Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ-ฟุตบอล

คู่มือ-ฟุตบอล

Published by Thawacchai Tibpan, 2021-12-06 08:27:42

Description: คู่มือ-ฟุตบอล

Search

Read the Text Version

0 คมู่ ือ การพัฒนาศกั ยภาพด้านกีฬาสูค่ วามเป็นเลิศของนักเรยี น โครงการสานฝนั การกฬี าสู่ระบบการศกึ ษาจงั หวัดชายแดนใต้ โรงเรยี นโพธิ์คีรีราชศึกษา โรงเรยี นโพธค์ิ ีรีราชศกึ ษา อำเภอโคกโพธิ์ จงั หวดั ปัตตานี สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 15

1 กฬี าฟุตบอล ประวัตกิ ีฬาฟตุ บอล ประวัติฟุตบอล (การกีฬาแห่งประเทศไทย, 2562 : ออนไลน์) กีฬาฟุตบอล (Football) หรือ ซอคเกอ้ ร์ (Soccer) เป็นกีฬาที่มผี ู้สนใจทจ่ี ะชมการแขง่ ขนั และเข้าร่วมเล่นมากท่สี ดุ ในโลก ชนชาตใิ ดเป็น ผกู้ ำเนิดกีฬาชนิดน้ีอย่างแท้จริงนั้นไม่อาจจะยืนยันได้แน่นอน เพราะแต่ละชนชาติตา่ งยืนยันว่าเกิดจาก ประเทศของตน แต่ในประเทศฝรั่งเศสและประเทศอิตาลี ได้มีการละเล่นชนิดหน่ึงท่ีเรียกว่า “ซูเลอ” (Soule) หรือจิโอโค เดล คาซิโอ (Gioco Del Calcio) มีลักษณะการเล่นที่คล้ายคลงึ กับกีฬาฟุตบอลใน ปจั จบุ ัน ทง้ั สองประเทศอาจจะถกเถียงกนั ว่ากีฬาฟตุ บอลถอื กำเนดิ จากประเทศของตน อันเป็นการหาข้อ ยุติไม่ได้ เพราะขาดหลักฐานยืนยันอย่างแท้จริง ดังน้ัน ประวัติของกีฬาฟุตบอลท่ีมีหลักฐานท่ีแท้จริง สามารถจะอ้างอิงได้ เพราะการเล่นที่มีกติกาการแข่งขันท่ีแน่นอน คือประเทศอังกฤษเพราะประเทศ องั กฤษตง้ั สมาคมฟุตบอลในปี พ.ศ. 2406 และฟุตบอลอาชีพขององั กฤษเกิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2431 ววิ ัฒนาการของฟตุ บอล ก่อนครสิ ตกาล – อ้างถงึ การเลน่ เกมซงึ่ เปรียบเสมือนตน้ ฉบบั ของกีฬาฟุตบอลท่ีเก่าแกท่ ่ีไดม้ กี าร คน้ พบจากการเขยี นภาษาญ่ีปุ่น-จนี และในสมยั วรรณคดีของกรีก และโรมนั ยุคกลาง – ประวัตบิ นั ทกึ การเล่นในเกาะองั กฤษ อติ าลี และฝรง่ั เศส ปี พ.ศ. 1857 – พระเจ้าเอ๊ดเวิร์ดท่ี 3 ทรงออกพระราชกฤษฎีกาห้ามเล่นฟุตบอล เพราะจะ รบกวนการยิงธนู ปี พ.ศ. 2104 – Richardo Custor อาจารย์สอนหนังสือชาวอังกฤษกล่าวถึงการเล่นว่า ควร กำหนดไวใ้ นบทเรียนของเยาวชน โดยไดร้ บั อทิ ธพิ ลจาการเลน่ กาลซโิ อในเมอื งฟลอเรน้ ท์ ปี พ.ศ. 2123 - Riovanni Party ไดจ้ ัดพมิ พก์ ตกิ ารการเลน่ คาลซิโอ ปี พ.ศ. 2223 - ฟุตบอลในประเทศองั กฤษไดร้ ับพระบรมราชานุเคราะหจ์ ากพระเจช้ ารล์ ที่ 2 ปี พ.ศ. 2391 - ได้มกี ารเขียนกฎขอ้ บังคบั เคมบริดจ์ขึ้นเปน็ ครัง้ แรก ปี พ.ศ. 2406 - ไดม้ กี ารก่อตั้งสมาคมฟุตบอลข้นึ ปี พ.ศ. 2426 - สมาคมฟุตบอลจักรภพ 4 แห่ง ยอมรับองค์กรควบคุม และจัดต้ังกรรมการ ระหว่างชาติ ปี พ.ศ. 2429 - สมาคมฟุตบอลเร่มิ ทำการฝกึ เจ้าหน้าที่ท่ีจัดการแขง่ ขัน ปี พ.ศ. 2431 - เร่ิมเปิดการแข่งขันฟุตบอลลีก โดยยินยอมให้มีนักฟุตบอลอาชีพ และเพิ่ม อำนาจการควบคมุ ให้ผู้ตัดสิน ปี พ.ศ. 2432 - สมาคมฟตุ บอลส่งทมี ไปแขง่ ขันในตา่ งประเทศ เชน่ เยอรมันไปเยือนองั กฤษ ปี พ.ศ. 2447 – ก่อตัง้ ฟฟี ่า ซึ่งมีสำนักงานอยู่ท่ีกรุงปารีส เม่ือ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 โดย สมาคมแห่งชาติคอื ฝรงั่ เศส เบลเยียม เดนมาร์ก สเปน สวเี ดน และสวติ เซอร์แลนด์ ปี พ.ศ. 2480 – 2481 -ข้อบังคบั ปจั จบุ นั เขียนข้ึนตามระบบใหม่ขององค์กรควบคุม โดยใช้ขอ้ บงั คับเก่ามา เปน็ แนวทาง คูม่ ือการพฒั นาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลศิ

2 ประวัติของกฬี าฟุตบอลในประเทศไทย กีฬาฟุตบอลในประเทศไทย ได้มีการเล่นต้ังแต่สมัย “พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว” รัชกาลท่ี 5 แห่งกรงุ รัตนโกสินทร์ เน่ืองจากสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ได้ส่งพระเจา้ ลูกยาเธอ พระเจ้าหลานยาเธอ และข้าราชบริพารไปศึกษาวิชาการด้านต่างๆ ที่ประเทศอังกฤษ และผู้ที่นำกีฬา ฟุตบอลกลับมายังประเทศไทยเป็นคนแรก คือ เจ้าพระยาธรรมศักดม์ิ นตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) หรือทปี่ ระชาชนชาวไทยมักเรียกชือ่ ส้ันๆ ว่า “ครูเทพ” ซึ่งทา่ นได้แต่ง “เพลงกราวกีฬา” ทพ่ี ร้อมไปดว้ ย เร่ืองน้ำใจนักกฬี าอย่างแทจ้ ริง เช่ือกันว่าเพลงกราวกีฬาท่ีครูเทพแตง่ ไว้น้ีจะต้องเปน็ “เพลงอมตะ” และ จะตอ้ งคงอยคู่ ฟู่ า้ ไทย พ.ศ. 2440 รชั กาลท่ี 5 ไดเ้ สดจ็ นิวัติพระนคร กีฬาฟุตบอลได้รับความสนใจมากขึ้นจากบรรดา ข้าราชการบรรดาครูอาจารย์ ตลอดจนชาวองั กฤษในประเทศไทย และผู้สนใจชาวไทยจำนวนมากข้นึ เป็น ลำดบั กอปรกับครูเทพไดเ้ พียรพยายามปลกู ฝงั การเลน่ ฟุตบอลในโรงเรยี นอย่างจรงิ จัง และแพรห่ ลายมาก ในโอกาสต่อมา พ.ศ. 2443 (รศ. 119) การแข่งขันฟุตบอลเปน็ ทางการคร้ังแรกของไทยไดเ้ กดิ ข้นึ เมือ่ วันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (รศ. 119) ณ สนามหลวง ซ่ึงเป็นสถานที่ออกกำลังกาย และประกอบงานพิธี ต่างๆ การแขง่ ขันฟุตบอลคู่ประวัติศาสตรข์ องไทย ระหว่าง “ชุดบางกอก” กบั “ชุดกรมศกึ ษาธกิ าร” จาก กระทรวงธรรมการหรอื เรยี กชือ่ การแขง่ ขนั คร้งั นวี้ า่ “การแขง่ ขันฟุตบอลตามขอ้ บงั คบั ของแอสโซซเิ อชั่น” สมัยก่อนเรียกว่า “แอสโซซิเอช่ันฟุตบอล” (ASSOCIATIONS FOOTBALL) สมัยปัจจุบันอาจเรียกได้ว่า “การแข่งขันฟุตบอลของสมาคม” หรอื “ฟตุ บอลสมาคม” ผลการแขง่ ขันฟตุ บอลนดั พเิ ศษดังกล่าวปรากฏ ว่า “ชุดกรมศึกษาธิการ” เสมอกับ “ชุดบางกอก” 2-2 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 พระองค์ทรงมีความสนพระทัยกีฬาฟตุ บอลเป็นอยา่ งยิ่งถึงกบั ทรงกีฬาฟตุ บอลเอง และทรงต้งั ทีมฟุตบอลสว่ นพระองค์ ช่ือทีม “เสอื ป่า” และได้เสด็จพระราชดำเนินประทับทอดพระเนตรการแข่งขัน ฟตุ บอลเป็นพระราชกิจวัตรเสมอมา และจากพระราชกิจวัตรของรชั กาลที่ 6 ทางดา้ นฟุตบอลนับไดว้ า่ เปน็ ยคุ ทองของไทยอยา่ งแทจ้ ริง อกี ท้ังยงั มกี ารเผยแพรข่ า่ วสาร หนังสือพมิ พ์ และบทความต่างๆ ดว้ ย รชั กาลที่ 6 ทรงมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการกอ่ ตงั้ สมาคมฟตุ บอลแห่งสยาม ดังนี้ 1. เพอื่ ใหผ้ เู้ ล่นฟตุ บอลมีพลานามัยทสี่ มบรู ณ์ 2. เพือ่ ก่อให้เกิดความสามัคคี 3. เพือ่ กอ่ ให้เกดิ ไหวพรบิ และเป็นกีฬาทปี่ ระหยดั ดี 4. เพ่อื เป็นการศกึ ษากลยทุ ธ์ในการรกุ และการรบั เชน่ เดียวกับกองทัพทหารหาญ จากวัตถปุ ระสงค์ดงั กล่าว นบั เป็นสิง่ ท่ผี ลกั ดันใหส้ มาคมฟตุ บอลแหง่ สยามดำเนินกิจการเจริญ กา้ วหน้ามาจนถึงทุกวันน้ี และกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูล ดังนี้ พ.ศ. 2458 (ร.ศ. 134) การแข่งขัน ระหว่างชาติคร้ังแรกของประเทศไทย เมื่อวันอังคารท่ี 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 ณ สนามราชกรีฑา สโมสร (สนามม้าปทมุ วนั ) ระหวา่ ง “ทีมชาติสยาม” กบั “ทมี ราชกรีฑาสโมสร” ตอ่ หนา้ พระทีน่ ั่ง และมี มร.ดักลาส โรเบริ ต์ สนั เป็นผ้ตู ัดสิน ซงึ่ ผลการแข่งขันปรากฏวา่ ทีมชาติสยาม ชนะ ทีมราชกรีฑาสโมสร 2- 1 ประตู (ครึ่งแรก 0-0) และคร้ังที่ 2 เม่ือวนั เสาร์ที่ 18 ธนั วาคม พ.ศ. 2458 เป็นการแข่งขันระหวา่ งชาติ นดั ท่ี 2 แบบเหย้าเยือนต่อหน้าพระท่นี ่ัง ณ สนามเสอื ป่าสวนดุสิต ผลปรากฏว่า ทีมชาติสยาม เสมอกับ ทมี ราชกรีฑาสโมสร หรอื ทีมรวมตา่ งชาติ 1-1 ประตู (คร่งึ แรก 0-0) คูม่ อื การพัฒนาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลศิ

3 สมาคมฟตุ บอลแห่งประเทศไทย (THE FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILAND) ววิ ัฒนาการของสมาคมฟตุ บอลแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ต้ังสมาคม ฟุตบอลแห่งสยามข้ึน เมือ่ วันท่ี 25 เมษายน พ.ศ. 2459 และตราข้อบังคับข้นึ ใช้ในสนามฟตุ บอลแหง่ สยาม ด้วย ซ่ึงมีชื่อย่อว่า ส.ฟ.ท. และเขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า “THE FOOTBALL ASSOCIATION OF THAILANDUNDER THE PATRONAGE OF HIS MAJESTY THE KING” ใช้อกั ษรย่อว่า F.A.T. และสมาคมไดจ้ ัดการแขง่ ขนั ถว้ ยใหญแ่ ละถว้ ยน้อยเป็นครั้งแรกในปีนด้ี ว้ ย พ.ศ. 2468 เป็นภาคีสมาชกิ สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ เม่ือวันท่ี 23 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2499 การแก้ไขเพิ่มเตมิ ขอ้ บังคบั ครั้งท่ี 3 และเรยี กวา่ ข้อบังคับ “ลักษณะปกครอง” พ.ศ. 2499 สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยได้สิทธิ์ส่งทีมฟุตบอลชาติไทยเข้าร่วมการแข่งขัน “กีฬาโอลิมปิก” ครั้งที่ 16 นับเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน เม่ือวันที่ 26 พฤศจกิ ายน พุทธศกั ราช 2499 ณ นครเมลเบิรน์ ประเทศออสเตรเลีย พ.ศ. 2500 เป็นภาคีสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย ซ่ึงมีช่ือย่อว่า A.F.C. และเขียนเป็น ภาษาอังกฤษว่า “ASIAN FOOTBALL CONFEDERATION” พ.ศ. 2501 มีการแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับ ลักษณะปกครอง ครั้งท่ี 4 พ.ศ. 2503 มีการแกไ้ ขเพ่มิ เติมขอ้ บงั คบั ลักษณะปกครอง คร้งั ที่ 5 พ.ศ. 2504- ปัจจุบนั สมาคมฟุตบอลแหง่ ประเทศไทยไดจ้ ดั การแขง่ ขนั ฟุตบอลถ้วยน้อย และถ้วยใหญ่ซ่ึงภายหลังไดจ้ ัด การแข่งขันแบบเดียวกับของสมาคมฟุตบอลอังกฤษ คือ จัดเป็นประเภทถ้วยพระราชทาน ก ข ค และ ง และยงั จดั การแขง่ ขันประเภทอื่นๆ อีก เชน่ ฟุตบอลนักเรยี น ฟุตบอลเตรยี มอุดม ฟุตบอลอาชีวะ ฟุตบอล เยาวชน และอนุชน ฟุตบอลอุดมศึกษา ฟุตบอลเอฟเอคัพ ฟุตบอลควีนส์คัพ ฟุตบอลคิงส์คัพ เป็นต้น นอกจากนี้ยังได้จัดการแข่งขัน และส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันกับทีมนานาชาติอีกมากมายจนถึงปัจจุบัน (กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า, 2558 : 4-6) ทกั ษะกฬี าฟุตบอล ทกั ษะทใี่ ชใ้ นกฬี าฟุตบอล กีฬาฟุตบอลเป็นกีฬาท่ีใช้พลังงานหลายระบบผสมผสานกัน โดยเฉลี่ยในการแข่งขันหน่ึงนัด ผู้เล่นจะมีการใช้ทักษะกีฬาฟุตบอลทุก 6 วินาทีโดยเฉลี่ยคือมีการใช้ทักษะมากกว่า 1000 คร้ัง ในการ แขง่ ขันหนง่ึ นัด ทกั ษะทต่ี อ้ งใช้ในการแขง่ ขนั แตล่ ะคร้ัง คือ 1. วิง่ ด้วยความเร็ว (sprint) ในชว่ งเวลาสน้ั ๆ คอื 2 – 4 วนิ าทที ุก 90 วนิ าทีโดยเฉลย่ี พบว่ามี 10 – 20 ครั้งทก่ี ารว่งิ ด้วยความเร็วต้องใช้ระดับความหนักที่สงู (High Intensity) และพบว่ามีการเปล่ยี นทิศ กะทันหันขณะวิง่ อย่บู ่อยครงั้ (Turner และ Stuart, 2014) 2. การโหม่ง (Heading) คือการกระโดดขน้ึ จากพ้นื แลว้ ใช้ศรี ษะสัมผสั ลูกฟุตบอลเพ่อื สกัดแยง่ ลูก ฟุตบอล หรอื เพือ่ ทำประตู โดยเฉล่ียพบว่ามีการโหม่ง 10 คร้ังต่อการแขง่ ขันหนงึ่ นัด 3. การเข้าสกัด (Tackle) คือการเข้าปะทะเพ่ือสกัดแย่งลูกฟุตบอลจากฝั่งตรงข้ามโดยเฉลี่ย พบวา่ มีการการเข้าสกดั 15 ครัง้ ตอ่ การแขง่ ขันหน่ึงนดั คู่มือการพัฒนาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ

4 4. การส่งบอล (Pass) คือการส่งลูกฟุตบอลให้กับเพ่ือนร่วมทีม เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการทำประตู หรือพาบอลเคล่อื นไปในแดนของฝง่ั ตรงข้าม โดยเฉล่ยี พบวา่ มกี ารส่งบอล 30 คร้ังตอ่ การแขง่ ขันหน่ึงนดั 5. การเล้ียงบอล (Dribble) คอื การพาลูกฟุตบอลเคลอ่ื นที่จากตำแหนง่ หนึง่ ไปอีกตำแหน่งหน่ึง ดว้ ยเทา้ โดยเฉล่ียพบว่ามีการเลยี้ งบอล 50 คร้ังตอ่ การแขง่ ขนั หนง่ึ นดั ทักษะพน้ื ฐานกฬี าฟุตบอล การฝกึ ทักษะเบือ้ งต้นของกีฬาฟตุ บอลมดี ังนี้ (สกายบุ๊กส์, 2550) 1. การเตะลกู ตา่ งๆ 2. การหยดุ ลกู และการบงั คับลูกในระดบั และทศิ ทางต่างๆ ที่ต้องการ 3. การเล้ียงลูก 4. การสง่ ลกู 5. การตัดลกู หรือการแยง่ ลกู 6. การโหม่งลกู 7. การทุ่มลกู 8. การเป็นผรู้ กั ษาประตู อภิชาติ ออ่ นสร้อย และปรีชา ศิรริ ตั น์ไพบูลย์ (2555) ไดก้ ล่าวไว้ว่า ทักษะพนื้ ฐานกีฬาฟุตบอล ที่นยิ ม มดี ังนี้ 1. ทักษะการเตะลูกฟุตบอล (Kick a Ball Skill) หมายถึง ทักษะการเตะลูกฟุตบอล เป็น พืน้ ฐานท่สี ำคัญและจำเป็นอย่างยงิ่ ซึ่งนักกีฬาฟุตบอล ผู้เล่นต้องศึกษาการเตะลกู บอลในตำแหน่ง ต่างๆ วา่ จะต้องเตะอย่างไรจึงจะเหมาะสม และถกู ต้องกับสถานการณ์ท่แี ตกต่างกันวิธเี ตะย่อม แตกตา่ งกนั แต่ ผลลัพธท์ ่ีไดน้ ัน้ ต้องแน่นอนและแม่นยำ 2. ทักษะการหยุดลูกบอล หมายถึง (Stopping a Ball Skill) การท่ีผเู้ ลน่ ใชอ้ วัยวะ สว่ นต่างๆ ของร่างกายในการเล่นฟุตบอลยกเว้นอวัยวะบริเวณหัวไหล่ถึงมือ ในการบังคับลูกท่ีกล้ิงมา ระดับพ้ืน กระดอนมาหรือลอยมาในอากาศ ให้ลูกบอลหยุดในการครอบครองเพื่อที่จะดำเนินการเล่น ไปได้ตาม สถานการณท์ ่เี หมาะสม 3. ทักษะการเล้ียงลูกบอล (Dribbling Skill) หมายถึง การพาลูกบอลให้เคลื่อนท่ีไป บนพื้น สนาม การว่ิงเล้ยี งลูกการลากลกู ตดิ เทา้ ไปข้างหนา้ หรือการวง่ิ ควบคุมครอบครองลกู บอลไป อย่างเช่ืองช้า และสามารถควบคมุ ทศิ ทางใหเ้ ป็นไปตามท่ตี ้องการไดอ้ ย่างชำนาญ 4. ทักษะการโหมง่ ลูกบอล (Heading) หมายถงึ การเลน่ ลูกบอลดว้ ยศีรษะขณะที่ ลกู บอลกำลงั ลอยอยู่ในอากาศ โดยการใช้บรเิ วณหนา้ ผากเปน็ ทส่ี ัมผสั ลูกบอล (เพราะบริเวณหน้าผาก นเี้ ป็นบรเิ วณที่ แข็งมากเป็นกระดูกแผ่นเดียว) การโหม่งลูกบอลเป็นการเล่นท่ีได้เปรียบมากกว่าการ เล่นด้วยเท้า การ โหมง่ ลูกบอลน้ันสามารถใช้ในการสกัดลูกอันตรายออกจากพื้นท่ี หรือใช้สำหรับผ่าน ลูกและยงิ ประตไู ด้ อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ทักษะการทุ่มลูกบอล (Throwing a Ball) หมายถึง ตามกติกา เมื่อลูกบอลออก ด้านข้าง สนามหมดท้ังลูก ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามท่ีไม่ได้ทำลูกบอลออกนอกสนาม จะได้เป็นฝ่ายเล่นลกู จาก บริเวณ ด้านขา้ งสนาม โดยการใช้มอื ทมุ่ ลกู เข้าสนาม ณ จุดที่ลกู ออก คูม่ ือการพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ

