Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 12 ทักษะการเป็นวิทยากร

12 ทักษะการเป็นวิทยากร

Published by dy na, 2019-01-10 09:22:48

Description: 12-ทักษะการเป็นวิทยากร ได๋

Search

Read the Text Version

นางสาวณัฐกฤตา ชยั ตูม นกั ทรพั ยากรบคุ คลปฏบิ ตั กิ าร ศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนลาปาง

วิทยากร คือ บุคคลผู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถในการทาให้ผู้อ่ืนมีความรู้ ความสามารถ โดยการพูดหรือนาเสนอและใช้เทคนิคต่างๆในเร่ืองน้ันๆ ตามท่ีตนต้องการ โดยการถ่ายทอดทาให้ผู้อื่นเกิดความรู้(Knowledge) ความเข้าใจ (Understand) เจตคติ(Attitude) ความสามารถ (Skill)



๑. ทักษะการสร้างบรรยากาศ ต้องสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ ให้มีความเป็นกันเอง อาจจะเร่ิมจากการละลายพฤติกรรม เช่ือมโยงและแก้ไขบรรยากาศในหอ้ งเรียนด้วยเกมส์ เพลงนิทาน การเคลื่อนไหว หรือการเปลี่ยนสถานที่ ขน้ึ อยกู่ บั สถานการณ์

๒. ทกั ษะการเร้าความสนใจ วทิ ยากรต้องเคล่ือนทไ่ี ปตามจดุ ตา่ ง ๆ เพอ่ื สรา้ ง ความสนใจใหแ้ ก่ผฟู้ งั การใชท้ า่ ทางประกอบ เปล่ียนลลี าในการพดู เปลี่ยนประสาทสัมผัส เปน็การเรา้ บรรยากาศในการเรียนรู้ และให้ผฟู้ งั มสี ว่ นรว่ ม โดยการพูด การโต้ตอบและการเคลอ่ื นไหว

๓. ทักษะการสอ่ื สาร ใชน้ ้าเสียงอ่อนโยน มีการกระตุน้ ให้ผู้ฟงั คดิ และผพู้ ูดตอ้ งคิดกอ่ นจะพดู หากผูฟ้ งั ไม่เขา้ ใจให้อธิบายเพิ่ม ไม่ควรตอบโตก้ บั ผฟู้ งัใช้คาถามในการสรา้ งความชัดเจนร่วมกัน การใช้ภาษากายต้องวางตัวใหด้ ี การเคลอ่ื นไหวอย่ามากเกนิ ไป สีหนา้ แววตา ตอ้ งแสดงความเปน็ มติ ร ควรยมิ้ และสบตากับผู้ฟงั ให้ท่วั ถงึ เพือ่ แสดงความใกล้ชิด

คณุ เคยเจอแบบน้ีบา้ งไหม….เลา่ ให้ฟัง = ข้โี ม้ หวะ่ พูดออ้ ม = ดไู มจ่ ริงใจบอกวธิ ี = อวดฉลาด พดู เพราะๆ = ตอแหลฟงั เฉยๆ = ไม่เหน็ ด้วยหรา พูดห้วนๆ = ก้าวร้าวพูดอธบิ าย = เถยี ง พดู มาก = แสดง โชว์พาววไม่อธิบาย = ยอมรบั สินะ พดู นอ้ ย = แลดหู ยิง่ยอม = ออ่ นแอก็แพ้ไป พดู มาก = เปน็ ใบห้ รอ/ ดอกพกิ ุลจะรว่ งแนะนา = เผือก…ไม พดู ไม่รเู้ รอื่ ง = อนั น้ีฝึกกนั ได…๊พดู ตรง = เปน็ คนแรงๆ

๔. ทักษะการเล่าเร่อื ง ต้องเตรียมการใหด้ ีจับจุดสาคญั ของเร่อื งทจี่ ะเลา่ ลาดับการเลา่เรอ่ื ง และทาความเข้าใจ หากมีวสั ดหุ รอือุปกรณ์ประกอบควรให้เหมาะสมกบั เรือ่ งราวเร่ืองเล่าควรสอดแทรกขอ้ คิดทสี่ อดคลอ้ งกับบทเรยี น การใชท้ ่าทางประกอบ น้าเสยี ง สีหน้าอารมณ์ อปุ กรณป์ ระกอบ กระตุ้นผฟู้ ังและทา้ ยสดุ ควรทิ้งท้ายให้ผู้ฟังไดค้ ิดตาม

๕. ทกั ษะการยกตัวอยา่ ง การยกตัวอยา่ งต้องคานึงถึงผฟู้ ัง ยกตัวอยา่ งใหเ้ หมาะสม เข้าใจงา่ ยและเรยี งจากงา่ ยไปหายาก ๖. ทักษะการใช้กระดาน/บอร์ด ควรใช้ กระดานทีส่ ะอาด ปากกาที่ใช้ ไม่ควรหลากสี จนเกินไป ควรมีการฝึกเขียน ฝึกวาด ภาพประกอบใหค้ ุ้นเคย โดยหลกั การ เขยี นควรเน้นเฉพาะคาสาคญั เปน็ หลัก และเนน้ การมีสว่ นร่วมของผู้เรียนด้วย

๗. ทักษะการฟัง นอกจากวิทยากรจะเป็นผู้พูดแล้ว ต้องทาหน้าท่ีเป็นผู้ฟังไปดว้ ย ควรใสใ่ จในการฟัง ใช้ความคิดเพ่ือให้เกิดความกระจ่างทั้งสองฝ่าย ไม่พูดแทรกหากอกี ฝา่ ยกาลงั พดู อย่าด่วนสรุปความคิดผู้อ่ืน ยอมรับความคิดที่หลากหลายและแตกตา่ ง

๘. ทักษะความคิด มีความคดิ สรา้ งสรรค์มจี ินตนาการ สามารถยดื หย่นุ เปิดใจยอมรับความคิดผ้อู นื่ ในทุกสถานการณ์ในขณะเดียวกันกต็ อ้ งรู้จักคิดในเชิงระบบเชงิ เหตผุ ล เพือ่ จับประเดน็ และเช่ือมโยงประเด็นต่าง ๆ เพื่อหาข้อสรปุ ๙. ทักษะการสังเกต เปิดสายตาและ เปิดใจให้กว้าง เพ่ือให้เกิดความเข้าใจ ในผู้ฟัง สนใจส่ิงแวดล้อมรอบ ๆ ตัว และไมด่ ว่ นสรุปสิง่ ตา่ ง ๆ

๑๐. ทักษะการใช้คาถาม ต้องมีการเตรียมตัวล่วงหน้า เพ่ือให้ตรงประเด็น ใช้ภาษาที่กระชับ ชัดเจน ไม่ซับซ้อน และใช้คาถามท่ีไม่หลุดจากเนื้อหา (ยาก ง่ายเจาะจง) ในการถามต้องถามให้คิด ท่ัวถึงและเปน็ คาถามปลายเปิด

๑๑. ทกั ษะการเสริมกาลังใจ ทาได้ทั้งวาจาท่าทาง และรางวัล ควรทาทันที ท่ีเกิดเหตุการณ์ ดคู วามเหมาะสมของสถานการณ์ ไม่ควรบ่อยเกินไป ควรทาให้ทั่วถึง ไม่เกินความเป็นจริง และใหโ้ อกาสผ้ฟู งั คนอืน่ ๆ ด้วย

๑๒. ทกั ษะการสรุปบทเรยี น ควรทาเมอ่ืจบบทเรยี นนนั้ ๆ โดยสรปุ ใจความของบทเรียนแตล่ ะตอน รวมถงึ การฝกึ ปฏิบตั จิ นจบ โดยใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นรว่ มในการสรุปและควรคานึงถึงความสัมพนั ธข์ องจุดประสงค์ของการเรียนรู้ การเช่ือมโยง ผลทไี่ ด้รับสอดคลอ้ งความสนใจ และเช่ือมโยงตอ่ ไปในอนาคต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook