะใหด้ ีว่าลูกฟุตบอลจะตก ณ ท่ีใด จรดเท้าข้าง ท่ีไม่ได้ใชเ้ ตะใหพ้ อดีกบั ระยะทล่ี ูกฟุตบอลจะตก พรอ้ มกบั เหวีย่ งเท้าขา้ งทใี่ ช้เตะไปข้างหลังการเหวยี่ งเท้า ให้เหวี่ยงจากสะโพก การส่งมี 2 วธิ ี คอื การส่งด้วยหลังเท้า และการสง่ ด้วยขา้ งเท้าด้านใน ถา้ สง่ ด้วยหลัง เท้าให้งุ้มปลายเท้า งอเข่าให้ส่วนหลังของเท้าส่งลูกบอลในจังหวะท่ีลูกฟุตบอล กระดอนขึ้นจากพ้ืน ถ้าต้องการให้ลูกฟุตบอลลอยสูงไปในอากาศ ใหใ้ ชเ้ ทา้ ส่งลูกฟุตบอลทางด้านหลัง คอ่ นลงข้างล่างเลก็ น้อย ถา้ ตอ้ งการใหล้ ูกฟตุ บอลพงุ่ ไปต่ำหรือให้กลงิ้ ไปกบั พืน้ ใหใ้ ชเ้ ท้าส่งลูกฟุตบอลดา้ นหลงั กอ่ นขนึ้ ขา้ งเท้าด้าน ในสง่ ลกู ฟตุ บอลตามส่วนทต่ี ้องการแลว้ แตจ่ ะใหล้ ูกฟุตบอลไปสงู หรือตำ่ ไป ดงั กล่าวแล้ว สำหรบั การสง่ ลูก พร้อมทนี่ ยิ มใชม้ ากท่ีสุด คอื การส่งดว้ ยหลังเทา้ สรุปไดว้ า่ การสง่ ลกู ฟตุ บอลนน้ั มหี ลายแบบ หลายลักษณะไม่วา่ จะเป็นการสง่ ด้วยหลงั เท้า การสง่ ดว้ ยขา้ งเทา้ ด้านใน ข้างเทา้ ดา้ นนอก แตก่ ารส่งทีด่ ที ่ีสุด สามารถทำให้ผเู้ ตะ ส่งไดแ้ ม่นยำ และรวดเรว็ คือ การส่งด้วยข้างเท้าดา้ นในซ่ึงเป็นทกั ษะท่ีใช้ในการแขง่ ขันกฬี าฟุตบอลมากที่สุดไม่วา่ ลูกฟุตบอลจะมาใน ระดบั ใดก็ตาม 3. การรับลกู ฟตุ บอล ความหมายการรับลูกฟุตบอล การรบั ลูกฟุตบอล หมายถึง การบังคับลูกฟุตบอลให้อยู่ในการ ครอบครองเพ่อื จะเลน่ ต่อไป การรบั ลูกฟตุ บอลเปน็ ทกั ษะทมี่ ีความสำคญั มากในการเล่นฟตุ บอลเพราะเปน็ ทักษะท่ีใช้มากท่ีสุด ใน การแข่งขันหรือการฝึกซ้อม การรับลูกฟุตบอลแต่ละครั้งนักฟุตบอลต้องคิด ลว่ งหน้าก่อนวา่ จะการรบั ลูกฟุตบอลเพื่ออะไร เช่น หยุดลูกบอลเพ่อื ครอบครอง หยุดลุกบอลเพื่อส่งให้ เพื่อนรว่ มทีม และหยุด ลูกบอลเพ่ือยิงประตู แล้วจึงบังคบั ลูกบอลให้เปน็ ไปตามความตอ้ งการ ในการรับ ลกู ฟุตบอลนักฟุตบอล ควรจะหยดลูกบอลให้มีจำนวนครั้งท่ีนอ้ ยทีส่ ุด และเล่นตอ่ ไปอย่างรวดเร็ว ไม่ควร การรับลกู ฟุตบอลหลายครง้ั เพราะจะทำใหค้ ่ตู อ่ สู่เขา้ แย่งบอลได้ หลกั การฝึกการรบั ลูกฟตุ บอล หลกั การฝกึ การรบั ลูกฟุตบอลแบง่ ออกเป็นลักษณะดงั น้ี การรับลกู เรียดทก่ี ลงิ้ มากบั พน้ื มีวิธีการหยดุ ลูกเรยี ดไดห้ ลายวธิ ี ดังนี้ ค่มู ือการพัฒนาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ
59 การรับลูกฟตุ บอลดว้ ยฝ่าเท้า วิธปี ฏิบตั ิ เมอ่ื ลกู ฟตุ บอลส่งเรียดมากบั พืน้ จดั ลำตัวให้ตรงกับทิศทางท่ีลูกบอลลอยมา ยกฝ่าเท้าข้างท่ีจะ หยดลกู ฟุตบอลขึ้นให้ปลายเท้าช้ขี ้ึนบนส้นเท้าสงู จากพ้ืนประมาณ 3 นิ้ว ย่อตัวลง และกางแขนออก โน้ม ตวั ไปขา้ งหน้าตามองลูกฟุตบอลตลอดเวลา เขา่ ของเท้าที่จะหยุดลูกฟุตบอลเล็กนอ้ ย เม่ือลูกฟุตบอลผ่าน มาอยู่ใต้ฝ่าเท้าให้ใช้เท้าประกบลูกฟุตบอลไว้กับพ้ืน โดยกดปลายเท้าลงเบาๆ พร้อมกับเหยียดขาลง เล็กนอ้ ย ถ้าลกู ฟตุ บอลถูกสง่ มาดว้ ยความเรว็ มาก เม่อื การรับลกู ฟุตบอลแล้วให้ ผ่อนเท้าตามความเรว็ ของ ลกู ฟตุ บอลเพ่อื ใหล้ กู ฟุตบอลอยู่ในครอบครองไมก่ ระดอนออกไป การรบั ลกู ฟุตบอลด้วยข้างเท้าด้านใน เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง (2554 : ออนไลน)์ ได้กลา่ วว่า การรับลูกฟุตบอลด้วยข้างเท้าดา้ นใน ถือ วา่ มคี วาม จำเปน็ อย่างยิ่งในการรับลกู ฟุตบอลทีม่ าเรว็ แรง ขา้ งเทา้ ด้านในจะสามารถผ่อนแรงกระแทกได้ และในการเล่นกฬี าฟตุ บอลการรับบอลดว้ ยข้างเท้าด้านในจะใชบ้ ่อยมากในการเล่นกีฬาฟุตบอล วิธปี ฏิบตั ิ เมอ่ื ลกู ฟตุ บอลกล้งิ มากบั พื้นให้หันหน้าเข้าหาลูกฟตุ บอลหรือว่ิงเข้าหาลูกฟุตบอล สายตามองดู ลกู บอลจรดเท้าข้างท่ีไม่ใช้หยุดลูกบอลลงบนพื้น ให้ปลายเท้าตรงไปข้างหน้า ยกเท้าขา้ งทจ่ี ะใช้หยุดลูก ฟุตบอลขึ้นจากพื้นเล็กน้อย หันปลายเท้าออกข้างนอก ขณะท่ีลูกฟุตบอลเคล่ือนใกล้เข้ามา ในระยะทพี่ อจะหยุดได้แลว้ ใหเ้ หยยี ดเท้าข้างทจ่ี ะใชห้ ยดุ ออกไปรบลกู ฟตุ บอลดว้ ยข้างเท้าด้านใน ขณะท่ี ลูกฟุตบอลกระทบเท้าให้ดึงหรอื ผอ่ นเท้ากลับมาข้างหลัง ผ่อนตามความแรงของลูกฟุตบอล โดยเร็วการ ปฏบิ ัติดังกล่าวจะทำให้ลกู ฟุตบอลอยู่ในครอบครองของเท้า และไม่กระดอนออกไปห่างจากตวั วธิ ีนี้นยิ ม ใช้มากท่ีสดุ ในการหยดุ ลูกฟตุ บอลเพราะมีความแม่นยำ และแนน่ อน การรับลกู ฟตุ บอลดว้ ยข้างเทา้ ดา้ นนอก วธิ ีปฏิบตั ิ สายตามองลูกฟุตบอล ถา้ ลกู ฟุตบอลกล้ิงมาทางข้างเท้าที่ไม่ถนัด ให้ใชข้ ้างเท้าด้าน นอกที่เรา ถนัดการรับลกู ฟุตบอล โดยการย่ืนข้างเทา้ ด้านนอกเข้าหาลกู ฟุตบอล เมือ่ เท้าสัมผสั ลูกฟตุ บอลใหผ้ อ่ นเท้า ตามลูกฟตุ บอลไป หรอื เตะลูกฟตุ บอลไปตามทิศทางทีเ่ ราต้องการกไ็ ด้ การกะระยะความเร็ว และทิศทาง ของลูกบอลเป็นส่ิงจำเป็นมาก การรับลูกฟุตบอลตรงกลางลูกฟตุ บอลจะทำให้ลกู ฟุตบอลไม่กระดอนข้ึน สำหรับการรับลูกเรียดด้วยหลังเท้าน้ันไม่ค่อยนิยมใช้ เพราะเป็นการหยุดท่ีไม่แน่นอน และไม่แม่นยำ อาจจะทำใหเ้ กดิ ความผิดพลาดได้ การรับลูกฟตุ บอลกลางอากาศ การหยุดลูกฟตุ บอลท่ีลอยโดง่ มากลาง อากาศผู้เล่นจะต้องว่ิงเข้าไปเพื่อครอบครองลูกฟุตบอลโดยเร็ว ก่อนลูกฟุตบอลตกลงสู่พ้ืน การหยุดลูก ฟตุ บอลกลางอากาศ สามารถหยุดได้ 6 ลักษณะดังน้ี การรับลกู ฟตุ บอลกลางอากาศด้วยหลังเทา้ วธิ ีปฏิบัติ หนั หน้าเขา้ หาทิศทางท่ีลกู ฟุตบอลลอยมา ยกเท้าขน้ึ รบั ลกู ฟุตบอลในจงั หวะทีล่ ูก ฟุตบอลกำลัง จะตกลงสู่พ้ืน เมือ่ ลูกบอลสัมผัสหลังเท้าให้รีบผ่อนเท้าลงโดยเร็วตามความแรงของลกู ฟุตบอลที่มา โดย ผ่อนเท้าดึงลูกบอลลงสพู้ น้ื เพือ่ เตรียมแล่นต่อไป คู่มอื การพัฒนาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศ
60 การรบั ลูกฟตุ บอลกลางอากาศด้วยขา้ งเท้าดา้ นใน วธิ ปี ฏบิ ัติ การรับลูกฟุตบอลที่ลอยมาในอากาศด้วยข้างเท้าด้านในเป็นการหยุดขณะลกู ฟุตบอลอยู่กลาง อากาศ โดยไม่ปล่อยใหล้ ูกฟุตบอลตกลงสู่พ้ืนซ่งึ ลกู ฟุตบอลอาจจะพ่งุ มาสูงในระดับเข่าหรือสูงกว่าระดับ เขา่ การรับลูกวธิ ีนี้จะต้องปฏบิ ัติ ดังน้ี หันหน้าเข้าหาลูกฟุตบอลตามทิศทางท่ีลูกพุ่งมาตามองท่ีลูกฟุตบอล งอเข่าของเท้าข้างทไี่ มใ่ ช้ หยดุ ลกู ฟตุ บอลลงเล็กนอ้ ย กางแขนออกเพื่อช่วยในการทรงตวั เมอ่ื ลกู ฟุตบอลพุ่งมาได้ระยะหยดุ ลกู ใหย้ ก เทา้ ขน้ึ บดิ ปลายเทา้ ออกเทา้ ออกข้างนอกลำตัว ความสงู ของเท้าข้นึ อยู่กบั ความสูงของลูกฟุตบอลที่ลอยมา ใช้ฝ่าเท้าดา้ นในรับลูกฟตุ บอล เมื่อลูกฟุตบอลสัมผัสเท้า ให้ดึงเท้าสลับมาข้างหลังเพื่อให้ลูกฟุตบอลลงสู่ พน้ื แล้วใช้เท้าประกบลกู ฟตุ บอลอีกครัง้ หน่ึงเพ่อื ให้ลูกฟุตบอลอยใู่ นครอบครอง การรบั ลูกฟตุ บอลกลางอากาศด้วยข้างเทา้ ด้านนอก วธิ ปี ฏิบัติ ให้หันหน้าเข้าหาลูกฟุตบอล สายตาดูลูกฟุตบอลตลอดเวลา ต้องทรงตัวให้ดีโดยการกางแขน ออก ย่อตัวเล็กน้อย ใช้เท้าข้างท่ีไม่หยุดลูกฟุตบอลเป็นเท้าหลักและรับน้ำหนักตัวให้ลูกฟุตบอลลอยมา ทางด้านตรงข้ามกบั เท้าข้างท่ีจะใช้หยุดลูกฟุตบอล ยกเท้าขา้ งที่จะใชห้ ยดุ ลกู ฟตุ บอล ไปรับลูกฟุตบอลที่ ลอยมากลางอากาศ โดยใชข้ า้ งเท้าด้านนอกประคองลกู ฟุตบอลลงสูพ่ ้นื เบาๆ เมอื่ ลูกฟุตบอลสัมผัสเทา้ ให้ ผ่อนเทา้ ตามความแรงของลูกฟุตบอลหลงั จากลกู ฟตุ บอลลงสพู่ ื้นให้ใช้เท้าประกบลูกฟุตบอลอกี คร้ังเพื่อให้ ลูกฟุตบอลอยใู่ นครอบครอง การรับลูกฟุตบอลกลางอากาศดว้ ยเขา่ หรอื หนา้ ขา วธิ ีปฏบิ ัติ หนั หน้าเข้าหาลูกฟุตบอลตามทิศทางทลี่ ูกฟุตบอลลอยมา สายตามองดูลูกฟุตบอลตลอดเวลา ทรงตวั ให้ดีโดยการกางแขนท้ังสองออก วางเท้าข้างที่เป็นหลักลงกับพ้ืน งอเขา่ เล็กน้อย เม่ือลูกฟุตบอล ลอยมาในระยะที่จะหยุดได้แล้ว ให้ยกเขา่ ขา้ งทจ่ี ะหยุดลูกฟตุ บอลข้ึน ใหข้ าท่อนบนเกอื บขนานกบั พ้นื ขา ท่อนล่างทำมุมกับเข่าประมาณ 90 องศา ใช้หน้าขา คือ บริเวณเหนือเข่าขึ้นมาเล็กน้อยรับลูกฟุตบอล ในขณะทีล่ กู ฟุตบอลสัมผสั กับหน้าขาให้ผอ่ นเทา้ ลงตามแรงของลกู ฟุตบอล เพ่ือให้ลูกฟุตบอลลงสู่พน้ื แล้ว เตรียมเลน่ ต่อไป การรบั ลกู ฟุตบอลกลางอากาศดว้ ยหน้าอก วธิ ีปฏบิ ัติ หันหน้าเข้าหาลูกฟุตบอล สายตามองดลู ูกฟุตบอลตลอดเวลา เท้าท่ีเป็นหลักจะยืนขนานหรือ เท้าใดเท้าหน่ึงอยู่หนา้ อกี เท้าหน่ึงกไ็ ด้ ให้ยกตัวขนึ้ ทันทีเม่ือลูกฟตุ บอลกำลังลอยมาเกอื บจะกระทบหนา้ อก โดยเกร็งกล้ามเน้ือส่วนอก และย่อเข่า ขณะท่ีลูกฟุตบอลสัมผัสหน้าอกให้ผ่อนตัวลง (แบบเอนหลัง) พยายามทำให้หน้าอกเป็นร่องหรือแงในการับลูกฟุตบอล กางแขนออก งอเข่าเล็กน้อย และผ่อนตัวลง ทนั ทีเมือ่ ลกู บอลกระทบหนา้ อก ปลอ่ ยลกู ฟตุ บอลลงสูพ่ ้ืนแลว้ เตรยี มเล่นตอ่ ไป การหยุดลกู ฟุตบอลกลางอากาศด้วยศีรษะ วิธีปฏิบตั ิ เมอ่ื ลูกฟุตบอลมาสูง ผ้เู ลน่ ไม่สามารถหยุดลูกฟุตบอลด้วยเท้าหรือด้วยวธิ ีอนื่ ได และก็เป็นการ สุดวิสัยท่ีจะสามารถใช้เท้ายกข้ึนไปรับลูกฟุตบอล แต่ผู้เล่นก็สามารถที่จะใช้ศีรษะรับลูกฟุตบอลได้ คมู่ ือการพัฒนาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลศิ
61 การหยุดลูกฟุตบอลด้วยศีรษะใช้ในการหยุดเพื่อยิงประตูหรือเปล่ียนทิศทาง หรือเพื่อใช้ในการโหม่ง กระแทกอีกครัง้ หนึ่ง รวมท้ังหยดุ เพ่ือส่งลูกฟุตบอลต่อไปก็ได้ วิธีการหยุดลูกฟุตบอลด้วยศีรษะมีลักษณะ การกระทำเช่นเดยี วกันกบั โหม่งลกู ฟุตบอลแตเ่ ปล่ยี นเป็นการหยุดด้วยศีรษะ ซึง่ ปฏิบตั ิได้ ดังนี้ ตามองดทู ี่ลกู ฟุตบอล (ขณะลูกฟุตบอลลอยมา) เท้าใดเท้าหนึ่งอยู่ข้างหน้าหรือเท้าขนานกันก็ได้ ยดื ตัว เงยหน้าขึ้นเม่อื ลกู ฟตุ บอลกระทบหนา้ ผาก ให้ย่อตัวลงหรอื อาจจะกระโดดขึ้นหยุดกไ็ ด้ ลำคอเกร็ง อย่าใหศ้ ีรษะเงยไปข้างหลังหรอื กระแทกไปขา้ งหนา้ เมอ่ื ลกู ฟตุ บอลสมั ผสั ศรี ษะใหย้ ่อตวั ผอ่ นลูกฟตุ บอลลง พืน้ มือท้ังสองยกขึ้นไปฝ่ามอื อยู่ในระดับใบหูท้ังสองข้าง เพื่อป้องกันการกระแทกจากคู่ต่อสู้ การรับลูก ฟตุ บอลพร้อมเปน็ การรับลกู ฟุตบอลในกรณที ผี่ ู้เล่นไมส่ ามารถหยุดลกู ฟุตบอลกลางอากาศได้ ลกู ฟุตบอล ตกลงสู่พ้ืนพอดีให้ใช้การหยดุ ด้วยลกู ฟุตบอลพร้อม ซึ่งหยุดได้ 3 วธิ ีหยุด ด้วยฝ่าเท้าข้างเท้าด้านใน และ ขา้ งเท้าดา้ นนอก การรบั ลกู ฟตุ บอลพรอ้ มดว้ ยฝ่าเท้าข้างเท้าด้านใน และขา้ งเท้าด้านนอก วธิ ปี ฏบิ ตั ิ ตามองลูกฟุตบอลทลี่ อยมาตลอดเวลา วิง่ เข้าหาลูกฟุตบอล เม่ือลูกฟตุ บอลตกลงสู่พื้นให้ใช้ฝ่า เทา้ ประกบลงบนลูกฟุตบอลทนั ที โดยผ่อนเท้ามาทางด้านหลงั เท้าที่หยุดลกู ฟุตบอลใหย้ ่ืนไปขา้ งหน้า โดย ให้กับรองเท้าช้ีข้ึนบนส้นเท้าสูงจากพ้ืนเล็กน้อยให้ฝ่าเท้าทำมุมกับพื้นประมาณ 45 องศา กางแขนออก เพอ่ื ใหก้ ารทรงตัว สว่ นการหยุดลูกฟุตบอลพรอ้ มดว้ ยขา้ เทา้ ด้านใน และข้างเท้าด้านนอกในกรณที ลี่ กู ลอย มาตกด้านข้างทั้งด้านขวา และด้านซ้ายของลำตัวให้หยุดด้วยข้างเท้าท้ังด้านใน และด้านนอกตามถนัด ปฏิบัตแิ บบเดียวกันกับการรับลูกฟุตบอลพร้อมด้วยฝ่าเท้าแตใ่ ห้ใชข้ ้างเทา้ ด้านใน และด้านนอกตามถนัด ให้ปฏิบัติแบบเดียวกันกับการรับลกู ฟุตบอลพร้อมด้วยฝ่าเท้าแต่ให้ใช้ข้างเท้าด้านใน และด้านนอกหยุด เทา่ น้ัน การรับลกู ฟตุ บอลกระดอน เปน็ การรบั ลกู ฟตุ บอลเมอ่ื ลกู ฟตุ บอลลอยมาแล้วตกลงส่พู น้ื ข้างหนา้ ซ่ึงผู้เล่นไม่สามารถวงิ่ ไปหยุดลูกบอลด้วยวิธีอนื่ ได้ ผ้เู ล่นสามารถใช้หน้าขา หน้าท้อง หน้าอก และศีรษะ เขา้ หยุดลูกฟุตบอลไม่วา่ ลกู ฟุตบอลจะลอยมาในทิศทางใด ใช้อวยั วะดงั กล่าวเข้า ครอบครองลูกฟุตบอล และนำลกู บอลไปเล่นได้ การหยุดลกู กระดอนนีห้ ากผู้เลน่ รอรับลกู ฟุตบอลทตี่ ก ลงพืน้ แลว้ กระดอนขน้ึ ให้ หยดุ ลกู ฟตุ บอลในลกั ษณะเดียวกันกบั การหยุดลูกฟตุ บอลกลางอากาศ ทั้งนี้ ข้นึ อยู่กบั สถานการณน์ ้ันๆ การรับลูกฟตุ บอลด้วยหน้าทอ้ ง วิธีปฏิบัติ วิ่งเขา้ หาลกู ฟุตบอลทล่ี อยมากลางอากาศ ตามองลูกฟตุ บอลตลอดเวลา เมือ่ ลูก ฟุตบอลตกลงสู่ พืน้ และกำลังกระดอนขึ้นให้ว่ิงเข้าไปใช้หน้าท้องปะทะลูกฟุตบอล โดยเกร็งหน้าทอ้ งเล็กน้อยแลว้ นำลูก ฟตุ บอลไปขา้ งหน้าอยา่ งรวดเร็วเพื่อหลกี หนคี ู่ตอ่ สู้ แขนทง้ั สองกางออกเพ่ือการทรงตัว และปอ้ งกันค่ตู อ่ สู้ เขา้ แยง่ ลกู ฟตุ บอล การหยุดด้วยหน้าขา หนา้ อก และศีรษะกใ็ หป้ ฏิบตั ิ เชน่ เดยี วกันกับการรับลกู ฟุตบอล ดว้ ยหนา้ ท้อง สรุปได้วา่ การรับลกู ฟุตบอลมีหลายแบบ ไม่ว่าจะเป็นการรบั ลูกฟตุ บอลด้วยข้างเท้าด้านนอก การรบั ลกู ฟุตบอลดว้ ยขา้ งเทา้ ดา้ นใน การรับลูกฟตุ บอลดว้ ยหลงั เทา้ การรบั ลกู ฟุตบอลด้วยฝ่าเท้า เป็นตน้ แตท่ ักษะทส่ี ามารถรับลกู ฟุตบอลได้ในทุกรปู แบบไมว่ า่ จะเปน็ ลูกโด่ง ลูกเรียด ลกู กระดอน หรอื ลูกที่มาเร็ว และแรง คอื การรับลกู ฟุตบอลด้วยขา้ งเทา้ ด้านใน ค่มู อื การพัฒนาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ
62 สิง่ ทีโ่ ค้ชควรระวัง กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา (2555 : 33-34) ได้ใหข้ อ้ เสนอแนะไว้ ดงั น้ี • ลูกฟุตบอลท่ีใช้กับเด็กเล็กจะไม่ใช่ลูกฟุตบอลอย่างเดียวกันกับของผู้ใหญ่ ดังนั้น จึงต้อง ดัดแปลงการฝึก/เกมใหเ้ หมาะสมกับเด็กเล็ก • บริเวณทใ่ี ช้ฝึก - สนามที่เลก็ กว่าไม่จำเป็นตอ้ งมกี ารปะทะกนั ท่รี ุนแรงมากนัก • จำนวนนักกีฬา - จำนวนผู้เล่นที่น้อยกว่าในสนามท่ีเล็กกวา่ หมายความว่า ผเู้ ล่นแต่ละคนต้อง สัมผัสลกู บอล มากข้ึน • ขนาดของประตู - ขนาดของประตทู ี่เลก็ ลง ทำใหเ้ ด็กทเ่ี ป็นผู้รักษาประตูป้องกันประตไู ดม้ ากขน้ึ • อปุ กรณ์ - ขนาดของลูกฟุตบอลท่ีเหมาะสมสำหรบั เดก็ ท่อี ายุต่ำกว่า 12 ปี คือ เบอร์ 4 • ความเขม้ ขน้ ในการฝกึ - ไม่ต้องซ้ำแล้วซ้ำอกี มากนัก มเี วลาพักฟน้ื ตัวมากขน้ึ ในระหวา่ งการซ้อม และการแข่งขนั • กฎของการเลน่ - ใช้กฎง่ายๆ เช่น ไม่มีล้ำหน้า เปิดโอกาสให้นักกีฬาทุกคนได้เปล่ียนตัวลงไปเล่น เป็นเวลา เทา่ ๆ กันดว้ ย • เปิดโอกาสให้เรียนรจู้ ากการเล่น - ไมต่ อ้ งสอนมาก • นักกีฬาที่อายุน้อยจะมีพัฒนาการในระดับท่ีแตกต่างกัน ดังนั้น ต้องฝึกสอนพวกเขา ให้ เหมาะสม ถงึ แม้จะอย่ใู นกลมุ่ อายเุ ดยี วกนั ก็ตาม • ตอ้ งมุ่งใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทางการเล่น ไมใ่ ช่มงุ่ ท่ีผลแพห้ รือชนะในแต่ละเกมทฝี่ กึ ฝน โค้ชควรจะ • เริ่มฝกึ ด้วยการเนน้ ไปทกี่ ารเรียน/การพัฒนา แลว้ จึงมุ่งไปทีก่ ารแข่งขนั /ชัยชนะ เมอื่ พวกเขา ค่อยๆ โตขน้ึ • เริ่มฝึกแบบง่ายๆ สนุก เกมยอ่ ย แล้วเพ่ิมไปทฝ่ี กึ เพ่ือการแขง่ ขันให้มากขนึ้ แบบเตม็ ทมี (Full Squad) ให้มากขึน้ เม่ือพวกเขาค่อยๆ โตขึ้น • เริ่มฝึกเทคนิคง่ายๆ ทักษะงา่ ยๆ แทคติคสว่ นตัว แทคติคเป็นกลุม่ และแทคติค เป็นทีมเมื่อ พวกเขาค่อยๆ โตขึ้น • เริ่มฝึก Balance Co-ordination และความคล่องตัว แล้วเพิ่มไปฝึกความแข็งแรง ของ ร่างกายใหม้ ากข้ึน เมอื่ พวกเขาค่อยๆ โตขนึ้ โค้ชควรจะ • ต้องเข้าใจว่าเดก็ เลก็ เรียนรู้ไดอ้ ย่างไร เชน่ มองเห็นได้ด้วยตา (สังเกต) ได้ยินเสยี ง (ฟงั ) และท่ี เปน็ ผลดที ส่ี ดุ คือ ลงมอื ปฏิบัติ ฝกึ ปฏิบตั ิ ฝึกการเลยี นแบบ ทดลองแบบต่างๆ คูม่ ือการพฒั นาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลศิ
63 • ฝึกซ้อมแบบง่ายๆ ฝึกซ้อมหลายๆแบบ แบบฝึกซ้อมให้มีความน่าสนใจ และฝึกให้มี ความกา้ วหน้า (ความก้าวหนา้ ในการวางแผน) • พดู ให้น้อย และสาธติ /แสดงให้ดใู ห้มากในระหวา่ งการฝึกซ้อม • สอนเพียงแค่ 3 หรือ 4 จุดท่ีสำคญั ในการฝึกซอ้ มแตล่ ะคร้งั • ใชว้ ธิ ีการ “Show Me” หรอื “Tell Me” ในการแก้ไขปญั หา ถา้ นักกีฬาสงสัย โดยจะไม่สอน นักกฬี าทุกอย่าง เปดิ โอกาสให้นักกฬี าไดแ้ กไ้ ขปัญหาด้วยตัวเอง ให้นกั กีฬากลา้ ที่จะตดั สินใจ คอยกระตุ้น ใหน้ ักกฬี าคน้ พบวิธีการเล่นด้วยตวั เอง ให้นกั กฬี ามีสว่ นร่วมในเกมการแขง่ ขันแต่ละครง้ั • เข้าใจเนื้อหาที่ต้องฝึกซ้อม และท่ีสำคัญท่ีสุดเขา้ ใจกระบวนการในการสอนไปสู่ ผู้เล่นที่ยงั มี อายุนอ้ ย ข้อควรพิจารณา นอกเหนือไปจากกีฬาฟุตบอลแล้ว มีกีฬาชนิดอื่นอีกหรือไม่ ท่ีควรจะต้องสอนผู้เล่นท่ีกำลัง เจรญิ เติบโต คูม่ อื การพัฒนาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ
Search