5 หลกั การฝึกกฬี า การกีฬาแห่งประเทศไทย (2558 : ออนไลน์) ได้กล่าวไว้ว่า หลักเกณฑ์พ้ืนฐานในการฝึกซ้อม กีฬา (Fundamental Criteria for Training) การวิเคราะห์การเล่นของนักกีฬาปัจจัยสำคัญในการจัด โปรแกรมการฝกึ ซ้อม คอื การ วเิ คราะห์ดา้ นเทคนิคของการเลน่ ที่ผา่ นมาแลว้ เพอื่ นามาใช้ในการตดั สนิ ใจ ว่าจะฝึกซ้อมอะไรมานอ้ ย เพียงใด ให้เพียงพอสำหรับผู้เล่นในโปรแกรมการฝกึ ความรคู้ วามสามารถของ ทีม และผู้เล่นจะเป็นประโยชนต์ อ่ การจดั โปรแกรมการฝึกไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ และเหมาะสม ในการวเิ คราะหก์ ารเลน่ ของนักกีฬา ผูฝ้ ึกสอนต้องใช้ประสบการณ์ท้งั หมดทไี่ ด้สะสมตลอด การ ทางานทางด้านนี้มา และการสังเกตส่วนตัวของผู้ฝึกสอนเองสร้างรูปแบบของโปรแกรมการ ฝึกซ้อม ประจำวันทจี่ ะจดั ให้ผเู้ ล่นฝกึ ซ้อมไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และมีประสทิ ธภิ าพ 1. ตัวบคุ คล (The Human Aspects) เซป เฮอรเ์ บอร์เกอร์ ผ้ฝู ึกสอนชาวเยอรมันตะวันตก ผู้ซ่ึง ทำให้เยอรมนั ตะวนั ตกได้รับชัยชนะ ในฟุตบอลโลก ค.ศ.1954 ได้เนน้ ถึงความสำคัญของผู้ฝกึ สอนตลอด มา จดั ความสามารถในการสอน และการควบคุมทมี ไวห้ ลายอย่าง 1.1 ผูฝ้ ึกสอนทีม่ คี วามสามารถจะต้องไม่เพกิ เฉยต่อหน้าทีท่ างดา้ นจิตวิทยาทม่ี ตี ่อผู้เล่นของ ตน การใชห้ ลักการของการฝึกซอ้ มทีถ่ ูกต้องหมายถงึ ว่า ผู้ฝึกสอนตอ้ งเข้าใจถงึ จิตใจและการปรบั จิตใจ ของผู้ เลน่ โดยการสร้างบรรยากาศในการฝึกซ้อมระหวา่ งผู้ฝึกสอนกับผู้เล่น ให้สามารถทางานร่วมกนั ได้และ นำไปสู่ความสำเร็จ การสร้างกฎเกณฑ์ในระหว่างการฝึกซ้อมอย่างเดียว ไม่ช่วยให้ความสัมพันธ์ที่ ละเอียดอ่อน ระหว่างผู้เล่นและผู้ฝึกสอนเป็นไปได้ดี ย่ิงถ้าผู้ฝึกสอนสามารถเข้าผู้เล่นได้เป็นรายบุคคล ความสำเร็จ อย่างไรก็ตามความพยายามในการสรา้ งความสัมพนั ธ์นจ้ี ะต้องอยู่ใน ขอบเขตของลักษณะการ ฝกึ ซอ้ มด้วย ผ้ฝู กึ สอนควรพยายามเขา้ ใจสภาพจิตใจของผ้เู ลน่ ในความรับผดิ ชอบของตน แผนภูมิที่ 1 แสดงหลักการฝกึ ซ้อม หลักการฝกึ ซอ้ ม ลักษณะของผเู้ ล่น การแข่งขัน ส่งิ แวดลอ้ ม สภาพ วธิ สี อนจติ วทิ ยา ฝึกซ้อม อากาศ อาหาร ทักษะ เทคนิค การเตะ การควบคุมลกู การโหมง่ การเล้ียง ฟตุ บอล ท่มี า : (การกฬี าแหง่ ประเทศไทย, 2558) คมู่ ือการพฒั นาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลิศ

6 อปุ กรณ์ แผนภมู ิที่ 2 แสดงการวเิ คราะหก์ ารแขง่ ขนั การวเิ คราะห์การแข่งขนั องค์ประกอบท่ีมี อทิ ธิพลต่อการฝึกซอ้ ม อายุ ตัวบคุ คล สง่ิ แวดล้อม สภาพจิตใจ วิธกี ารฝกึ สภาพสนาม ยาและแพทย์ ประจำทีม การฝกึ ซ้อม ทีม่ า : (การกฬี าแห่งประเทศไทย, 2558) 1.2 วิธีท่ีจะเข้าถึงจิตใจของผู้เล่นได้อย่างถูกต้องขึ้นอยู่กับอายุของผู้เล่น เนื่องจากต้องใช้ วิธีการทแี่ ตกต่างกนั ตามกลุ่มอายุทแี่ ตกต่างกันดว้ ย เช่น ผูเ้ ลน่ ทีเ่ ป็นเด็กจะไมส่ นใจความสามารถของ การ เล่นของเขาเท่ากับผู้เล่นที่มีอายุมากกว่า และเด็กต้องการความเอาใจใส่ด้วยวิธีการหลายรูป แบบอย่าง สม่ำเสมอ การเน้นให้เดก็ เห็นว่าสิ่งใดผิดในขณะฝึกซอ้ มสงิ่ ใดถกู จะช่วยให้เดก็ เรียนร้เู ร็วข้นึ 1.3 ผู้ฝึกสอนควรรู้ถึงภูมหิ ลังทางสังคมของผู้เล่น เช่น พื้นเพเดิม, ครอบครัว, ประวตั ิความ เป็นอยู่ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นส่ิงสำคัญท่ีจะช่วยให้ผู้ฝึกสอนเข้าใจในตัวผู้เล่นมากขึ้น และหาทาง ช่วยเหลือผ้เู ลน่ ในบางโอกาส 1.4 การเลือกแบบฝกึ ในการฝกึ ซอ้ มก็เป็นปจั จยั ทีส่ ำคัญ เนอื่ งจากแบบฝึกต่างๆ จะช่วยทำให้ ผู้เล่นยกระดับตวั เองในการเลน่ ขนึ้ ได้ การเลือกแบบฝกึ ตอ้ งเหมาะสมกบั ความสามารถของผเู้ ล่นใน ขณะท่ี กำลังฝึกอยู่ การเลือกแบบฝึกท่ีง่ายไปจะทำให้น่าเบื่อ แต่ถ้ายากเกินไปหรือยุ่งยากก็จะทำให้ เกิด ความเครียดในการฝึก ระบบการฝึกท่ีมีขั้นตอนของการฝึกจะช่วยพัฒนาความมั่นใจของผู้เล่น พัฒนา ความสามารถของผู้เล่นให้สูงข้ึน ผู้ฝึกสอนไม่ควรให้แบบฝึกที่ผู้เล่นรู้สึกว่าเป็นเรื่องเล่ือนลอย และไม่ เกี่ยวข้องกับการเล่นของเขา แต่ควรทำให้ผู้เล่นรู้สึกวา่ ผู้ฝึกสอนต้องการให้สิ่งท่ีเหมาะสมกับตัวเขา การ ยกระดับการเลน่ ใหด้ ี ขึ้นมักเกดิ จากผู้เล่นและผู้ฝกึ สอนเข้าถงึ จิตใจกัน และในเร่ืองนถี้ ือวา่ เป็นเร่อื งสำคัญ มากเพราะจะทำให้ผู้เล่นรสู้ ึกกระตือรือร้นมีความตง้ั ใจจรงิ ทีจ่ ะฝกึ และแสดงให้เห็นถงึ ความมานะอดทน ผู้ฝกึ สอนต้องทำใหผ้ ู้เลน่ มีความมั่นใจในโปรแกรมฝึกดว้ ย คูม่ อื การพัฒนาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ

7 สนธยา สลี ะมาด (ม.ป.ป.) กลา่ วว่าหลกั ของการฝึกซ้อมที่มีระบบการฝึกซ้อมทกุ รปู แบบจะเป็น ผลโดยกฎทางด้าน สรีรวิทยา 3 ประการ คือ กฎของการใช้ความหนกั มากกว่าปกติ (Law of Overload) กฎของความเฉพาะเจาะจง (Law of Specificity) และกฎของการย้อนกลับ (Law of Reversibility) กฎของการใช้ความหนักมากกวา่ ปกติ (Law of Overload) กฎของการใช้ความหนักมากกวา่ ปกติ (Law of Overload) เป็นองค์ประกอบท่ีสำคัญในการ ปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย เน่ืองจากการปรับตัว (Adaptation) หรือ ผลของการฝึกซ้อม (Training Effect) จะเกข้ึนก็ต่อเมื่อร่างกายมีการทางานที่ระดับเหนือกว่าระดับพฤติกรรมปกติท่ีปฏิบัติอยู่ใน ชวี ิตประจำวันซึ่งความหนักมากกว่าปกติจะเพิ่มความเครียดต่อระบบการทางานของร่างกายในจำนวน มากกว่าสภาพปกตหิ รอื สภาพทีเ่ คยชนิ เชน่ การออกกำลังกายจะทำใหอ้ ัตราการเตน้ ของชีพจรสงู ขนึ้ กว่า ชพี จรขณะพกั กฎของความเฉพาะเจาะจง (Law of Specificity) กฎของความเฉพาะเจาะจง (Law of Specificity) เป็นกฎเกี่ยวกับการประกอบกิจกรรมจะมี ผลเฉพาะตามชนดิ ของการกระตนุ้ หรอื ชนดิ ของกจิ กรรม ซึ่งเปน็ การประยุกต์ขน้ึ ตามชนิดของการพัฒนาท่ี เกิดข้นึ ภายในกล้ามเนื้อ การฝึกซอ้ มความแข็งแรงจะมีผลทางด้านการเพมิ่ ขน้ึ ของความ แข็งแรงกลา้ มเนอื้ และขณะที่การออกกำลังกายเพื่อฝึกซ้อมความอดทนจะมีผลท่ีเฉพาะในการ ปรับปรุงความอดทนของ กลา้ มเนื้อ ความหนกั ของงานทแี่ ตกตา่ งกันจะมผี ลต่อร่างกายแตกต่างกนั การเพ่ิมความแข็งแรงจะต้องทำ การฝกึ ซ้อมดว้ ยความหนักทมี่ ากกว่าปกติ มแี รงต้านท่ีตำ่ กว่าระดับท่ี รา่ งกายสามารถทำได้ (ตำ่ กวา่ ระดับ ทก่ี ล้ามเนื้อสามารถปฏิบัติไดใ้ นภาวะปกติ) กฎของการย้อนกลับ (Law of Reversibility) กฎของการย้อนกลับ (Law of Reversibility) ระดับสมรรถภาพจะลดต่ำลงถา้ ได้รบั ความหนัก มากกว่าปกตไิ ม่ต่อเน่ือง ความจริงผลของการฝกึ ซอ้ มจะมกี ารย้อนกลบั ภายในตวั เองถา้ การฝกึ ซอ้ มไมเ่ ป็น สิ่งทีท่ า้ ทายหรือหนกั ข้ึนระดับสมรรถภาพก็จะคงท่ี (Plateau) และถ้าหยุดการฝกึ ซ้อมระดบั สมรรถภาพก็ จะลดต่ำลงเป็นลำดับขั้นจนกระทั่งเคล่ือนท่ีต่ำลงถึงระดับท่ีจำเป็นสำหรับการประกอบ กิจกรรมใน ชวี ติ ประจำวนั การยอ้ นกลับของผลการฝกึ ซอ้ ม (Reversibility of Training Effect) ผลของการฝึกซอ้ มจะ มี ผลอยู่ชว่ั ระยะเวลาหนึ่งและจะลดลงหลังจาก 2-3 วัน ของการหยุดซ้อม ซ่ึงจะเป็นการลดทั้งขบวนการ เมตบอดลกิ (Metabolic) และความสามารถในการทางานของรา่ งกายถึงแมช้ ว่ งเวลาการพกั จะเห็นได้ว่าผู้เล่นเป็นส่วนสำคัญในการทำให้โปรแกรมการฝึกประสบความสำเร็จในการ พิจารณาของผูเ้ ล่นนนั้ สงิ่ หนึ่งท่ีสำคญั คือ ปฏิกริ ิยาของผู้เล่นทีม่ ตี ่อสภาพแวดลอ้ ม การจัด สภาพแวดลอ้ ม ท่ีดีจะช่วยให้โปรแกรมการฝึกเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและระยะเวลาในการฝึกซ้อม จะมีผลต่อ ความสามารถของนักกีฬาในการพฒั นาความสามารถในการเลน่ กฬี า 2.2 วิธีการฝกึ ทั่วไป ในการบรรลุเป้าหมายทด่ี ีท่ีสดุ นั้น ผ้ฝู กึ สอนจำเปน็ จะต้องหาวิธีท่ดี ีที่สุด ในการใหผ้ ู้เล่นเรียนรู้ โดยผ่านการฝึก 3 ระดับ บางทวี ิธที ่ีดีท่ีสุดจะต้องได้รบั ความร่วมมือจากผู้เล่นและ อาจใชท้ ัศนูปกรณ์ ช่วยได้หลังจากการอธบิ ายอาจจะตามด้วยการสาธติ ใหด้ ทู ันที การเลอื กคำที่ใช้อธบิ ายมี ความสำคัญ แบบฝกึ ท้งั หมดจะต้องมีการวางแผนอย่างมรี ะบบและเปน็ ขัน้ ตอน ผูฝ้ ึกสอนจะตอ้ งระวงั ไมใ่ ห้ คูม่ ือการพัฒนาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ

8 ผู้เล่น เกิดความผิดหวังหรอื ความเบ่ือหน่ายในระหว่างการฝึก ความรู้สึกเช่นนี้จะเกิดข้ึนเม่ือแบบฝึกไม่ เหมาะสมกับระดับความสามารถในการเล่นของผู้เลน่ หรือของทมี อย่างไรก็ตามแมจ้ ะใชว้ ิธีทีด่ ที ่สี ดุ แล้วการฝกึ กไ็ มอ่ าจประสบผลสำเรจ็ ไดถ้ า้ ไม่ไดร้ บั ความ รว่ มมือ จากผ้เู ล่น ความสนใจส่วนตวั เจตคติที่มีต่อระเบียบวินัยในการฝึก และความตั้งใจจริงของผู้ เล่น มีส่วน สำคัญที่ทำใหก้ ารฝึกประสบผลสำเร็จ สงิ่ เหล่าน้ีสามารถทำให้เกดิ ข้ึนไดโ้ ดยผฝู้ ึกสอน ผ้ฝู ึกสอนควรสรา้ ง ความสัมพันธ์ส่วนตัวกับผูเ้ ล่นทุกคน และชว่ ยผ้เู ล่นแก้ปัญหาถ้าทำได้กจ็ ะทำให้ผู้เล่น รู้สึกมั่นใจ ไว้วางใจ ในตวั ผฝู้ กึ สอนมากขึ้น โดยทวั่ ๆ ไปจะเป็นการสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหวา่ งทุกๆ คน ในทีมดว้ ย เมือ่ การฝึกซอ้ มผา่ นไปตามลำดบั ผเู้ ลน่ แต่ละคนหรอื ทั้งทีมควรจะรู้สึกวา่ มีความก้าวหนา้ เกดิ ขึ้น เร่อื ยๆ และทุกคนควรจะไดพ้ ัฒนาความมั่นใจของตนเองในการนำเอาความสามารถความ ชำนาญไปใช้ใน สถานการณ์การแข่งขันจริง ผลของความสำเร็จเหล่าน้ีจะช่วยส่งเสรมิ การพัฒนาการ ทางด้านจิตใจการ เสริมสรา้ งบคุ ลกิ ภาพของผู้เลน่ อีกดว้ ย บทบทของผฝู้ ึกสอนกฬี าฟตุ บอล อะไรคือการฝึกสอน การฝึกสอน คอื .............. กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2555 : 11-12) ได้กล่าวไว้ว่า “การให้ คำแนะนำและจัดหาแบบฝึกท่เี หมาะสมอยตู่ ลอดเวลา มกี ารจัดระบบบรหิ ารจดั การอนั เป็นสากล และจัด ให้นกั กีฬามีโอกาสได้เพม่ิ ศกั ยภาพการพัฒนาการเล่นฟุตบอลให้อยู่ในระดับสงู สุดตง้ั แต่เป็นเด็กจนเติบโต เป็นผู้ใหญ่” “กระบวนการของการฝึกสอนจะทำงานประสานกันในภารกิจด้านต่างๆ ที่เป็นผลให้มีการ วางแผนโปรแกรมการฝึกซอ้ มอย่างเป็นระบบ โดยออกแบบไว้สำหรับการพัฒนาความ สามารถเฉพาะตัว กลุม่ และทมี สำหรบั ปรับปรุงความสามารถในการฝกึ ซ้อม และแข่งขนั ” ใครสามารถเป็นผฝู้ กึ สอนกีฬาฟุตบอลได้? คณุ สมบตั ขิ องผฝู้ ึกสอนกีฬาฟตุ บอล 1. มีความเป็นนักการศึกษา 2. มีความเป็นผู้นำ 3. เป็นผทู้ ำงานอยา่ งเปน็ ระบบ มีความเป็นระเบียบ 4. เป็นนักบรหิ ารจดั การ 5. มคี วามสามารถในการแนะแนว 6. มีความกระตอื รอื รน้ ในการทำงาน 7. สามารถวางแผนการฝกึ ได้อย่างเป็นระบบ ขอ้ ควรพจิ ารณาเพิม่ เติมสำหรบั ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟตุ บอล 1. คณุ คิดวา่ ผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟุตบอลควรมีคณุ สมบตั อิ ะไรอีกบา้ ง 2. คุณคิดว่าผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอลเยาวชนควรจะมีคุณสมบัติท่ีแตกต่างไปจากผู้ฝึกสอนกีฬา ฟตุ บอลโดยทว่ั ไปหรือไม่ คูม่ ือการพฒั นาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ

9 บทบาททสี่ ำคัญของผฝู้ กึ สอนกีฬาฟตุ บอล มีดงั น้ี 1. ด้านเทคนคิ (Technique) - มีความรู้ทางด้านเทคนิคของเกม เทคนิคส่วนบุคคล และการพัฒนา ทางด้านทักษะการ ฝกึ สอนเฉพาะ (specific) และรายละเอียดของการฝกึ การสาธติ 2. ด้านแทคติค (Tactic) - เขา้ ใจความสามารถของนักกีฬาแต่ ละคน แต่ละกลุม่ และทมี เป็นอย่างดี ท้ังเวลาเล่น แบบใช้ ลกู ฟตุ บอล และไม่ใชล้ ูกฟตุ บอล ตลอดจนมแี บบฝกึ ในหลากหลายวิธดี ว้ ย 3. สมรรถภาพทางรา่ งกาย (Condition) - มกี ารพัฒนาสมรรถภาพทางรา่ งกาย ของนักกฬี าในทุกส่วนของร่างกาย 4. สมรรถภาพทางจิตใจ (Mental) - มีการพัฒนาการทางด้านจติ ใจใหเ้ ข้มแข็ง 5. สงั คม (Social) - มคี วามเข้าใจและรู้จักบริหารจัดการ ให้เกดิ ความสัมพันธอ์ ันดีต่อกันไม่ว่า จะเปน็ นักกีฬาต่อ นักกฬี าด้วยกนั หรอื กับเจ้าหนา้ ที่ทีม - กับผ้ชู ม - กับสอื่ กบั ครอบครวั เปน็ ต้น วิธีการฝึกสอน (Coaching Methods) 1. วิธีการฝกึ สอน (Coaching Methods) วิธกี ารฝกึ สอน หมายถึง หลักการ ลำดับขั้นตอนเรือ่ งตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ในการสอนกิจกรรม ซ่ึง จะตอ้ งขึ้นอยู่กบั พ้นื ฐานการเรียนรขู้ องผู้เลน่ แต่ละคน 2. องค์ประกอบทีส่ ำคัญ (Key Elements) ระบุท่ีมาของปัญหา - ผ่านการสังเกต และการวิเคราะห์ ผ่านการบันทึกภาพ จากกล้องวีดีโอ เป็นต้น ปัญหาคืออะไร - เทคนคิ การเลน่ กลยทุ ธใ์ นการเล่นของกลุม่ หรือทีม ความสมบูรณข์ องรา่ งกาย และความพร้อมทางจิตใจ ใครคือผทู้ ่มี สี ว่ นเก่ยี วข้อง - ตัวผ้เู ลน่ เอง หรือ ผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม สถานท่ีๆ เกิดข้ึน - โดยแยกเป็นส่วนๆ ของปัญหาที่เกิดข้ึนทั้งหมด (การป้องกัน, กองกลาง, หรอื ผู้เลน่ แถวท่ี 3) ช่วงเวลาที่เกิดขึ้น - ช่วงระยะเวลาของการรุก หรือช่วงระยะเวลาของการรับ, เป็นช่วง ระยะเวลาท่ีเท่าไหรข่ องเกมส์ การค้นหาวิธีแก้ไข - แก้ปัญหาโดยการปฏิบัติตามแผนการฝึกซ้อม โดยใช้ วิธีการฝึกสอนท่ี เหมาะสม การถา่ ยโอนการเรยี นรู้ - ถา่ ยโอนขอ้ มูลการเรียนรู้ต่างๆ ไปสผู่ เู้ ล่นผา่ นทาง การฝึกปฏิบัติ ความท้าทาย - ฝกึ ปฏบิ ตั ิท่ีทา้ ทายความก้าวหน้า เพ่ือปรับปรุงผู้เล่น ให้บรรลุความสำเร็จ และ แกไ้ ขปัญหาของกีฬาฟตุ บอล ค่มู ือการพัฒนาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ

10 การอบอุ่นร่างกาย (Warm up) กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา (2559 : 63-65) กล่าวไวว้ า่ การอบอนุ่ รา่ งกาย (Warm Up) เป็นการทำใหร้ า่ งกายทำงานเพม่ิ หนกั ข้นึ เพอ่ื ใหพ้ ร้อมทจ่ี ะออกกำลงั กายหรือเลน่ กฬี าทหี่ นัก ขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะระบบกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ รวมทั้งระบบหายใจและระบบ ไหลเวียนเลือด เพิ่มความสามารถในการแสดงทักษะทางกีฬา ลดปัญหาการบาดเจ็บที่กำลังประสบอยู่ และปอ้ งกันการบาดเจบ็ ที่อาจจะเกิดขนึ้ ได้ หลักและวธิ กี ารอบอนุ่ รา่ งกาย การอบอุ่นร่างกาย เป็นกิจกรรมที่จะต้องทำก่อนการออกกำลังกาย และเล่นกีฬา การอบอุ่น ร่างกายที่ดีนั้น จะทำใหม้ ีความพร้อมทางร่างกาย และจติ ใจ มขี ั้นตอน ดังนี้ 1. การอบอุ่นรา่ งกายทั่วไป (General warm up) การอบอนุ่ รา่ งกายทั่วไป จะใช้การว่งิ เหยาะ (Jogging) การบรหิ ารกาย (Body Conditioning) และการยืดกลา้ มเนื้อ (Stretching) แตต่ ้องใชเ้ วลาและความหนักเพียงพอ ท่ีจะทำให้อุณหภูมิในร่างกาย เพมิ่ ข้ึน โดยไม่ทำให้เกิดความเมื่อยลา้ โดยปกติจะใช้เวลาอบอุ่นรา่ งกายทัว่ ไป ประมาณ 5–10 นาที 2. การอบอุ่นร่างกายเฉพาะ (Specific Warm Up) การอบอุ่นร่างกายเฉพาะ จะทำหลังจากการอบอุ่นรา่ งกายทั่วไป โดยเพิ่มจังหวะให้เรว็ ขึ้นจน รูส้ ึกว่าอณุ หภูมิร่างกายสูงข้ึนและหัวใจเต้นเร็วขน้ึ เช่น การอบอุ่นร่างกายของทีมฟุตบอล มีการเตะลูก สง่ ไป - มา การเลย้ี งลูก การยงิ ประตู การเลน่ ลิงชงิ บอล เป็นตน้ หลักการอบอนุ่ รา่ งกาย การอบอุ่นร่างกาย ควรเป็นท่าท่ีใช้การเคลื่อนไหวพืน้ ฐาน ท่ีใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ๆ โดยใช้ช่วง ของการเคลอ่ื นไหวที่กวา้ ง เชน่ การเดินเร็วหรือ ก้าวเทา้ ยาว การวง่ิ เหยาะๆ การกระโดด การเตะขา การ ยกเข่า เป็นต้น ซ่ึงใช้กล้ามเนื้อลำตัวและขาเป็นหลัก ในเวลาเดียวกันอาจใช้แขนเคลื่อนไหวไปพรอ้ มกัน ดว้ ย เป็นการช่วยเพ่ิมความหนกั ของงาน การใช้แขนในการเคล่ือนไหวที่หลากหลายยังช่วยให้สนุกสนาน ลืมความเหนด็ เหนื่อยได้ ซง่ึ มีหลักในการออกแบบทา่ การอบอุ่นร่างกาย ดังน้ี 1. ใช้กลา้ มเน้ือทกุ มัดอย่างสมดลุ เชน่ ฝึกกลา้ มเน้ือต้นแขนดา้ นหน้า ควรฝึกกล้ามเน้ือต้นแขน ดา้ นหลังควบคกู่ นั ไปดว้ ย 2. การใชแ้ ขนและขาควรให้ครบถ้วนทกุ ทา่ ท่ีควรจะทำ เช่น การงอ การเหยียด การหมนุ ขอ้ ต่อ การยกเข่า ยกขา ยกแขน การใชไ้ หล่ หลงั เอว สะโพก และอ่นื ๆ ทัว่ ร่างกายเท่าทจ่ี ะทำได้ 3. เคล่อื นไหวรา่ งกายทุกส่วน เช่น การเดนิ หรอื วงิ่ จะต้องทำใหค้ รบ และทำใหส้ มดลุ กนั ทงั้ ซ้าย ขวา หนา้ หลงั 4. หลีกเลยี่ งการใช้ท่าท่ียาก ท่าท่ซี ับซ้อน ท่าท่ีต้องใช้กำลังมาก ทา่ ท่ีเส่ียงต่อการบาดเจบ็ ท่าที่ ใช้ฝกึ นักกฬี า เชน่ ทา่ กระโดดสงู ท่าทกี่ ระโดดขาเดยี ว เป็นต้น 5. ไม่ทำท่าหน่ึงทา่ ใดซ้ำมากครั้งเกินไปจนกล้ามเนื้อส่วนน้นั ล้า ควรเปลย่ี นไปใชก้ ล้ามเนือ้ กลุ่ม อ่ืนๆ เพ่อื ใหก้ ลา้ มเนื้อท่ีฝึกแลว้ ได้มีเวลาพกั บ้าง 6. ควรใชท้ ่าหนกั สลับกบั ท่าทเ่ี บาหรอื ท่าทผี่ ่อนคลาย คู่มือการพฒั นาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ

11 การยืดกลา้ มเน้อื (Stretching) การยืดกล้ามเนื้อ เป็นกิจกรรมการเคล่ือนไหวของกล้ามเน้ือแบบหนงึ่ ที่ขยายหรือยืดกลา้ มเน้ือ ให้ยาวออก เพ่ือให้กล้ามเน้ือพร้อมที่จะทำงาน ป้องกนั การบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬา สร้างความแขง็ แรง พลงั การทำงานประสานสัมพนั ธก์ นั กระตุ้นระบบประสาทให้ตื่นตวั หรอื ผอ่ นคลายได้ เพราะการออกกำลงั กายหรอื เล่นกีฬา มีโอกาสเกิดการบาดเจ็บได้ตลอดเวลาเนือ่ งจากความไม่พร้อมของ รา่ งกาย โดยเฉพาะกล้ามเนอ้ื เอน็ ขอ้ ต่อ เอ็นกล้ามเนือ้ และประสิทธภิ าพของการเคลือ่ นไหวในการออก กำลังกายหรือเล่นกีฬาก็เช่นเดียวกนั จะข้ึนอย่กู ับความยืดหย่นุ ของกลา้ มเนื้อ ความสามารถของขอ้ ตอ่ ที่ จะเคล่ือนไหวได้เต็มวงของการเคลื่อนไหวขอ้ ต่อแตล่ ะข้อ และการกลับคืนสภาพของร่างกายหลังจากการ ออกกำลังกายหรือเล่นกฬี าได้เร็วขึ้น เมอ่ื มีการยืดกล้ามเนื้ออย่างถกู ต้องและเหมาะสม ประเภทของการยืดกลา้ มเนื้อ (Type of Stretching) 1. การยืดเหยยี ดกล้ามเนอื้ แบบอยกู่ บั ท่ี (Static Stretching) 2. การยดื เหยยี ดกลา้ มเนอื้ แบบเคลอ่ื นที่ (Dynamic Stretching) 3. การยดื เหยยี ดกลา้ มเน้อื แบบมผี ู้ช่วย (Passive Stretching) 4. การยืดเหยยี ดกล้ามเนอื้ แบบกระต้นุ ระบบประสาท (PNF) เทคนคิ ของการยืดกลา้ มเนื้อ (Stretching techniques) 1. จัดท่าทางในการยืดกลา้ มเนอ้ื ให้ถกู ต้องและเหมาะสม 2. เคลอ่ื นไหวในการยดื อย่างช้าๆ และนุม่ นวล 3. ยดื เหยยี ดค้างไว้ในตำแหน่งสุดท้ายไว้ 10 - 30 วินาที 4. ยืดเหยยี ดซำ้ ๆ ในกลมุ่ กล้ามเน้อื ทส่ี ำคัญหรอื จำเป็นในการเคลอื่ นไหว 5. ไมก่ ลัน้ หายใจในการยดื ใหห้ ายใจตามปกติ 6. การยดื เหยียดแบบมผี ูช้ ่วยหรอื PNF ตอ้ งทำโดยผทู้ ีม่ คี วามชำนาญ จุดประสงคข์ องการยดื กลา้ มเน้อื 1. การยืดกลา้ มเน้ือเพือ่ เตรยี มร่างกายและป้องกันการบาดเจบ็ ในการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา จำเป็นอย่างยิง่ ที่จะต้องยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อนทกุ คร้ังไป เพื่อให้รา่ งกายไดป้ รับตวั เตรียมตวั ให้พรอ้ มรับการทำงานท่ีหนักข้ึน อีกทั้งยังช่วยป้องกันการบาดเจ็บท่ี อาจจะเกิดขนึ้ กบั กลา้ มเนือ้ และเอน็ หลกั การ 1. ยดื กลา้ มเน้ือแบบอยกู่ บั ที่ คา้ งไว้ 5 – 10 วนิ าที ตอ่ ด้วยยดื เหยยี ดแบบเคล่อื นท่ี 5 – 10 ครง้ั 2. ยืดกลา้ มเนอื้ ในรปู แบบของการเคลอื่ นไหวจรงิ 2. การยดื กลา้ มเนื้อเพ่อื สร้างสมรรถภาพทางกาย ความอ่อนตัวของกล้ามเน้ือ เป็นองค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ต่อประสทิ ธิภาพการทำงานของกล้ามเนื้อและข้อตอ่ ต่างๆ ของร่างกาย การที่กล้ามเน้ือมีความยืดหยุ่นท่ีดี จะชว่ ยเพม่ิ ระยะทางในการเคลอ่ื นไหวของขอ้ ต่อ และสง่ ผลต่อความสามารถในการเคลอื่ นไหวของทักษะ และเทคนิคกีฬา เพมิ่ แรงในการหดตัวของกล้ามเน้อื คู่มือการพฒั นาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ

12 หลกั การ 1. ยดื กล้ามเน้ือแบบเคลื่อนที่ 2. ยืดกลา้ มเนื้อในรูปแบบของการเคลอื่ นไหวจรงิ 3. ยืดกลา้ มเน้อื โดยใช้อุปกรณ์ เชน่ ยางยดื ดรมั เบล บาร์เบล 3. การยดื กลา้ มเน้อื เพอ่ื ผอ่ นคลายรา่ งกาย ในขณะการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬา กล้ามเนื้อมีการหดตัวอยู่ตลอดเวลา ทำให้เกิดความ เครียดภายในกลา้ มเน้อื สง่ ผลให้ร่างกายเกดิ ความเมอื่ ยล้า ตึง เกรง็ การยืดเหยียดกล้ามเนอ้ื แบบอยกู่ ับท่ี จะช่วยใหก้ ลา้ มเนื้อคลายตัวออก ลดอาการเมื่อยล้า ตึง เกรง็ กลา้ มเนื้อได้อย่างดี หลักการ 1. ยดื กล้ามเนื้อแบบอยกู่ ับที่ เลือกท่าทเี่ หมาะสมกับการผ่อนคลาย 2. ยืดกล้ามเนือ้ แบบ Passive และ PNF 3. ทำร่วมกับการเปดิ เพลงบรรเลงเบาๆ จะช่วยผ่อนคลายทงั้ รา่ งกาย และจติ ใจได้เปน็ อย่างดี การฝกึ ทกั ษะกีฬาฟุตบอล 1. การฝกึ เทคนคิ (Technique Practice) กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกฬี า (2555 : 15-20) กล่าวถงึ การฝกึ เทคนคิ ไว้ ดังนี้ • ฝึกแบบง่ายๆ และฝกึ แบบไมต่ ้องมคี ู่ตอ่ สู้ • มงุ่ ฝกึ ไปทก่ี ลไกของการปฏิบตั ใิ หถ้ ูกตอ้ ง หวั ขอ้ : การสง่ บอล (Passing) พ้นื ที่ฝกึ : 10 เมตร × 10 เมตร นกั กฬี า : นกั กฬี า 3 คน อุปกรณ์ : กรวย เคร่อื งหมายบอกตำแหนง่ ลกู บอล วธิ เี ล่น (Activity) - นกั กฬี า 3 คนต่อลกู บอล 1 ลกู - นกั กีฬาสง่ ลกู ไป-มาใหแ้ กก่ นั และกนั - นักกฬี าเคลอ่ื นทไ่ี ป-มา และเตรยี มตัวท่ีจะช่วยเหลอื ผ้เู ล่นฝา่ ยเดียวกนั ภาพท่ี 1 การส่งบอล (Passing) คู่มอื การพฒั นาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ

13 จุดสำคัญของการฝกึ (Key Coaching Points) - ใช้ส่วนตา่ งๆ ของเทา้ ในการเตะลกู บอล เท้าด้านใน ข้างเท้าดา้ นนอก หลงั เทา้ (Instep) เปน็ ตน้ - ง้างเทา้ ไปดา้ นหลงั เพือ่ จะเตะ เตะทกี่ ลางลกู ฟตุ บอล การฟอลโลทรู - ข้อเทา้ เกรง็ ไม่เคลือ่ นไหวไป-มา ขอ้ ควรพิจารณา (Discussion) • เพ่มิ ตวั อยา่ งการฝกึ เทคนคิ แบบอน่ื ๆ ดว้ ย • พิจารณาจดุ สำคัญของการฝกึ เทคนคิ แต่ละอย่างตามลำดบั ก่อน-หลัง 2. การฝึกทักษะ (Skill Practice) • การประยุกต์ใช้เทคนิคท่ถี กู ต้องภายใตภ้ าวะความกดดัน • ฝึกการตดั สินใจถา้ มกี ารเปล่ียนแปลงสถานการณ์อย่างกะทนั หันในระหว่างการฝกึ ซอ้ ม หวั ขอ้ : การสง่ บอล (Passing) พน้ื ทีฝ่ กึ : 15 เมตร × 10 เมตร นกั กฬี า : ผเู้ ลน่ 3 คน กบั ผเู้ ล่นเปน็ ฝ่ายรกุ ฝ่ายรบั 1 คน อปุ กรณ์ : กรวย เครือ่ งหมายบอกตำแหนง่ (Markers) ลกู บอล เสอื้ เอยี๊ ม วิธเี ลน่ (Activity) - ผู้เล่นส่งลูกบอลให้กันและกันในขณะที่ครอบครองบอล โดยเคล่ือนท่ีไป-มาในกรอบ สีเ่ หลยี่ ม - ผ้เู ลน่ ฝ่ายรบั พยายามเข้ามาแยง่ ลูกบอล หรอื พยายามเข้ามาสกดั ก้ันใหไ้ ด้ - หมุนเวยี นตำแหนง่ ผู้เลน่ ทเ่ี ลน่ เปน็ ฝา่ ยรบั ภาพที่ 2 การสง่ บอล (Passing) แบบมฝี ่ายรบั คูม่ อื การพัฒนาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ

14 จดุ สำคญั ของการฝึก (Key Coaching Points) - พยายามเล่นเป็นทีม หาพื้นท่วี า่ ง และระมดั ระวงั ผเู้ ล่นฝา่ ยรับให้มากท่ีสดุ - ผเู้ ล่นทีไ่ ม่ได้ครองลูกบอลต้องว่ิงหาพ้ืนท่ีวา่ ง เพ่ือเพอื่ นรว่ มทมี จะไดส้ ง่ ลูกให้ได้ - คนท่จี ะสง่ ลกู ให้ (สง่ ลูกให้ใคร) - ชนิดของการส่ง (เทา้ ดา้ นใน เทา้ ดา้ นนอก หลังเท้า และส่งลกู ขา้ มหวั (Chip) เปน็ ตน้ ) - คณุ ภาพของการส่ง (ความแม่นยำ ความเร็ว มมุ ท่สี ง่ จงั หวะในการส่ง) 3. เกมเลก็ (Small Sided Game) • การประยุกต์ใช้ Technique/ทกั ษะทีถ่ ูกต้อง และ Tactic สว่ นบุคคล/กลมุ่ เม่ือเล่นในพื้นที่เล็ก ลงและจำนวนผู้เลน่ ท่ีน้อยลง • การตัดสินใจ ถา้ สถานการณ์ในการเล่นเปลยี่ นแปลงในระหวา่ งการฝกึ ซ้อม ใหค้ ำนึง ถงึ หลักการ ของการเล่น หวั ขอ้ : ทักษะอะไรก็ได้ หรอื หวั ข้อทีเ่ ก่ียวกบั การฝกึ แทคตคิ พนื้ ทฝ่ี กึ : 60 เมตร × 40 เมตร นกั กฬี า : ผเู้ ลน่ ฝา่ ยละ 5 คน กบั ผู้รกั ษาประตฝู ่ายละ 1 คน อุปกรณ์ : เครอ่ื งหมายบอกตำแหน่ง ลกู บอล เสอ้ื กลาง ประตู วิธเี ลน่ (Activity) แบง่ ผู้เลน่ เป็น 2 ฝ่ายๆ ละ 5 คน เลน่ เหมือนการเลน่ ฟตุ บอลแบบปกติ เพียงแตจ่ ำนวนผู้เล่น นอ้ ยลง และสนามฝึกเล็กลง ฝ่ายหนง่ึ ลำเลยี งลูกขน้ึ มาเพ่ือยงิ ประตู อีกฝ่ายหน่งึ เป็นฝ่ายปอ้ งกัน ภาพที่ 3 การฝึกเกมเล็ก (Small Sided Game) คมู่ ือการพฒั นาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ

15 จุดสำคัญของการฝึก (Key Coaching Points) เน้นในแต่ละข้อ เช่น การป้องกันแดนกลาง (Midfield Defending) การประกบตัวผู้เล่น (Marking) การเล่นเปน็ ทมี (Combination Play) การส่งลูกบอล (Passing) การเล้ยี งลูกบอล (Dribbing) เปน็ ตน้ ข้อควรพจิ ารณา (Discussion) • มขี อ้ ได้เปรยี บอะไรอีกบ้างในการฝึกแบบเกมเลก็ 4. เกมที่มกี ารกำหนดเงื่อนไข (Conditioned Game) • แนะนำกฎระเบียบ มีการเปลยี่ นแปลงให้เหมาะสม กระบวนการฝึกโค้ชกำหนดเงื่อนไข เพ่ือให้ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ เชน่ การสมั ผสั ลกู บอลครัง้ เดยี ว-สองคร้งั -ฟรสี ไตล์ การต้ังโซน ฝึกภาคปฏบิ ตั บิ ทท่ี 1 (Practice I) • วตั ถุประสงค์ - การรุกอย่างรวดเร็ว • ข้อกำหนด - ให้ถกู ลกู บอลไดเ้ พียงครงั้ เดยี วเม่ืออยู่ในบริเวณพื้นทีท่ ี่เปน็ ฝา่ ยตั้งรับ และถูกลกู บอล ได้สองครั้งเมือ่ อย่ใู นบริเวณครึ่งท่ีเปน็ ฝ่ายรกุ ฝกึ ภาคปฏิบัติบทที่ 2 (Practice II) • วตั ถปุ ระสงค์ - เพื่อพัฒนาความอดทน (Endurance) • ข้อกำหนด - ใหถ้ กู ลูกบอลไดแ้ ค่ 2 ครง้ั และผเู้ ล่นทุกคนจะต้องอย่ใู นบริเวณพน้ื ท่ี ท่ฝี ่ายรกุ จึงจะ นับลูกทยี่ ิงเขา้ ประตเู ปน็ ลกู ท่นี บั คะแนนได้ ภาพที่ 4 การฝกึ เกมทมี่ กี ารกำหนดเง่อื นไข (Conditioned Game) ข้อควรจำ (Note) : การฝกึ แบบเดียวกนั นส้ี ามารถจะมวี ตั ถุประสงค์ท่แี ตกต่างกันกไ็ ด้ ซ่งึ ขึ้นอยู่กับ การกำหนดเงอื่ นไขที่จะฝึก ขอ้ ควรพิจารณา • มีข้อกำหนดเง่ือนไขอยา่ งอ่ืนอกี หรือไมท่ โี่ คช้ สามารถกำหนดได้ และมีผลอะไรบา้ งกบั การฝึก คูม่ อื การพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ

16 5. การฝึกแบบเตม็ รูปแบบ (Squad Practice) • เก่ียวข้องกบั การฝึก โดยมนี ักกีฬา 12 ถึง 18 คนในการเริม่ ตน้ ในกลุ่มของผ้ฝู ึกสอน หรือกลุม่ ที่ ฝึกแทคตคิ (Tactic) • เช่อื มโยงจากกลมุ่ ยอ่ ยไปจนครบทมี (11 คน กบั 11 คน) หวั ข้อ : ปอ้ งกันในพ้นื ทบี่ ริเวณของตนเอง นักกีฬา : ต้ังรับ 2 แถวๆ ละ 4 คน กับผู้รักษาประตู (สีน้ำเงิน) สู้กับกองหน้า 2 คน กับ กองกลาง 3 คน (สแี ดง) ผ้เู ล่นสนบั สนนุ อกี 2 คน อยขู่ า้ งหลังเส้น (สดี ำ) ภาพที่ 5 การฝึกแบบเต็มรูปแบบ (Squad Practice) วิธเี ล่น (Activity) ทมี สนี ้ำเงนิ ใหพ้ ยายามปอ้ งกันประตู ในขณะเดยี วกนั เพ่อื จะชนะต้องลำเลยี งลกู บอลขึ้นไปให้ ผ่านเสน้ สีแดง โดยสง่ ลูกบอลไดเ้ พียง 4 คร้ัง เท่าน้ัน ค่มู อื การพฒั นาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลศิ

17 6. การฝึกแต่ละตำแหน่ง (Functional Practice) • โคช้ แบบเฉพาะตำแหนง่ เช่น กองหลัง (Sweeper) ปกี กองหลังซ้าย (Left Fullback) เปน็ ต้น • ใช้การต้งั โซน/พน้ื ท่ีทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ตำแหน่งนั้นๆ • เหมาะสมกบั เกมนน้ั ๆ หัวขอ้ : ฝึกผเู้ ลน่ ตำแหน่ง Sweeper (สีน้ำเงนิ ) พื้นที่ฝกึ : คร่งึ สนาม นักกีฬา : Sweeper 1 คน กับกองหลัง 2 คน กับกองกลาง 2 คน (สีน้ำเงิน) กองหน้า 2 คน กบั กองกลาง 2 คน คนเสิรฟ์ 1 คน อยขู่ า้ งหลงั เสน้ (Server) วธิ เี ลน่ (Activity) ทมี สีนำ้ เงนิ ต้องพยายามปอ้ งกันประตู และในขณะเดยี วกันตอ้ งพยายามลำเลียงลูกบอลไปใหค้ น เสิร์ฟ (Server) โดยสามารถส่งลูกได้แค่ 3 คร้ัง เทา่ นน้ั ภาพที่ 6 การฝกึ แตล่ ะตำแหนง่ (Functional Practice) จดุ สำคัญของการฝกึ (Key Coaching Points) • ตำแหนง่ เรม่ิ เลน่ ของ sweeper • กำหนดระยะทาง มมุ (Provide Cover-Distance, Angle) • ระบบของการต้ังรบั • ความคดิ รเิ รมิ่ ทจี่ ะรกุ • การสง่ ลูกบอล การวิ่งเลย้ี งลกู บอล คู่มือการพฒั นาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศ

18 7. การเลน่ เปน็ ชว่ งช้ัน (Phase of Play) • เพอื่ ฝึกเป็นชว่ งช้ันแบบเฉพาะของเกมกบั ผูเ้ ลน่ คนสำคัญและบริเวณตง้ั รับ • เพือ่ พฒั นากลุ่มทฝ่ี ึกหรอื แทคติคการเลน่ ระหว่างการฝึกการเลน่ เปน็ ส่วน หวั ขอ้ : เรมิ่ เลน่ จากเส้นหลงั พ้ืนทีฝ่ กึ : 3/4 ของสนาม นักกีฬา : กองหลัง 4 คน+กองกลาง 2 คน (สีแดง) กองหนา้ 2 คน+กองกลาง 2 คน (สเี ขยี ว) วิธีเลน่ (Activity) ทมี สีนำ้ เงนิ เริ่มบุกหลงั จากผรู้ ักษาประตสู ง่ ลกู ขนึ้ มา การนบั ลูกท่เี ขา้ ประตใู ห้นบั เม่อื ลกู ผา่ น เสน้ หลงั สุดไปแล้ว ภาพที่ 7 การเลน่ เปน็ ช่วงช้นั (Phase of Play) จดุ สำคญั ของการฝึก (Key Coaching Points) • กระจายออกไปและหาตำแหน่งท่ีจะคอยช่วยเหลือเพือ่ นรว่ มทีม • รับและรอส่งลูกบอล • การเคลือ่ นทีไ่ ป-มาและความแมน่ ยำในการสง่ ลูกบอล การรบั ลกู บอล การเล้ียงลกู บอล การวิ่ง เลี้ยงลกู บอล 8. การฝกึ แบบเตม็ รปู แบบ (11 คนตอ่ 11 คน) (Pull Squad Practice) • การฝกึ แบบเต็มรูปแบบโดยใช้นักกฬี า จำนวน 22 คน • เนน้ การฝึกแทคตคิ แก่ผู้เล่นทุกคนในทมี ใหเ้ ข้าใจ (ทงั้ รบั และรุก) • บทบาท/ความรบั ผิดชอบของทมี ทฝี่ กึ และนำไปสู่เกมการเล่นจรงิ ๆ คมู่ ือการพัฒนาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลศิ

19 ข้อควรพจิ ารณา • ทบทวนความหลากหลายของวิธกี ารฝกึ อภปิ รายกนั วา่ เมอื่ ไรจึงจะใชว้ ธิ ฝี กึ แบบไหน • วิธีฝกึ แบบใดจงึ จะเหมาะสมทจี่ ะนำไปฝึกกับเด็ก เพราะอะไร แบบฝึกการอบอุ่นรา่ งกาย (Warm Up Practical) การอบอุ่นร่างกายมีวิธี และกิจกรรมหลากหลาย การเคลื่อนไหวเบ้ืองต้น เช่น การเดิน (Walking) วงิ่ ชา้ (Jogging) ว่ิง (Running) แล้วมายืดเหยยี ดกลา้ มเน้อื ทุกสว่ น (Stretching) ความพรอ้ ม/ความสมั พันธร์ ะหว่างระบบประสาทกบั กลา้ มเน้ือ (Awareness/Co-ordination) การจดั เตรียม (Organization) พืน้ ที่ (Area) ขนาด 20 เมตร x 20 เมตร ผ้เู ลน่ (Players) แบง่ เปน็ 2 กลมุ่ ๆ ละเท่าๆ กัน ขั้นตอนการฝึก (Procedure) • กลุม่ 1 เรม่ิ จากหลักสนี ำ้ เงนิ เคลอื่ นท่ที แยงมุมไปท่ีหลกั สีนำ้ เงนิ ตรงข้าม • กลุม่ 2 เรม่ิ จากหลกั สีแดงเคลอื่ นทท่ี แยงมมุ ไปทห่ี ลักสแี ดงตรงขา้ มเชน่ กนั • ท้งั 2 กลุ่ม ทำเหมอื นกันในกจิ กรรม • เม่อื เจอกนั ตรงกลางใหส้ ลบั กนั ไปทีละคน • เมือ่ ถึงหลักของแตล่ ะกลุม่ ใหว้ ่ิงออ้ มหลกั แล้วกลับไปทเ่ี ดิม START POINT START POINT A B INTERSECTION ภาพท่ี 8 การฝึกความพรอ้ ม/ความสมั พันธร์ ะหวา่ งระบบประสาทกบั กลา้ มเนอื้ (Awareness/Co-ordination) ข้ันก้าวหนา้ (Progression) • เพมิ่ ความเรว็ • เคลอื่ นทีไ่ ปกบั ลกู บอล คู่มือการพัฒนาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ

20 รูปแบบการฝกึ (Variation) รูปแบบการฝกึ และกิจกรรมท่ีหลากหลาย เช่น วิ่งเสตบ็ เท้าสงู (Skipping) สไลด์ด้านข้าง (Slide Skip) ว่ิงถอยหลัง (Backward Jog) วิ่งก้าวยาวๆ (Striding) วิ่งชา้ -แขนยกสูง-เข่ายกสูง (Hop) กระโดด เท้ าเดียว (One Leg Jumps) วิ่งยกเข่าสูง (High kness) ว่ิงดีดส้นเท้า (Heel Flicks) วิ่งเร็วขึ้น (Sprinting) ความเร็ว ความคลอ่ งแคลว่ – ว่องไว และฝึกเท้าให้เรว็ (Speed, Agilityand Quick – feet SAQ) การจัดเตรียม (Organization) ขน้ั บันได/กรวย/ลกู บอล ระยะห่างขึ้นอยู่กบั กลมุ่ ย่อยๆ ของนกั ฟตุ บอล ขัน้ ตอนการฝึก (Procedure) • แบง่ ผเู้ ลน่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ ๆ ละเท่าๆกนั • กล่มุ หนึง่ เรมิ่ ต้นทหี่ ลัก อกี กลมุ่ เริ่มทบี่ นั ได • มีเวลาสำหรบั พกั ดว้ ย ขัน้ ก้าวหนา้ (Progression) • เพิ่มความเรว็ ขน้ึ • ฝึกกบั ฟุตบอลเพ่ือไดเ้ ทคนิค • เนน้ ความเร็ว (Speed) คล่องแคลว่ -ว่องไว (Agility) เท้าเรว็ (Quick-Feet SAQ) ภาพที่ 9 การฝกึ ความเรว็ ความคล่องแคล่ว – วอ่ งไว และฝกึ เทา้ ใหเ้ รว็ (Speed, Agilityand Quick – Feet SAQ) คมู่ อื การพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ

21 รูปแบบการฝึก (Variation) รูปแบบการฝึกและกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น ว่ิงชา้ ๆ (Slow Jog) วิ่งเสต็บเทา้ สูง (Skipping) สไลด์ด้านขา้ ง (Side Skip) ว่งิ ถอยหลัง (Backward Jog) วง่ิ ก้าวยาวๆ (Striding) ว่งิ ชา้ -แขนยกสูง-เขา่ ยก สงู (Hop) กระโดดเท้าเดียว (One Leg Jumps) วิง่ เร็วขึ้น (Sprinting) ว่งิ ซกิ แซ็ก (Zig-Zag Runs) การส่งลกู ส้ัน (Short Passing) การจดั เตรยี ม (Organization) พน้ื ที่ (Area) ขนาด 10 เมตร x 20 เมตร ผู้เล่น (Players) แบ่งเป็น 2 กลุ่มๆ ละเทา่ ๆ กัน เช่น 3/3 หรือ 4/4 เปน็ ต้น ยืนห่างกัน ตรง ข้าม 10 เมตร อุปกรณ์ (Equipment) ลกู บอล 1 ลูกตอ่ 1 กลมุ่ ข้นั ตอนการฝึก (Procedure) • ผู้เล่นสง่ ลกู บอลไปใหเ้ พอ่ื นทยี่ นื อย่ตู รงข้าม วงิ่ ไปด้านขา้ ง แล้วกลับมาต่อทา้ ยกลมุ่ เดมิ • กลุม่ 2 ผเู้ ล่นส่งบอลให้เพื่อน วงิ่ ออ้ มหลกั 5 เมตร แล้ววิง่ ไปต่อท้ายแถวตรงข้าม • ระยะห่างในการส่งบอล ระยะห่างของแถวกับหลักขึ้นอยู่กับอายุ และความสามารถของ นักฟุตบอล ภาพท่ี 10 การฝกึ การส่งลูกสั้น (Short Passing) ค่มู อื การพฒั นาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ

22 ขน้ั ก้าวหนา้ (Progression) • เน้นประสิทธิภาพในการสง่ น้ำหนกั – ทศิ ทาง • การรบั บอลจงั หวะแรก (First Touch) • สง่ ด้วยข้างเทา้ ดา้ นใน (Inside) ข้างเท้าดา้ นนอก (Outside) และหลงั เทา้ (Instep) • การรบั บอลเชน่ เดยี วกัน รับดว้ ยขา้ งเทา้ ด้านใน-ด้านนอก (First Touch) รูปแบบการฝึก (Variation) หลังจากส่งบอลแล้ว เคลอื่ นท่ีหลายทศิ ทาง สไลด์ด้านข้าง-ว่ิงถอยหลัง ว่ิงยกเข่าสูง วิง่ ซิกแซ็ก วิ่งเรว็ ขึ้น (Sprints) การสรา้ งความค้นุ เคยกบั ฟุตบอล (Ball Feeling) การจดั เตรียม (Organization) พ้ืนที่ (Area) ขนาด 10 เมตร x 10 เมตร 15 เมตร x 15 เมตร ขึ้นอยู่กับอายุ และความ สามารถของนักฟุตบอล ผู้เลน่ (Players) ผเู้ ลน่ กลุ่มละ 5 คน ลกู บอลคนละลกู อุปกรณ์ (Equipment) ลูกบอล 1 ลกู ต่อ 1 กลมุ่ ขนั้ ตอนการฝึก (Procedure) • ใหผ้ เู้ ล่นแตล่ ะคนเลี้ยงบอลชา้ ๆ โดยใช้ส่วนต่างๆของเทา้ ภายในเขต • เคลือ่ นที่ไปด้านหนา้ ด้านขา้ ง และดา้ นหลงั และอกี หลายๆ ทิศทาง • สมั ผัสกบั ลูกบอลดว้ ยความนุม่ นวล บงั คับลกู บอลไปในทิศทางต่างๆ ทตี่ ้องการ ภาพท่ี 11 การฝึกการสร้างความคนุ้ เคยกบั ฟตุ บอล (Ball Feeling) ขนั้ ก้าวหน้า (Progression) • เพ่ิมความเร็วข้นึ • ใชท้ ุกสว่ นของเทา้ สมั ผสั ลกู บอลด้วยความเร็วข้ึน • เน้นการบงั คบั ลูกบอลดว้ ยเท้าให้เรว็ ขน้ึ คมู่ อื การพัฒนาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ

23 รปู แบบการฝึก (Variation) • ผเู้ ล่นสัมผสั กบั ลูกบอลดว้ ยส่วนตา่ งๆ ของเทา้ ขา้ งเท้าด้านใน-ข้างเทา้ ด้านนอก- หลังเทา้ -ฝ่า เทา้ -สน้ เทา้ เปน็ ต้น • เคลอ่ื นที่ไปในทิศทางต่างๆ • เพิม่ เทคนิคในการเล้ียงขา้ มบอล (Stepover) ข้ามบอลแบบกรรไกร (Scissor) โยกหลอก (Body Feints) เปน็ ต้น • เพิม่ เทคนิคการเทินร์ (Tuseing) เช่น ล็อกด้วยข้างเทา้ ด้านในและดา้ นนอก (Inside-Outside- Hook) ครฟั ทเ์ ทินร์ (Cruyffturn) ดงึ บอลกลับหลงั (Drag Back) เป็นต้น การควบคมุ ลูกบอล (Ball Control) การจัดเตรยี ม (Organization) พื้นที่ (Area) วงกลมรัศมี 10 เมตร (หรอื ขึ้นอยู่กบั อายุ และความสามารถของนักฟตุ บอล) ผู้เลน่ (Players) รอบวงกลม 8 คน มีลกู บอล ผเู้ ลน่ ในวงกลม 3 คน ไม่มลี กู บอล ข้นั ตอนการฝกึ (Procedure) • ผู้เล่นทอ่ี ยู่ในวงกลมที่ไมม่ บี อลเคล่ือนทเ่ี พอ่ื เรียกฟตุ บอล • ผู้เล่นที่อยู่รอบวงกลมด้านนอกส่งบอลให้ในหลายลักษณะ ลูกเลียด ลูกโด่งในระดับ ขา- หนา้ อก-ศีรษะ เปน็ ตน้ • ผเู้ ล่นภายในวงกลมพยายามคอนโทรลบอล (First touch) ในหลายลักษณะเช่นเดยี วกัน เช่น ลูกมากับพื้นคอนโทรลดว้ ยขา้ งเท้าด้านใน ข้างเท้าดา้ นนอก เทินร์ (Turn) หลังเท้า หนา้ ขา หนา้ อก และ ศีรษะ เปน็ ตน้ ทลี ะอย่างแล้ววิ่งไปตรงขา้ มเรยี กบอลใหม่ ภาพท่ี 12 การฝกึ การควบคมุ ลูกบอล (Ball Control) คู่มือการพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศ

24 ขน้ั ก้าวหน้า (Progression) • กอ่ นรบั บอลหรือคอนโทรลบอลใหฝ้ กึ มองสถานการณร์ อบๆ ตัวกอ่ น แล้วถึงคอนโทรล • ฝกึ ด้วยความเร็วขนึ้ • โยกหลอก (Body feint) ก่อนคอนโทรลบอล รปู แบบการฝกึ (Variation) • ผู้เลน่ ยืนรอบวงกลมพยายามสง่ บอลหลายรูปแบบ • ลดจำนวนลูกบอลเหลือ 5 ลกู เพอื่ ให้คนทีค่ อนโทรลบอลส่งไปให้ผเู้ ลน่ ทไ่ี ม่มบี อล การปอ้ งกนั (Defending Play) การจดั เตรียม (Organization) พน้ื ที่ (Area) กรวย (Cones) ตง้ั ห่างกนั 10 เมตร (ดูจากรปู ) ผเู้ ลน่ (Players) กลมุ่ ละ 2 คน ขัน้ ตอนการฝกึ (Procedure) • ผู้เลน่ ทงั้ 2 เรมิ่ ต้นเคลอื่ นทพี่ รอ้ มกันตง้ั แต่ Cone 1 ถงึ Cone 7 • ผู้เล่นพยายามเคลอื่ นทีโ่ ดยใช้วิธกี ารปอ้ งกัน ย่อตัว, เคลื่อนท่ีด้วยปลายเท้า ทรงตัว ใหด้ ี และ เคลื่อนทีด่ ้วยจงั หวะเทา้ ทเี่ รว็ • ทศิ ทางในการเคลอ่ื นที่ ไปดา้ นหนา้ , ดา้ นขา้ ง, ดา้ นหลงั และการวิง่ เข้าหาคูต่ ่อสู้ ฯลฯ START POINT Cone 2 Cone 1 Cone 4 Cone 3 Cone 5 Cone 6 Cone 7 ภาพท่ี 13 การฝึกการปอ้ งกัน (Defending Play) คู่มอื การพัฒนาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ

25 การเลยี้ งลูกบอล (Dribbling) การจัดเตรยี ม (Organization) ผ้เู ลน่ (Players) แบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 3 คน ห่างกัน 15 เมตร อปุ กรณ์ (Equipment) ลกู บอล 1 ลูก ขั้นตอนการฝึก (Procedure) • ผเู้ ล่นสนี ้ำเงนิ ส่งบอลใหก้ ับผู้เล่นสแี ดงคนท่ี 1 • ผูเ้ ลน่ สนี ้ำเงนิ วงิ่ ไปป้องกันทจี่ ุดกึง่ กลาง • ผเู้ ล่นสแี ดงรบั บอลได้ เล้ยี งเข้าหาผเู้ ลน่ สนี ำ้ เงนิ หลบ • สง่ บอลใหผ้ ู้เลน่ สนี ้ำเงินคนต่อไป • ใช้เทคนิคในการเล้ียงหลบคู่ต่อสู้ จังหวะ, หลอกแบบ Scissors, Step Over โยกหลอก (Feints) ฯลฯ • เม่ือครบแล้วเปลี่ยนเปน็ สแี ดงส่งบอล ขน้ั ก้าวหนา้ (Progression) • เน้นฝกึ ให้เรว็ ขึ้น โดยใช้เท้าเร็วขน้ึ , ใชค้ วามเรว็ ขึน้ และเลยี้ วเขา้ หาด้วยความเร็ว • ฝ่ายปอ้ งกนั – ป้องกนั จริงจัง ภาพท่ี 14 การฝึกการเลี้ยงลูกบอล (Dribbling) การรกุ (Attacking Play) การจัดเตรียม (Organization) พ้นื ที่ (Area) พื้นที่สเี่ หลี่ยม 20 เมตร x 20 เมตร บนบรเิ วณเขตโทษ ผู้เล่น (Players) แบ่งผู้เล่นออกเป็น 2 แถว ยนื อย่ตู รงจุดเริ่มต้น ผู้เล่นอกี 2 คนอยู่อกี มุมหน่ึง x2 และ x3 อยูต่ รงกลางแลว้ เปลย่ี นกนั ข้ันตอนการฝกึ (Procedure) • x1 ส่งบอลให้ x2, x2 สง่ ให้ x3 • x3 ส่งบอลให้ x1 วิง่ ออ้ มหลงั (Overlap) x2 มา • x1 ส่งให้ x4 และวง่ิ ไปต่อควิ ขน้ั ก้าวหนา้ -พัฒนาขน้ึ (Progression) • ฝกึ การเล่น 2 จงั หวะ และจงั หวะเดียว • เนน้ ประสิทธิภาพความเรว็ ในการวงิ่ , การสง่ั , การควบคมุ บอล, การเคลอ่ื นที่ และจบเกมรกุ คู่มอื การพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลศิ

26 X3 START POINT X2 X1 X1 ภาพท่ี 15 แบบฝกึ การรุก (Attacking Play) แบบฝึกเพม่ิ (Variation) • x1 ส่งให้ x2, x2 สง่ ให้ x3 • x1 วงิ่ Overlap x2, x3 ส่งให้ x1 • จบเกมรุกโดยการยงิ ประตู พัฒนาการฝึกด้วยการจับบอลจังหวะเดียวหรือยงิ เลย โดยไม่ต้อง จบั ในเขตโทษ X2 X1 X3 START POINT X1 ภาพท่ี 16 แบบฝกึ การรุกยงิ ประตู (Attacking Play) การรักษาประตู (Goalkeeping) การจดั เตรียม (Organization) พื้นที่ (Area) ใช้ กรวย 4 อัน วางห่างกนั แนวกวา้ ง 4 เมตร ยาว 10 เมตร (ตามรปู ) ผ้รู ักษาประตู (Goalkeepers) 2 คน ขัน้ ตอนการฝกึ (Procedure) 1. ผรู้ ักษาประตทู งั้ 2 คน เรมิ่ ต้นพร้อมกัน 2. ผรู้ ักษาประตคู นหนงึ่ เป็นคนนำอกี คนหนง่ึ ทำตาม 3. ใชก้ ารฝกึ หลายรปู แบบในการรับลูกบอล 4. เรม่ิ จาก การว่งิ ช้าๆ, Footwork กา้ วเดินขา้ งช้าๆ (Small Side Steps) ก้าวเดินขา้ งกว้างขนึ้ (Bigger Side Steps) ว่ิงถอยหลงั (Backward Runs) คู่มอื การพฒั นาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ

27 วิ่งกระโดดยกเขา่ สงู (Hopping) วง่ิ Step เท้า (Skipping) วงิ่ 1-2 ก้าว กระโดด (1 and 2 Legged Jumps) 5. เคลื่อนทจ่ี ากจุดเรมิ่ จนส้ินสดุ เร่มิ สง่ ลูกบอลเรยี ดกับพนื้ ระดบั อก, ระดบั ศีรษะ และตำแหนง่ ตา่ งๆ ท่ีผรู้ ักษาประตู ต้องฝกึ ปอ้ งกัน 4M ภาพท่ี 17 การฝึกผรู้ กั ษาประตู คมู่ ือการพัฒนาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลิศ

28 แบบฝกึ กฬี าฟุตบอลขั้นพืน้ ฐาน ตารางท่ี 1 ความคุ้นเคยกับลูกบอล 1 (Ball Feeling 1) ความคุน้ เคยกบั ลูกบอล 1 (Ball Feeling 1) จดุ ม่งุ หมาย จุดสำคญั ของการฝกึ เพ่ือพัฒนาความสามารถในการทำความคุ้น • ใช้เท้าด้านใน เท้าด้านนอก และหลังเท้า เคยกับลูกบอล (รับรู้น้ำหนัก และความอ่อนแข็ง (Instep) และฝ่าเท้าสัมผสั ลกู บอล ของบอล (Pressure) โดยใช้ส่วนตา่ งๆ ของเท้าใน • หยุดลูกบอลด้วยความนุม่ นวล และน้ำหนักที่ การรับความรสู้ ึก) แตกต่างกนั การจดั เตรยี ม • เคล่ือนไหวไปในทิศทางต่างๆ ด้วยความเร็ว • พืน้ ที่สนามฝกึ ขนาด 10 เมตร x 10 เมตร ทแี่ ตกต่างกัน • ผูเ้ ล่น 3 คนต่อลกู ฟุตบอล 1 ลกู • คอยดูแลให้นักกีฬาใช้เท้าท้ังสองข้าง และ อปุ กรณ์ รักษา สมดลุ ของรา่ งกายใหด้ ีอยู่ตลอดเวลา กรวย เคร่อื งหมายบอกตำแหน่ง ฟุตบอล • เพ่ิมทักษะจากง่ายไปหายาก เคลื่อนทจี่ ากช้า ขนั้ ตอน ไปเร็ว • ผเู้ ลน่ สามารถเคลอ่ื นไหวได้อยา่ งอสิ ระในที่ • ใช้ส่วนตา่ งๆ ของเทา้ ท้งั สองสัมผสั ลกู บอล • เคล่ือนไหวไปในทศิ ทางตา่ งๆ • มเี วลาพกั ใหเ้ พียงพอ (สดั สว่ น W: R = 3:1) เพื่อความกา้ วหน้า • สัมผัสลูกบอลให้มากขึ้น • เพ่ิมความเรว็ ของเทา้ (Foot Work) • เพ่ิมเทคนิคการกลับตัว (Outside Hook, Side Hook, Drag Back, Cruyff Turn) เป็นตน้ ที่มา : กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา, 2555 : 58 ภาพที่ 18 ฝกึ ความคุ้นเคยกบั ลูกบอล 1 (Ball Feeling 1) คู่มือการพฒั นาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลศิ

29 ตารางที่ 2 การเลี้ยงลกู บอล (Dribbling) การเลย้ี งลูกบอล (Dribbling) วตั ถุประสงค์ จุดสำคญั ของการฝกึ เพ่ือพฒั นาเทคนิคของการเลีย้ งลกู บอล • เล้ียงเข้าไปหาคู่ต่อสู้ แล้วลดความเรว็ ลงเพ่ือ การจัดเตรียม หลอกล่อโดยการเลี้ยงลูกแบบ Scissors Step • พืน้ ท่สี นาม ขนาด 10 เมตร x 10 เมตร Over เป็นตน้ • ผเู้ ลน่ 3 คนต่อลูกฟตุ บอล 1 ลูก • ฉกี หลบไปดา้ นข้างเป็นมุม แลว้ เรง่ ความเรว็ อุปกรณ์ • เลีย้ งลกู หลบคตู่ อ่ สู้ไปทางซ้ายและขวา กรวย เคร่อื งหมายบอกตำแหน่ง ฟตุ บอล • พยายามให้ใช้เทคนิคและฟุตเวิร์กหลายๆ ขัน้ ตอน แบบ เพื่อหลอกล่อคู่ตอ่ สู้ • ผู้เล่นสามารถเคล่ือนไหวได้อย่างอิสระใน • เน้นการเปลี่ยนทิศทางและความเร็วอย่าง บริเวณพนื้ ที่ ฉบั พลัน เพือ่ หลอกคตู่ อ่ สู้ • ผู้เล่นใช้เทคนิคหลากหลายในการเลี้ยงลูก บอล Body Feint Scissors…………………………….. • มีเวลาพกั ใหเ้ พยี งพอ (สัดส่วน W: R = 2:1 ) ความกา้ วหน้า • เพ่ิมความเร็วในการเคล่ือนไหวและเร่ง ความเร็ว • วางกรวยสูงๆ 3 อัน ข้างในพ้ืนท่ีสมมุติว่า เปน็ ผเู้ ลน่ ฝา่ ยตรงข้าม ทม่ี า : กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา, 2555 : 59 ภาพที่ 19 ฝึกการเล้ยี งลกู บอล (Dribbling) ค่มู อื การพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลศิ

30 ตารางท่ี 3 การสง่ ลูกสั้น 1 (Short Pass 1) การส่งลูกส้นั 1 (Short Pass 1) วัตถุประสงค์ จดุ สำคญั ของการฝกึ เพ่อื พัฒนาเทคนิคในการส่งลกู สั้น 1 เทคนิค การจดั เตรียม - การวางเทา้ ท่ีไม่ใชเ้ ตะข้างลกู บอล • พื้นทีส่ นามฝกึ ขนาด 10 เมตร x 10 เมตร - การวางเทา้ ทใี่ ช้เตะไปด้านหลงั • ผู้เลน่ 3 คนต่อลูกฟุตบอล 1 ลูก - เตะที่กลางลูกบอลด้วยข้างเท้าด้านในเกร็ง อุปกรณ์ ขอ้ เท้า (ดูภาพ) กรวย เคร่อื งหมาย ลูกฟตุ บอล - เคล่ือนเท้าเตะในลักษณะ Follow Through ขัน้ ตอน ตามแนวทศิ ทางของลูกบอล • ผ้เู ล่นแต่ละคนเคลอ่ื นทตี่ ามแนวเสน้ เขตฝกึ • ผเู้ ล่นทคี่ รอบครองฟตุ บอล สง่ ลูกใหก้ บั ผเู้ ล่น อ่ืน คนใดก็ได้ แล้วว่ิงไปท่ีเส้นเขตฝึกท่ีไม่มีผู้เล่น อยู่ ความก้าวหน้า 2 จุดเน้น • ให้ฝึกเล่นโดยสัมผัสลูก 2 จังหวะ และลด - เนน้ คณุ ภาพของการสง่ เหลือ จงั หวะเดียว - ความแม่นยำ (รา่ งกายจะต้องหันหน้าไปทาง • ให้ฝึกแบบส่งลูกด้วยข้างเท้าด้านนอก ด้าน ผู้รบั ) ในหลงั เท้า - น้ำหนกั /ความแรง (ควบคมุ การเหว่ียงเท้า) • เน้นการชิป (Chip) - มมุ (มมุ ของเท้าในจงั หวะทส่ี มั ผัสลกู บอล) - จงั หวะ ท่มี า : กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา, 2555 : 60 ภาพท่ี 20 ฝึกการสง่ ลกู ส้นั 1 (Short Pass 1) คมู่ อื การพฒั นาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลิศ

31 ตารางท่ี 4 การส่งลกู สนั้ 2 (Short Pass 2) การสง่ ลูกสัน้ 2 (Short Pass 2) วัตถุประสงค์ จดุ สำคญั ของการฝกึ เพื่อพฒั นาเทคนคิ การส่งเมอ่ื ไร? ท่ีไหน และ 1. เทคนิค อย่างไร? ในการสนบั สนนุ ผเู้ ลน่ มบี อล - ความแม่นยำ น้ำหนัก มุม จังหวะ และ การ การจดั เตรียม หลอกของการส่ง เพอ่ื รกั ษาการครอบ ครองบอล • พืน้ ท่สี นามฝกึ ขนาด 10 เมตร x 10 เมตร 2. จะช่วยสนับสนุนเมื่อไร? ทันทีที่เพื่อนร่วมทีม • ผู้เลน่ ฝา่ ยรกุ 3 คน ฝ่ายรบั 1 คน ลกู บอล 1 ได้สัมผัสลกู บอลเพื่อจะทำการสง่ ลกู ตอ่ เขตฝกึ 3. จะช่วยสนับสนุนท่ีใด? ให้เคล่ือนที่ไปยังพ้ืนที่ อุปกรณ์ ว่า ง ที่ เพื่ อ น ร่ ว ม ที ม ที่ ค ร อ บ ค ร อ ง ลู ก บ อ ล อ ยู่ กรวย เครอื่ งหมายแสดงเขต ฟตุ บอล เสอ้ื กลาง สามารถส่งลูกบอลได้โดยใสล่ ูกการตัดจากฝา่ ยรับ ขน้ั ตอน จดุ สำคัญของการฝึก • ผู้เล่นฝ่ายรุกพยายามรักษาการครอบครอง 1. เทคนิค ลกู ฟุตบอล ภายในเขตฝกึ - ความแม่นยำ น้ำหนัก มุม จงั หวะ และ การ • ผเู้ ล่นฝา่ ยรับพยายามแย่งเพอ่ื ครองบอล หลอกของการส่ง เพอ่ื รกั ษาการครอบ ครองบอล • การส่งตอ่ เนื่องได้ครบ 14 ครั้ง ให้นบั เป็น 1 2. จะช่วยสนับสนุนเม่ือไร? ทันทีที่เพ่ือนร่วมทีม ประตู ได้สัมผัสลูกบอลเพือ่ จะทำการสง่ • เปล่ียนผู้เล่นฝ่ายรับ เม่ือแย่งลูกบอลได้ 3 3. จะช่วยสนับสนุนท่ีใด? ให้เคลื่อนที่ไปยังพื้นท่ี ครง้ั หรอื สญู เสยี การครอบครอง ว่า ง ที่ เพื่ อ น ร่ ว ม ที ม ที่ ค ร อ บ ค ร อ ง ลู ก บ อ ล อ ยู่ ความกา้ วหนา้ สามารถ ส่งลูกบอลไดโ้ ดยใส่ลูกการตดั จากฝ่ายรบั • ให้เลน่ แบบสมั ผสั ลูกบอลได้ 2 ครั้ง • ลดขนาดพืน้ ทีเ่ ขตฝึก • เพมิ่ จำนวนฝ่ายรับ ที่มา : กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า, 2555 : 61 ภาพที่ 21 ฝกึ การสง่ ลกู สัน้ 2 (Short Pass 2) คมู่ อื การพฒั นาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศ

32 ตารางที่ 5 การส่งลกู ยาว (Long Pass) การสง่ ลกู ยาว (Long Pass) วัตถปุ ระสงค์ จดุ สำคัญของการฝึก เพ่อื พัฒนาเทคนคิ การสง่ ลกู ยาว 1. เทคนคิ การจัดเตรียม • เขา้ หาลกู บอลในแนวเฉียง • พ้ืนท่ีสนามฝึก ขนาด 10 เมตร x 30-50 • วางเท้าข้างทีไ่ มไ่ ดใ้ ช้เตะหลงั และห่างจาก เมตร (พ้ืนที่ฝึกข้ึนอยู่กับอายุและความสามารถ ลกู บอล ของผ้เู ลน่ ) • ข้างเทา้ เหวี่ยงไปด้านหลงั เตม็ ที่ • ผเู้ ล่น 2 คน ตอ่ 1 เขตฝึก พร้อมบอล 1 ลกู • สัมผสั ลูกบอลด้วยหลงั เท้า (Instep) ณ จดุ อุปกรณ์ ทีต่ ำ่ กว่า แนวกลางบอล กรวย เคร่ืองหมายแสดงเขต ฟุตบอล เส้ือกลาง • เหวี่ยงเท้าตามในแนวการเคล่ือนของลูก ขน้ั ตอน บอล • ให้ผู้เล่นยืนอยู่ที่ปลายเขตฝึกแต่ละด้านตรง ขา้ มกัน • ผู้เล่นท่ีมีบอลเตะลูกยาวส่งให้เพ่ือนที่อยู่อีก ด้าน • เมื่อรับลูกบอลได้ ให้เตะลูกยาวส่งคืนให้กัน 2 จดุ เน้น และกนั • ความแมน่ ยำ (ลำตวั หันในทิศทางของผู้รบั ) ความก้าวหนา้ • น้ำหนัก/ความแรง (ควบคุมการเหวีย่ งเทา้ ) • ใหเ้ ล่นแบบสมั ผสั ลกู บอลได้ 2 ครง้ั • มุม (มุมของการสัมผัสของหน้าเท้ากับลูก • เพิ่มระยะทางของการฝึก บอล) • เพิ่มให้มีผู้เล่นฝ่ายรับระหว่างกลาง เพื่อ • จังหวะเวลา (จังหวะการที่ส่งที่สัมพันธ์กับ ขัดขวางการส่ง การว่ิง/ เคล่ือนทีข่ องผ้รู ับ) • อนุญาตให้ผู้เล่นฝ่ายรับป้องกันกดดันได้ใน • การเตะปั่นลูกบอลให้มีวิถีโค้ง (เตะโดย ระยะห่าง 10 เมตร สัมผสั ลกู บอลที่ด้านข้าง ซา้ ย หรอื ขวา) ท่ีมา : กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า, 2555 : 62 Progression ภาพท่ี 22 การส่งลกู ยาว (Long Pass) ค่มู ือการพฒั นาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลศิ

33 ตารางท่ี 6 การควบคมุ ลกู บอล (Ball Control) การควบคุมลกู บอล (Ball Control) วตั ถปุ ระสงค์ จดุ สำคญั ของการฝึก เพื่อพัฒนาความสามารถในการรับ และ • ไม่ก้มหน้า เงยหน้ามองสถานการณ์รอบๆ ควบคุมลูกบอล (Control) กอ่ นจะรับลูกบอล การจัดเตรยี ม • การทำเช่นน้ันเป็นการสร้างความพร้อมใน • พ้ืนที่สนามฝึก ขนาด 20 เมตร x 20 เมตร การฝึก การเดินทางของลกู บอล เพ่อื นคู่ฝกึ ผูเ้ ล่น แบง่ เป็น 4 โซน อื่น และเขตพืน้ ทข่ี องตน • แบ่งให้มีผู้เล่น 2 คน ใส่เส้ือเอี๊ยมสีเดียวกัน • เคล่ือนท่ีเข้าหา แนวการเดินทางของลูก ในแต่ละ โซนพรอ้ มลกู บอล 1 ลกู บอล อุปกรณ์ • ตดั สินใจว่าจะใช้พ้ืนท่ีร่างกายสว่ นใดในการ กรวย เครื่องหมายแสดงเขต ฟตุ บอล เสื้อกลาง ควบคมุ ลูกบอล เท้า อก ตน้ ขา ข้นั ตอน • ตดั สินใจวา่ จะบังคบั ให้ลกู บอลไปในทศิ ทาง • ผู้เล่นเคลื่อนไหวอสิ ระภายในโซน ใด เป็นระยะทางเทา่ ใด ทัง้ น้ี ขนึ้ อยูก่ บั พ้นื ที่ผูเ้ ล่น • เมื่อสง่ ลูกไดเ้ พ่ิมแลว้ จะต้องเคลอ่ื นที่ไปยงั 1 อื่น และทศิ ทางที่ไดต้ งั้ ใจไว้ เป็นต้น ใน 3 โซนอ่ืน เพอ่ื รบั ลูกที่จะสง่ กลับคนื • ใช้ร่างกายส่วนท่ีต้องการสัมผัสกับลูกบอล • พยายามให้แน่ใจว่าลูกบอลท่ีส่งให้กันนั้นไม่ แล้ว ผอ่ นโดยทันที เพอ่ื ลดความแรงของลกู บอล ถกู ตดั หรอื ถูกตัวผเู้ ล่นอ่ืน • จดั มุมของพื้นที่ร่างกายทีใ่ ช้ควบคุมลูกบอล ความก้าวหนา้ ไปใน ทิศทางท่ตี อ้ งการ • ฝึกแบบสมั ผัสลูกบอลได้ 2 ครงั้ • ลดขนาดพื้นที่เขตฝึก ทีม่ า : กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกีฬา, 2555 : 63 ภาพท่ี 23 ฝึกการควบคมุ ลกู บอล (Ball Control) คูม่ อื การพฒั นาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลิศ

34 ตารางที่ 7 การยิงประตู 1 (Shooting 1) การยงิ ประตู 1 (Shooting 1) วัตถปุ ระสงค์ จุดสำคญั ของการฝึก เพ่ือพัฒนาเทคนิคการยิงประตู 1. เทคนคิ การจดั เตรียม • ให้ดูตำแหนง่ ยืนของผู้รักษาประตโู ดยการเงย • พื้นท่ีสนามฝึกขนาด 10 x เมตร 30-40 หนา้ มอง เมตร (พื้นที่ฝึกขึ้นอยู่กับอายุและความสามารถ • วางเท้าขา้ งทไ่ี มไ่ ด้ใชเ้ ตะขา้ งลูกบอล ลำตวั อยู่ ของผเู้ ลน่ ) เหนอื ลูกบอล • ประตูทำด้วยกรวย 2 อัน วางห่างกัน 8 • ขา้ งเท้าท่ีใชเ้ ตะสวิงไปดา้ นหลงั เต็มที่ เมตร บนเสน้ แบง่ ครง่ึ พนื้ ที่ฝึก • สัมผัสลูกบอล ณ จุดกึ่งกลางบอลด้วยหลัง • ผู้เล่น 2 คน ยนื อยทู่ ีป่ ลายเขตฝึกขา้ งละคน เทา้ / บริเวณเชอื กผกู รองเทา้ • ลกู บอล 5 ลกู • เคล่ือนเท้าตามแนวของลูกบอล (Follow • ผ้รู กั ษาประตู 1 คน Through) ขัน้ ตอน 2 จุดเนน้ • ใหผ้ ู้เล่นท่อี ยปู่ ลายเขตยงิ ลูกตงั้ เตะ • ความแมน่ ยำมาก่อนความแรง • ให้ผู้รักษาประตูได้มีเวลาเตรยี มความพร้อม พอเพยี ง ในการหาตำแหน่งยืนและการตง้ั ตัว ความกา้ วหนา้ • ยงิ ประตูจากลกู ท่ีกำลงั เคลื่อนท่ี • ให้มีผู้ส่งลูกบอล (ดังภาพ) ให้ผู้ฝึกยิงประตู จาก ทิศทางตา่ งๆ • ยงิ ประตูในแนวเฉยี งไปทางมมุ ไกล • บังคับให้สัมผัสลูกบอลได้ 2 จังหวะ และลด • ยิงประตูแล้วเคลื่อนที่ไปรอซ้ำลูกกระดอน เหลอื จงั หวะเดียว หรือ ลกู ท่ผี รู้ ักษาประตูปัดออกมา ทมี่ า : กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกีฬา, 2555 : 64 ภาพท่ี 24 การยงิ ประตู 1 (Shooting 1) คู่มือการพฒั นาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ

35 ตารางที่ 8 การยงิ ประตู 2 (Shooting 2) การยิงประตู 2 (Shooting 2) วตั ถปุ ระสงค์ จดุ สำคัญของการฝกึ เพือ่ พฒั นาทกั ษะการยงิ ประตูภายใตภ้ าวะ 1. เทคนิค/ทกั ษะ กดดัน - เงยหน้ามองตำแหน่งของผู้รักษาประตู การจัดเตรยี ม ความเร็ว และทศิ ทางของผ้เู ลน่ ฝ่ายรับ • พื้นที่สนามฝึก ขนาด 10 เมตร × 30-40 2. ตดั สนิ ใจ เมตร (พน้ื ทฝี่ ึกข้ึนอยู่กับความสามารถของผูเ้ ลน่ ) - จะยิงประตูในจังหวะแรกหรือคอนโทรลลูก • ประตูทำด้วยกรวย 2 อัน วางห่างกัน 8 บอล ให้ห่างจากผู้เลน่ ฝ่ายรับ เพอื่ สรา้ งมมุ ในการ เมตร บนเสน้ แบง่ คร่งึ พน้ื ท่ฝี ึก ยงิ ประตทู ีด่ ี • ผ้เู ลน่ อ่นื อยทู่ ป่ี ลายเขตฝึกดา้ นละ 1 คน 3. เทคนิค • ผู้เล่นฝ่ายรับยืนอยู่ห่างเป็นระยะ 10 เมตร - ใช้เทคนคิ การยงิ ประตจู ากทฝ่ี กึ มาแล้ว ในแต่ละขา้ ง ของสนาม พร้อมลูกฟุตบอล 5 ลูก 4. จุดเน้น • ผ้รู ักษาประตู 1 คน - การตัดสินใจที่รวดเร็วและถูกต้อง (ยิงใน อปุ กรณ์ จงั หวะแรก) กรวย ฟตุ บอล เสอื้ กลาง - การแตะสัมผัสลูกบอลในจังหวะแรกที่จะ ขั้นตอน สร้าง โอกาสสงู สดุ ในการยิงประตู 1. ผู้เล่นฝา่ ยรับส่งลูกใหฝ้ ่ายรกุ - การปฏิบัตติ ามเทคนคิ ท่ีถกู ต้อง 2. เมอื่ ผเู้ ลน่ ฝ่ายรกุ ได้แตะสัมผสั ลูกบอล ผู้เล่น - ความแม่นยำสำคัญกว่าความแรง ฝ่ายรับ จะต้องสร้างความกดดันโดยทันทีเพ่ือจะ - ยิงประตูไปในแนวมุมท่ีไกล (เสาไกล) ของ สกดั กนั้ หรอื ปอ้ งกนั การยิงประตู ผรู้ กั ษาประตู 3. ผเู้ ลน่ ฝา่ ยรุกจะต้องจบการเล่นโดยการยงิ - ยิงแลว้ เคลอ่ื นทต่ี ามซ้ำลูกกระดอน 4. หมุนเปล่ยี นตำแหนง่ การเลน่ 5. ให้ส่งลูกบอลจาก 2 ดา้ น (ซา้ ยและขวา) ท่มี า : กรมพลศกึ ษา กระทรวงการท่องเทยี่ วและกีฬา, 2555 : 65 Attacker Defender Defender Attacker ภาพท่ี 25 การยงิ ประตู 2 (Shooting 2) คูม่ ือการพฒั นาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลิศ

36 ตารางท่ี 9 การป้องกันของผเู้ ล่นแตล่ ะคน (Individual Defending 1) การปอ้ งกันของผู้เลน่ แตล่ ะคน (Individual Defending 1) วัตถปุ ระสงค์ จุดสำคัญของการฝึก เพื่อพัฒนาทักษะการเล่นป้องกันของผู้เล่น 1. ตำแหน่งเริม่ เล่นของผเู้ ลน่ B 1 ในโซนกลาง แบบ 1 ตอ่ 1 - อยู่ฝั่งใกล้ประตู เช่น ระหว่างผู้เล่นฝ่ายรับ การจัดเตรียม และประตู • พ้ืนท่ีสนามฝึก ขนาด 10 เมตร × 30 เมตร - ย่อตัวต่ำและพยายามเคลื่อนท่ีเตรียมตัว โดย มีประตู ขนาดห่าง 4 เมตร ทำด้วยกรวยท่ี พรอ้ ม ที่จะเร่งความเรว็ และเปล่ียนทิศทาง ปลาย สนามฝึก 2 ขา้ ง โดยให้มสี แี ตกตา่ งกนั 2. ตัดสินใจ • ผู้เล่นจำนวน 4 คน แบ่งเป็นข้างละ 2 คน - เมื่อลูกบอลถูกส่งออกมาให้ผู้เล่นฝ่ายรับ ตามสเี สือ้ กลาง ตดั สินใจ ว่าจะตัดบอลหรือจะแย่งการครองบอล อุปกรณ์ กรวย เส้นสนาม ฟุตบอล เส้ือกลาง - ถ้าไม่สามารถทำเชน่ นัน้ ไดใ้ หป้ ระกบประชดิ ข้ันตอน คตู่ ่อสู้และสกัดบอลทง้ิ 1. ผเู้ ลน่ X1 และ B1 ยนื ตำแหนง่ ในโซนกลาง 3. การกดดัน 2. ผู้เล่น X 2 จะต้องเล่น 2 จังหวะ จังหวะ - ให้สร้างความกดดันอย่างต่อเน่ืองโดย แรกเพอ่ื เข่ียบอล จังหวะ 2 ส่งลกู ให้ X 1 พยายาม รักษาระยะสำหรับการเข้าสกัดและหยุด 3. ผ้เู ล่น B1 ปอ้ งกัน เมอื่ X2 เล่นจังหวะแรก คตู่ อ่ สู้ ทจ่ี ะกลบั ตวั เปลีย่ นทศิ ทาง 4. ผู้เลน่ X 1 จะต้องทำคะแนนโดยการส่งลูก 4. ส่งิ ที่ตอ้ งจำ บอลให้ B 2 ในขณะท่ีผ้เู ลน่ B 1 จะต้องปอ้ งกนั - เพ่ือจะชะลอการเล่น ให้อดใจรออย่าเข้า 5. เริม่ ตน้ การเล่นใหมจ่ ากปลายสนามอีกข้าง พรวดพราด 6. สลับตำแหนง่ และหน้าทรี่ ะหวา่ งผู้เลน่ ปลาย - อยา่ ทำฟาวล์ สนาม กบั ผเู้ ลน่ ในสนาม - การปฏบิ ัติตามเทคนิคท่ีถกู ต้อง 7. ผู้เล่นจะต้องอยูใ่ นตำแหน่งทีถ่ กู ต้องในขณะ - ปฏิกิริยาตอบสนองต่อการเคลอื่ นที่ของลูก เรม่ิ เลน่ บอล เท่านั้น 8. ให้มเี วลาต้ังหลกั ทพ่ี อเพียง - ป้องกันจนถงึ ทสี่ ุด ที่มา : กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า, 2555 : 66 10m line B1 B2 X1Middle MZoidndele Zone START POINT X2 ภาพที่ 26 การปอ้ งกนั ของผเู้ ลน่ แตล่ ะคน (Individual Defending 1) ค่มู ือการพัฒนาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ

37 ตารางท่ี 10 การป้องกนั ของผู้เลน่ แตล่ ะคน (Individual Defending 2) การป้องกันของผเู้ ลน่ แต่ละคน (Individual Defending 2) วัตถปุ ระสงค์ จดุ สำคญั ของการฝกึ เพอ่ื พัฒนาทักษะการปอ้ งกนั 1 ต่อ 1 1. ตำแหนง่ ในการเรมิ่ เลน่ ของ X 1 การจดั เตรยี ม - อยู่ฝ่ังใกล้ประตู เช่น ระหว่างคู่ต่อสู้กับ • พื้นท่ีสนามฝึก ขนาด 10 เมตร × 30 เมตร ประตู มีประตูเล็ก (กว้าง 4 เมตร) บนเส้นหลังทั้งสอง - ยอ่ ตัวตำ่ และเคลือ่ นท่ีเตรยี มพรอ้ มท่ีจะ เร่ง ดา้ นทำดว้ ยกรวยต่างสี ความเร็ว หรือเปล่ยี นทิศทาง อปุ กรณ์ กรวย เส้นแสดงเขต ลกู บอล เส้ือกลาง 2. ตัดสนิ ใจ ข้ันตอน - ทิศทางทตี่ อ้ งการบงั คบั ใหผ้ เู้ ลน่ ฝา่ ยตรงขา้ ม 1. ผู้เล่น X 2 ใช้การเล่น 2 จังหวะ เปิดการ เคลือ่ นทีไ่ ป เล่นส่งให้ B 1 ท่ียืน อยู่บนเส้น 10 เมตร ซึ่ง - จะสามารถแย่งการครอบครองบอลดว้ ยการ จะต้องทำคะแนนผ่านกรวยสีแดง บล็อก (Block Tackle) หรือการแย่งด้วยปลาย 2. ผู้เล่นฝ่ายรับ (X 1) เร่ิมต้นจากเส้น 20 เทา้ (Toe-Poke) เมตรพยายาม ขัดขวางการทำประตูของ B 1 3. การกดดัน หลังจากท่ี B 1 ไดส้ มั ผสั ลูกบอลเปน็ ครง้ั แรกแลว้ - พยายามสร้างความกดดันอย่างต่อเนื่อง 3. ถา้ ผ้เู ลน่ (X 1) สามารถแยง่ ครองลกู บอลได้ ภายใน ระยะประชิด จะต้อง พยายามทำคะแนนผ่านกรวยสีน้ำเงิน 4. สิ่งที่ตอ้ งจำ และ B 1 เปล่ยี นเป็น ฝา่ ยรบั ต้องพยายามป้องกนั - เพื่อจะชะลอการเล่น ต้องอดใจรอ และอย่า 4. การเล่นจะเริม่ ใหม่จากปลายสนามอีกด้าน ผลผี ลาม หน่ึง โดย B 2 ใชก้ ารเลน่ 2 จังหวะ สง่ ลกู บอลให้ - อยา่ ทำฟาล์ว X 1 แลว้ ตอ่ เนอ่ื ง ด้วยกระบวนการเชน่ เดมิ - มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อการเคล่ือนที่ของ 5. สับเปล่ียนผู้เล่นระหว่างผู้เล่นปลายสนาม ลกู บอลเทา่ น้นั กับผู้เลน่ ในสนาม - ปอ้ งกนั จนถึงท่สี ุด 6. พยายามให้ผู้เล่นเร่ิมเลน่ จากเสน้ ต่างๆ 7. ใหม้ ีระยะเวลาการพักเพือ่ ความเหมาะสม 20m line B2 X1 B1 100m line START POINT X2 ภาพที่ 27 การปอ้ งกนั ของผเู้ ล่นแตล่ ะคน (Individual Defending 2) คู่มือการพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ

38 ตารางที่ 11 การเลน่ เป็นฝ่ายรกุ ของผู้เลน่ แตล่ ะคน (Individual Attacking Play) การเลน่ เป็นฝา่ ยรกุ ของผเู้ ลน่ แต่ละคน (Individual Attacking Play) วตั ถปุ ระสงค์ จดุ เนน้ สำคญั ของการฝกึ เพื่อพัฒนาความสามารถในการเล่นรุกใน 1. เงยหน้ามองเพื่อให้พร้อมต่อสถานการณ์และ สถานการณ์ 1 ตอ่ 1 ตำแหนง่ ของคู่ตอ่ สู้ การจัดเตรยี ม 2. ควบคุมลูกบอลในลักษณะเตรียมพร้อม เพ่ือ • พื้นท่ีสนามฝึก ขนาด 15 เมตร × 15 เมตร การ เล่นต่อไป เชน่ การเลี้ยงลกู บอล ว่ิง ยิงประตู ประตทู ำดว้ ย กรวยยางสีน้ำเงิน 2 คู่ และสีแดง 2 3. ถ้าตกในภาวะกดดันให้ใช้การบังลูกบอลโดยใช้ คู่ ขนาดกว้าง 2 เมตร ลำตัวอยรู่ ะหว่างลกู บอลกับคู่ต่อสู้ • ผู้เล่นกลุ่มละ 3 คน 2 กลุ่ม (ดูตำแหน่งการ 4. ตดั สนิ ใจ เริ่มเลน่ ตามภาพ) - จะไปทางไหน (ขวา ซ้าย กลาง ถอยหลัง อปุ กรณ์ กรวย เสน้ แสดงเขต ลกู บอล เส้ือกลาง เดินหนา้ หรอื อยกู่ ับท่ี) ข้นั ตอน - จะไปเมือ่ ไร (เร็ว ช้า หรืออยู่กับท่ี) 1. เร่ิมเล่นโดยผเู้ ลน่ กลมุ่ ละ 1 คน - จะไปอย่างไร (เลย้ี งลกู บอล ว่ิงตามลูกบอล 2. โคช้ เริ่มการเล่นโดยการสง่ ลกู บอลให้ผเู้ ลน่ สี เปลยี่ นความเร็วและทิศทาง) แดง (ผูเ้ ลน่ ฝา่ ยรุก) 5. ประสิทธภิ าพของทกั ษะ 3. ผเู้ ล่นฝา่ ยรุกพยายามทำคะแนนโดยยิงผ่าน - การรบั การบัง การหมุนกลับตัว การเล้ียง ประตู สีน้ำเงนิ ลกู บอล การว่งิ และการยิงประตู 4. ผู้เล่นสีน้ำเงินเป็นฝ่ายรับพยายามป้องกัน แย่งการ ครอบครองลูกบอล และทำคะแนนโดย ยงิ ผา่ นประตสู แี ดง5. การเล่นจะหยดุ เมื่อมีการยิง ประตหู รือหมดเวลา 1 นาที 6. ผู้เล่นคู่ต่อไปจะเริ่มเล่นโดยโค้ชส่งลูกบอล เขา้ เล่น 7. อัตรา (ฝึก : พัก = 1 : 2) อนุญาตให้มีการ พัก อยา่ งเหมาะสม ภาพท่ี 28 การเลน่ เปน็ ฝ่ายรกุ ของผเู้ ลน่ แตล่ ะคน (Individual Attacking Play) คู่มอื การพฒั นาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลศิ

39 ตารางที่ 12 การเลน่ เกมรุก (Attacking Play) การเล่นเกมรกุ (Attacking Play) วัตถุประสงค์ จุดเน้นสำคญั ของการฝึก เพื่อพฒั นาและสนบั สนุนความคดิ สรา้ งสรรค์ 1. เงยหน้ามองเพ่ือให้รู้พ้ืนท่ีสนาม ตำแหน่งยืน ในการเลน่ เกมรกุ ของ เพอ่ื นรว่ มทมี และฝ่ายตรงขา้ ม การจดั เตรยี ม 2. ผู้เล่นทคี่ รอบครองลูกบอล-ควบคมุ ลกู บอลเพื่อ • พนื้ ทีส่ นามฝกึ ขนาด 20 เมตร × 20 เมตร พร้อม ท่ีจะเล่นต่อไป เช่น เลี้ยงลูกบอล ส่ง วิ่ง • ประตทู ำด้วยกรวยยางสนี ้ำเงิน 2 ประตู และสี เปน็ ตน้ แดง 2 ประตู ขนาดกว้าง 2 เมตร 3. บังบอลเมื่ออยู่ในภาวะกดดัน โดยการใช้ลำตัว • ผู้เล่นกลุ่มละ 4 คน 2 กลุ่ม บัง ระหว่างลกู บอลกบั คู่ต่อสู้ ขั้นตอน 4. ผู้เล่นท่ี ไม่ได้ครอบ ครองลูกบ อล (ผู้เล่น 1. เร่ิมเล่นโดยผู้เล่นข้างละ 2 คน จากแต่ละ สนับสนนุ /ประคอง) กลมุ่ - เคลือ่ นท่ตี ัวหาผู้เล่นท่ีครอบครองลกู บอล รับ 2. ผู้ฝึกสอนเริ่มการฝึกโดยส่งลูกบอลให้ทีมสี ลูกส่งผสมการเลน่ เปน็ ต้น แดง (ฝา่ ยรุก) - เคลื่อนท่ีห่างออกไปเพื่อสร้างพื้นที่ว่าง และ 3. ทีมสีแดงจะต้องพยายามยิงประตูกรวยสีน้ำ ดงึ คู่ตอ่ ส้อู อกไป เงิน 5. ผ้เู ลน่ ท้งั สองจะตอ้ งตดั สนิ ใจวา่ 4. ที ม สี น้ ำเงิน จ ะ ต้ อ งป้ อ งกั น แ ย่ งก า ร - จะไปที่ไหน (ขวา ซ้าย กลาง ข้างหน้า ข้าง ครอบครองและ ยิงประตกู รวยสีแดง หลัง หรอื อยู่กบั ท่ี) 5. หยดุ การเล่นเม่ือมกี ารยงิ ประตหู รอื ครบเวลา - จะไปเม่อื ไร (เร็ว ชา้ หรอื อยกู่ บั ท่ี) 2 นาที - จะไปอยา่ งไร (เล้ียงลูกบอล ส่ง การเล่นผสม 6. ผู้เล่นคู่ต่อไปเปลี่ยนเข้าเล่นโดยผู้ฝึกสอนส่ง (Combination Play) ตัวอ ย่างเช่น ส่งลูกชิ่ ง ลูกเรม่ิ (Wall Pass) เลี้ยงครอบครองบอลให้เพื่อน เม่ือ 7. อนุญาตให้มีเวลาพักพ้ืนที่มากพออัตราส่วน สวนทางกนั แลว้ ปล่อยบอลใหเ้ พ่อื น (Take Over) ของการฝกึ และพักเท่ากบั 1 ต่อ 3 ทมี่ า : กรมพลศึกษา กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า, 2555 : 69 START POINT ภาพที่ 29 การเลน่ เกมรุก (Attacking Play) คู่มอื การพฒั นาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ

40 ตารางที่ 13 การรบั ลกู เรียดมากบั พืน้ ของผู้รกั ษาประตู (Handling Low Ball) การรับลกู เรียดมากบั พน้ื ของผ้รู กั ษาประตู (Handling Low Ball) วัตถุประสงค์ จดุ เนน้ สำคัญของการฝึก เพื่อพัฒนาเทคนิคการจับลูกบอล การยืน 1. เทคนคิ ตำแหน่งและฟตุ เวิร์กของผ้รู ักษาประตู ตำแหนง่ การยนื การจัดเตรยี ม - ยืนบนปลายเท้า ความห่างของเท้าทั้งสอง • พ้นื ท่ีสนามฝกึ ขนาด 10 เมตร × 10 เมตร มี ประมาณความกว้างของช่วงไหล่ เอนตัว ไป ประตู ทำด้วยกรวยวางห่างกนั 6-8 เมตร บนเส้น ขา้ งหนา้ เล็กนอ้ ย เขา่ ย่อพอประมาณ เขตทั้ง 2 ด้าน (ขนาดของประตูข้ึนอยกู่ ับอายุและ - กางแขนออกดา้ นข้างของลำตัว ความสามารถ ของผเู้ ลน่ ) - ศีรษะนิ่ง มองผู้เล่นและลูกบอล การรับลูก • ผูร้ กั ษาประตู 2 คน สำหรบั แต่ละพนื้ ท่ีการฝึก บอล เรียดพน้ื ฟตุ บอล 1 ลูก การรบั ลูกบอล อปุ กรณ์ - คะเนทิศทางและความเรว็ ของลกู บอล กรวย เสน้ แสดงเขต ฟุตบอล - เคลื่อนท่ีเข้าสู่ทิศทางของลูกบอล โดยการ ขัน้ ตอน สไลด์ไปด้านขา้ ง ไมใ่ ห้มกี ารไขว้ขา้ มเทา้ 1. ผูร้ กั ษาประตโู ยนลกู เรยี ดบนพนื้ ให้กันและกนั - ย่อเขา่ จดั ให้เปน็ รูปอักษร K (ดงั ภาพ) 2. สลบั การโยนและการรบั - แบฝ่ามือเรยี งให้นิ้วกอ้ ยชดิ กันหันฝา่ มือออก 3. ให้มีเวลาสำหรับการปรับตำแหน่งและการ - เมื่อลูกบอลมาถึงใชฝ้ ่ามือช้อนลูกบอลข้ึน ให้ พักฟน้ื ทพ่ี อเพยี ง มว้ นกลงิ้ เข้าสู่ออ้ มแขน ความกา้ วหน้า 1. เปลีย่ นจากการโยนเป็นการเตะ 2. เปลย่ี นเป็นการรับลกู บอลระดบั อกและระดับ เหนอื ศีรษะ ภาพที่ 30 การรบั ลกู เรยี ดมากับพนื้ ของผู้รักษาประตู (Handling Low Ball) คมู่ อื การพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลิศ

41 ตารางที่ 14 การพ่งุ รับสำหรบั ผู้รกั ษาประตู (Diving) การพงุ่ รบั สำหรบั ผรู้ ักษาประตู (Diving) วตั ถุประสงค์ จดุ เน้นสำคัญของการฝึก เพ่ือพัฒนาเทคนิคการพงุ่ รบั สำหรบั ผรู้ ักษา 1. เทคนิค ประตู ตำแหนง่ การยืน การจดั เตรียม - เหมอื นการฝกึ รับลูกเรียด • พื้นที่สนามฝึก ขนาด 10 เมตร × 15 เมตร การพุ่ง มีประตู ทำด้วยกรวยวางห่างกัน 6-8 เมตร บน - คะเนความเร็ว และทศิ ทางของลกู บอล เส้นหลัง ท้ัง 2 ด้าน (ขนาดของประตูข้ึนอยู่กับ - การเคลื่อนท่ีของเทา้ จะต้องเร็วเพ่ือเคลื่อนตวั อายุและ ความสามารถของผเู้ ลน่ ) ไปยังจดุ หมาย • ผู้รักษาประตู 2 คน สำหรับแต่ละพื้นที่การ - ยบุ ย่อขาขา้ งท่ีอยใู่ กลล้ กู บอล ฝึกฟตุ บอล 1 ลกู - ลำตวั เปิดรับลกู บอล อุปกรณ์ - เหยยี ดแขนท้งั สองออกไปพร้อมฝ่ามอื จัดเรยี ง กรวย เสน้ แสดงเขต ฟตุ บอล เป็นรปู อกั ษร W (ตามรปู ) ขนั้ ตอน - ใช้สะโพก และรา่ งกายสว่ นบนรองรบั การลง 1. ผ้รู ักษาประตปู อ้ นลูกบอลโดยการโยนใหก้ นั สพู่ น้ื และกนั - ควบคมุ ลูกบอลโดยการดงึ เขา้ หาหนา้ อก และ 2. สลบั การโยนและการรับ ใช้แขน ทั้งสองโอบล้อมกอดลกู บอลไว้ 3. ให้มเี วลาสำหรบั การปรับตำแหนง่ และการ “W” พกั ฟน้ื ท่พี อเพยี ง ความก้าวหนา้ 1. เปลีย่ นจากการโยนเปน็ การเตะ 2. ยอ่ ระยะให้ใกลข้ ้ึน เหลือ 10 เมตร ทีม่ า : กรมพลศกึ ษา กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า, 2555 : 71 ภาพที่ 31 การพุ่งรับสำหรบั ผรู้ กั ษาประตู (Diving) คมู่ ือการพัฒนาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลศิ

42 ขั้นตอนในการฝึกกีฬาฟุตบอล การกฬี าแหง่ ประเทศไทย (2558 : ออนไลน)์ ได้อธบิ ายข้นั ตอนในการฝึกมี 3 ข้นั ตอน มดี งั น้ี 1. ขน้ั เริ่มแรกหรือขั้นเบ้ืองต้น ขั้นเร่ิมแรก (Introductory Exercise) แบบฝกึ ขั้นเริ่มแรกจะ ถูกสรา้ งขน้ึ เพอ่ื ใหโ้ อกาสผเู้ ลน่ ได้เรียนร้สู ่ิงท่เี ป็นพน้ื ฐานที่นำไปใช้ ปฏบิ ัติไดจ้ รงิ ๆ อาจเรยี กไดว้ ่าเปน็ “ขั้น เบ้อื งต้น” ซงึ่ แบบฝกึ ขน้ั พ้นื ฐาน ผเู้ ลน่ ควรเรยี นรู้การเคลอื่ นไหวขั้นพ้ืนฐาน โดยการอธิบายและสาธิตง่ายๆ ตอ่ มาผูเ้ ล่นจึงทำด้วยตนเอง ผู้ฝึกสอนควรคาดหวังว่าผู้เล่นทุกคนจะฝกึ แบบต่างๆ ด้วยขีดความสามารถ สูงสดุ ของเขา ในขนั้ นผี้ ูเ้ ล่นเพียงแตบ่ รรลุเป้าหมายถึงระดบั การฝกึ ทเี่ รียกว่า “ระดบั การใช้กำลงั ปานกลาง (Paradynamic) เท่าน้ัน” การฝึกในขั้นน้ี เช่น การส่งลูกระยะส้ันๆ การฝึกเป็นคู่ในการเลี้ยงส่ง การ เคลอื่ นทใี่ นการรบั ส่งลูกตำแหน่งในการรับส่งลกู ของผู้เล่นถกู แนะนำโดยผู้ฝกึ สอน ถ้าหากผูเ้ ล่นกระทำผิด การฝึกที่สำคัญในระดับนี้ คือการสาธิตท่ีถูกต้อง และการอธิบายที่ชัดเจนของผู้ฝึกสอนว่าจะมีการ เคล่ือนไหวอวัยวะส่วนใดบ้าง ยังมีวิธอี ่ืนอกี ท่จี ะปรบั ปรงุ กระบวนการเรียนรู้ เช่น การสาธติ อยา่ งช้าๆ จะ ชว่ ยให้ท่าของแบบฝึกชัดเจนข้ึนสำหรับผู้เล่น และช่วยหลีกเล่ียงและป้องกันข้อผิดพลาดท่ีอาจเกิดข้ึนได้ ผู้ฝึกสอนอาจจะใช้การฝึกปิดจังหวะทีละขั้นตอน แล้วนำแต่ละขั้นตอนมาผสมผสานกันอีกคร้ัง นอกเหนือจากวิธีการฝึกนเ้ี ปน็ รปู ธรรมเห็นได้ชดั แลว้ ผฝู้ ึกสอนอาจจะใช้ประสบการณข์ องตนเองชว่ ยเหลอื ผูเ้ ล่นในการแก้ปัญหาท่อี าจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการฝกึ ซ้อม ส่ิงนีจ้ ะช่วยพฒั นาความมน่ั ใจในตวั ผู้เล่นเอง อกี ด้วย การฝึกซ้อมเทคนิคขั้นพ้ืนฐานในการเล่นฟุตบอลเป็นส่ิงสำคัญ และจำเป็น ในระยะเวลาอันสั้น ผเู้ ลน่ ก็จะมีความสามารถดีเลิศในการสรา้ งความสัมพันธ์ระหวา่ งผเู้ ลน่ ดว้ ยกนั 2. ขน้ั สูง (Advance Exercise) ขัน้ นีก้ ารสร้างความชำนาญจะตอ้ งเพิ่มขนึ้ การฝึกพิเศษจะต้อง ถกู จำเป็นใช้เพิ่มเติมต่อจากการ เคล่ือนท่ีของผู้เล่นขั้นพ้ืนฐาน ขน้ั น้ีการเคลื่อนท่ีเป็นปัจจัยท่ีสำคัญท่ีสุด ประการหนึง่ การฝึกแตล่ ะคน หรอื ความสามารถของแตล่ ะคนจะถกู จำเป็นใชร้ วมกนั การกำหนดแบบฝึก ต้องยกระดับความสามท่ีสูงขึ้น และอย่างท่ีกล่าวมาแล้ว คือ มักจะจำเป็นในรูปของการเล่นเพ่ือสร้าง ความสมั พันธ์ระหวา่ งผเู้ ล่นดว้ ยกนั การประสานงานในการเล่นมักจะมีความสำคัญมากข้ึน ความสามารถ ในการเลน่ จะถกู ขัดเกลา ใหด้ ขี น้ึ เรื้อยๆ ผฝู้ ึกสอนไม่เพียงแต่จะต้องการใหผ้ เู้ ลน่ ทุ่มเทอย่างหนกั ในการฝึก มากขึ้นเท่าน้นั แตย่ ังต้องการใหใ้ ช้ความสามารถในการฝึกแบบฝกึ ให้ดขี นึ้ อีกดว้ ย ผ้เู ล่นควรพฒั นาแบบฝึก ต่างๆ ใหด้ ีขน้ึ โดยใช้เวลานอ้ ยลง และควรพฒั นาเอกลักษณ์การเลน่ ของแต่ละคนด้วย หลกั เกณฑท์ ั้งหมด ที่กล่าวมาน้ีต้องการการฝึกซ้อมที่หนัก มิฉะนั้นไม่เกิดความก้าวหน้าในการเล่นให้ดีขึ้น นอกจากจะฝึก อยา่ งหนกั แลว้ ยิง่ ตอ้ งใช้เวลาในการฝกึ ให้มากขึน้ ด้วยถ้าตอ้ งการใหเ้ กดิ ผลดี รูปแบบการฝึกซ้อมของผเู้ ล่น แต่ละคนจะถกู จำเป็นรวมกันเพือ่ ให้เกิดแบบฝกึ ที่ดีสมบูรณ์แบบใหไ้ ด้ ใกลเ้ คียงกับสถานการณก์ ารแขง่ ขัน จริง แต่ทวา่ ยงั ไมม่ ีค่แู ข่งขนั สิง่ เหลา่ น้ีผเู้ ลน่ ได้ฝกึ มาตงั้ แตก่ ารฝึก ข้นั พืน้ ฐานในตอนแรกแล้ว อยา่ งไรกต็ าม ถา้ ต้องการให้การเล่นก้าวหนา้ ขน้ึ ต้องใช้วิธกี ารเหมาะสม พัฒนาแบบฝึกใหอ้ ยูใ่ นระดบั สงู ขึ้นต่อไป ผู้เล่น ทุกคนมี “ดารา” ที่เขาอยากเลยี นแบบ การสาธิต รูปแบบ “ดารา” ทผ่ี เู้ ล่นนิยมชมชอบจะช่วยให้ผเู้ ลน่ มี ความเข้าใจไดด้ ขี นึ้ 3. ขัน้ การแขง่ ขนั (Competitive Exercise) ในขั้นตอนนี้มกี ารสร้างรปู แบบการฝึกท่ีสวยงาม ฝึกให้เหมอื นกับการแขง่ ขนั จริงๆ มีการใช้ เทคนิค และกลยุทธ์ (Tactics) ในแบบฝกึ ตา่ งๆ ด้วย แบบฝึก ทุกแบบจะฝึกโดยสมมุติมีทีมคูแ่ ขง่ ขัน เหมือนการแขง่ ขันจริง ซึง่ ในการฝึกขนั้ นี้ตอ้ งมีการวางแผนอย่างมี ระบบ และมีระเบียบวินัยในการฝกึ จริงๆ ผู้เลน่ จะต้องทำตามกฎเกณฑ์ทุกอยา่ งท่ีผู้ฝึกสอนวางไว้ จึงจะ สามารถพัฒนามาตรฐานการ เล่นของตนได้เรื่อยๆ และสามารถจำเป็นใช้ได้เม่ือต้องการจะใช้ใน คู่มอื การพฒั นาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลศิ

43 สถานการณ์แข่งขันจริง การนำเอากลยุทธ์หรือวิธีการความสามารถส่วนตัวมาใช้ในการเล่นของผู้เล่น จะตอ้ งเอาชนะอุปสรรคสว่ นตัว (ความประหมา่ ) และอุปสรรคภายนอก เช่น ส่งิ แวดล้อม, อทิ ธิพลจากผ้ดู ู ให้ได้ ผู้เล่นจะใช้แบบฝึกในการฝึกอย่างม่ันคงตลอดเวลา และใช้แบบฝึกโดยอัตโนมัติได้แล้ว ใน สถานการณ์เช่นนี้แบบฝึกต่างๆ ถูกจำเป็นใช้อย่างประหยัดเวลาในการฝึก ผู้เล่นที่จะฝึกในขั้นนี้จะต้อง เป็น “พวกท่ีมีกำลังอยู่ในตัวเองอยู่แล้ว” (Dynamic Prototype) ผู้เล่นพวกนี้ต้องการวิธีการฝึกซ้อมที่ แน่นอน และโดยเฉพาะแบบฝกึ ทเี่ ขาจะพบกบั คู่แข่งขันทม่ี ีความสามารถสูง เพือ่ ต้องการจะเอาชนะ ใหไ้ ด้ แต่อย่างไรกต็ ามเขาจะต้องประเมินตัวเอง และความสามารถของตนเองอย่างระมัดระวัง เพ่ือหลีกเลี่ยง ข้อผดิ พลาดของตนเอง การวิเคราะห์ และประเมินตนเองจะทำใหเ้ ล่นไดด้ ขี ้ึน ท้ังทางด้านสมรรถภาพดา้ น เทคนิค และทางด้านแท็กติกท่ีผู้เล่นจะต้องจำเป็นใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคล่วในสถานการณ์ การแขง่ ขันจริง และน่เี ป็นเหตผุ ลว่าทำไมจึงต้องใช้แบบฝกึ ในรูปของการฝึกแบบการแขง่ ขันจรงิ ตารางท่ี 15 การพฒั นาแบบฝกึ ในระดบั ข้ันตา่ งๆ แบบฝึกในขน้ั แรก แบบฝึกข้นั สงู แบบฝึกขั้นแข่งขันจริง (Introductory Exercise) (Advance Exercise) (Competitive Exercise) การอธิบาย การหยดุ การฝึก การวเิ คราะห์ - เลอื กใช้คำและอธิบายอยา่ ง - เมอื่ ฝกึ ผิดหรอื ต้องการความ - เนน้ เรื่องแทกติก ชัดเจน การสาธิต เขา้ ใจ - ปรบั ปรงุ - แกไ้ ข - ใชป้ ระสบการณค์ วามสามารถ - แสดงให้ดูอย่างถูกต้องโดยใช้ ของผู้เลน่ แตล่ ะคนมารวมกนั กฎเกณฑท์ ่เี ป็นแบบฉบับ เปน็ ทมี - ใหค้ วามเหน็ เปน็ รายบุคคล และเป็นทมี - ฟงั ยอมรบั การแกไ้ ข เตม็ ใจแกไ้ ข - แก้ไขตนเอง - ดู - วิจารณต์ นเอง - ปรบั ปรงุ ตนเอง - สนามฝกึ ซ้อม - ระยะไกลขึ้นเนื่องจากมีความ - ฝึกซอ้ มกบั คูแ่ ขง่ ขันการสร้าง - ระยะใกล้ ม่ันใจในการเคลื่อนที่และการส่ง สถานการณเ์ หมือนการแขง่ ขัน - ท่แี คบ ลูกระยะไกล - ใชส้ นามเท่ากับการแขง่ ขนั จริง - การสง่ ลูกระยะสั้น - ฝึกความสามารถเฉพาะตัว ฝึกเป็นกลุ่ม - ผู้เล่นทุกคนมสี ว่ นรว่ มจากกลมุ่ การ เลยี้ งลกู - การส่งลกู บอลไปขา้ งหน้า เล็กจนเตม็ ทมี และมีคแู่ ขง่ - การควบคมุ ลกู บอล - ขา้ งหลัง - ฝกึ เป็นคู่ - การมองลกู - ทแยงมุม ส้นั ๆ มสี มาธิในการฝึก ขยายเวลาในการฝึก ออกไปแบบ ใช้เวลาเหมือนการแขง่ ขันจรงิ หนกั ขนึ้ ที่มา : (การกฬี าแหง่ ประเทศไทย, 2558 : ออนไลน)์ ค่มู ือการพฒั นาศกั ยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลศิ

44 ในการพฒั นาแบบฝึกนั้นเปน็ สง่ิ สำคญั ที่จะตอ้ งค่อยๆ เพมิ่ จำนวนผเู้ ล่นทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั แบบฝึก นั้น ขนึ้ ไปเรอ่ื ยๆ หลักการฝึก มี 4 ขัน้ ตอน 1. ฝกึ เปน็ รายบคุ คล (Individual Activity) 2. ฝึกเปน็ คู่ (Partner Activity) 3. ฝึกเปน็ กลุม่ ย่อย (Group Activity) 4. ฝึกเป็นทีม (Team Activity) 1. ฝึกเปน็ รายบุคคล การฝกึ เปน็ รายบคุ คลเหมาะสมกับแบบฝึกหลายๆ แบบเพื่อพัฒนาความสามารถของผูเ้ ลน่ และ เป็นการแก้ไขข้อบกพรอ่ งของผู้เล่นด้วยการฝึกแบบนี้ส่วนใหญ่จะประสบปญั หาจากอุปกรณ์ในการฝกึ ไม่ เพียงพอ เช่น ลูกบอลสำหรบั ผู้เล่นทกุ คน 2. ฝกึ เป็นคู่ การฝึกเป็นค่จู ะมี 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายรกุ และฝา่ ยรบั ระหว่างการฝึกผู้เล่นจะใชค้ ู่ของตนเป็นผเู้ ลน่ ใน ทมี เดียวกนั หรือคู่แขง่ ขันกไ็ ด้ขึ้นอยู่กับจดุ มุง่ หมายในการฝึก ผู้เล่นจะฝึกใชแ้ ทกติกตา่ งๆ กบั คู่ ของตนเอง ได้และนำการฝึกเหลา่ น้ไี ปใชก้ บั การแข่งขัน เช่น การยงิ ลูกโทษ 2 จังหวะ การเตะมุม การทำลูกชง่ิ (Wall Pass) รูปแบบการฝกึ คู่น้ีใกล้เคียงกับการฝึกแบบการแข่งขันจริงเป็นการวดั ความสามารถและไหวพริบ ของผูเ้ ลน่ แตล่ ะคนด้วย 3. ฝกึ เปน็ กลุ่มยอ่ ย ทมี ผเู้ ลน่ ประกอบด้วยกลุ่มย่อยๆ ซึง่ ไม่กำหนดแน่นอนตายตัวแตจ่ ะเปลยี่ นไปตาม สถานการณ์ การแข่งขัน และตามหนา้ ท่ี ถ้าแบง่ โดยทั่วๆ ไปแล้วจะมี กองหลัง, กองกลาง, และกอง หน้ามักจะคิดกัน เสมอวา่ เป็นการดถี ้ากลมุ่ ต่างๆ อยู่ในรูปของสามเหลยี่ มในระหว่างการแขง่ ขนั กฎ การรวมกลุ่มแบบนจี้ ะ ถกู จำเปน็ ใช้เกี่ยวขอ้ งในข้ันตอนต่อไป การฝึกเป็นกลุ่มย่อยจะ ฝึกได้ท้ังทางด้านสมรรถภาพ ดา้ นเทคนิค และดา้ นกลยทุ ธข์ ึ้นอยกู่ ับว่าสถานการณ์จะเปน็ ไปในรูปใด 4. ฝึกเป็นทมี ฟุตบอล เป็นกีฬาท่ีเล่นเป็นทีม จงึ เปน็ การสมเหตุสมผลท่ตี ้องฝึกเป็นทมี รูปแบบการฝกึ จะเน้น ในกฎเกณฑน์ ี้จะถูกทางานข้ึนมาเป็นทีม และส่ิงน้ีเองจึงเป็นปัจจยั ในการตัดสินใจการแขง่ ขันว่า แพ้ หรือ ชนะจะต้องมกี ารแบ่งหน้าท่ีกันในทีม ในขณะที่เป็นฝา่ ยรบั หรือในขณะทเ่ี ป็นฝ่ายรกุ เจริญ กระบวนรัตน์ (2557) ได้กลา่ ววา่ หลกั และการฝกึ กีฬา (Principles and Sport Coaching) มีความสำคญั อย่างยิ่งที่จะ นำไปสกู่ ารพัฒนาวงการกีฬาของไทย ทั้งนี้เพ่ือสง่ เสริม และพัฒนาความสามารถทางการกีฬาให้นักกีฬา เกิดความสามารถสูงสุด โดยการนำเอาหลกั การทางดา้ น วิทยาศาสตร์ และทางดา้ นสังคมมาใช้ประกอบใน การฝึกกีฬา ในปัจจุบันเราจะเห็นคุณค่าของการออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬามากขน้ึ จึงหันมาเล่นกีฬา กันอย่างแพร่หาย ประกอบกับความต้องการด้านช่ือเสียงเกียรติยศ และสิ่งตอบแทนด้านทรัพย์สินเงิน ทองของผเู้ ลน่ และผู้ใหก้ ารสนบั สนุนจุดมุ่งหมายของการเล่นกฬี าจงึ เปลีย่ นแปลงไป การสง่ เสริมการ เล่น กฬี าแบ่งออกเปน็ 2 แนวทาง ไดแ้ ก่ การเลน่ กีฬาเพ่ือสขุ ภาพ และการเลน่ กฬี าเพ่ือความเปน็ เลิศ ค่มู ือการพฒั นาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเปน็ เลิศ

45 เมื่อการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพหรือเพื่อประลองความสามารถกลายเป็นการเล่นกีฬาเพ่ือความ เป็นเลิศทางกีฬากันมากข้ึน ทำให้รูปแบบ และวิธีการฝึกกีฬาเปล่ียนแปลงไปด้วย ซึ่งแต่เดิมนั้นการฝึก กีฬาจะเน้นเฉพาะการฝึกเพ่ือเพิ่มสมรรถภาพทางกาย และทักษะความชำนาญเท่านัน้ โดยมีรูปแบบการ ฝึก และวิธีการฝึกไม่แน่นอน ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ อาศัยความรู้สึก ความรู้ และประสบการณ์ตรงของ ผู้ฝึกสอน (Coach) เป็นหลักสำคัญ ปัจจุบันรปู แบบ และวธิ ีการฝึกมีความก้าวหน้ามากขึ้นตามวทิ ยาการ แขนงต่างๆ ทีก่ ้าวหน้ามากข้ึน มกี ารนำเอาความเจริญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลายๆ สาขามาใช้ เพื่อพัฒนานักกฬี า มีการประยุกต์ใช้วิธีการและเทคนิคใหม่ๆ ท่ีได้มาจากการศึกษา คน้ ควา้ วจิ ัยทางด้าน กีฬามาใช้กับนักกีฬา ทำให้ขีดความสามารถของนักกีฬาสูงขึ้นตามลำดับ มีการทำลายสถิติกันมากขึ้น แตกต่างไปจากอดีตทผี่ ่านมาอยา่ งชัดเจน การฝึกกฬี าท่ีจะให้บรรลตุ ามเปา้ หมายทตี่ ้องการ ผู้ฝกึ สอน และนักกฬี าจงึ ต้องพยายามค้นหา กลวธิ ีการฝึกหรือปัจจัยต่างๆ เข้ามาเพือ่ เพ่ิมความสามารถของนักกฬี า ผลักดันให้ประสบความสำเร็จใน ด้านกีฬา ดังจะเห็นได้จากการกฬี าในยุคน้ี ความสมบรู ณ์เฉพาะด้านสมรรถภาพทางกายเพียงอย่างเดียว ไมส่ ามารถนำไปสชู่ ัยชนะได้ ด้วยเหตุนีผ้ ้ฝู กึ สอนและนักกฬี าจึงจำเปน็ ตอ้ งศึกษาเรยี นรู้ ความก้าวหนา้ ทาง วทิ ยาการใหมๆ่ รจู้ ักนำเอาหลักทฤษฎี และวธิ ีการตา่ งๆ ที่มาจากการศึกษา ค้นควา้ วิจัยใชใ้ นการฝกึ กีฬา การคัดเลือกตัวนักกีฬาตลอดจนการจัดทำแบบการฝึกซ้อม โดยใช้เทคนิควิธีต่างๆ ทุกรูปแบบ เพ่ือ จุดมุ่งหมายท่หี วงั ไวค้ ือชัยชนะ และนอกจากจะใช้กลวิธีต่างๆ ในด้านการฝกึ ร่างกายแล้ว การพฒั นาและ การปรบั ปรุงดา้ นอ่ืนๆ จะตอ้ งถูกจำเปน็ ใช้ควบคกู่ นั ไปด้วย เชน่ การพัฒนาทางดา้ นจิตใจ เปน็ ต้น สาขาการศึกษาทางด้านพลศึกษาซึ่งผู้ฝึกสอน และนักกีฬาจำเป็นต้องศึกษา และเรียนรู้เพื่อ เป็นพ้ืนฐานในการฝึกกฬี า โดยการจำเป็นประยุกต์ใชก้ ับการฝึกกีฬาอย่างผสมผสานกับวชิ าการทางพล ศกึ ษาดังกลา่ ว ได้แก่ เร่ืองดังต่อไปน้ี (ธวชั วีระศิริวัฒน์, 2558) 1. กายวิภาค และสรีรวิทยาของการออกกำลังกาย (Anatomy and Physiology of Exercise) เป็นวิชาที่เก่ียวข้องกับการเปลีย่ นแปลงระบบการทางานของร่างกาย ขณะพักผอ่ น ขณะออกกำลังกาย หรอื เล่นกฬี า และหลงั จากการออกกำลังกายแลว้ ทำให้เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับรา่ งกายของมนุษย์ มากย่ิงข้ึน เข้าใจสภาพการเปล่ียนแปลงต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในตัวนักกีฬาขณะฝึกซ้อม และภายหลังการ ฝกึ ซ้อมสามารถพฒั นานกั กีฬาให้มคี วามสามารถถึงขีดสุดได้ 2. วิทยาศาสตร์การกีฬา (Sports Science) เป็นวิชาท่ีศึกษาเกี่ยวกับหลักการออกกำลังเพื่อ สุขภาพ และแข่งขัน โดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ ช่วยจัดคนกับกีฬาให้เหมาะสมกัน เพ่ือ เพิ่มสมรรถภาพของนักกฬี าหลายแง่ เช่น การคดั เลือกตัวนักกีฬา การฝึกซ้อม การบำรุงตัวนักกีฬา การ ประเมินผลการฝึกซ้อม และการป้องกันรักษาการบาดเจบ็ จากการกฬี า เปน็ ตน้ 3. กฬี าเวชศาสตร์ (Sports Medicine) เป็นวชิ าที่ศกึ ษาเก่ียวกับชนิดของอันตรายสาเหตุ ของ การบาดเจ็บทางกฬี า การหาวิธปี ้องกันอันตรายหรอื อบุ ัติภัยอนั อาจจะเกิดข้นึ จากการเลน่ กฬี า หลักและ วธิ ีการปฐมพยาบาล การใช้ยากระตุ้น หลักโภชนำการทางการกีฬา กายภาพบำบัดกบั การกฬี า ตลอดจน ศกึ ษาถึงหลกั และวิธกี ารออกกำลังกายเพอื่ สุขภาพ เปน็ ตน้ 4. จิตวิทยาการกีฬา (Sports Psychology) เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมต่างๆ ของ มนษุ ย์ในการแสดงออกทางด้านกฬี า ตลอดจนสภาพแวดล้อมต่างๆ และปัจจยั ทีม่ ผี ลสมั พนั ธ์เก่ยี วกัน โดย อาศัยเทคนิค และวธิ กี ารทางงจิตวิทยามาใชใ้ นการฝกึ ทกั ษะกีฬา ทักษะก้าวหน้า เทคนิคตา่ งๆ หลกั วิธกี าร ฝึก การสอน ตลอดจนการฝึกสภาพจิตใจ กระตุน้ ให้นักกีฬาไดแ้ สดงออกอย่างเตม็ ขีดความสามารถ คมู่ ือการพฒั นาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ

46 5. วิทยาศาสตร์การเคล่ือนไหว (Kinesiology) เป็นวิชาที่ศึกษาเก่ียวกับกลไกการเคล่ือนไหว ของมนุษย์ (Biomechanics) กฎในทางฟิสิกส์เกี่ยวกับแรงท่ีทำให้ร่างกายเคลื่อนไหวหรือไม่สามารถ เคล่ือนไหว ความสัมพนั ธข์ องกระดูกกบั กลา้ มเน้อื และประสาทกับกล้ามเนอ้ื การวเิ คราะหก์ าร เคลือ่ นไหว ของร่างกาย และการประยุกต์หลกั การเคล่อื นไหวต่างๆ มาใช้เพื่อให้เกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุด และไม่ได้รับ การบาดเจ็บจากการเคล่ือนไหว 6. หลักและวิธีสอนพลศึกษา (Principles and Methodology of Teaching) เป็นวิชาท่ี ศึกษาเก่ียวกับความหมาย และวัตถุประสงค์ของวิชาพลศึกษา ลักษณะของครูผู้สอนวิชาพลศึกษา นกั เรียนผู้เรยี นวิชาพลศึกษา ทฤษฎีการเรียนรู้ และการสร้างแรงจูงใจในวิชาพลศึกษาวิธีสอน และแบบ การสอนต่างๆ ตลอดจนการวัด และประเมินผลวิชาพลศึกษา เน่ืองจากหลักและวิธีสอนพลศึกษาเป็น ตัวเช่ือมระหว่างประสบการณ์ และเนื้อหาในการสอนกับตัวนักเรียนหรือผู้รบั การฝึก ทำให้มีการเรียนรู้ หรอื มีพฤตกิ รรมตามจดุ มุง่ หมายปลายทางทไี่ ด้วางไวอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การฝกึ กีฬาฟตุ บอล หลักการฝึกกีฬาฟุตบอล รูปแบบการฝึกกีฬาฟุตบอล การกีฬาแห่งประเทศไทย (2558 : ออนไลน์) ได้กล่าวไว้ว่า จากการวิเคราะห์หลายๆ คร้ังแล้วจะเห็นว่าข้อผิดพลาดของผู้เล่น ไม่ว่าจะเป็น เร่ืองธรรมดาหรือเรื่องใหญ่ๆ จะเป็นข้อผิดพลาดเกี่ยวกับตำแหน่ง และหน้าท่ีในการเลน่ อย่างไรก็ตาม ความรู้ในเร่ืองเหล่าน้ีมักจะถูกละเลยไปในการจัดโปรแกรมการฝึก ตามทฤษฎีสมัยใหม่ การฝึก เก่ียวกบั แทกติก ควรจะได้รับการกำหนดแน่นอนว่าเป็นวิธหี นึ่งในการ ปรับปรงุ และพัฒนามาตรฐานการ เลน่ ของทมี มักมปี ญั หาทวี่ ่าผูฝ้ กึ สอนได้อธิบาย หรืออภิปราย ถกเถียงถงึ ความสำคญั ของสงิ่ เหล่าน้ใี หแ้ ก่ผู้ เล่นได้ทราบแต่ก็มักจะไม่ค่อยได้ฝึกซ้อมกันอย่างหนักใน เรื่องแบบฝึกเก่ียวกับแทกติก และแบบฝึก สถานการณท์ ่ีเหมือนการแข่งจรงิ การครอบครองลูกฟตุ บอล (BALL POSSESSION) การครอบครองลูก บอลเปน็ เรื่องทีโ่ ปรแกรมการฝึกควรจะมีการเน้นเป็นพเิ ศษ เพราะเป็นสว่ นประกอบที่สำคัญของการเล่น ฟตุ บอลสมยั ใหม่ ทีมทไ่ี ด้ครอบครองลกู บอลจะมโี อกาสในการรกุ ดงั นน้ั ผลที่ตามมาอย่างสมเหตุสมผล คือ ทมี ท่ีได้ครอบครองลูกบอลได้มากจะมโี อกาสในการทำประตู และการทำประตไู ด้กเ็ ป็นการตดั สนิ ผลการ แข่งขัน ดังนัน้ ความสมั พนั ธ์ระหว่างการครอบครองลกู บอล และชัยชนะจงึ มีความสัมพันธ์กนั การรุกและ การรับ ทมี ใดจะเป็นฝ่ายรกุ หรอื ฝ่ายรับขนึ้ อยู่กับโอกาสในการครอบครองลูกบอลในระหว่างการแข่งขัน ผฝู้ ึกสอนควรทำให้เหน็ ชดั เจนวา่ การครอบครองลูกบอลเปน็ ปัจจัยสูงสดุ ทจี่ ะตดั สินการชนะ หรอื แพ้และ ไม่ต้องสงสัยวา่ ความสำคัญในเร่ืองนี้จะจำเป็นอภิปรายออกความเห็นกันในระหว่างการประชุมระหว่าง ผ้เู ล่นดว้ ยกัน ผฝู้ กึ ควรเนน้ เรอ่ื งการครอบครองลกู บอลไว้กับทีมใหม้ าก เพราะถ้าหากผู้เลน่ ไมส่ ามารถแย่ง ชงิ และครอบครองลูกบอลไว้กับทีมได้แล้ว แบบแผนหรือแบบฝึกในการโจมตีคู่ตอ่ สู้หรือทีมคแู่ ข่ง จะไม่ สามารถจำเปน็ ใช้ได้เลย คมู่ อื การพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ

47 แผนภูมทิ ่ี 3 แสดงจดุ มงุ่ หมายของแบบฝึก : การครอบครองลกู บอล (Ball Possission) การครอบครองลูกบอล การรกุ การรบั การทำประตู การป้องกนั ประตู ชยั ชนะ การแยง่ ลูก ไม่แพ้ แผนภมู ิที่ 4 แสดงจดุ มงุ่ หมายของแบบฝึก : การครอบครองลูกบอล (Ball Possission) ท่มี า : การกีฬาแห่งประเทศไทย (2558 : ออนไลน)์ ตารางท่ี 16 หลกั การในการรุก หลกั การในการรกุ สัญลักษณ์ การรกุ จดุ มุ่งหมายของแบบฝึก ทศิ ทางของลูกบอล กลยทุ ธ์ ทศิ ทางของผเู้ ล่นทไี่ ม่ได้อยู่ กบั ลกู บอล การนำหลักการในการรุกมาใช้ การครองลกู บอล ทิศทางของผู้เล่นทอ่ี ยกู่ บั ลูก โดยการครอบครองไว้กับทมี บอล เทคนิค จงั หวะในการรบั ลูกบอล และ ปลอ่ ยลูกบอล เล้ียงลกู บอล การนำวิธใี นการรกุ มาใช้ การรบั การผ่านลกู บอล : ดว้ ยการหลอกลอ่ การคมุ คน แบบตัวตอ่ ตวั (Man = จงั หวะในการส่ง ความแมน่ ยำ Marking) การเล้ียงลกู บอลอย่างมที ิศทาง การยิง : ภายใตส้ ถานกรณี ในการแขง่ ขนั สมรรถภาพ หาจังหวะท่พี อเหมาะในการสง่ ใช้หลักยิมนาสติก การยืด ลกู บอล กล้ามเนื้อ การผ่อนคลาย การ ยืดหยุ่น ความอ่อน ตัว ความ คล่องตัว ทมี่ า : การกีฬาแห่งประเทศไทย (2558 : ออนไลน)์ คู่มอื การพัฒนาศกั ยภาพด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลศิ

48 การครอบครองลกู ฟุตบอล แบบฝึกขน้ั เริ่มต้น หมายถึง ผู้เลน่ สง่ ลกู ฟตุ บอลลอยขน้ึ ไปขา้ งหนา้ แลว้ ตามลูกบอลไปและเลีย้ ง ลูกฟตุ บอลไว้ เม่อื ลูกฟุตบอลตกลง การเลี้ยงลูกฟุตบอลตอ้ งมองไปรอบๆ เป็นการฝึกใช้สายตาไปรอบๆ ทำเหมือนเดิม แต่เตะลูกฟุตบอลไปไกลกวา่ เดิม ใช้หลายๆ วิธีในการรบั ลูกฟุตบอล (อก หน้าขา หลงั เท้า ข้างเท้าด้านใน ฝ่าเท้า) แบบฝึกข้ันสูง หมายถึง คนมีลูกฟุตบอลส่งลูกบอลลอยขึ้นแล้วเคล่ือนตัวอย่างรวดเร็วไปยังที่ ใหม่ ผ้เู ลน่ อกี คน ต้องมองตามการเคลอื่ นไหว และส่งลูกบอลกลับจงั หวะเดยี ว แตค่ ราวน้ีผเู้ ลน่ คนแรกเตะ ลกู ข้นึ ทำเหมอื นเดมิ แตใ่ ชร้ ะยะทางไกลกวา่ เดิม (ผู้รบั สามารถใชก้ ารโหมง่ ไดด้ ้วย) แบบฝกึ ขน้ั แขง่ ขนั หมายถึง จำนวนผเู้ ล่นเพิม่ มากขน้ึ ผเู้ ลน่ ทค่ี รองลกู บอลอยู่จำเป็นตอ้ งเลอื กว่า จะสง่ ลกู บอลใหใ้ คร ทำการฝึกให้ช้าลงแล้วจงึ ผา่ นลูกบอลเคลอ่ื นตวั เข้าสู่ทีว่ ่างหลังจากผ่านลูกบอลแล้วใน สถานการณ์ที่มฝี ่ายตรงข้ามอยู่ดว้ ย การฝกึ แบบสมบรู ณ์แบบ (Complex Training) หมายถึงการฝึกท่ีเข้มข้นในการฝึกจะเป็นการ พฒั นานักฟุตบอลท้งั สามด้านในเวลาเดียวกนั คือ ด้านสมรรถภาพ ด้านเทคนคิ และด้านกลยุทธ์ลักษณะ ของแบบฝึกที่แสดงไว้ในท่ีนี้เป็นแบบ 1 ต่อ 1 ซึ่งจะมีวิธีท่ีพัฒนาจากแบบฝึกขั้นเร่ิมแรกไปถึงขั้นสูงขึ้น และในทส่ี ดุ กจ็ ะจบลงทร่ี ะดับการแข่งขนั จริง ตารางที่ 17 แสดงการฝึกแบบตา่ งๆ การรกุ ความมงุ่ หมายของการฝึก การรบั กลยุทธ์ นำกฎของการรกุ มาใช้ - การครองลกู บอล - นำกฎของการรบั มาใช้ - เปล่ียนจากฝ่ายรุกเป็นรับและ จากรับเป็นรุก - การครองลูกบอลไว้ เทคนคิ - การเลีย้ งลูกบอล - การนำวธิ ีรุก และวธิ รี ับมาใช้ - การชะลอเกมรุกใหช้ ้าลง - การยิงประตู - การแยง่ ลกู บอล - การติดตามฝ่ายตรงขา้ ม สมรรถภาพ - ความว่องไว - พฤติกรรมในการแย่งลกู บอลทงั้ - ต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ - ความเร็วในการไปกับลูกบอล ในการรุกและการรับ ฝ่ายรกุ และจะต้องมมี ากกว่าใน - ความแข็งแรงไปการครองลูก การทีจ่ ะแยง่ ลกู บอลกบั มาครอง บอลไว้ ที่มา : การกฬี าแหง่ ประเทศไทย (2558 : ออนไลน)์ คมู่ ือการพฒั นาศักยภาพด้านกีฬาสู่ความเป็นเลิศ

49 การนำการฝกึ แบบ 1 ตอ่ 1 ไปใช้ในการเล่น 1. แบบฝกึ ข้ันเร่มิ ตน้ ในการฝึกข้ันเร่ิมต้น ผู้เล่นท่ีได้ครองลูกบอล (ฝ่ายรุก) จะเลี้ยงลูกบอล และจะพยายามที่จะ ล่อหลอกฝ่ายรบั เพอ่ื ทีจ่ ะสรา้ งทวี่ ่างขน้ึ หรือเล้ียงลกู บอลผา่ นใหไ้ ดแ้ บบฝกึ ควรค่อยๆ ทำอยา่ งมีระบบ ฝ่าย รับจะคอ่ ยๆ เพมิ่ ความพยายามข้นึ เรอื่ ยๆ จนกระทง่ั กลายเป็นฝา่ ยรบั ทีน่ า่ เกรงขาม 2. แบบฝกึ ขั้นสูง การใชร้ ปู แบบการฝกึ แบบตัวต่อตวั นจี้ ะมกี ารเปลี่ยนหน้าทีจ่ ากฝ่ายรุกเปน็ ฝา่ ยรับ หลังจาก ฝ่าย รับเป็นฝ่ายรุกเมื่อลูกบอลถูกแย่งไป (หรือแย่งลูกมาได้) จุดมุ่งหมายของแบบฝกึ น้ีคือควรจบลงที่ การยิง ประตู หรอื การผ่านลูกบอล เม่ือจบเช่นน้ีแล้วก็จะเร่ิมฝึกต้ังแต่ต้นใหม่พื้นท่ี และเวลาท่ีใช้ในการ ฝึกจะ คอ่ ยๆ เพ่มิ ขนึ้ เรอื่ ยๆ 3. แบบฝกึ ขน้ั แข่งขนั การฝกึ ขนั้ แขง่ ขัน ผูเ้ ลน่ เป็นฝา่ ยรุก และฝ่ายรบั 2 คู่จะเล่นอย่ใู นพืน้ ที่ครง่ึ หนึ่งของเขตโทษท้ังคู่ มผี ูร้ ักษาประตูคอยรบั ลูกบอลอยูด่ ้วยองค์ประกอบทงั้ หมดของการเลน่ แบบตวั ตอ่ ตวั จะตอ้ งจำเป็นฝึกหัด น่นั คือการรับลกู บอล, การครองลูกบอลเอาไว้ใหไ้ ด้ การสร้างที่วา่ งการยิงประตูของฝ่ายรุก ในขณะทฝ่ี า่ ย รบั กพ็ ยายามแยง่ ลูกบอล พยายามทำทวี่ า่ งให้แคบลง และพยายามปอ้ งกันไมใ่ หฝ้ า่ ยรุกยงิ ประตูได้ กฎของความลกึ (Depth) คือ การแบ่งแยกระดบั ขนั้ ตา่ งๆ ของการรกุ และการรบั 1. ความลึกในการรกุ คือมีผู้เลน่ อีกคนช่วยสนับสนุนหรือประคอง (Support) ในการรุกความลึก ในการรับ คือมีผู้เลน่ อีกคนช่วยในการป้องกันคุมพื้นท่ีอย่ดู ้านหลัง (Coverage) กฎเกณฑพ์ ้ืนฐานของการ เล่นฟตุ บอลขอ้ หนึ่งน่ันคือ ตอ้ งมีคนอย่ใู กล้ลูกบอลมากกวา่ ฝ่ายตรงขา้ มอยู่ 1 คนเสมอ และการฝึกซอ้ มกฎ ท้ัง 2 ประการนั้น ไม่ควรฝึกเฉพาะกลยุทธ์ ส่วนบุคคลควรจะฝึกทั้งทีมต้องให้ผเู้ ล่นฝกึ ซ้อมการใช้กฎทั้ง สอง ทัง้ ในแงท่ ฤษฎี และในการแข่งขันจรงิ 2. กฎในการรุก และการรับอีกข้อหน่ึง คือ ผู้เล่นทุกคนต้องคำนึงถึงความสำคัญของสิ่งเหล่านี้ เสมอ คือ - การครองลกู บอล - การทำประตู - การปอ้ งกนั ประตู ผเู้ ล่นทุกคนต้องชว่ ยสนบั สนุนเพื่อนร่วมทมี ในการรุก และเช่นเดียวกนั กต็ ้องชว่ ยสนบั สนนุ การ ป้องกนั ดว้ ย ถา้ หากถูกแย่งลกู บอลไปในการฝึกซอ้ ม โคช้ จะต้องคอยแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งของผ้เู ล่นโดยใช้การ วเิ คราะหก์ ารเลน่ และการใช้จติ วิทยาในการพดู กบั ผู้เลน่ อย่างเหมาะสม ผู้ฝึกสอนจะใชข้ ั้นตอนตา่ งๆ ในการฝกึ ซอ้ ม ดงั น้ี 1. ฝกึ โดยเน้นถึงความสำคัญของการครองลูกบอล 2. ฝึกแบบ 1 x 1 คือผู้เล่น 1 คน เป็นฝ่ายรุก และอีกหน่ึงคนเป็นฝ่ายรบั สลับกันเป็นฝ่ายตรง ขา้ มเมือ่ ถกู อีกฝา่ ยแยง่ ลูกไป ฝึกการครอบครองลกู บอลและทำประตู 3. ฝึกแบบ 2 x 1 คือ มีฝ่ายรุก 2 คน ฝ่ายรับ 1 คน ฝึกให้ผู้เล่นอีกคนช่วยสนับสนุนในการรุก ผู้เลน่ จะฝึกหนา้ ที่ของการเลน่ แบบรกุ 2 อย่างคือ การทำประตแู ละการสนบั สนนุ คูม่ ือการพัฒนาศักยภาพด้านกฬี าสู่ความเป็นเลศิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook