Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระไตรปิฎก - ธัมมบท 2 ภาษา

พระไตรปิฎก - ธัมมบท 2 ภาษา

Published by CCDKM, 2019-06-14 02:57:50

Description: พระไตรปิฎก มหัสจรรย์วรรณกรรมของมนุษยชาติ พุทธศักราช 2561
2561 ปีแห่งการบังเกิดของเอกบุรุษผู้สุดล้ำเลิศเหนือกว่าเทวดาและมนุษย์ทั้งปวงขององค์สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า 2561 ปีแห่งการประทานพระธัมมวินัยให้เป็นศาสดาแทนพระองค์

Search

Read the Text Version

_____________________________________________________________________________________ พระไตรปฎิ ก มหัศจรรยว์ รรณกรรมของมนษุ ยชาติ _____________________________________________________________________________________ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ ๒๖๔๑ ปี แหง่ การบังเกิดข้ึนของเอกบุรษุ ผสู้ ุดล้าเลิศเหนอื กว่าเทวดาและมนษุ ยท์ ั้งปวง ๒๖๐๖ ปี แห่งการตรสั รูแ้ ละการประกาศพระศาสนา ขององคส์ มเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพทุ ธเจ้า ๒๕๖๑ ปี แหง่ การประทานพระธัมมวินัยให้เป็นศาสดาแทนพระองค์ _____________________________________________________________________________________ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ ขทุ ทกนกิ าย ธัมมบท ( ๑. ยมกวัคค์ – ๖. ปณั ฑิตวัคค์ ) รวม ๘๙ พระคาถา _____________________________________________________________________________________ โครงการจัดสร้างพระไตรปฎิ ก อรรถกถา ฎกี า บาฬี-ไทย และ ทุนนธิ พิ ระบาฬีศกึ ษาธัมมานนั ทาภิชาน จัดพมิ พ์เปน็ ธมั มทาน เน่ืองในโอกาสวนั พอ่ แหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ ผมู้ จี ติ เก้อื กลู สนบั สนุนทนุ พมิ พ์เป็นธัมมทาน ธัมมทานชนะทานทง้ั ปวง

1 คำชี้แจง 2 พระบาฬไี ตรปฎิ ก สว่ นทีจ่ ัดพิมพค์ รง้ั นี้คอื “ขทุ ทกนิกำย ธมั มบท (๑.ยมกวคั ค์ – ๖.ปัณฑิตวัคค์)” 3 (สองภาษา) เป็นผลงานลาดับที่สามของ “โครงกำรจัดสร้ำงพระไตรปิฎก อรรถกถำ ฎีกำ บำฬี-ไทย” 4 ที่ท่านอาจารย์พระครูธรรมธรสุมนต์ นนฺทิโก อัคคมหำบัณฑิต ศำสตรเมธี มหำปัฏฐำนโกวิทำ- 5 จำรย์ เจ้าอาวาสวัดจากแดง จังหวดั สมทุ รปราการ ได้ปรารภและให้การสนับสนุนในการจัดทา โดยข้อมูล 6 ภาษาบาฬีน้ัน อาศัยพระไตรปิฎกฉบับฉัฏฐสังคีติท่ีประเทศพม่าเป็นเจ้าภาพในการดาเนินงานการ 7 สังคายนาและจัดพิมพ์ สว่ นคาแปลภาษาไทยนนั้ อาศัยพระไตรปฎิ กภาษาไทยฉบบั หลวงเป็นแนวทาง 8 พระคัมภีร์ “ธมฺมปท” หรือ “ธัมมบท” นี้ เป็นท่ีคุ้นเคยเพราะเป็นพระคัมภีร์ที่เป็นแบบเรียนใน 9 หลักสูตรการศึกษาพระบาฬี โดยศึกษาคู่กับอรรถกถา เพ่ือจะได้ทราบความหมายและความเป็นมาของ 10 พระคาถาน้ันๆ เน่ืองจากในพระบาฬีไตรปิฎกน้ันท่านประมวลไว้เฉพาะพระคาถาที่เป็นแม่ บท ส่วน 11 เรื่องราวและความหมายของบทพระบาฬีน้ันมีอยู่ในพระคัมภีร์อรรถกถา จึงต้องศึกษาควบคู่ไปด้วยกัน 12 และเนอ่ื งจากในอรรถกถาน้ันได้มีพระคาถาจากพระบาฬีอยู่ด้วยแล้ว ในการเรียนการสอนท่วั ไปจึงใช้พระ 13 คัมภีร์ธัมมปทัฏฐกถาเป็นแบบเรียน ซ่ึงเมื่อครูชี้แจงให้ผู้เรียนได้ทราบว่าพระคาถาท่ีเป็นแม่บทน้ันอยู่ใน 14 พระไตรปิฎกเลม่ ใด ผเู้ รียนกจ็ ะรู้จกั และคนุ้ เคยกับพระคมั ภีร์ส่วนที่เปน็ พระบาฬีไตรปฎิ ก (ชดุ ๔๕ เล่ม) 15 แต่ก่อน เป็นท่ีรับรู้กันว่าพระบาฬีไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ รวมท้ังพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยท่ี 16 จัดพิมพ์ให้มีจานวนเท่ากับพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐน้ัน หน่ึงจบครบชุดมี ๔๕ เล่ม แต่ปัจจุบันมีการ 17 กลา่ วถึงพระไตรปฎิ ก ๙๑ เลม่ ซ่งึ เป็นพระไตรปฎิ กและอรรถกถำแปล ฉบบั มหำมกุฏรำชวิทยำลยั ท่ี 18 ได้พิมพ์คาแปลของพระไตรปิฎกและอรรถกถา รวมไว้ในเล่มเดียวกัน ดังน้ัน เมื่อมุ่งกล่าวถึงพระคัมภีร์ 19 เฉพาะสว่ นทเ่ี ปน็ พระบาฬีไตรปฎิ ก ในท่ีนี้ จงึ ระบุจานวนไว้ในวงเล็บด้วยวา่ “(ชุด ๔๕ เล่ม)” 20 ในการจัดพิมพ์นี้ บางส่วนใช้ตามท่ีมอี ยู่แล้ว เช่นตวั เลขหนา้ ชื่อเรอื่ ง นบั จานวนเร่อื งเฉพาะในวคั ค์ 21 นน้ั บางส่วนเพ่มิ ขึน้ ใหม่ เชน่ ตัวเลขในวงเล็บท้ายชอ่ื เรอื่ ง ใช้นับเรือ่ งต่อเน่อื งกนั จากวคั ค์แรกเปน็ ต้นไป 22 คาแปลในฉบับสองภาษานี้ หลายแห่งต่างจากคาแปลทีม่ อี ยู่กอ่ น 23 สว่ นใหญ่นน้ั แต่ละคาถาจะมีความหมายจบในตัว ซึง่ สามารถวางคาแปลกากับไปทีละคาถาได้ แต่ 24 บางคาถามีถ้อยคาท่ีเกี่ยวเนื่องกับคาถาข้อต่อไป จึงใช้เครื่องหมายจุดสามจุด(...)ลอยอยู่ด้านบนคาแปล 25 เพือ่ เป็นท่สี งั เกต เชน่ คาแปลท่อนสุดท้ายในคาถาขอ้ ๘๗ นั้นเกีย่ วข้องกับเน้ือความในคาถาข้อ ๘๘ 26 อกั ษรเอนในคำแปล เปน็ กำรเพมิ่ คำเพือ่ ควำมชดั เจน 27 อักษรเอนในเชงิ อรรถ ใช้กบั เชงิ อรรถหรือขอ้ ควำมในเชิงอรรถที่ชีแ้ จงเพิม่ เติม 28 ในเชิงอรรถน้นั อาศยั ข้อมูลในฉบบั ฉัฏฐสังคตี ิ เทียบกบั ฉบบั สยามรฐั โดยใชต้ ัวเลขตา่ งกัน ดงั น้ี - 29 ขุ.เถร.๒๖/๓๒๕/๓๑๑ เป็นทีม่ าในฉบับสยามรัฐ ตัวเลขนนั้ บอก เล่ม/ขอ้ /หน้า 30 ขุ.2/275/269 เป็นที่มาในฉบับฉัฏฐสังคีติ (เรยี กย่อวา่ “ฉบับฉัฏฐะ”) ซึ่งในท่ีน้ไี ดเ้ พิม่ เลขกลุม่ กลาง 31 คอื เลขข้อเข้ามาด้วย เพราะในฉบับฉัฏฐะนั้นจะระบุเพียงเลข เล่ม/หน้า อีกทั้งได้เพิ่มรายละเอียดชื่อท่ีมา 32 ไวด้ ว้ ย (กรณมี ชี ือ่ ทตี่ า่ งกนั บ้าง จะระบุจุดต่างไว้ในวงเล็บ) 33 การอ้างองิ ขอ้ มูลพระบาฬีในท่ีนกี้ บั ท่ีมีอยู่ในท่ีอ่นื ดว้ ย ชว่ ยเกือ้ กลู ต่อการสอบทานถ้อยคาเป็นต้น 34 ๛๛

ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท เล่ม ๑ ๑ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ขทุ ทฺ กนิกาย 2 ธมมฺ ปทปาฬิ 3 ขทุ ทกนิ กาย 4 พระบาฬีธมั มบท 5 6 นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สสฺ . 7 ขอนอบน้อมแดพ่ ระภควนั ต์อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคน์ นั้ 8 9 ๑. ยมกวคฺค ยมกวคั ค์ 10 ๑. จกฺขปุ าลตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระจกั ขบุ าลเถระ (๑) 11 ๑. มโนปพุ พฺ งฺคมา ธมมฺ า มโนเสฏฺฅา มโนมยา; มนสา เจ ปทฏุ ฺเฅน ภาสติ วา กโรติ วา; 12 13 ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกวํ วหโต ปท.ํ 14 ความรสู้ กึ นกึ คดิ ทงั้ หลายมใี จนา มใี จเป็นใหญ่ สาเรจ็ จากใจ 15 หากพดู หรอื ทาดว้ ยใจรา้ ย จากการกระทานนั้ ทุกขจ์ ะตามเขาไป 16 เหมอื นลอ้ หมนุ ตามรอยเทา้ ววั ทก่ี าลงั ลากเกวยี นไป 17 18 ๒. มฏฺฅกุณฺฑลวี ตฺถุ เรอื่ งมฏั ฐกุณฑลี (๒) 19 ๒. ๑มโนปพุ พฺ งฺคมา ธมมฺ า มโนเสฏฺฅา มโนมยา; ภาสติ วา กโรติ วา; 20 มนสา เจ ปสนฺเนน 21 ตโต นํ สขุ มเนฺวติ ฉายาว อนปายินี๒. 22 ความรสู้ กึ นึกคดิ ทงั้ หลายมใี จนา มใี จเป็นใหญ่ สาเรจ็ จากใจ 23 หากพดู หรอื ทาดว้ ยใจทผ่ี อ่ งใส จากการกระทานนั้ สุขจะตามเขาไป 24 เหมอื นเงาทไ่ี มล่ ะไป 25 26 ๑ มที อ่ี น่ื ดว้ ย - ข.ุ 10/92/112 (เนตฺติ 4.ปฏนิ ิทฺเทสวาร) [ฉฏั ฐสงั คตี จิ ดั เนตตปิ กรณ์อยใู่ นพระบาฬี ขทุ ทกนิกาย] ๒ อนุปายนิ ี (ก.)

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เลม่ ๑ ๒ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๓. ตสิ ฺสตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระตสิ สเถระ (๓) 2 ๓. ๑อกฺโกจฉฺ ิ มํ อวธิ มํ อชินิ๒ มํ อหาสิ เม; 3 เย จ ตํ อปุ นยฺหนฺติ เวรํ เตสํ น สมมฺ ติ. 4 \"ดา่ เรา ทารา้ ยเรา ชนะเรา เอาของเราไป\" 5 กพ็ วกใดผกู โกรธไว้ เวรของพวกนนั้ ไมร่ ะงบั 6 ๔. อกฺโกจฉฺ ิ มํ อวธิ มํ อชินิ มํ อหาสิ เม; 7 เย จ ตํ นุปนยฺหนฺติ๓ เวรํ เตสปู สมมฺ ติ. 8 “ด่าเรา ทารา้ ยเรา ชนะเรา เอาของเราไป” 9 กพ็ วกใดไมผ่ กู โกรธไว้ เวรของพวกนนั้ ๔ ระงบั ไป 10 11 ๔. กาฬยกฺขนิ ีวตฺถุ เรอื่ งนางกาฬยกั ขนิ ี (๔) 12 ๕. น หิ เวเรน เวรานิ สมมฺ นฺตีธ กทุ าจนํ; 13 อเวเรน จ สมมฺ นฺติ เอส ธมโฺ ม สนนฺตโน. 14 ในกาลไหนๆ ในโลกน้ี เวรทงั้ หลายไมร่ ะงบั ดว้ ยเวรเลย 15 แต่ระงบั ดว้ ยการไมจ่ องเวร น่เี ป็นหลกั ธมั มเ์ ก่าแก่แน่นอน 16 17 ๕. โกสมฺพกวตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุโกสมั พี (๕) 18 ๖. ๕ปเร จ น วิชานนฺติ มยเมตฺถ ยมามเส๖; 19 เย จ ตตฺถ วิชานนฺติ ตโต สมมฺ นฺติ เมธคา. 20 กพ็ วกอ่นื ไมร่ วู้ า่ “พวกเราในทน่ี ้จี ะยอ่ ยยบั ” 21 สว่ นพวกใดในหมนู่ นั้ รชู้ ดั จากนนั้ ความขดั แยง้ ทงั้ หลายจะระงบั ๑ คาถา ขอ้ ๓-๔-๕-๖ มที อี่ นื่ ดว้ ย - ม.อุ.๑๔/๔๔๓/๒๙๖-๗, ม.3/237/192 (อุปรปิ ณฺณาส 3.สญุ ฺฃตวคฺค 8.อุปกฺกเิ ลสสุตฺต) [ใน พระสตู รน้ี เป็นเหตุการณ์ครงึ่ แรกของเรอื่ งภกิ ษุโกสมั พี (เรอื่ งที่๕)] ๒ อชนิ ี (?) [ในฉบบั ฉัฏฐะทาเชิงอรรถน้ีไว้โดยมองทรี่ ูปแบบของพวกวตั ตคาถา กรณีทตี่ ่างจากรูปแบบคาถาบา้ งเช่นน้ี พอจะอาศยั คาช้แี จงในมลู ฎีกามาเป็นคาตอบได้ (ปฏฺฅานปกรณมลู ฏกี า เหตุปจฺจยนิทฺเทสวณฺณนา ฉบบั ฉฏั ฐะ หน้า 179) ซงึ่ คาช้แี จงในมลู ฎกี าน้ี คมั ภรี ส์ ทั ทนตี ิ นามากลา่ วไวใ้ นช่วงทา้ ยสนธิ สตู ร ๑๙๑ ดว้ ย (กรณเี ชน่ น้ี ต่อไปจะกลา่ วโดยย่อ)] ๓ นูปนยฺหนฺติ (สฺยาม. ทงั้ ในธมั มบทน้ี และ ในอุปกั กเิ ลสสตู ร ตามเชงิ อรรถ ๑) ๔ แปลว่า “ในพวกนนั้ ” กไ็ ด้ โดยแปลตามคาทปี่ รากฏในธมฺมปทฏฺฅกถา ฉบบั ฉัฏฐะว่า “เตสุ” ส่วนในทนี่ ้ีแปลว่า “ของพวก นนั้ ” ตามคาทปี่ รากฏในธมฺมปทฏฺฅกถา ฉบบั สยาม ว่า “เตส” และคลอ้ ยตามคาวา่ “เตส” ในคาถากอ่ นทเี่ ป็นคตู่ รงกนั ขา้ ม ๕ มที อ่ี ่นื ดว้ ย - ข.ุ เถร.๒๖/๓๒๕/๓๑๑, ข.ุ 2/275/269 (เถรคาถา 4.จตุกฺกนปิ าต 3.สภยิ ตฺเถรคาถา) ๖ ยมามฺหเส (สฺยาม. ทงั้ ในธมั มบทน้ี และ ในอุปกั กเิ ลสสตู ร ตามเชงิ อรรถ ๑)

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เล่ม ๑ ๓ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๖. มหากาฬตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระมหากาฬเถระ (๖) 2 ๗. สภุ านุปสสฺ ํิ วิหรนฺตํ อินฺทฺริเยสุ อสวํ ตุ ;ํ 3 โภชนมหฺ ิ จามตฺตญญฺ ุํ กสุ ีตํ หีนวีริย;ํ 4 ตํ เว ปสหติ มาโร วาโต รกุ ขฺ วํ ทพุ พฺ ล.ํ 5 ผอู้ ยโู่ ดยเหน็ อารมณ์วา่ งาม ไมส่ ารวมอนิ ทรยี ท์ งั้ หลาย 6 ไมร่ ปู้ ระมาณในโภชนะ เกยี จครา้ น และมคี วามเพยี รยอ่ หยอ่ น 7 กเิ ลสมารระรานผนู้ นั้ ไดแ้ น่ เหมอื นลมระรานตน้ ไมท้ อ่ี ่อนกาลงั ได้ 8 ๘. อสภุ านุปสสฺ ํิ วิหรนฺตํ อินฺทรฺ ิเยสุ สสุ วํ ตุ ;ํ 9 โภชนมหฺ ิ จ มตตฺ ญญฺ ุํ สทฺธํ อารทธฺ วีริย;ํ 10 ตํ เว นปปฺ สหติ มาโร วาโต เสลวํ ปพพฺ ต.ํ 11 ผอู้ ยโู่ ดยเหน็ อารมณ์ว่าไมง่ าม สารวมดใี นอนิ ทรยี ท์ งั้ หลาย 12 รปู้ ระมาณในโภชนะ มศี รทั ธา และมคี วามเพยี รทล่ี งมอื แลว้ 13 กเิ ลสมารระรานผนู้ นั้ ไมไ่ ดเ้ ลย เหมอื นลมระรานภเู ขาหนิ ไมไ่ ด้ 14 15 ๗. เทวทตฺตวตฺถุ เรอื่ งพระเทวทตั ต์ (๗) 16 ๙. ๑อนิกฺกสาโว กาสาวํ โย วตถฺ ํ ปริทหิสสฺ ติ๒; 17 อเปโต ทมสจเฺ จน น โส กาสาวมรหติ. 18 ผใู้ ดมกี เิ ลสดุจน้าฝาดซง่ึ ยงั ไมถ่ กู ขจดั ออก ใชส้ อยผา้ กาสาวะ 19 เป็นผไู้ มป่ ระกอบดว้ ยการฝึกอนิ ทรยี แ์ ละสจั จะ ผนู้ นั้ ไม่ค่คู วรกะผา้ กาสาวะ 20 ๑๐. โย จ วนฺตกสาวสสฺ สีเลสุ สสุ มาหิโต; 21 อเุ ปโต ทมสจเฺ จน ส เว กาสาวมรหติ. 22 สว่ นผใู้ ดเป็นผมู้ กี เิ ลสดุจน้าฝาดซง่ึ คายออกแลว้ ตงั้ มนั่ ดใี นศลี ทงั้ หลาย 23 ถงึ พรอ้ มดว้ ยการฝึกอนิ ทรยี แ์ ละสจั จะ ผนู้ นั้ แหละค่คู วรกะผา้ กาสาวะ ๑ สองคาถาในเร่อื งน้ี มที อ่ี ่นื ดว้ ย - ข.ุ เถร.๒๖/๓๙๕/๔๐๐ (๑.ปสุ ฺสตฺเถร), ข.ุ 2/969-70/342 (17.ตสึ นิปาต 1.ผสุ ฺสตฺเถรคาถา); ขุ.ชา.๒๗/๒๙๑-๒/๘๓, ขุ.5/131-2/60 [2.ทุกนิปาต 8.กาสาววคฺค 1.กาสาวชาตก (221)]; ขุ.ชา.๒๗/๒๓๔๒/๔๙๕-๖, ข.ุ 5/122-3/374 [16.ตสึ นิปาต 4.ฉทฺทนฺตชาตก (514)] ๒ ฉบบั สยาม ในปสุ สเถรคาถา ปรากฏเป็น “ปรทิ เหสฺสต”ิ มเี ชงิ อรรถวา่ “โป. ยุ. ปรทิ หสิ ฺสต,ิ ม. ปรธิ สฺสต”ิ ในกาสาวชาดก ปรากฏเป็น “ปรทิ หสิ ฺสต”ิ ไมม่ เี ชงิ อรรถ และในฉทั ทนั ตชาดก ปรากฏเป็น “ปรทิ หสิ ฺสต”ิ มเี ชงิ อรรถว่า “ส.ี ย.ุ ปรทิ เหสฺสต”ิ สว่ นฉบบั ฉัฏฐะ ในผสุ สเถรคาถา ปรากฏเป็น “ปรธิ สฺสต”ิ มเี ชงิ อรรถวา่ “ปรทิ หสิ ฺสติ (ส.ี สฺยาม.)” สว่ นในกาสาวชาดก ปรากฏเป็น “ปรทิ หสิ ฺสต”ิ มเี ชงิ อรรถว่า “ปรทิ เหสฺสติ (ส.ี อ.ิ )” และในฉทั ทนั ตชาดก ปรากฏเป็น “ปรทิ หสิ ฺสต”ิ มเี ชงิ อรรถว่า “ปรทิ เหสฺสติ (ส.ี อ.ิ ), ปรธิ สฺสติ (กตฺถจ)ิ ”

ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท เล่ม ๑ ๔ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๘. สารปิ ตุ ฺตตฺเถรวตฺถุ๑ เรอื่ งพระสารบี ุตรเถระ (๘) 2 ๑๑. อสาเร สารมติโน สาเร จาสารทสสฺ ิโน; 3 เต สารํ นาธิคจฉฺ นฺติ มิจฉฺ าสงฺกปปฺ โคจรา. 4 พวกทม่ี คี วามคดิ ว่าเป็นสาระในสง่ิ ทไ่ี มเ่ ป็นสาระ 5 และเหน็ ว่าไมเ่ ป็นสาระในสง่ิ ทเ่ี ป็นสาระ 6 พวกเขามคี วามคดิ ผดิ เป็นพน้ื จติ ใจ จงึ ไมไ่ ดพ้ บสาระ 7 ๑๒. สารญจฺ สารโต ฃตฺวา อสารญจฺ อสารโต; 8 เต สารํ อธิคจฉฺ นฺติ สมมฺ าสงฺกปปฺ โคจรา. 9 ส่วนผรู้ จู้ กั สาระวา่ เป็นสาระ และทไ่ี มเ่ ป็นสาระวา่ ไมเ่ ป็นสาระ 10 พวกเขามคี วามคดิ ถูกเป็นพน้ื จติ ใจ จงึ ไดพ้ บสาระ 11 12 ๙. นนฺทตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระนนั ทเถระ (๙) 13 ๑๓. ๒ยถา อคารํ ทุจฉฺ นฺนํ วฏุ ฺฅ๓ี สมติวิชฺฌติ; 14 เอวํ อภาวิตํ จิตตฺ ํ ราโค สมติวิชฺฌติ. 15 ฝนแทงทะลุเรอื นทม่ี งุ ไมด่ ี ฉนั ใด ราคะแทงทะลุใจทไ่ี มไ่ ดอ้ บรม ฉนั นนั้ 16 ๑๔. ยถา อคารํ สฉุ นฺนํ วฏุ ฺฅี น สมติวิชฌฺ ติ; 17 เอวํ สภุ าวิตํ จิตฺตํ ราโค น สมติวิชฌฺ ติ. 18 ฝนไมแ่ ทงทะลุเรอื นทม่ี งุ ดี ฉนั ใด ราคะไมแ่ ทงทะลใุ จทไ่ี ดอ้ บรมดแี ลว้ ฉนั นัน้ 19 20 ๑๐. จนุ ฺทสกู รกิ วตฺถุ เรอื่ งนายจนุ ทะคนฆา่ หมู (๑๐) 21 ๑๕. ๔อิธ โสจติ เปจจฺ โสจติ ปาปการี อภุ ยตถฺ โสจติ; 22 โส โสจติ โส วิหญฃฺ ติ ทิสวฺ า กมมฺ กิลิฏฺฅมตฺตโน๕. 23 ผทู้ าบาปเป็นประจายอ่ มเศรา้ โศกในโลกน้ี ยอ่ มเศรา้ โศกในโลกหน้า 24 ยอ่ มเศรา้ โศกในโลกทงั้ สอง เขายอ่ มเศรา้ โศก เขายอ่ มเดอื ดรอ้ น 25 เพราะเหน็ ความมวั หมองแหง่ การกระทาของตน ๑ ในธมฺมปทฏฺฅกถา ฉบบั สยาม เรยี กชอื่ เรอื่ งไวว้ า่ “สญฺชยวตฺถุ” (เรอื่ งสญชยั ) ๒ สองคาถาในเรอ่ื งน้ี มที อ่ี ่นื ดว้ ย - ข.ุ เถร.๒๖/๒๖๔/๒๘๙, ข.ุ 2/133-4/248 (เถรคาถา 2.ทกุ นิปาต 7.ราธตฺเถรคาถา) ๓ ในเถรคาถา ฉบบั สยาม ทงั้ สองคาถาเป็น “วฏุ ฺฅ”ิ ๔ มที อ่ี ่นื ดว้ ย - ข.ุ 10/8/172 (เปฏโกปเทส 1.อรยิ สจฺจปปฺ กาสนปฅมภมู )ิ [ฉฏั ฐสงั คตี จิ ดั เปฏโกฯ อยใู่ นพระบาฬี ขทุ ทกนกิ าย] ๕ ในเปฏโกปเทสะ ฉบบั ฉฏั ฐะ มเี ชงิ อรรถว่า “กมฺมกลิ ฏิ ฺฅํ อตฺตโน (อ.ิ )”

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เล่ม ๑ ๕ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๑๑. ธมฺมกิ อุปาสกวตฺถุ เรอื่ งธมั มกิ อุบาสก (๑๑) 2 ๑๖. อิธ โมทติ เปจฺจ โมทติ กตปญุ โฺ ฃ อภุ ยตฺถ โมทติ; 3 โส โมทติ โส ปโมทติ ทิสวฺ า กมมฺ วิสทุ ธฺ ิมตตฺ โน. 4 ผมู้ บี ุญทไ่ี ดท้ าแลว้ ยอ่ มบนั เทงิ ใจในโลกน้ี ยอ่ มบนั เทงิ ใจในโลกหน้า 5 ยอ่ มบนั เทงิ ใจในโลกทงั้ สอง เขายอ่ มบนั เทงิ ใจ เขายอ่ มบนั เทงิ ใจยงิ่ 6 เพราะเหน็ ความสะอาดแหง่ การกระทาของตน 7 8 ๑๒. เทวทตฺตวตฺถุ เรอื่ งพระเทวทตั ต์ (๑๒) 9 ๑๗. อิธ ตปปฺ ติ เปจฺจ ตปปฺ ติ ปาปการี๑ อภุ ยตฺถ ตปปฺ ติ; 10 ‘ปาปํ เม กตนฺ’ติ ตปปฺ ติ ภิยฺโย๒ ตปปฺ ติ ทคุ คฺ ตํิ คโต. 11 ผทู้ าบาปเป็นประจายอ่ มเดอื ดรอ้ นในโลกน้ี ยอ่ มเดอื ดรอ้ นในโลกหน้า 12 ยอ่ มเดอื ดรอ้ นในโลกทงั้ สอง เดอื ดรอ้ นว่า ‘บาปเราไดท้ าแลว้ ’ 13 ไปส่ทู ุคตยิ อ่ มเดอื ดรอ้ นยงิ่ ขน้ึ 14 15 ๑๓. สมุ นเทว๓ี วตฺถุ เรอื่ งสุมนเทวี (ลกู สาวของอนาถบณิ ฑกิ ะ) (๑๓) 16 ๑๘. อิธ นนฺทติ เปจจฺ นนฺทติ กตปญุ โฺ ฃ อภุ ยตฺถ นนฺทติ; 17 ‘ปญุ ฺฃํ เม กตนฺ’ติ นนฺทติ ภิยฺโย นนฺทติ สคุ คฺ ตํิ คโต. 18 ผมู้ บี ุญทไ่ี ดท้ าแลว้ ยอ่ มเพลดิ เพลนิ ในโลกน้ี ยอ่ มเพลดิ เพลนิ ในโลกหน้า 19 ยอ่ มเพลดิ เพลนิ ในโลกทงั้ สอง เพลดิ เพลนิ ว่า ‘บุญเราไดท้ าแลว้ ’ 20 ไปสสู่ ุคตยิ อ่ มเพลดิ เพลนิ ยง่ิ ขน้ึ 21 22 23 24 25 26 27 ๑ ปาปการิ (?) [โดยมองทรี่ ปู แบบของเวตาลยี คาถา] ๒ ภโี ย (ส.ี ) ๓ ในธมฺมปทฏฺฅกถา ฉบบั สยาม พบเป็น “สมุ นาเทว”ี สว่ นในธมฺมปทฏฺฅกถา ฉบบั ฉฏั ฐะ พบทงั้ “สมุ นเทว”ี และ “สมุ นาเทว”ี

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เล่ม ๑ ๖ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๑๔. เทฺวสหายกภกิ ฺขวุ ตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุสองสหาย (๑๔) 2 ๑๙. พหมุ ปฺ ิ เจ สหํ ิต๑ ภาสมาโน น ตกฺกโร โหติ นโร ปมตฺโต; 3 โคโปว คาโว คณยํ ปเรสํ น ภาควา สามญฃฺ สสฺ โหติ. 4 พระพุทธพจน์ซง่ึ มปี ระโยชน์เกอ้ื กลู แมจ้ ะกล่าวมาก 5 หากเป็นคนประมาท ไมท่ าตามนนั้ หาเป็นผมู้ สี ่วนแห่งความเป็นสมณะไม่ 6 เหมอื นคนเลย้ี งววั คอยนบั ววั ของคนอ่นื ๆ 7 ๒๐. อปปฺ มปฺ ิ เจ สหํ ิต ภาสมาโน ธมมฺ สสฺ โหติ๒ อนุธมมฺ จารี; 8 ราคญจฺ โทสญจฺ ปหาย โมหํ สมมฺ ปปฺ ชาโน สวุ ิมตุ ฺตจิตโฺ ต; 9 อนุปาทิยาโน อิธ วา หรุ ํ วา ส ภาควา สามญฺฃสสฺ โหติ. 10 พระพทุ ธพจน์ซง่ึ มปี ระโยชน์เกอ้ื กลู แมจ้ ะกล่าวน้อย 11 หากเป็นผปู้ ระพฤตธิ มั มต์ ามธมั มอ์ ยเู่ สมอ ละราคะ โทสะและโมหะไดแ้ ลว้ 12 เป็นผรู้ ชู้ อบ มจี ติ หลุดพน้ ดแี ลว้ ไมย่ ดึ มนั่ ถอื มนั่ ในโลกน้หี รอื โลกหน้า 13 ผนู้ นั้ เป็นผมู้ สี ว่ นแห่งความเป็นสมณะ 14 15 ยมกวคโฺ ค ปฅโม. 16 น่เี ป็นยมกวคั ค์ ซง่ึ เป็นวคั คแ์ รก 17 18 ๛๛ 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ๑ สหติ (ส.ี สฺยาม. ก. อ.ิ ) ๒ โหตี (ส.ี อ.ิ )

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เล่ม ๑ ๗ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๒. อปปฺ มาทวคฺค อปั ปมาทวคั ค์ 2 ๑. สามาวตวี ตฺถุ เรอื่ งพระนางสามาวดี (๑๕) 3 ๒๑. ๑อปปฺ มาโท อมตปท๒ํ ปมาโท มจจฺ โุ น ปท;ํ 4 อปปฺ มตตฺ า น มยี นฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา. 5 ความไมป่ ระมาทเป็นทางถงึ พระนพิ พาน 6 ความประมาทเป็นทางแหง่ ความตาย 7 ผไู้ มป่ ระมาทยอ่ มไมต่ าย ผูป้ ระมาทแลว้ เหมอื นคนตายแลว้ 8 ๒๒. เอว๓ํ วิเสสโต ฃตฺวา อปปฺ มาทมหฺ ิ ปณฺฑิตา; 9 อปปฺ มาเท ปโมทนฺติ อริยานํ โคจเร รตา. 10 บณั ฑติ ทงั้ หลายรวู้ า่ ต่างกนั อยา่ งน้ี อยใู่ นความไมป่ ระมาท 11 บนั เทงิ ใจในความไม่ประมาท ยนิ ดใี นธมั มท์ เ่ี ป็นวสิ ยั ของพระอรยิ ะทงั้ หลาย 12 ๒๓. เต ฌายิโน สาตติกา นิจจฺ ํ ทฬฺหปรกกฺ มา; 13 ผสุ นฺติ ธีรา นิพพฺ านํ โยคกเฺ ขมํ อนุตฺตร.ํ 14 บณั ฑติ เหล่านนั้ เป็นผเู้ พง่ พนิ ิจ มคี วามเพยี รต่อเน่อื ง 15 บากบนั่ มนั่ คงเป็นนิจ เป็นนกั ปราชญ์ ยอ่ มสมั ผสั พระนิพพาน 16 ซง่ึ ปลอดเครอ่ื งผกู ไมม่ อี ะไรยง่ิ กวา่ 17 18 ๒. กุมฺภโฆสกเสฏฺฅวิ ตฺถุ เรอื่ งเศรษฐชี อื่ กุมภโฆสกะ (๑๖) 19 ๒๔. อฏุ ฺฅานวโต สตีมโต๔ สจุ ิกมมฺ สสฺ นิสมมฺ การิโน; 20 สญฃฺ ตสสฺ ธมมฺ ชีวิโน อปปฺ มตฺตสสฺ ๕ ยโสภิวฑฒฺ ติ. 21 ผมู้ คี วามขยนั มสี ติ มกี ารกระทาทส่ี ะอาด ทาอยา่ งใครค่ รวญเสมอ 22 สารวมแลว้ เลย้ี งชพี โดยธมั ม์ และไมป่ ระมาท ยศยอ่ มเจรญิ ยง่ิ 23 ๑ มที อ่ี น่ื ดว้ ย - ข.ุ 10/26/30 (เนตฺติ 4.ปฏนิ ิทฺเทสวาร 6.จตุพฺยหู หารวภิ งฺค) ๒ อมต ปท (ก.) [เชงิ อรรถในฉบบั ฉฏั ฐะทงั้ ในทนี่ ้แี ละทเี่ นตติ รวมทงั้ ทอี่ นื่ ทมี่ พี ระบาฬีบทน้ี มกั พมิ พแ์ ยกคากนั แต่คาน้เี ป็น สมาสตามคาในอฏั ฐกถาของเรอื่ งน้ีทวี่ ่า “อมตสฺส ปท อมตปท” สว่ นทมี่ นี คิ หติ กลางคาดว้ ยนนั้ กลา่ วไดว้ ่าเป็นนคิ คหติ อาคม ดเู รอื่ งการลงนิคคหติ อาคมในคาน้ีไดใ้ นคมั ภรี น์ ิรตุ ตทิ ปี นี สตู ร ๕๒] ๓ เอต (ส.ี สฺยาม. ก. อ.ิ ) ๔ สตมิ โต (ส.ี สฺยาม. ก.) ๕ อปมตฺตสฺส (?) [โดยมองทรี่ ปู แบบของเวตาลยี คาถา]

ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท เลม่ ๑ ๘ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๓. จฬู ปนฺถกวตฺถุ เรอื่ งพระจฬู ปนั ถกะ (๑๗) 2 ๒๕. อฏุ ฺฅาเนนปปฺ มาเทน สยํ เมน ทเมน จ; 3 ทีปํ กยิราถ เมธาวี ยํ โอโฆ นาภิกีรติ. 4 ผมู้ ปี ญั ญาตอ้ งใชค้ วามเพยี ร ความไมป่ ระมาท การสารวม 5 และการฝึกฝน สรา้ งเกาะซง่ึ หว้ งน้าไม่ซดั กระหน่า 6 7 ๔. พาลนกฺขตฺตสงฺฆฏุ ฺฅวตฺถุ เรอื่ งงานเทศกาลของคนไมฉ่ ลาด (๑๘) 8 ๒๖. ปมาทมนุยญุ ชฺ นฺติ พาลา ทุมเฺ มธิโน ชนา; 9 อปปฺ มาทญจฺ เมธาวี ธนํ เสฏฺฅวํ รกขฺ ติ. 10 พวกคนพาล ทรามปญั ญา ขยนั ประมาทเนอื งๆ 11 แต่ผมู้ ปี ญั ญารกั ษาความไมป่ ระมาทเหมอื นรกั ษาทรพั ยส์ ดุ ประเสรฐิ 12 ๒๗. มา ปมาทมนุยญุ ฺเชถ มา กามรติสนฺถว๑ํ ; 13 อปปฺ มตโฺ ต หิ ฌายนฺโต ปปโฺ ปติ วิปลุ ํ สขุ .ํ 14 อยา่ ขยนั ประมาท อยา่ ขยนั เชยชดิ พสิ มยั สง่ิ ชอบ 15 เพราะผไู้ มป่ ระมาท เพ่งพนิ ิจอยู่ ยอ่ มประสบสุขยงิ่ ใหญ่ 16 17 ๕. มหากสฺสปตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระมหากสั สปเถระ (๑๙) 18 ๒๘. ปมาทํ อปปฺ มาเทน ยทา นุทติ ปณฺฑิโต; 19 ปญฺฃาปาสาทมารยุ หฺ อโสโก โสกินํิ ปช;ํ 20 ปพพฺ ตฏฺโฅว ภมู ฏฺเฅ๒ ธีโร พาเล อเวกขฺ ติ. 21 เมอ่ื ใดบณั ฑติ ขจดั ความประมาทดว้ ยความไมป่ ระมาท 22 ขน้ึ ส่ปู ราสาทคอื ปญั ญา เป็นผหู้ มดโศก ยอ่ มมองเหน็ หม่สู ตั วผ์ มู้ คี วามโศก 23 ขณี าสวธรี ชนมองเหน็ พาลปุถุชนทงั้ หลาย 24 เหมอื นคนยนื บนภมู องเหน็ พวกคนยนื ทพ่ี น้ื ดนิ ฉะนนั้ 25 26 27 ๑ สนฺธว (ก.) ๒ ภมุ ฺมฏฺเฅ (ส.ี สฺยาม.)

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เล่ม ๑ ๙ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๖. ปมตฺตาปมตฺตเทฺวสหายกภกิ ฺขวุ ตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุสองสหายผปู้ ระมาทและไมป่ ระมาท (๒๐) 2 ๒๙. อปปฺ มตฺโต ปมตเฺ ตสุ สตุ ฺเตสุ พหชุ าคโร; 3 อพลสสฺ วํ สีฆสโฺ ส หิตวฺ า ยาติ สเุ มธโส. 4 เมอ่ื คนอ่นื ๆ ประมาท ผมู้ ปี ญั ญาดไี ม่ประมาท ต่นื มากเมอ่ื คนอ่นื ๆ หลบั 5 ยอ่ มละทง้ิ ไป เหมอื นมา้ ไวทง้ิ ห่างมา้ ไมม่ กี าลงั ฉะนนั้ 6 7 ๗. มฆวตฺถุ เรอื่ งมฆมาณพ (๒๑) 8 ๓๐. อปปฺ มาเทน มฆวา เทวานํ เสฏฺฅตํ คโต; 9 อปปฺ มาทํ ปสสํ นฺติ ปมาโท ครหิโต สทา. 10 เพราะความไมป่ ระมาท ทา้ วมฆั วานจงึ เป็นผปู้ ระเสรฐิ กวา่ ทวยเทพ 11 บณั ฑติ ต่างสรรเสรญิ ความไมป่ ระมาท ความประมาทถูกตทิ กุ เมอ่ื 12 13 ๘. อญฺฃตรภกิ ฺขวุ ตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุรปู หนงึ่ (๒๒) 14 ๓๑. อปปฺ มาทรโต ภิกขฺ ุ ปมาเท ภยทสสฺ ิ วา; 15 สโํ ยชนํ อณุํถลู ํ ฑหํ อคคฺ ีว คจฉฺ ติ. 16 ภกิ ษุยนิ ดแี ลว้ ในความไม่ประมาท หรอื เหน็ ภยั ในความประมาทเสมอ 17 เผาสงั โยชน์ละเอยี ดและหยาบไป ดุจไฟเผาเชอ้ื ไป ฉะนนั้ 18 19 ๙. นิคมวาสติ สิ ฺสตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระตสิ สเถระผอู้ ยทู่ นี่ ิคม (๒๓) 20 ๓๒. อปปฺ มาทรโต ภิกขฺ ุ ปมาเท ภยทสสฺ ิ วา; 21 อภพโฺ พ ปริหานาย นิพพฺ านสเฺ สว สนฺติเก. 22 ภกิ ษุยนิ ดแี ลว้ ในความไมป่ ระมาท หรอื เหน็ ภยั ในความประมาทเสมอ 23 จะไมเ่ ส่อื ม(จากธมั ม)์ อยใู่ กลพ้ ระนพิ พานเลยทเี ดยี ว 24 25 อปปฺ มาทวคโฺ ค ทตุ ิโย. 26 น่เี ป็นอปั ปมาทวคั ค์ ซง่ึ เป็นวคั คท์ ส่ี อง 27 28 ๛๛ 29

ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท เล่ม ๑ ๑๐ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๓. จิตตฺ วคฺค ๓. จติ ตวคั ค์ 2 ๑. เมฆยิ ตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระเมฆยิ เถระ (๒๔) 3 ๓๓. ผนฺทนํ จปลํ จิตตฺ ํ ทรู กขฺ ๑ํ ทุนฺนิวารย;ํ 4 อชุ ุํ กโรติ เมธาวี อสุ กุ าโรว เตชนํ. 5 ผมู้ ปี ญั ญาทาจติ ซง่ึ ดน้ิ พลา่ น รกั ษายาก หา้ มยาก ใหต้ รง 6 ดจุ ช่างศรทาลกู ศรใหต้ รง 7 ๓๔. วาริโชว ถเล ขิตฺโต โอกโมกตอพุ ภฺ โต; 8 ปริผนฺทติทํ จิตตฺ ํ มารเธยยฺ ํ ปหาตเว. 9 เหมอื นปลาทถ่ี ูกจบั จากแหล่งน้าโยนขน้ึ บก ดน้ิ ไปทวั่ 10 เพ่อื จะละบว่ งมาร จติ น้ีดน้ิ ไปทวั่ เช่นกนั 11 12 ๒. อญฺฃตรภกิ ฺขวุ ตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุรปู หนงึ่ (๒๕) 13 ๓๕. ทุนฺนิคคฺ หสสฺ ลหโุ น ยตฺถกามนิ ปาติ โน; 14 จิตฺตสสฺ ทมโถ สาธุ จิตตฺ ํ ทนฺตํ สขุ าวห.ํ 15 จติ ซง่ึ ขม่ ไดย้ าก เกดิ ดบั เรว็ ไว มกั ตกไปในอะไรๆตามต้องการ 16 การฝึกจติ ไดเ้ ป็นสง่ิ ดี จติ ทฝ่ี ึกแลว้ นาสุขมาให้ 17 18 ๓. อญฺฃตรอุกฺกณฺฅติ ภกิ ฺขวุ ตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุผทู้ อ้ รปู หนงึ่ (๒๖) 19 ๓๖. สทุ ทุ ทฺ สํ สนุ ิปณุ ํ ยตฺถกามนิ ปาติ นํ; 20 จิตฺตํ รกเฺ ขถ เมธาวี จิตตฺ ํ คตุ ฺตํ สขุ าวห.ํ 21 จติ ซง่ึ เหน็ ไดย้ ากสุด ละเอยี ดยงิ่ นกั มกั ตกไปในอะไรๆตามตอ้ งการ 22 ผมู้ ปี ญั ญาตอ้ งรกั ษาจติ ไว้ จติ ทร่ี กั ษาไวไ้ ด้ นาสขุ มาให้ 23 24 25 26 27 ๑ ทุรกฺข (สพฺพตฺถ) (ทวั่ ไปพบเป็น “ทุรกฺข”)

ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท เล่ม ๑ ๑๑ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๔. สฆรกฺขติ ภาคเิ นยฺยตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระสงั ฆรกั ขติ เถระผปู้ ็นหลาน (๒๗) 2 ๓๗. ทรู งฺคมํ เอกจร๑ํ อสรีรํ คหุ าสย;ํ 3 เย จิตฺตํ สยํ เมสสฺ นฺติ โมกขฺ นฺติ มารพนฺธนา. 4 จติ ไปไกล ไปลาพงั ครงั้ ละหน่งึ ไมม่ รี ปู รา่ ง มถี ้าเป็นทอ่ี าศยั 5 ใครๆ ระวงั รกั ษาจติ ได้ จะพน้ จากพนั ธนาการของมาร 6 7 ๕. จติ ฺตหตฺถตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระจติ ตหตั ถเถระ (๒๘) 8 ๓๘. อนวฏฺฅติ จิตตฺ สสฺ สทฺธมมฺ ํ อวิชานโต; 9 ปริปลฺ วปสาทสสฺ ปญฺฃา น ปริปรู ติ. 10 ผมู้ จี ติ ไม่ตงั้ มนั่ ไมร่ แู้ จง้ พระสทั ธรรม มคี วามเล่อื มใสเล่อื นลอย 11 ปญั ญายอ่ มไมบ่ รบิ รู ณ์ 12 ๓๙. อนวสสฺ ตุ จิตฺตสสฺ อนนฺวาหตเจตโส; 13 ปญุ ฺฃปาปปหีนสสฺ นตฺถิ ชาครโต ภย.ํ 14 ผมู้ จี ติ ไม่ซมึ ซบั ราคะ มใี จไมถ่ กู โทสะตกี ระหน่า 15 ละบุญและบาปไดแ้ ลว้ ต่นื รอู้ ยู่ ไมม่ สี งิ่ น่ากลวั 16 17 ๖. ปญฺจสตภกิ ฺขวุ ตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุ ๕๐๐ รปู (๒๙) 18 ๔๐. ๒กมุ ภฺ ปู มํ กายมิมํ วิทิตฺวา นครปู มํ จิตฺตมิทํ ฅเปตวฺ า; 19 โยเธถ มารํ ปญฃฺ าวเุ ธน ชิตญจฺ รกฺเข อนิเวสโน สิยา. 20 รจู้ กั กายน้ที เ่ี ป็นเช่นหมอ้ ดนิ แลว้ วางกาลงั รกั ษาจติ น้ีทเ่ี ป็นเช่นเมอื งไว้ 21 ตอ้ งใชป้ ญั ญาวุธสมู้ าร ตอ้ งรกั ษาชยั ชนะไว้ และตอ้ งเป็นผไู้ มม่ ที พ่ี กั ทเ่ี พลนิ 22 23 ๗. ปตู คิ ตฺตตสิ ฺสตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระตสิ สเถระผมู้ รี ่างกายเน่า (๓๐) 24 ๔๑. อจิรํ วต’ยํ กาโย ปถวํิ อธิเสสสฺ ติ; 25 ฉุทฺโธ อเปตวิญฃฺ าโณ นิรตฺถวํ กลิงฺคร.ํ 26 ไมน่ านนะ กายน้ีจะนอนเหนอื พน้ื ดนิ ถกู ถ่มทง้ิ 27 ไมม่ กี ารรบั รู้ เหมอื นท่อนไมไ้ มม่ ปี ระโยชน์ ๑ เอกจาร (ก.) ๒ มที อ่ี ่นื ดว้ ย - ข.ุ 10/10/177 (เปฏโกปเทส 1.อรยิ สจฺจปปฺ กาสนปฅมภมู )ิ

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เล่ม ๑ ๑๒ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๘. นนฺทโคปาลกวตฺถุ เรอื่ งนายนนั ทะผดู้ แู ลฝงู ววั (๓๑) 2 ๔๒. ทิโส ทิสํ ยํ ตํ กยิรา เวรี วา ปน เวรินํ; 3 มิจฉฺ าปณิหิตํ จิตฺตํ ปาปิ โย๑ นํ ตโต กเร. 4 โจรกบั โจรทาสง่ิ ใดต่อกนั หรอื จะเป็นคนจองเวรทากบั ค่เู วร 5 จติ ทต่ี งั้ ไวผ้ ดิ แลว้ ทาเขาใหแ้ ยย่ งิ่ กวา่ นนั้ 6 7 ๙. โสเรยฺยตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระโสเรยยเถระ (๓๒) 8 ๔๓. น ตํ มาตา ปิ ตา กยิรา อญเฺ ฃ วาปิ จ ฃาตกา; 9 สมมฺ าปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร. 10 พ่อแมห่ รอื แมญ้ าตอิ ่นื ๆ กไ็ มส่ ามารถทาสงิ่ นัน้ ได้ 11 จติ ทต่ี งั้ ไวถ้ ูกแลว้ สามารถทาสง่ิ ประเสรฐิ กว่านัน้ ได้ 12 13 จิตตฺ วคโฺ ค ตติโย. 14 น่เี ป็นจติ ตวคั ค์ ซง่ึ เป็นวคั คท์ ส่ี าม 15 16 ๛๛ 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ๑ ปาปิย (?)

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เล่ม ๑ ๑๓ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๔. ปปุ ผฺ วคฺค ปุปผวคั ค์ 2 ๑. ปถวกิ ถาปสตุ ปญฺจสตภกิ ฺขุวตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุ ๕๐๐ รปู ผสู้ นใจเรอื่ งดนิ (๓๓) 3 ๔๔. โก อิม๑ํ ปถวิํ วิเจสสฺ ติ๒ ยมโลกญจฺ อิมํ สเทวก;ํ 4 โก ธมมฺ ปทํ สเุ ทสิตํ กสุ โล ปปุ ผฺ มิว ปเจสสฺ ติ๓. 5 ใครจะรชู้ ดั ดนิ น้แี ละยมโลก กบั โลกน้ีพรอ้ มเทวโลก 6 ใครจะเลอื กขอ้ ธมั มท์ แ่ี สดงดแี ลว้ เหมอื นผฉู้ ลาดเลอื กดอกไม้ 7 ๔๕. เสโข ปถวิํ วิเจสสฺ ติ ยมโลกญจฺ อิมํ สเทวก;ํ 8 เสโข ธมมฺ ปทํ สเุ ทสิตํ กสุ โล ปปุ ผฺ มิว ปเจสสฺ ติ. 9 พระเสขะจะรชู้ ดั ดนิ และยมโลก กบั โลกน้พี รอ้ มเทวโลก 10 พระเสขะจะเลอื กขอ้ ธมั มท์ แ่ี สดงดแี ลว้ เหมอื นผฉู้ ลาดเลอื กดอกไม้ 11 12 ๒. มรจี กิ มฺมฏฺฅานิกภกิ ฺขวุ ตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุผเู้ จรญิ กมั มฏั ฐานพยบั แดด (๓๔) 13 ๔๖. เผณูปมํ กายมิมํ วิทิตฺวา มรีจิธมมฺ ํ อภิสมพฺ ธุ าโน; 14 เฉตวฺ าน มารสสฺ ปปปุ ผฺ กานิ ๔ อทสสฺ นํ มจจฺ รุ าชสสฺ คจเฺ ฉ. 15 รจู้ กั กายน้เี ปรยี บเหมอื นฟองน้า รชู้ ดั วา่ มสี ภาพเหมอื นพยบั แดด 16 ตดั มวลดอกไมข้ องมาร สามารถไปส่สู ถานทม่ี จั จรุ าชมองไมเ่ หน็ 17 18 ๓. วฏิ ฏภู วตฺถุ๕ เรอื่ งพระเจา้ วฏิ ฏูภะ (๓๕) 19 ๔๗. ปปุ ผฺ านิ เหว ปจินนฺตํ พยฺ าสตฺตมนส๖ํ นร;ํ 20 สตุ ฺตํ คามํ มโหโฆว มจจฺ ุ อาทาย คจฉฺ ติ. 21 ความตายพาคนผตู้ ดิ ใจสง่ิ ต่างๆ เลอื กเกบ็ ดอกไมอ้ ยนู่ นั่ ไป 22 เหมอื นหว้ งน้าใหญ่พดั พาชาวบา้ นทห่ี ลบั ไป ฉะนนั้ 23 24 ๑ โกม (ก.) ๒ วเิ ชสฺสติ (ส.ี สฺยาม. อ.ิ ) ๓ ปปุ ผฺ มวิ ปปฺ เจสฺสติ (ก.) ๔ สปปุ ผฺ กานิ (ฏกี า) ๕ ในธมฺมปทฏฺฅกถา ฉบบั สยาม เรยี กว่า “วฑิ ฑู ภวตฺถุ” ๖ พฺยาสตฺตมานส (ก.)

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เลม่ ๑ ๑๔ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๔. ปตปิ ชู กิ กุมารวิ ตฺถุ เรอื่ งนางผบู้ ูชาสามี (๓๖) 2 ๔๘. ปปุ ผฺ านิ เหว ปจินนฺตํ พยฺ าสตฺตมนสํ นร;ํ 3 อติตฺตญเฺ ฃว กาเมสุ อนฺตโก กรุ เุ ต วส.ํ 4 ความตายทาคนผตู้ ดิ ใจสงิ่ ต่างๆ เลอื กเกบ็ ดอกไมอ้ ยนู่ นั่ 5 ไมร่ อู้ มิ่ ในสง่ิ ชอบทงั้ หลายเลย ไวใ้ นอานาจ 6 7 ๕. มจฺฉรยิ โกสยิ เสฏฺฅวิ ตฺถุ เรอื่ งเศรษฐถี เี่ หนยี วชอื่ โกสยิ ะ (๓๗) 8 ๔๙. ๑ยถาปิ ภมโร ปปุ ผฺ ํ วณฺณคนฺธมเหฅย๒ํ ; 9 ปเลติ รสมาทาย เอวํ คาเม มนุ ี จเร. 10 เหมอื นแมลงภ่ผู ง้ึ ไม่ทาใหด้ อกไมส้ แี ละกลนิ่ ช้า 11 เอาน้าหวานแลว้ จากไป พระภกิ ษุเทย่ี วไปในบา้ นอย่างน้เี หมอื นกนั 12 13 ๖. ปาเวยฺยอาชวี กวตฺถุ๓ เรอื่ งอาชวี กชอื่ ปาเวยยะ (๓๘) 14 ๕๐. น ปเรสํ วิโลมานิ น ปเรสํ กตากต;ํ 15 อตฺตโนว อเวกฺเขยยฺ กตานิ อกตานิ จ. 16 ไมส่ นคายอ้ นขนของคนอ่นื ๆ ไมด่ สู ง่ิ ทท่ี าและยงั ไมท่ าของคนอ่นื ๆ 17 ควรพจิ ารณาดสู งิ่ ทท่ี าและยงั ไมไ่ ดท้ าของตนเท่านนั้ 18 19 ๗. ฉตฺตปาณอิ ุปาสกวตฺถุ เรอื่ งอุบาสกชอื่ ฉตั ตปาณิ (๓๙) 20 ๕๑. ๔ยถาปิ รจุ ิรํ ปปุ ผฺ ํ วณฺณวนฺตํ อคนฺธก;ํ 21 เอวํ สภุ าสิตา วาจา อผลา โหติ อกพุ พฺ โต. 22 เหมอื นดอกไมง้ ามมสี ี ไม่มกี ลนิ่ เช่นเดยี วกนั วาจาสุภาษติ ไมม่ ผี ลกบั ผไู้ ม่ทา 23 ๕๒. ยถาปิ รจุ ิรํ ปปุ ผฺ ํ วณฺณวนฺตํ สคุ นฺธก๕ํ ; 24 เอวํ สภุ าสิตา วาจา สผลา โหติ กพุ พฺ โต๖. 25 เหมอื นดอกไมง้ ามมสี ี มกี ลนิ่ หอม เช่นเดยี วกนั วาจาสุภาษติ มผี ลกบั ผทู้ า ๑ มที อ่ี ่นื ดว้ ย - ข.ุ 10/123/159 (เนตฺติ สาสนปฏฺฅาน 4.ปฏนิ ิทฺเทสวาร) ๒ วณฺณคนฺธมโปฅย (ก.) [ฉบบั สยาม เป็น “วณฺณวนฺต อเหฅย” และมเี ชงิ อรรถที่“วณฺณวนฺต” วา่ “โป. ม. ยุ. วณฺณคนฺธ”] ๓ ในธมฺมปทฏฺฅกถา ฉบบั ฉฏั ฐะ เรยี กวา่ “ปาเวยฺยกาชวี กวตฺถุ” ส่วนฉบบั สยาม เรยี กวา่ “ปาฏกิ าชวี กวตฺถุ” ๔ สองคาถาในเรอ่ื งน้ี มที อ่ี ่นื ดว้ ย - ข.ุ เถร.๒๖/๓๓๖/๓๑๗, ข.ุ 2/323/275 (เถรคาถา 5.ปญฺจกนปิ าต 2.สภุ ตู ตฺเถรคาถา) ๕ สคนฺธก (ส.ี สฺยาม. ก. อ.ิ ), ฉบบั สยาม มเี ชงิ อรรถว่า “โป. ม. สคุ นฺธก” ๖ สกุพฺพโต (ส.ี อ.ิ ), ปกุพฺพโต (ส.ี -อฏฺ.), สกุ ุพฺพโต (สฺยาม. ก.)

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เลม่ ๑ ๑๕ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๘. วสิ าขาวตฺถุ เรอื่ งนางวสิ าขา (๔๐) 2 ๕๓. ยถาปิ ปปุ ผฺ ราสิมหฺ า กยิรา มาลาคเุ ณ พห;ู 3 เอวํ ชาเตน มจเฺ จน กตตฺ พพฺ ํ กสุ ลํ พห.ํุ 4 จากกองดอกไมส้ ามารถทาพวงดอกไมไ้ ดม้ าก ฉนั ใด 5 คนผเู้ กดิ มาแลว้ ควรทากุศลใหม้ าก ฉนั นนั้ 6 7 ๙. อานนฺทตฺเถรปญฺหาวตฺถุ เรอื่ งคาถามของพระอานันทเถระ (๔๑) 8 ๕๔. ๑น ปปุ ผฺ คนฺโธ ปฏิวาตเมติ น จนฺทนํ ตครมลลฺ ิกา๒ วา; 9 สตญจฺ คนฺโธ ปฏิวาตเมติ สพพฺ า ทิสา สปปฺ รุ ิโส ปวายติ. 10 กลน่ิ ดอกไมไ้ มไ่ ปทวนลม แก่นจนั ทน์หรอื กฤษณาและมะลกิ ไ็ มไ่ ป 11 แต่กลนิ่ ศลี ของคนดที งั้ หลายไปทวนลมได้ คนดขี จรไปทวั่ ทุกทศิ 12 ๕๕. จนฺทนํ ตครํ วาปิ อปุ ปฺ ลํ อถ วสสฺ ิกี; 13 เอเตสํ คนฺธชาตานํ สีลคนฺโธ อนุตฺตโร. 14 แก่นจนั ทน์ หรอื แมก้ ฤษณา อุบล อกี ทงั้ มะลิ 15 บรรดากลน่ิ ธรรมชาตเิ หล่าน้ี กลนิ่ ศลี เยย่ี มยงิ่ กว่า 16 17 ๑๐. มหากสฺสปตฺเถรปิณฺฑปาตทนิ ฺนวตฺถุ เรอื่ งการถวายบณิ ฑาตพระมหากสั สปเถระ (๔๒) 18 ๕๖. อปปฺ มตโฺ ต อยํ คนฺโธ ยายํ ตครจนฺทนี๓; 19 โย จ สีลวตํ คนฺโธ วาติ เทเวสุ๔ อตุ ตฺ โม. 20 กลนิ่ น้ีมปี รมิ าณน้อยคอื กฤษณาและแก่นจนั ทน์ 21 แต่กลนิ่ ของผมู้ ศี ลี ทงั้ หลายนนั้ เป็นเลศิ หอมไปในหมเู่ ทพและมนุษย์ 22 23 ๑ มที อ่ี น่ื ดว้ ย - องฺ.ตกิ .๒๐/๕๑๙(๘๐)/๒๙๑, อ.1/80/227 (ตกิ นิปาต 2.ทุตยิ ปณฺณาสก 3.อานนฺทวคฺค 9.คนฺธชาตสตุ ฺต), ใน พระสตู รมี ๑ คาถาแรกน้ี ๒ ตคฺครมลฺลกิ า (ก.), เมอื่ เป็น “ตคฺครมลฺลกิ า” ตาม (ก.) จะตรงกบั รปู แบบของ “อุเปนฺทวชริ า” ๓ ยฺวาย ตครจนฺทน (ก.), ในธมฺมปทฏฺฅกถา ฉบบั ฉฏั ฐะกเ็ ป็นเหมอื นเชงิ อรรถน้ี และมเี ชงิ อรรถไวว้ า่ “ยาย ตครจนฺทนี (ส.ี )” ๔ คาว่า “เทเวสุ” น้ี ในธมฺมปทฏฺฅกถา แปลบาฬีเป็นบาฬีไวว้ ่า “เทเวสุ จ มนุสฺเสสุ จ” (ในหมู่เทพและในหมู่มนุษย์) ในทาง ไวยากรณ์เรยี กว่าเป็น “วิรเู ปกเสส” (เหลอื หนงึ่ คาจากคาทตี่ ่างกนั )

ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท เล่ม ๑ ๑๖ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๑๑. โคธกิ ตฺเถรปรนิ ิพฺพานวตฺถุ เรอื่ งการนพิ พานของพระโคธกิ เถระ (๔๓) 2 ๕๗. เตสํ สมปฺ นฺนสีลานํ อปปฺ มาทวิหารินํ; 3 สมมฺ ทญฺฃา วิมุตตฺ านํ มาโร มคคฺ ํ น วินฺทติ. 4 มารไมพ่ บทางของผมู้ ศี ลี ถงึ พรอ้ มแลว้ เหลา่ นนั้ 5 ซง่ึ เป็นผอู้ ยดู่ ว้ ยความไมป่ ระมาทเสมอ พน้ ดแี ลว้ เพราะรชู้ อบ 6 7 ๑๒. ครหทนิ ฺนวตฺถุ เรอื่ งนายครหทนิ น์ (๔๔) 8 ๕๘. ยถา สงฺการธานสมฺ ิํ๑ อชุ ฺฌิตสมฺ ิํ มหาปเถ; 9 ปทุมํ ตตถฺ ชาเยถ สจุ ิคนฺธํ มโนรม.ํ 10 ทก่ี องขยะซง่ึ ทง้ิ ไวใ้ กลท้ างใหญ่ 11 ดอกบวั เกดิ ทบ่ี รเิ วณนนั้ มกี ลน่ิ ดเี ป็นทช่ี ่นื ใจ ฉนั ใด 12 ๕๙. เอวํ สงฺการภเู ตสุ อนฺธภเู ต๒ ปถุ ชุ ฺชเน; 13 อติโรจติ ปญฃฺ าย สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สาวโก. 14 ในผคู้ นทงั้ หลายซง่ึ เป็นเช่นกองขยะ 15 สาวกของพระสมั มาสมั พุทธเจา้ 16 มปี ญั ญาโดดเด่นเกนิ ปถุ ุชนผมู้ ดื บอดทงั้ หลาย ฉนั นนั้ 17 18 ปปุ ผฺ วคโฺ ค จตตุ ฺโถ. 19 น่เี ป็นปปุ ผวคั ค์ ซง่ึ เป็นวคั คท์ ส่ี ่ี 20 21 ๛๛ 22 23 24 25 26 27 ๑ สงฺการฅานสฺมิํ (ก.) ๒ อนฺธภี เู ต (ก.)

ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท เล่ม ๑ ๑๗ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๕. พาลวคฺค พาลวคั ค์ 2 ๑. อญฺฃตรปรุ สิ วตฺถุ เรอื่ งชายคนหนงึ่ (๔๕) 3 ๖๐. ทีฆา ชาครโต รตฺติ ทีฆํ สนฺตสสฺ โยชนํ; 4 ทีโฆ พาลาน สสํ าโร สทฺธมมฺ ํ อวิชานต.ํ 5 กลางคนื ของผตู้ ่นื อย่ยู าวนาน โยชน์ของคนอ่อนลา้ ยาวไกล 6 การเวยี นว่ายตายเกดิ ของพวกคนพาลซง่ึ ไมร่ สู้ จั จธมั มย์ าวยงิ่ นกั 7 8 ๒. มหากสฺสปตฺเถรสทฺธวิ หิ ารกิ วตฺถุ เรอื่ งสทั ธวิ หิ ารกิ ของพระมหากสั สปะ (๔๖) 9 ๖๑. จรญเฺ จ นาธิคจเฺ ฉยยฺ เสยฺยํ สทิสมตตฺ โน; 10 เอกจริย๑ํ ทฬฺหํ กยิรา นตถฺ ิ พาเล สหายตา. 11 หากกาลงั คดิ เทย่ี วหา ไมพ่ บผปู้ ระเสรฐิ กว่า หรอื เสมอกบั ตน 12 ควรเทย่ี วไปคนเดยี วใหม้ นั่ คง 13 สงิ่ ทเ่ี ป็นเพ่อื นคอื คณุ ธมั มค์ วามดไี มม่ ใี นคนพาล 14 15 ๓. อานนฺทเสฏฺฅวิ ตฺถุ เรอื่ งเศรษฐชี อื่ อานนั ทะ (๔๗) 16 ๖๒. ปตุ ฺตา มตฺถิ ธนํ มตถฺ ิ๒ อิติ พาโล วิหญฺฃติ; 17 อตตฺ า หิ อตฺตโน นตฺถิ กโุ ต ปตุ ฺตา กโุ ต ธนํ. 18 “ลกู ๆ ของเรามี ทรพั ยข์ องเราม”ี คนพาลเดอื ดรอ้ นอยา่ งน้ี 19 ตนของตนยงั ไมม่ เี ลย แลว้ ไหนละลกู ไหนละทรพั ย์ 20 21 ๔. คณฺฅเิ ภทกโจร๓วตฺถุ เรอื่ งโจรผทู้ าลายขมวดผา้ (๔๘) 22 ๖๓. โย พาโล มญฺฃติ พาลฺยํ ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส; 23 พาโล จ ปณฺฑิตมานี ส เว ‘‘พาโล’’ติ วจุ จฺ ติ. 24 พาลคนใดรถู้ งึ ความไมฉ่ ลาดทมี่ ี เพราะการรนู้ นั้ เขาพอเป็นบณั ฑติ ไดบ้ า้ ง 25 สว่ นคนพาลทส่ี าคญั ผดิ คดิ วา่ ตนเป็นบณั ฑติ เขาเรยี กวา่ “พาล” โดยแท้ 26 ๑ เอกจฺจรยิ (ก.) ๒ ปตุ ฺตมตฺถิ ธนมตฺถิ (ก.) ๓ แปลตามคาไดว้ ่า “โจรผทู้ าลายขมวดผา้ ” ขมวดผา้ เป็นทซี่ ุกใส่เงนิ ไว้ เรยี กตามยุคปจั จบุ นั ไดว้ า่ “โจรลว้ งกระเป๋ า”

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เลม่ ๑ ๑๘ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๕. อุทายติ ฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระอุทายเี ถระ (๔๙) 2 ๖๔. ยาวชีวมปฺ ิ เจ พาโล ปณฺฑิตํ ปยิรปุ าสติ; 3 น โส ธมมฺ ํ วิชานาติ ทพพฺ ี สปู รสํ ยถา. 4 ถา้ คนพาลเขา้ ไปนงั่ อยใู่ กลบ้ ณั ฑติ แมต้ ลอดชวี ติ 5 เขายอ่ มไม่รแู้ จง้ ธมั ม์ เหมอื นทพั พไี ม่รรู้ สแกง 6 7 ๖. ตสึ มตฺตปาเวยฺยกภกิ ฺขวุ ตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุปาเวยยกะจานวน ๓๐ รปู (๕๐) 8 ๖๕. มหุ ตุ ตฺ มปิ เจ วิญญฺ ู ปณฺฑิตํ ปยิรปุ าสติ; 9 ขิปปฺ ํ ธมมฺ ํ วิชานาติ ชิวฺหา สปู รสํ ยถา. 10 ถา้ คนรเู้ ขา้ ไปนงั่ อยใู่ กลบ้ ณั ฑติ แมค้ รเู่ ดยี ว 11 เขายอ่ มรแู้ จง้ ธมั มไ์ ดฉ้ บั พลนั เหมอื นลน้ิ รรู้ สแกง 12 13 ๗. สปุ ปฺ พทุ ฺธกุฏฺฅวิ ตฺถุ เรอื่ งคนเป็นโรคเรอ้ื นชอื่ สุปปพุทธะ (๕๑) 14 ๖๖. ๑จรนฺติ พาลา ทุมเฺ มธา อมิตเฺ ตเนว อตตฺ นา; 15 กโรนฺตา ปาปกํ กมมฺ ํ ยํ โหติ กฏุกปผฺ ล.ํ 16 พวกคนพาล มปี ญั ญาทราม เทย่ี วทากรรมชวั่ ซง่ึ มผี ลเผด็ รอ้ นดว้ ยตนเอง 17 เหมอื นไมเ่ ป็นมติ รกบั ตนเอง 18 19 ๘. กสฺสกวตฺถุ เรอื่ งชาวนา (๕๒) 20 ๖๗. ๒น ตํ กมมฺ ํ กตํ สาธุ ยํ กตวฺ า อนุตปปฺ ติ; 21 ยสสฺ อสสฺ มุ โุ ข โรทํ วิปากํ ปฏิเสวติ. 22 ทากรรมใดแลว้ เดอื ดรอ้ นภายหลงั มหี น้าชุ่มน้าตา 23 รอ้ งไหเ้ สพเสวยผลของกรรมใด กรรมนนั้ ทาแลว้ ไมด่ ี 24 25 26 27 ๑ มที อ่ี ่นื ดว้ ย - ข.ุ 10/91/110 (เนตฺติ 4.ปฏนิ ิทฺเทสวาร), ในเนตตมิ เี ชงิ อรรถที่“กฏุกปผฺ ล” วา่ “กฏก ผล (ก.)” ๒ ทเี่ ดยี วกบั เชงิ อรรรถ ๑

ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท เลม่ ๑ ๑๙ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๙. สมุ นมาลาการวตฺถุ เรอื่ งช่างมาลยั ชอื่ สมุ นะ (๕๓) 2 ๖๘. ตญจฺ กมมฺ ํ กตํ สาธุ ยํ กตวฺ า นานุตปปฺ ติ; 3 ยสสฺ ปตีโต สมุ โน วิปากํ ปฏิเสวติ. 4 ทากรรมใดแลว้ ไมเ่ ดอื ดรอ้ นภายหลงั รสู้ กึ เอบิ อมิ่ 5 มใี จงดงามเสวยผลของกรรมใด กก็ รรมนนั้ ทาแลว้ ดี 6 7 ๑๐. อุปปฺ ลวณฺณตฺเถรวี ตฺถุ เรอื่ งพระนางอุบลวณั ณาเถรี (๕๔) 8 ๖๙. มธํวุ า๑ มญฃฺ ติ พาโล ยาว ปาปํ น ปจจฺ ติ; 9 ยทา จ ปจจฺ ติ ปาปํ อถ๒ ทกุ ขฺ ํ นิคจฉฺ ติ. 10 คนพาลสาคญั ผดิ คดิ วา่ เป็นน้าหวาน เท่าทบ่ี าปยงั ไมใ่ หผ้ ล 11 แต่เมอ่ื ใดบาปใหผ้ ล ตอนนัน้ ยอ่ มประสบทกุ ข์ 12 13 ๑๑. ชมฺพกุ ตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระชมั พุกเถระ (๕๕) 14 ๗๐. มาเส มาเส กสุ คฺเคน พาโล ภญุ เฺ ชยฺย โภชนํ; 15 น โส สงฺขาตธมมฺ านํ๓ กลํ อคฆฺ ติ โสฬสํิ. 16 ผไู้ มร่ จู้ รงิ บรโิ ภคอาหารดว้ ยปลายหญ้าคาในแต่ละเดอื น 17 เขาไม่มคี ่าเทา่ กบั หน่งึ ใน ๑๖ เสย้ี วของผมู้ ธี รรมซง่ึ กาหนดนบั ได้ 18 19 ๑๒. อหเิ ปตวตฺถุ เรอื่ งเปรตงู (๕๖) 20 ๗๑. ๔น หิ ปาปํ กตํ กมมฺ ํ สชฺชุขีรวํ มจุ ฺจติ; 21 ฑหนฺตํ พาลมเนฺวติ ภสมฺ จฉฺ นฺโนว๕ ปาวโก. 22 กก็ รรมชวั่ ทท่ี าแลว้ ยงั ไมแ่ ปรไปใหผ้ ล เหมอื นน้านมสดยงั ไมเ่ ปรย้ี ว 23 กรรมชวั่ ตามเผาคนพาล เหมอื นไฟมขี เ้ี ถา้ กลบอยู่ 24 25 ๑ มธุวา (สพฺพตฺถ) (ทวั่ ไปพบเป็น “มธุวา”) ๒ อถ พาโล (ส.ี สฺยาม.), พาโล (ก.) ๓ สงฺขตธมฺมาน (ส.ี อ.ิ ก.) ๔ มที อ่ี น่ื ดว้ ย - ข.ุ 10/112/140 (เนตฺติ 4.ปฏนิ ทิ ฺเทสวาร สาสนปฏฺฅาน), ในเนตตมิ เี ชงิ อรรถที่“ฑหนฺต” ว่า “ทหนฺต (ส.ี ก.)” ๕ ภสฺมาฉนฺโนว (สฺยาม. อ.ิ ก.), เชงิ อรรถในฉบบั ฉฏั ฐะเป็นเชน่ น้ี แต่ในฉบบั สยามเป็น “ภสฺมาจฉฺ นฺโนว”

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เล่ม ๑ ๒๐ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๑๓. สฏฺฅกิ ูฏเปตวตฺถุ เรอื่ งเปรตสฏั ฐกิ ฏู ะ (๕๗) 2 ๗๒. ยาวเทว อนตฺถาย ฃตตฺ ๑ํ พาลสสฺ ชายติ; 3 หนฺติ พาลสสฺ สกุ ฺกสํ ํ มทุ ฺธมสสฺ วิปาตย.ํ 4 ความรคู้ วามมชี อ่ื เสยี งเกดิ กบั คนพาล เพยี งแค่เพอ่ื ไมเ่ ป็นประโยชน์ 5 ฆา่ ส่วนสะอาดของคนพาล ทาใหห้ วั คดิ ของเขาตกไป 6 7 ๑๔. จติ ฺตคหปตวิ ตฺถุ เรอื่ งคหบดชี อื่ จติ ตะ (๕๘) 8 ๗๓. อสนฺตํ ภาวนมิจเฺ ฉยฺย๒ ปเุ รกขฺ ารญจฺ ภิกขฺ สุ ;ุ 9 อาวาเสสุ จ อิสสฺ ริยํ ปชู า ปรกเุ ลสุ จ. 10 ภกิ ษุพาลปรารถนาการยกย่องสงิ่ ทต่ี นไม่มี 11 รวมทงั้ การแวดลอ้ มในหม่ภู กิ ษุ ความเป็นใหญ่ในอาวาสทงั้ หลาย 12 และการบูชาในตระกลู อ่นื ๆ 13 ๗๔. มเมว กต มญฃฺ นฺตุ คิหี ปพพฺ ชิตา อโุ ภ; 14 มเมวาติวสา อสสฺ ุ กิจจฺ ากิจเฺ จสุ กิสมฺ ิจิ; 15 อิติ พาลสสฺ สงฺกปโฺ ป อิจฉฺ า มาโน จ วฑฒฺ ติ. 16 “พวกชาวบา้ นและบรรพชติ ทงั้ สองฝา่ ย 17 จงเขา้ ใจว่าสง่ิ ทท่ี าเสรจ็ แลว้ เป็นเราเท่านนั้ 18 ในกจิ น้อยใหญ่ ในกจิ อะไรๆ พวกเขาตอ้ งเป็นผอู้ ยใู่ นอานาจของเราเทา่ นนั้ ” 19 ความคดิ เกดิ กบั ภกิ ษุพาลอยา่ งน้ี ทงั้ ความตอ้ งการและความถอื ตวั กเ็ พม่ิ ขน้ึ 20 21 22 23 24 25 26 ๑ ฃาตฺต (?) ๒ อสนฺต ภาวมจิ ฺเฉยฺย (สฺยาม.), อสนฺตภาวนมจิ ฺเฉยฺย (ก.), [ในพระบาฬรี วมทงั้ อฏั ฐกถา ฉบบั สยาม ซงึ่ เป็น “ภาวมจิ ฺเฉยฺย” นนั้ มเี ชงิ อรรถวา่ “โป. ม. ย.ุ ภาวนมจิ ฺเฉยฺย” (โป. หมายถงึ ฉบบั เดมิ ของสยาม)]

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เลม่ ๑ ๒๑ พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕/๒ 1 ๑๕. วนวาสติ สิ ฺสสามเณรวตฺถุ เรอื่ งสามเณรตสิ สะผอู้ ย่ปู า่ (๕๙) 2 ๗๕. อญฃฺ า หิ ลาภปู นิสา อญฃฺ า นิพพฺ านคามินี; 3 เอวเมตํ อภิญฃฺ าย ภิกฺขุ พทุ ธฺ สสฺ สาวโก; 4 สกฺการํ นาภินนฺเทยยฺ วิเวกมนุพฺรหู เย. 5 การปฏบิ ตั อิ งิ ลาภเป็นอย่างอ่นื เลย 6 การปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ พระนพิ พานเป็นอกี อย่าง 7 ภกิ ษุสาวกของพระพุทธเจา้ ทราบชดั การปฏบิ ตั นิ นั้ อยา่ งน้แี ลว้ 8 ไมค่ วรยนิ ดสี กั การะ ควรเพม่ิ พนู วเิ วกเนืองๆ 9 10 พาลวคโฺ ค ปญฺจโม. 11 น่เี ป็นพาลวคั ค์ ซง่ึ เป็นวคั คท์ ห่ี า้ 12 13 ๛๛ 14 15 ๖. ปณฺฑิตวคฺค ปณั ฑติ วคั ค์ 16 ๑. ราธตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระราธเถระ (๖๐) 17 ๗๖. นิธีนํว ปวตฺตารํ ยํ ปสเฺ ส วชฺชทสสฺ ินํ; 18 นิคคฺ ยฺหวาทิํ เมธาวิํ ตาทิสํ ปณฺฑิตํ ภเช; 19 ตาทิสํ ภชมานสสฺ เสยฺโย โหติ น ปาปิ โย. 20 ควรมองดผู มู้ ปี ญั ญากล่าวสอนชโ้ี ทษ วา่ เป็นผบู้ อกขมุ ทรพั ย์ 21 ควรคบบณั ฑติ เช่นนนั้ เมอ่ื คบบณั ฑติ เช่นนนั้ มดี กี วา่ แน่ ไมแ่ ยก่ วา่ 22 23 ๒. อสฺสชปิ นุ พฺพสกุ วตฺถุ เรอื่ งพระอสั สชแิ ละพระปนุ ัพพสกุ ะ (๖๑) 24 ๗๗. โอวเทยฺยานุสาเสยยฺ อสพภฺ า จ นิวารเย; 25 สตํ หิ โส ปิ โย โหติ อสตํ โหติ อปปฺ ิ โย. 26 ผใู้ ดว่ากลา่ วสงั่ สอนและหา้ มจากอกุศล 27 ผนู้ นั้ แหละเป็นทร่ี กั ของพวกคนดี ไมเ่ ป็นทร่ี กั ของพวกคนไมด่ ี 28 29

ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท เล่ม ๑ ๒๒ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๓. ฉนฺนตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระฉนั นเถระ (๖๒) 2 ๗๘. น ภเช ปาปเก มิตฺเต น ภเช ปรุ ิสาธเม; 3 ภเชถ มิตฺเต กลยฺ าเณ ภเชถ ปรุ ิสตุ ฺตเม. 4 ไมค่ วรคบพวกเพ่อื นชวั่ ไม่ควรคบพวกคนต่าทราม 5 ควรคบพวกเพอ่ื นดี ควรคบพวกคนสงู ส่ง 6 7 ๔. มหากปปฺ ินตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระมหากปั ปินเถระ (๖๓) 8 ๗๙. ธมมฺ ปี ติ สขุ ํ เสติ วิปปฺ สนฺเนน เจตสา; 9 อริยปปฺ เวทิเต ธมเฺ ม สทา รมติ ปณฺฑิโต. 10 ผไู้ ดด้ ่มื ธมั มม์ ใี จผ่องใสยอ่ มนอนเป็นสขุ 11 บณั ฑติ ยนิ ดธี มั มท์ พ่ี ระอรยิ เจา้ ประกาศไวเ้ สมอ 12 13 ๕. ปณฺฑติ สามเณรวตฺถุ เรอื่ งสามเณรชอื่ ปณั ฑติ ะ (๖๔) 14 ๘๐. ๑อทุ กํ หิ นยนฺติ เนตฺติกา อสุ กุ ารา นมยนฺติ๒ เตชนํ; 15 ทารุํ นมยนฺติ๒ ตจฉฺ กา อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา. 16 คนชกั น้าต่างชกั น้า ช่างศรต่างดดั ศร 17 ชา่ งถากต่างถากไม้ บณั ฑติ ทงั้ หลายต่างฝึกตน 18 19 ๖. ลกุณฺฑกภทฺทยิ ตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระลกุณฑกภทั ทยิ เถระ (๖๕) 20 ๘๑. เสโล ยถา เอกฆโน๓ วาเตน น สมีรติ; 21 เอวํ นินฺทาปสสํ าสุ น สมิญชฺ นฺติ๔ ปณฺฑิตา. 22 ภเู ขาหนิ เป็นอนั เดยี วกนั ทบึ ตลอด ไมส่ นั่ ไหวเพราะลม ฉนั ใด 23 บณั ฑติ ทงั้ หลายไมห่ วนั่ ไหวเพราะนินทาและสรรเสรญิ ฉนั นนั้ 24 ๑ มที อ่ี น่ื ดว้ ย - ข.ุ ธ.๒๕/๒๐/๓๔, ข.ุ 1/145/35 (ธมฺมปท 10.ทณฺฑวคฺค 11.สขุ สามเณรวตฺถุ); ข.ุ เถร.๒๖/๑๕๖/๒๖๔ (๙.กุฬตฺเถร), ข.ุ 2/92/224 (เถรคาถา 1.เอกกนิปาต 2.ทุตยิ วคฺค 9.กุลตฺเถรคาถา); ข.ุ เถร.๒๖/๓๙๒/๓๘๙, ข.ุ 2/877/334 (เถรคาถา 16.วสี ตนิ ปิ าต 8.องฺคลุ มิ าลตฺเถรคาถา) ๒ ทมยนฺติ (ก.) ๓ เอกคฺฆโน (ก.) ๔ สมฺมญิ ฺชนฺติ (สฺยาม.) ส่วนในธมฺมปทฏฺฅกถา ฉบบั สยาม เป็น “สมญิ ฺชนฺต”ิ

ขทุ ทกนกิ าย ธมั มบท เลม่ ๑ ๒๓ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๗. กาณมาตาวตฺถุ๑ เรอื่ งแม่ของนางกาณา (๖๖) 2 ๘๒. ยถาปิ รหโท คมภฺ ีโร วิปปฺ สนฺโน อนาวิโล; 3 เอวํ ธมมฺ านิ สตุ ฺวาน วิปปฺ สีทนฺติ ปณฺฑิตา. 4 หว้ งน้าลกึ ใสไมข่ ุ่น ฉนั ใด เมอ่ื ฟงั ธมั มแ์ ลว้ บณั ฑติ ทงั้ หลายผอ่ งใส ฉนั นนั้ 5 6 ๘. ปญฺจสตภกิ ฺขวุ ตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุ ๕๐๐ รปู (๖๗) 7 ๘๓. สพพฺ ตถฺ เว สปปฺ รุ ิสา จชนฺติ น กามกามา ลปยนฺติ สนฺโต; 8 สเุ ขน ผฏุ ฺฅา อถ วา ทเุ ขน๒ น อจุ ฺจาวจ๓ํ ปณฺฑิตา ทสสฺ ยนฺติ. 9 สนั ตบรุ ษุ ต่างสละทุกอยา่ งเลย สนั ตชนต่างไมเ่ อ่ยเพราะตอ้ งการกาม 10 ถกู สขุ หรอื ทุกขก์ ระทบแลว้ บณั ฑติ ทงั้ หลายต่างไมแ่ สดงอาการขน้ึ ลง 11 12 ๙. ธมฺมกิ ตฺเถรวตฺถุ เรอื่ งพระธมั มกิ เถระ (๖๘) 13 ๘๔. น อตฺตเหตุ น ปรสสฺ เหตุ น ปตุ ฺตมิจเฺ ฉ น ธนํ น รฏฺฅํ; 14 น อิจเฺ ฉยฺย๔ อธมเฺ มน สมิทฺธิมตฺตโน ส สีลวา ปญฺฃวา ธมมฺ ิโก สิยา. 15 ไมท่ าชวั่ เพราะตน ไมท่ าเพราะคนอ่นื 16 ไมต่ อ้ งการบตุ ร ทรพั ย์ รฐั โดยการทาชวั่ 17 ไมต่ อ้ งการความสาเรจ็ เพ่อื ตนอยา่ งไมเ่ ป็นธมั ม์ 18 ผนู้ นั้ เป็นผมู้ ศี ลี มปี ญั ญา ตงั้ อยใู่ นธมั ม์ 19 20 ๑๐. ธมฺมสฺสวนวตฺถุ เรอื่ งการฟงั ธมั ม์ (๖๙) 21 ๘๕. ๕อปปฺ กา เต มนุสเฺ สสุ เย ชนา ปารคามิโน; 22 อถายํ อิตรา ปชา ตีรเมวานุธาวติ. 23 ในหม่มู นุษย์ พวกชนผถู้ งึ ฝงั่ นนั้ มนี ้อย ส่วนผคู้ นนอกน้วี งิ่ ตามตลงิ่ เท่านนั้ ๑ ในธมฺมปทฏฺฅกถา ฉบบั ฉฏั ฐะ เรยี กชอื่ ไวว้ ่า “กาณมาตุวตฺถุ” ๒ ทุกฺเขน (สฺยาม. ทงั้ ในพระบาฬแี ละอฏั ฐกถา) สว่ นทเี่ ป็น “ทเุ ขน” นนั้ คมั ภรี ส์ ทั ทนตี ิ สตู ร ๑๓๕ กล่าวว่าเป็นไดใ้ นคาถา ๓ โนจฺจาวจ (ส.ี -อฏฺ.) ๔ นยจิ ฺเฉ (อ.ิ ), นจิ ฺเฉ (?) [โดยมองทรี่ ปู แบบของ “อนิ ฺทวสา”] ๕ คาถา ข้อ ๘๕-๘๖-๘๗-๘๘-๘๙ มีท่ีอ่ืนด้วย - องฺ.ทสก.๒๔/๑๑๗-๘/๒๕๐-๑ (๕.สคารวสุตฺต), อ.3/117-8/445-6 (ทสกนิปาต 3.ตตยิ ปณฺณาสก 2.ปจฺโจโรหณวิ คฺค 5.สงฺคารวสุตฺต และ 6.โอรมิ ตรี สุตฺต); องฺ.ทสก.๒๔/๑๕๘-๙/๒๗๑-๓ (๓.สคารวสุตฺต), อ.3/169-170/463-4 (ทสกนิปาต 4.จตุตฺถปณฺณาสก 2.ชาณุสฺโสณิวคฺค 3.สงฺคารวสุตฺต และ 4.โอรมิ สตุ ฺต)

ขทุ ทกนิกาย ธมั มบท เลม่ ๑ ๒๔ พระไตรปิฎก เลม่ ๒๕/๒ 1 ๘๖. เย จ โข สมมฺ ทกฺขาเต ธมเฺ ม ธมมฺ านุวตฺติโน; 2 เต ชนา ปารเมสสฺ นฺติ มจจฺ เุ ธยฺยํ สทุ ตุ ตฺ ร.ํ 3 กพ็ วกใดเป็นผดู้ าเนินตามธมั มใ์ นคาสอนทก่ี ล่าวไวถ้ กู ตอ้ งแลว้ 4 ชนพวกนนั้ จะถงึ ฝงั่ ขา้ มพน้ แหล่งมารซง่ึ ขา้ มไดย้ ากยงิ่ 5 6 ๑๑. ปญฺจสตอาคนฺตุกภกิ ฺขุวตฺถุ เรอื่ งภกิ ษุอาคนั ตุกะ ๕๐๐ รปู (๗๐) 7 ๘๗. กณฺหํ ธมมฺ ํ วิปปฺ หาย สกุ ฺกํ ภาเวถ ปณฺฑิโต; 8 โอกา อโนกมาคมมฺ วิเวเก ยตฺถ ทูรม.ํ 9 บณั ฑติ ควรเจรญิ ธมั มข์ าว โดยละธมั มด์ า 10 จากแหล่งทม่ี อี าลยั มาส่ธู มั มท์ ไ่ี มม่ อี าลยั 11 ในวเิ วกใดซง่ึ ยนิ ดไี ดย้ าก… 12 ๘๘. ตตรฺ าภิรติมิจเฺ ฉยฺย หิตวฺ า กาเม อกิญจฺ โน; 13 ปริโยทเปยยฺ ๑ อตฺตานํ จิตฺตเกฺลเสหิ ปณฺฑิโต. 14 ควรปรารถนาความยนิ ดยี งิ่ ในวเิ วกนนั้ ละกามทงั้ หลายแลว้ 15 หมดความกงั วล บณั ฑติ ควรทาตนใหผ้ ่องแผว้ จากสง่ิ หมองของใจ 16 ๘๙. เยสํ สมโฺ พธิยงฺเคสุ สมมฺ า จิตฺตํ สภุ าวิต;ํ 17 อาทานปฏินิสสฺ คเฺ ค อนุปาทาย เย รตา; 18 ขีณาสวา ชุติมนฺโต๒ เต โลเก ปรินิพพฺ ตุ า. 19 จติ ทบ่ี คุ คลเหลา่ ใดอบรมดแี ลว้ อยา่ งถูกตอ้ งในองคแ์ ห่งการตรสั รู้ 20 บคุ คลเหล่าใดไมถ่ อื มนั่ แลว้ ยนิ ดใี นการละความถอื มนั่ 21 บคุ คลเหลา่ นนั้ เป็นผสู้ น้ิ อาสวะ มคี วามรงุ่ เรอื ง ดบั สนิทแลว้ ในโลก 22 23 ปณฺฑิตวคโฺ ค ฉฏฺโฅ. 24 น่เี ป็นปณั ฑติ วคั ค์ ซง่ึ เป็นวคั คท์ ห่ี ก 25 26 ๛๛ ๑ ปรโิ ยทาเปยฺย (?) [กรณที มี่ ี “ปรโิ ย” นาหน้า แมม้ ี ณาเป ปจั จยั อย่ดู ว้ ย พบเสยี งหน้า ป เป็น อ กม็ ี เช่น สจติ ฺตปรโิ ยทปน (โอวาทปาตโิ มกข์ ในทฆี นกิ าย มหาวคั ค์ มหาปทานสตู ร, คาถาธมั มบท ขอ้ ๑๘๓), แต่ในเนตตพิ บเป็น “สจติ ฺตปรโิ ยทาปน”] ๒ ในองั คุตตรนิกาย ฉบบั ฉฏั ฐะ [อ.3/117/446 (ทสกนิปาต 3.ตตยิ ปณฺณาสก 2.ปจฺโจโรหณิวคฺค 5.สงฺคารวสุตฺต] มเี ชงิ อรรถ ว่า “ชตุ มี นฺโต (ส.ี )”

1 ประกาศอนโุ มทนา 2 ผูบ้ ริจาคทุนพิมพพ์ ระคัมภีร์ในโครงการจัดสร้างพระไตรปฎิ ก อรรถกถา ฎกี า บาฬ-ี ไทย 3 “ขุททกนิกาย ธมั มบท” (พระไตรปฎิ ก เล่ม ๒๕/๒) 4 ~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~ 5 ภิกษุณรี ตน ธมั มเมธา อทุ ิศแดค่ ณุ แม่ยู้ แซก่ ัว และสรรพสัตวท์ ั้งหลาย ๑,๐๐๐- 6 แมช่ ีสมคดิ มงคลโอภาสสกลุ ๕๐๐- 7 แมช่ ีธนภทั ร รกั ประดษิ ฐ์ อุทศิ แดค่ ุณแม่เพลนิ ณ นคร และญาตทิ ้ังหลาย ๓๐๐- 8 ทุนอทุ ศิ คณุ พอ่ บุญเรอื ง จันทรส์ งคราม ๑๐,๐๐๐- 9 คุณศรีสวุ ฒั น์ เอี่ยมเจริญ ๙,๘๐๐- 10 พลอากาศตรหี ญงิ เสาวภา - คณุ พรี ภรณ์ สุปการ ๑,๐๐๐- 11 คณุ ประภาศร รกั ศรอี กั ษร ๑,๐๐๐-, คณุ พมิ พพ์ ฒั น์ รกั ศรอี กั ษร ๑,๐๐๐- 12 คณุ สมชาย รกั ศรอี ักษร ๑,๐๐๐- คณุ นิคม รกั ศรอี กั ษร ๑,๐๐๐- 13 คุณแม่เหมอื น จันทรส์ งคราม ๑,๐๐๐-, คณุ ชมภนู ชุ อนนั ตม์ นตรี ๑,๐๐๐- 14 คณุ ครมู ลั ลิกา ขดั สาย ๑,๐๐๐-, คุณสาลนิ ี จนั ทรส์ งคราม ๑,๐๐๐- 15 อาจารย์สารวม สทุ ธสิ าคร ๕๕๐- กองทนุ วิภาวดี ๕๕๐- 16 อาจารย์ ดร.อารรี ตั น์ แพทยน์ เุ คราะห์ ๕๐๐- 17 คุณพรภริ มย์ จันทร์สงคราม ๕๐๐-, คุณรกั ตะวัน จันทร์สงคราม ๕๐๐- 18 คุณพอ่ นฤชล - คณุ แม่สอาด ลว่ิ เฉลมิ วงศ์ และลกู ๆ ๓๐๐- คุณจินตนา เมืองไพศาล ๓๐๐- 19 คณุ บุญเรอื ง สุทธปิ ระภา ๒๐๐- คณุ ชศู รี วรรณโกวฒั น์ ๑๕๐- 20 คุณสุภาพัณณ์ สุทธชิ าโต ๑๕๐- คุณจันทรท์ พิ ย์ สุขะจาติ ๑๐๐- 21 ขออนโุ มทนาทกุ ทา่ นท่ีไดร้ ่วมบริจาคในการสรา้ งกุศลธมั มทานน้ี 22 และ ขออนุโมทนาต่อคณะผบู้ ริจาค เดอื นละ ๒,๐๐๐ บาท 23 เพอ่ื การดาเนินงานของทุนนธิ ิพระบาฬศี กึ ษาธมั มานันทาภชิ าน ดงั นี้ - 24 อาจารย์เบญจางค์ เตยี งพิทักษ์, อาจารย์แววมยรุ ี ราชพัฒน์, คุณนวลมณี กาญจนพิบูลย์ 25 คณุ วไิ ล สีสรรพ,์ คุณกฤษณา สทิ ธิรกั ษ์ และ คุณไตรรงค์ มาลาภิรมย์ 26 ขอกุศลธัมมทานซงึ่ เปน็ ทานอนั เลศิ ท่ีได้รว่ มกนั บาเพ็ญนี้ 27 จงเปน็ เหตุเป็นปจั จยั เกอ้ื กูลสิ่งเลศิ และส่งเสริมเพิ่มพนู ปญั ญาบารมี 28 ตราบจนกระทงั่ ไดบ้ รรลุพระนพิ พานดว้ ยเทอญ 29 อนง่ึ ขออทุ ิศกุศลธมั มทานนแี้ ดบ่ ิดามารดาป่ยู า่ ตายาย 30 แดผ่ ูม้ ีพระคุณทั้งหลาย และแดส่ พั พสัตว์สัพพบุคคล 31 ซง่ึ เปน็ เพ่ือนรว่ มทกุ ข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ดว้ ยกันท้ังหมดทง้ั สิ้น 32 ขอต่างไดร้ ว่ มอนโุ มทนาเพื่อเปน็ ประโยชนเ์ กอ้ื กูลแกต่ น โดยท่ัวหนา้ กนั เถดิ ฯ 33 ๛๛ 34 สำหรบั กำรบริจำคร่วมกุศลในช่วงท่ีได้สง่ ตน้ ฉบบั เขำ้ โรงพิมพ์แลว้ 35 จะพมิ พร์ ำยช่อื ผบู้ รจิ ำคลงในส่วนท้ำยของพระคัมภรี ์ทีจ่ ะพมิ พ์ในโอกำสต่อไป

“สพฺรหฺมกานิ ภกิ ฺขเว ตานิ กุลาน,ิ เยสํ ปตุ ฺตานํ มาตาปิตโร อชฺฌาคาเร ปชู ติ า โหนฺต.ิ สปุพฺพาจรยิ กานิ ภิกฺขเว ตานิ กุลานิ, เยสํ ปุตฺตานํ มาตาปิตโร อชฺฌาคาเร ปูชติ า โหนฺต.ิ สาหุเนยฺยานิ ภกิ ฺขเว ตานิ กุลาน,ิ เยสํ ปตุ ฺตานํ มาตาปิตโร อชฺฌาคาเร ปชู ติ า โหนฺต.ิ ‘พฺรหฺมา’ติ ภกิ ฺขเว มาตาปิตนู ํ เอตํ อธวิ จนํ. ‘ปพุ ฺพาจรยิ า’ติ ภกิ ฺขเว มาตาปิตูนํ เอตํ อธวิ จนํ. ‘อาหเุ นยฺยา’ติ ภกิ ฺขเว มาตาปิตนู ํ เอตํ อธวิ จนํ. ตํ กสิ ฺส เหตุ. พหกุ ารา ภกิ ฺขเว มาตาปิตโร ปตุ ฺตานํ อาปาทกา โปสกา อมิ สฺส โลกสฺส ทสฺเสตาโรต.ิ พฺรหฺมาติ มาตาปิตโร ปพุ ฺพาจรยิ าติ วุจฺจเร; อาหุเนยฺยา จ ปตุ ฺตานํ ปชาย อนุกมฺปกา. ตสฺมา หิ เน นมสฺเสยฺย สกฺกเรยฺย จ ปณฺฑโิ ต; อนฺเนน อถ ปาเนน วตฺเถน สยเนน จ; อุจฺฉาทเนน นฺหาปเนน ปาทานํ โธวเนน จ. ตาย นํ ปารจิ รยิ าย มาตาปิตสู ุ ปณฺฑติ า; อเิ ธว นํ ปสสํ นฺติ เปจฺจ สคฺเค ปโมทต.ิ ” “ดกู ่อนภกิ ษุทงั้ หลาย ตระกูลเหลา่ นนั้ เป็นตระกูลทม่ี พี รหม มคี รคู นแรก มผี คู้ วรบชู า คอื ตระกลู ทม่ี พี อ่ แมซ่ ง่ึ ลกู ๆ ดแู ลปรนนบิ ตั เิ คารพบชู าในเรอื นอาศยั ดกู ่อนภกิ ษุทงั้ หลาย คาํ วา่ ‘พรหม’ ‘ครคู นแรก’ ‘ผคู้ วรบชู า’ น่เี ป็นคาํ เรยี กพอ่ แม่ นนั่ เพราะอะไร ดูก่อนภกิ ษุทงั้ หลาย เพราะพ่อแม่เป็นผู้มอี ุปการะมาก เป็นผู้ฟูมฟกั รกั ษาเล้ยี งดู เป็นผแู้ สดงโลกน้แี ก่ลกู ๆ พอ่ แมผ่ เู้ อน็ ดลู กู ช่อื วา่ เป็นพรหม เป็นครคู นแรก และเป็นผคู้ วรบชู าของลกู ๆ ดงั นัน้ ผู้มีปญั ญาจึงควรนอบน้อมทําดีต่อท่านทัง้ สอง ด้วยข้าว น้ํา ผ้า ท่ีนอน แป้งร่าํ น้ําอบ น้ําอาบ และดว้ ยการลา้ งเทา้ นวดเทา้ เพราะการปรนนิบตั ดิ ูแลพ่อแม่นนั้ ผรู้ ตู้ ่างสรรเสรญิ ลกู ผนู้ นั้ ในชาตนิ ้ีเลย เมอ่ื จากไป ยอ่ มบนั เทงิ ในสวรรค”์ ๛๛ [อ.ํ 1/31/130-1 (ตกิ นิปาต 1.ปฅมปณฺณาสก 4.เทวทตู วคฺค 1.สพฺรหฺมกสตุ ฺต) ฉฏฺฅสงฺคตี ]ิ [องฺ. ตกิ . ๒๐/๔๗๐(๓๑)/๑๖๗-๘ (๑.พฺรหฺมสุตฺต) สฺยามรฏฺฅ]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook