Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เมตตาธรรมพิสุทธิ์ [ebook]

เมตตาธรรมพิสุทธิ์ [ebook]

Published by mozard_mobius, 2020-07-15 05:18:21

Description: เมตตาธรรมพิสุทธิ์ [ebook]

Search

Read the Text Version

เมตอตัมาพธรรพมสิ พุทิสธทุ ์ิ ธ์ิ โครงการตาามมพพรระะดด�ำ าํรริ ิ สสมมเเดดจ็ จ็ พพระอริยวงศาาคคตตญญาาณณ(อ(อมมพฺ พฺ รมรมหหาเาถเรถ)ร) แลแะลสสบะมมทบเเดบทดจ็บาจ็ ทพาพคทรรณคะะสณสะังัสงะฆฆงสรฆรงาฆา์ไชทช์ไทยสสยใกกนใลนลสมสมถหถาหานาาสนกสงั กาังฆราฆปณรปณร์โณิร์คโิคณวาวยิดาดิ ก-ย-๑๑ก๙๙ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัยจัดพมิ พ์เน่ืองในวันคล้ายวันประสูติ มหาวทิ ยสามลเยั ดมจ็หพามรกะุฏอรราชิยววทิ งยศาาลคยั จตดั ญพาิมณพเ์ น(อ่อื งมในพฺ วรันมคหลา้ายเวถันรป)ระสูติ สมสเสมดมเ๒ดจ็เด็จ๖๒พ็จพ๖รพมระะรมถิ อสะถิ ุนสรังนุ ิยังาฆาฆวยยรงรนนศาาชาชพคพสทุตสทุ กธญกลธศาลมักศณมหรักาา(หรชอสาามงั ๒ชสฆฺพ๕ปังร๒๖ฆรม๕ณิ๓หป๖าารเย๓ถิณกร)ายก







เมตตาธรรมปรารภ โลโกปตถฺ มภฺ กิ า เมตฺตา เมตตาธรรมค�ำ้ จุนโลก การเก้ือกูลกันด้วยเมตตาธรรมของพุทธบริษัท นับได้ว่าเป็นลักษณะสำ�คัญประการหนึ่งของ พระพุทธศาสนา เป็นลักษณะสำ�คัญซึ่งทำ�ให้พระพุทธศาสนาสามารถดำ�รงม่ันคงมาได้จนถึงปัจจุบัน สังคมไทยนับแต่โบราณกาลมานับเป็นแบบอย่างที่เป็นรูปธรรมสำ�หรับการเก้ือกูลกันของพุทธบริษัท ดงั ปรากฏวา่ วดั ในพระพทุ ธศาสนาหาใชเ่ ปน็ แตเ่ พยี งสถานทพี่ �ำ นกั ของพระภกิ ษสุ ามเณร หรอื เปน็ ทป่ี ระกอบ ศาสนกิจเท่าน้ัน หากแต่ยังเป็นศูนย์กลางของชุมชน เป็นท่ีศึกษาเล่าเรียนของกุลบุตร และเป็นสถานท่ี พึ่งพงิ ให้ความสงเคราะหแ์ กผ่ ู้ตกทุกข์ไดย้ ากด้วย สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ท่ีเกิดขึ้นในประเทศไทย ในช่วงต้นแห่งพุทธศักราช ๒๕๖๓ น้ี นับว่าก่อผลกระทบต่อการดำ�รงชีวิตโดยปรกติสุขของประชาชน จำ�นวนมาก ท้ังในด้านสุขอนามัย การประกอบสัมมาอาชีพ รวมทั้งฐานะทางเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก มผี ปู้ ระสบความยากเขญ็ ในการด�ำ รงชวี ติ จ�ำ นวนไมน่ อ้ ย ชนผตู้ กทกุ ขเ์ ชน่ นย้ี อ่ มเปน็ ผคู้ วรแกค่ วามสงเคราะห์ โดยแท้ ดว้ ยเหตนุ ี้ เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ(อมพฺ รมหาเถร) สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆ- ปริณายก จึงทรงพระดำ�ริว่าสมควรท่ีวัดที่มีศักยภาพเพียงพอจะได้จัดตั้งโรงทานช่วยเหลือ ชนผู้ตกทุกข์ จากสถานการณ์นี้ ไม่จำ�กัดแต่เฉพาะพุทธศาสนิกชนเท่าน้ัน หากแต่รวมถึงประชาชนผู้อยู่ในประเทศไทย ทั้งปวงไม่ว่าจะเป็นศาสนิกชนแห่งศาสนาใดด้วย ซ่ึงวัดจำ�นวนมากทั่วราชอาณาจักรได้ดำ�เนินการสนอง พระด�ำ ริน้ี เปน็ ท่ีชืน่ ชมอนโุ มทนาในกศุ ลทานน้ีโดยทว่ั ไป การจัดพิมพห์ นังสอื “เมตตาธรรมพิสทุ ธ์ิ” ซึง่ ประมวลเรอ่ื งราวและภาพ พระกรณียกิจและพระดำ�ริ ของเจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ตลอดจนบทบาทของคณะสงฆ์ในดา้ นการสาธารณสขุ ตง้ั แตโ่ บราณกาล และการสนองพระด�ำ รใิ นการชว่ ยเหลอื บรรเทาทกุ ขแ์ กป่ ระชาชนคราวนี้ เปน็ การบนั ทกึ เหตกุ ารณท์ พี่ ระองค์ ผู้ทรงเป็นประธานาธิบดีแห่งหมู่สงฆ์ ได้ทรงนำ�คณะสงฆ์ไทยบำ�เพ็ญเมตตาธรรมอันยิ่งให้ปรากฏเป็น หลักฐานเชิงจดหมายเหตุและในแง่วิชาการสืบไป มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยซ่ึงได้สนองพระดำ�ริ

ในการจัดตั้งศูนย์ประสานภารกิจจัดมอบเครื่องอุปโภคบริโภคและอุปกรณ์ป้องกันในสถานการณ์ดังกล่าว ชว่ ยเหลอื ชนผตู้ กทกุ ข์ ทงั้ ไดด้ �ำ เนนิ การรวบรวม เรยี งเรยี ง และจดั พมิ พห์ นงั สอื น้ี จงึ ควรไดร้ บั การอนโุ มทนา โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การจัดพมิ พเ์ พอ่ื เฉลมิ พระเกียรตแิ ด่เจา้ พระคุณ สมเด็จพระสังฆราช ในวาระวนั คล้าย วันประสตู ิ ศกนดี้ ้วย กย็ ่ิงเปน็ การประกาศพระเกียรตคิ ณุ ในข้อ “เมตตาธรรม” อนั “พสิ ุทธ”ิ์ ให้ปรากฏ ขจรขจายยิ่งข้ึนเปน็ ทิฏฐานุคตแิ กอ่ นชุ นสบื ไป ขอเมตตาธรรมทปี่ รากฏในหนงั สอื นี้ จงเปน็ แบบอยา่ ง เปน็ แรงบนั ดาลใจส�ำ หรบั พทุ ธศาสนกิ ชน และ มหาชนทง้ั ปวง ใหย้ ดึ มน่ั หมน่ั เจรญิ และบ�ำ เพญ็ เมตตาธรรมอนั เปน็ สงิ่ ทคี่ �ำ้ จนุ สงั คมและโลกใหด้ �ำ รงอยโู่ ดย สวสั ดี ดงั ธรรมภาษติ อนั มใี นภาษาบาลวี า่ “โลโกปตถฺ มภฺ กิ า เมตตฺ า” แปลความเปน็ ภาษาไทยวา่ “เมตตาธรรม ค�ำ้ จนุ โลก” นัน้ เสมอไปเทอญ. (สมเด็จพระมหาวรี วงศ์) อุปนายกสภามหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย ๑๗ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓

นทิ านพจน์ ในชว่ งครงึ่ ปแี รกของพระพุทธศกั ราช ๒๕๖๓ ไดม้ ีการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนาสายพนั ธ์ุใหม่ ท่ีส่งผลกระทบต่อชีวิตพลเมืองโลกหลายพันล้านคนในระดับที่ไม่มีปรากฏนับต้ังแต่ไข้หวัดใหญ่สเปนเมื่อ กว่าหน่ึงร้อยปีมาแล้ว ผลกระทบน้ีครอบคลุมถึงสุขภาพอนามัย เศรษฐกิจ และสภาพจิตใจอย่างสาหัส เปรียบเสมอื นความมดื มนอนธการท่ยี าวนาน แตเ่ มอ่ื มคี วามมดื กม็ แี สงสวา่ งปรากฏใหเ้ หน็ เปน็ สจั ธรรม ครง้ั นไ้ี มใ่ ชค่ รง้ั แรกทม่ี โี รคระบาดครง้ั ใหญ่ ส่ิงท่ีสำ�คัญอยู่ท่ีว่าเราเรียนรู้ท่ีจะผ่านวิกฤติแต่ละคร้ังได้อย่างไร แม้ในสมัยพุทธกาลสืบมาจนถึง กรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศาสนิกชนผู้มีศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาได้มีเคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจเป็น แสงสว่างน้ันในยามท่ีทุกข์ยาก และในคร้ังน้ีก็เช่นกัน โลกดิจิทัลได้ปรับเปล่ียนบทบาทของพระสงฆ์ไทย ไปอีกระดับหน่ึงด้วยเทคโนโลยีอันทันสมัย และยังสามารถเยียวยาจิตใจท่ีโศกเศร้าพร้อมธำ�รงไว้ซ่ึง หลกั ค�ำ สอนอนั ดงี าม เปน็ ทีป่ ระจักษแ์ จง้ ว่าเจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ (อมพฺ รมหาเถร) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ทรงสถติ ในฐานะประมขุ ของสงั ฆมณฑล ทรงเปน็ ตน้ แบบแหง่ การให้ ดว้ ยพระเมตตา ธรรมอนั บรสิ ทุ ธิ์ และทรงเปน็ ผนู้ �ำ แหง่ การสาธารณสงเคราะหท์ เี่ ทา่ ทนั สถานการณแ์ ละเหมาะสมกบั ยคุ สมยั มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้สนองพระดำ�ริในการจัดต้ังศูนย์ประสานภารกิจจัดมอบเครื่อง อปุ โภคบรโิ ภคและอปุ กรณป์ อ้ งกนั ทางการแพทย์ในมหาวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตและวทิ ยาลยั อกี ทงั้ ยงั ไดจ้ ดั มอบ ถุงยงั ชพี แก่ประชาชนในทกุ ภูมภิ าคถึงเคหสถาน เหตกุ ารณแ์ ละเร่ืองราวเหล่านี้จงึ ไดจ้ ดั รวบรวมไว้ใน \"เมตตาธรรมพสิ ุทธิ\"์ เลม่ น้ี อนั จะเป็นเอกสาร บันทึกประวัติศาสตร์ที่บอกเล่าภาพงามแห่งพระดำ�ริและพระกรณียกิจในยุคโควิด-๑๙ รวมไปถึงบทบาท ของคณะสงฆ์ที่เป็นแสงสว่างให้แก่สาธุชนผู้ประสบความทุกข์ยากว่าครั้งหนึ่งเราผ่านวิกฤตินี้มาได้อย่างไร ดว้ ยธรรมใดเปน็ เครือ่ งน�ำ ทาง (พระราชปฏภิ าณโกศล, ผศ.ดร.) อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย



สารบญั บทนำ� ๑ บทบาทของพระสงฆก์ ับโรคระบาดในสังคมไทย ๒ ทีม่ าของโรคระบาดในสังคมไทย ๓ บทบาทพระสงฆ์ในภาวะวกิ ฤตโิ รคระบาด ๑๖ ความเป็นมาของการแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -19) ๒๖ ที่มาและแหลง่ กำ�เนิดของเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยภาพรวม ๒๗ สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ในประเทศไทย ๒๙ โรงทานตามพระดำ�ริ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อมพฺ รมหาเถร) ๓๔ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ๓๗ หนา้ กากอนามยั ประทานแกพ่ ระภกิ ษสุ ามเณรท่ัวประเทศ ๔๓ กำ�เนดิ โรงทานตามพระด�ำ รสิ มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ๔๗ ๑๘๐ สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก โรงทานตามพระดำ�ริ จ�ำ แนกตามภูมภิ าค โครงการพทุ ธเกษตรสู้วิกฤต COVID-19 มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั กบั การตัง้ โรงทานตามพระดำ�รฯิ ๑๘๘ การปรับตัวของคณะสงฆ์ในการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ๒๑๐ ในภาวะการแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๒๑๒ การเจรญิ พระพุทธมนต์บทรตนสูตร ๒๑๙ วิสาขบชู าออนไลน ์ คตธิ รรมในภาวะการแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๒๓๖ บทสรปุ ๒๘๕ บรรณานกุ รม ๒๘๗



บทนำ� สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ทรงตดิ ตามสถานการณ์ การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด-๑๙ (COVID-19) ซ่ึงทวีความรนุ แรงขน้ึ อยา่ ง กวา้ งขวาง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามยั การประกอบอาชีพ การด�ำ เนินชีวิตประจ�ำ วัน และฐานทาง เศรษฐกจิ กอ่ ใหเ้ กดิ ความยากล�ำ บากในหมปู่ ระชาชนผมู้ รี ายไดน้ อ้ ย หรอื ตกอยใู่ นภาวะทตี่ อ้ งปรบั รปู แบบ การดำ�รงชีวิตอย่างกระทันหัน พร้อมทั้งทรงพระดำ�ริว่า วัดเป็นศูนย์กลางของชุมชนอยู่คู่กับสังคมไทย มานับแต่โบราณตราบจนปัจจุบัน วัดไม่เพียงแต่เป็นท่ีพำ�นักของพระภิกษุสามเณร แต่ยังเป็นสถาน สาธารณสงเคราะห์ของชุมชนด้วย จึงสมควรท่ีจะให้วัดซึ่งมีศักยภาพเพียงพอท่ีจะอนุเคราะห์ประชาชน ผปู้ ระสบความยากล�ำ บาก ด�ำ เนนิ ภารกจิ ตามบทบาทหนา้ ทที่ ด่ี �ำ รงอยนู่ บั แตอ่ ดตี กาล ทง้ั ยงั ทรงประทาน พระดำ�ริให้วัดทั่วราชอาณาจักรท่ีมีศักยภาพเพียงพอจัดต้ังศูนย์ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการ แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยให้คำ�นึงถึงความพร้อมของวัด ประกอบกบั การสนับสนนุ จากภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในชุมชนน้นั ๆ เปน็ ส�ำ คัญ จดหมายเหตุโรงทานตามพระด�ำ ริ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหา สงั ฆปรณิ ายก ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เล่มน้ี จึงเป็น บนั ทกึ ทางประวตั ศิ าสตรช์ น้ิ ส�ำ คญั ทท่ี างคณะสงฆ์ไทยเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการแกว้ กิ ฤตการณโ์ รคระบาด อย่างพรอ้ มเพรยี งกัน ภายใต้พระดำ�รขิ องสมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สงั ฆปรณิ ายก 1

บทบาทของพระสงฆ์ กบั โรคระบาดในสังคมไทย

ท่ีมาของโรคระบาดในสังคมไทย ในอดตี สังคมไทยเรยี กโรคระบาดกันว่า “โรคห่า” จากลกั ษณะท่โี รคชนิดนเี้ มอ่ื เกิดขน้ึ ครัง้ หน่ึง จักคร่า ชวี ติ ผคู้ นอย่างรวดเร็วและมากมายดั่งห่าฝน จากหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ไทยนน้ั พบการแพรร่ ะบาดของโรคมาตง้ั แตเ่ มอ่ื ครง้ั เรม่ิ ตงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยา โดยออกนามโรคระบาดนว้ี า่ “โรคหา่ ” และ “โรคไขท้ รพษิ ” ผสมปนกนั ดงั ทพ่ี บความแตกตา่ งในพงศาวดาร ๒ ฉบบั คอื พงศาวดารเหนือ และพระราชพงศาวดารกรุงสยามจากตน้ ฉบับของบริตชิ มวิ เซียม พงศาวดารเหนอื ระบคุ วามเหตกุ ารณโ์ รคระบาดเมอื่ ครงั้ กอ่ นตง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยาโดยสมเดจ็ พระรามาธบิ ดี ท่ี ๑ (พระเจา้ อ่ทู อง) ความวา่ “...จึงเอาเจ้าอทู่ อง ลกู โชฎึกเศรษฐีประสมดว้ ยกันกบั พระราชธดิ าใหค้ รองเมอื งนน้ั ไดเ้ จด็ ปี หา่ ลงเมอื ง โคกระบอื ชา้ งมา้ ตาย แลคนทง้ั หลายกต็ ายพปิ รติ หนกั หนา อ�ำ มาตยจ์ งึ ทลู แกท่ า้ วอทู่ องวา่ ไพรพ่ ลเมอื งตายเปน็ อนั มาก พระองคจ์ งึ ใหย้ กพลชา้ งมา้ ออกจากพระนครเมอื่ เทย่ี งคนื วา่ สถานทใ่ี ดสบาย เราจะไปสรา้ งเมอื งอยใู่ น ทน่ี น้ั แลไปขา้ งฝา่ ยทกั ษณิ ได้ ๑๕วนั จงึ ถงึ แมน่ า้ํ อนั หนงึ่ แลเหน็ เกาะอนั หนง่ึ เปน็ ปรมิ ณฑลงามแลจะขา้ มมไิ ด้ จงึ ให้ต้ังทัพตามรมิ น้ํา ทั้งไพรพ่ ลทั้งหลาย ตรัสสั่งอ�ำ มาตย์ให้ไปตัดเรือจะขา้ มน้ํา เขา้ หาเกาะ ครัน้ ได้เรือแลว้ เสนาอ�ำ มาตย์ไพรพ่ ลชา้ งมา้ ขา้ มมาหาเกาะแลว้ จงึ บกุ ปา่ โสนเขา้ ไปกลางเกาะ เหน็ ดาบสตนหนง่ึ อยใู่ นใตต้ น้ ไม้ พระยากต็ รัสปราศรัยดว้ ยดาบส แลพระยาจึงถามว่าเจ้ากูมาอยทู่ ีน่ ้ี ชา้ นานแลฤๅ ๆ พง่ึ จะมาอยู่ พระดาบสจึง บอกวา่ เรามาอยทู่ นี่ ้ี แตค่ รง้ั พระพทุ ธเจา้ ยงั ทรมานมพี ระชนมอ์ ยู่ อายเุ ราได้ ๑๕๐ ปแี ลว้ แลบาจารยเ์ ราสองคน คนหนึ่งไปตายในเขาสรรพลึงค์ คนหน่ึงไปตายในพนมภูผาหลวง ยังแต่เราผู้เดียวน้ีแล เม่ือพระพุทธเจ้ามา ถึงน่ี เราไดน้ ิมนต์ใหน้ ่ังบนตอตะเคยี น อนั ลอยมาคา้ งอย่ใู นทนี่ ่ี เรากถ็ วายมะขามปอ้ มสมอแกพ่ ระพุทธเจ้า ๆ จึงแยม้ พระโอษฐ์ พระอานนทจ์ งึ ทูลถามพระพทุ ธเจ้า ๆ จึงมีพระพทุ ธฎีกาตรัสแกพ่ ระอานนทว์ ่า สถานที่นี้จะ เปน็ เมอื งอันหนง่ึ แต่เรามาหกโยชน์ เขากเ็ รียกว่า ศรอี โยทธยา พระพุทธเจา้ มีพระบณั ฑรู ไว้ดังนี้...” ๑ ๑ “พงศาวดารเหนือ,” ประชุมพงษาวดาร ภาคท่ี ๑, สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา สมเด็จพระมาตุฉามีรับสั่งให้กรรมการหอ พระสมดุ วชิรญาณรวบรวมพมิ พเ์ มอื่ ทรงบำ�เพญ็ พระกุศลในงานศพหม่อมเจา้ ดนัยวรนุช ท.จ. (พระนคร : โรงพิมพ์ไทย, ๒๔๕๗), น. ๖๖ - ๖๗. 3

สว่ นในพระราชพงศาวดารกรงุ สยามจากตน้ ฉบับของบรติ ชิ มิวเซียม กรงุ ลอนดอน ระบุวา่ “เบ้ืองวา่ กมั พุชประเทศน้ัน พระเจา้ แผน่ ดินทิวงคต หาพระวงศม์ ิได้ ชนท้ังปวงจึ่งยกเจา้ อทู่ องอนั เป็น บุตรโชฎกึ เศรษฐมี าราชาภเิ ษกผา่ นถวลั ยราช คร้ังนั้นบังเกิดไข้ทรพิษนัก ราษฎรท้ังปวงลม้ ตายเป็นอันมาก พระองค์จึ่งยังเสนาและอพยพราษฎรออกจากเมืองแต่เพลาราตรีกาล ไปโดยทักขิณทิศเพื่อจะหนีห่า และ พระเชษฐาท่านน้ันเข้าพักพลปรกติอยู่ในประเทศเมืองสุพรรณบุรี แต่พระเจ้าอู่ทองนั้นยาตราพลรอนแรมไป หลายราตรี จ่ึงพบแม่นํ้าใหญ่แล้วเห็นเกาะหนึ่งเป็นปริมณฑล ประดิษฐานอยู่ท่ามกลางภูมิภาคน้ันราบรื่น ดสู ะอาด พระองคจ์ ง่ึ ใหข้ า้ มพลพยหุ เขา้ ตงั้ ถงึ เกาะดงโสนแลว้ พบพระดาบสองคห์ นงึ่ จง่ึ กระท�ำ คารวะประพฤติ ปราศรยั วา่ พระนกั สทิ ธมิ์ าส�ำ นกั อยใู่ นประเทศนแี้ ตค่ รง้ั ใด พระฤาษจี ง่ึ แจง้ อนสุ นธวิ์ า่ อาตมาสรา้ งพรตพธิ อี ยทู่ ี่ นีแ้ ตค่ รั้งองคพ์ ระพิชิตมารโมลีโลกเจา้ ยงั ทรมานอยู่ และอาจารยเ์ ราสองคน คนหน่ึงไปตายในเขาสัพลึงค์ คน หน่ึงไปตายในพนมภูผาหลวง และครง้ั เมือ่ พระสรรเพชญพ์ ุทธองค์เสด็จมาในทีน่ ี้ เราไดถ้ วายผลมะขามป้อม และสมออาราธนาใหพ้ ระองคน์ งั่ ฉนั เหนอื ประเทศตอตะเคยี น อนั ลอยมาขวางอยทู่ นี่ น้ั พระองคจ์ ง่ึ มพี ทุ ธบณั ฑรู ตรัสทำ�นายวา่ อรญั ประเทศน้ี ไปเบอ้ื งหน้าจะปรากฏเป็นราชธานหี น่ึง ชอ่ื ว่าพระนครทวาราวดีศรอี ยธุ ยา” ๒ จากหลกั ฐานดงั กลา่ ว แสดงใหเ้ หน็ วา่ คนไทยในสมยั กอ่ นยงั ไมส่ ามารถจ�ำ แนกความแตกตา่ งของโรคหา่ กบั โรคไขท้ รพษิ ได้ และค�ำ วา่ “โรคหา่ ” กไ็ มป่ รากฏในหลกั ฐานประเภทพงศาวดารฉบบั ใดอกี คงเหลอื ในแตค่ �ำ วา่ “ไขท้ รพิษ” สบื มา การระบาดของไข้ทรพิษนี้ ปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารครั้งสำ�คัญ ได้แก่ ในรัชสมัยสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏความวา่ “ศกั ราช ๘๑๖ จอศก(พ.ศ. ๑๙๙๗) ครง้ั นนั้ คนทงั้ ปวงเกดิ ทรพษิ ตายมาก นกั ”๓ ในรชั สมยั สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๔(สมเดจ็ พระบรมราชาหนอ่ พทุ ธางกรู ) เกดิ การแพรร่ ะบาดของไข้ ทรพษิ จนพระองคเ์ สดจ็ สวรรคต ดงั ความทว่ี า่ “ศกั ราช ๘๗๕ ปรี ะกาเบญจศก(พ.ศ. ๒๐๕๖) สมเดจ็ พระบรมราชา หนอ่ พทุ ธางกรู ทรงพระประชวรทรพษิ เสดจ็ สวรรคต” ๔ ในรชั สมยั สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ เมอื่ ครงั้ พระเจา้ บเุ รงนองยกทพั เขา้ ยดึ หวั เมอื งฝา่ ยเหนอื ครงั้ นน้ั พษิ ณโุ ลกเกดิ โรคระบาด ดงั ความทวี่ า่ “ศกั ราช ๙๒๕ กนุ ศก (พ.ศ. ๒๑๐๖) พระเจ้าหงสานพิ ตั รยกพลลงมาในเดือน ๑๒ น้ัน ครน้ั เถิงวนั อาทิตย์ แรม ๕ ค่ํา เดือน ๒ ๒ พ ระราชพงศาวดารกรงุ สยาม จากต้นฉบบั ที่เปน็ สมบตั ขิ องบริติชมิวเซยี ม กรุงลอนดอน (พระนคร : ส�ำ นกั พิมพ์ก้าวหนา้ , ๒๕๐๗), น. ๑๙ - ๒๐. ๓ “พระราชพงษาวดารฉบบั หลวงประเสรฐิ ,” ประชุมพงษาวดาร ภาคท่ี ๑, น. ๑๑๙. ๔ ส มเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ำ รงราชานุภาพ, พระราชพงศาวดาร ฉะบับพระราชหัตถเลขา เลม่ ๑ (พระนคร : โรงพมิ พ์ โสภณพพิ รรฒธนากร, ๒๔๘๑), น. ๑๓๐. ๕ “พระราชพงษาวดารฉบบั หลวงประเสริฐ,” ประชุมพงษาวดาร ภาคท่ี ๑, น. ๑๒๙. ๖ เรื่องเดยี วกนั , น. น. ๑๓๑. 4

พระเจ้าหงสาได้เมืองพิษณุโลก คร้ังนั้นเมืองพิษณุโลกข้าวแพง ๓ สัดต่อบาท อนึ่งคนทั้งปวงเกิดทรพิษ ตายมาก แล้วพระเจา้ หงสาจึงไดเ้ มอื งฝ่ายเหนอื ทัง้ ปวง” ๕ ในรัชสมยั สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธริ าช สมเด็จ พระนเรศวรทรงพระประชวรดว้ ยไข้ทรพษิ น้ดี งั ความทว่ี ่า “ศักราช ๙๓๖ จอศก (พ.ศ. ๒๑๑๗) น�ำ้ มากนกั ครั้ง นนั้ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอทรงพระประชวรทรพษิ ” ๖ ในสมยั สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ่ี ๙ (สมเดจ็ พระเจา้ ทา้ ยสระ) ปรากฏบนั ทกึ ของโรคระบาดนใี้ นจดหมายมองเซนเยอรเ์ ดอซเี ซ ถงึ ผอู้ �ำ นวยการคณะตา่ งประเทศ ลงวนั ท่ี ๑๔ ธนั วาคม ค.ศ. ๑๗๑๒ (พ.ศ. ๒๒๕๕) ความวา่ “ไดเ้ กิดไข้ทรพิษข้ึนมาได้ ๕ - ๖ เดือนแล้ว และเวลานี้กก็ ำ� ลงั เปนกันอยู่ ผ้คู นทงั้ เด็กและผู้ใหญ่ไดล้ ้มตายเปนอนั มาก” ๗ นอกจากการเรียกโรคระบาดว่า โรคห่า หรอื ไข้ทรพษิ แลว้ ยงั ปรากฏหลกั ฐานว่าในสมัยกรุงศรีอยธุ ยา เรยี กโรคระบาดวา่ “อหวิ าตกโรค” ดว้ ยเชน่ กนั ดงั ปรากฏหลกั ฐานเมอ่ื ครงั้ ทส่ี มเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี ๑ โปรดให้ ขุดศพเจ้าแก้วเจ้าไท ดังความที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงสยาม จากต้นฉบับท่ีเป็นสมบัติของบริติช มวิ เซียม กรงุ ลอนดอน๘ และพงศาวดารกรุงศรีอยธยุ า ฉบบั พนั จันทนมุ าศ (เจมิ )๙ ที่วา่ “ศกั ราช ๗๒๕ ปเี ถาะ เบญจศก (พ.ศ. ๑๙๐๖) ทรงพระกรุณาตรัส ว่า เจ้าแก้ว เจ้าไท ออกอหิวาตกโรคตาย ให้ขุดขึ้นเผาเสีย ที่ปลงศพนั้นให้สถาปนาเจดยี ์วิหารเป็นอาราม แลว้ ให้นามวัดปา่ แกว้ ” คำ�วา่ “อหิวาตกโรค” ยงั ปรากฏอยใู่ นเรอ่ื งจามเทวีวงศ์ พงศาวดารเมอื งหรภิ ญุ ไชย ทพ่ี ระโพธริ ังษรี จนา ขึน้ น้นั ในปรเิ ฉทท่ี ๑๒ ไดก้ ลา่ วถึงการแพร่ระบาดของอหวิ าตกโรคทเ่ี มอื งหรปิ ณุ ชัย ดงั ความตอนหนง่ึ ว่า “ตโต เอโก กมลราชา นาม วสี ติวสสฺานิ สตตฺ มาสาธกิ านิ หรปิ ุ ฺเชยยฺ รชฺชํ กาเรตวฺ า กาลมกาส.ิ ล�ำ ดบั น้นั มพี ระราชาพระองค์หน่ึง ทรงพระนามพระเจา้ กมลราช ได้ครองราชสมบัติในหรปิ ุญชยั นครได้ ยส่ี บิ ปกี บั เจ็ดเดือน กเ็ สดจ็ สวรรคต ตทาว หริปุ ฺเชยยฺ นครวาสิโน ชนตา อนกุ ฺกเมน พหู อหวิ าตกโรคา อุปปฺ ชชฺ สึ ุ. ในกาลน้นั ประชมุ ชนชาวหรปิ ุญชัยนคร ก็เกิดเปน็ อหวิ าตกโรคมากขึ้นโดยล�ำ ดบั พหู มนุสฺสา กาลํ กตฺวา วินสสฺ นฺต.ิ มนุษยท์ ง้ั หลายกระท�ำ กาลกิรยิ าถึงซ่งึ ความพินาศเปน็ อันมาก ๗ “จดหมายมองเซนเยอร์เดอซีเซว่าดว้ ยการเกดิ ความไข้ในเมอื งไทย,” ประชุมพงศาวดารภาคท่ี ๓๖ เรอ่ื ง จดหมายเหตขุ องคณะ บาดหลวงฝรง่ั เศส ซง่ึ เขา้ มาตงั้ ครงั้ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ตอนแผน่ ดนิ พระเพทราชา ภาค ๓, พมิ พ์ในงานพระราชทานเพลงิ ศพ อ�ำ มาตยเ์ อก พระยาวินิจวิทยาการ (กร อมาตยกุล) เมื่อปีเถาะ พ.ศ. ๒๔๗๐ (พระนคร : โรงพมิ พ์โสภณพพิ รรฒธนากร, ๒๔๗๐), น. ๓๖๑ ๘ พระราชพงศาวดารกรงุ สยาม จากตน้ ฉบบั ทเ่ี ปน็ สมบตั ิของบรติ ชิ มวิ เซียม กรงุ ลอนดอน, น. ๒๓. ๙ ป ระชมุ พงศาวดาร ภาคท่ี ๖๔ พงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา ฉบบั พนั จนั ทนมุ าศ (เจมิ ), พมิ พ์ในงานปลงศพคณุ หญงิ ปฏภิ านพเิ ศษ (ลมนุ อมาตยกลุ ) ณ วดั ประยรุ วงศาวาส วนั ท่ี ๙ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๙ (พระนคร : โรงพมิ พโ์ สภณพพิ รรฒธนากร, ๒๔๗๙), น. ๒. 5

โส ปน โรโค ยสฺมึ ฆเร อปุ ปฺ นโฺ น ตสมฺ เึ ยว ฆเร วสนฺโต ชนตา อนกุ ฺกเมน มรณํ ปตวฺ า อนาเสเสตฺวา อนฺตมโส ยํ กญิ จฺ ิ อ​ ตฺถิ โย ตํ คเหตวฺ า โส ตํ โรคํ อปุ ปฺ นฺโน ปตวฺ า ยาว ฆรสฺส อนฺเต ขยี ต.ิ โรคเกิดข้ึนในเรือนใดประชมุ ชนทีอ่ ยู่ในเรือนนนั้ กถ็ งึ ซงึ่ ความตายไปโดยล�ำ ดับจนไมม่ ีเหลอื โดยทส่ี ดุ สง่ิ ของเครอื่ งใชส้ อยสง่ิ ใดท​่ีมอี ยใู่ นเรอื นนนั้ มผี ู้ใดมาจบั ตอ้ งเขา้ แลว้ ผทู้ จ่ี บั ตอ้ งนนั้ กเ็ กดิ เปน็ โรคถงึ ความสนิ้ ไปทง้ั ครัวเรอื น โส จ โรโค ยสมฺ ึ ฆเร เอกสสฺ ชนสสฺ อปุ ปฺ นโฺ น สพเฺ พเต อโรคา ตํ ฉทเฺ ทตวฺ า ฆรภติ ตฺ ึ ภนิ ทฺ ติ วฺ า ปลายนตฺ า มุญจฺ นฺติ ตสมฺ า หริปุญเฺ ชยยฺ ชนตา อตตฺ โน อตตฺ โน ชวี ิตํ รกฺขนตฺถาย นิกฺขมิตฺวา ปลายิตฺวา เอกํ สธุ มมฺ ํ นาม นครํ คนฺตฺวา ตํ นสิ ฺสาย ชีวิตํ กปเฺ ปส.ุํ โรคนั้นเกิดขึ้นแก่คนคนหน่ึงในเรือนหนึ่งแล้ว คนท้ังสิ้นที่ยังไม่เป็นโรคก็ทิ้งคนท่ีเป็นโรคนั้นเสีย แล้ว ทำ�ลายฝาเรือนหนีไปให้พ้น เพราะเหตุน้ันประชุมชนชาวพระนคร จึงพากันออกจากเรือนหนีไปเพ่ือจะรักษา ชีวติ ของตน ๆ ไปอาศัยพระนครแหง่ หน่งึ ชื่อสุธรรมนครเลยี้ งชวี ิตอยู่ ตทา หรปิ ญุ ฺเชยโฺ ย ปรหิ โี น นิชนวา สญุ โฺ ญ โหติ. ในกาลนั้นพระนครหรปิ ญุ ชัยกเ็ ปนพระนครร้างว่างเปลา่ ไม่มมี นษุ ย์อยูอ่ าศัย.” ๑๐ ครง้ั นน้ั เกดิ อหวิ าตกโรคระบาดจนบา้ นเมอื งรา้ ง ชาวหรภิ ญุ ชยั จงึ อพยพไปพงึ่ พระบรมโพธสิ มภารพระเจา้ กรุงหงสาวดี จนเมอื่ โรคสงบระงับ ชาวหริภญุ ชยั บางส่วนจึงกลบั มายังนครหรภิ ุญชยั ดงั เดิม ค�ำ ว่า “อหวิ าตกโรค” นีม้ ีที่มาจากภาษาบาลี ๓ คำ�คือ “อหิ” ทแ่ี ปลวา่ “ง”ู วาตะ” ทแี่ ปลวา่ “ลม” และ “โรค” ดังนน้ั จงึ มคี วามเปน็ ไปได้ว่า “อหิวาตกโรค” น้ันหมายถึง “โรคเกดิ แต่ลมมีพิษเพยี งดงั พิษแหง่ ง”ู อัน แสดงสภาวะแห่งโรคระบาดท่ีแพร่ไปแล้วส่งผลให้ผู้คนล้มตายได้ด่ังพิษงู เช่นเดียวกับท่ีพระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงอรรถาธบิ ายไวว้ า่ อหวิ าตกโรคน้ี คอื “โรคอนั มพี ษิ รา้ ยแรงเสมอดว้ ยพษิ งขู นึ้ ใหม่ ๆ และเป็นมาก ๆ พรอ้ มกนั ” ๑๑ ๑๐ พ ระโพธริ งั ส,ี เรอ่ื งจามเทววี งศ์ พงศาวดารเมอื งหรภิ ญุ ไชย, แปลโดย พระยาปรยิ ตั ธิ รรมธาดา(แพ ตาละลกั ษณ)์ และพระญาณวชิ ติ ร (สทิ ธิ โลจนานนท)์ (นนทบรุ ี : ศรีปัญญา, ๒๔๕๔), น. ๒๔๕ - ๒๔๖. ๑๑ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั , พระราชพิธสี ิบสองเดือน (กรงุ เทพมหานคร: บรรณาคาร, ๒๕๔๒), น. ๑๒๔. 6

ดังนัน้ จากหลกั ฐานในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา จึงยงั ไม่สามารถจ�ำ แนกความแตกตา่ งระหวา่ งคำ�ว่า โรคห่า ไข้ทรพิษ และอหิวาตกโรค โดยเฉพาะการระบาดครัง้ ส�ำ คัญในสมัยสมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ ๑ (พระเจ้าอทู่ อง) ทรี่ ะบุว่าเป็นโรคห่า หรอื ไข้ทรพิษน้นั ท้ังนห้ี ากศึกษาจากบรบิ ทประวัติศาสตร์โลกน้ัน พบวา่ ตรงกับการแพร่ ระบาดคร้ังใหญ่ของกาฬโรค ที่มหี นเู ป็นพาหะ๑๒ ครง้ั น้นั มกี ารแพร่ระบาดคร้งั ใหญ่ของกาฬโรคในทวีปยโุ รป ระหวา่ งปี พ.ศ.๑๘๘๙ - ๑๘๙๔ และมีการแพร่ระบาดออกไปถึงประเทศจีน จนมีนักวิชาการสนั นษิ ฐานวา่ โรคระบาดนี้แพร่ระบาดเข้ามาจากจีนผ่านทางการติดต่อค้าขายทางเรือสำ�เภา โดยมีหนูเป็นพาหะ ก่อนที่ใน สมัยรชั กาลท่ี ๕ จักมกี ารบญั ญตั ิคำ�เรียกโรคระบาดจากหนนู ีว้ ่า “กาฬโรค” อันมที ม่ี าจากภาษาอังกฤษค�ำ วา่ “Black Death” ซ่ึงเป็นคำ�ที่ใช้เรียกการแพร่ระบาดของกาฬโรคครั้งใหญ่ในยุโรปท่ีรุนแรงเหนือการควบคุม จนเกดิ ความสะพรงึ กลัวให้กับผคู้ นในสังคม ตอ่ มาในสมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เกดิ การแพรร่ ะบาดของโรคทมี่ ชี อ่ื วา่ “ไขป้ ว่ ง” หรอื “ไขล้ งราก” ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั รชั กาลท่ี ๒ เมื่อปมี ะโรง ตรงกับปี พ.ศ.๒๓๖๓ ดงั ความท่ปี รากฏ ในพระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๒ ฉบับเจ้าพระยาทพิ ากรวงศ์ วา่ “ครัน้ มาถงึ เดอื นเจด็ ข้างขึน้ เวลายามเศษทิศพายัพเหน็ เปน็ แสงเพลงิ ตดิ อากาศ ธมุ เพลงิ เกดิ ไข้ป่วง มาแต่ทะเล ไข้น้ันเกิดมาแต่เมืองเกาะหมากก่อน แล้วข้ามมาหัวเมืองฝ่ายตะวันตก เดินขึ้นมาจนถึงปากน้ำ� เจา้ พระยา ชาวเมืองสมุทรปราการตายลงเป็นอนั มาก กพ็ ากนั อพยพข้นึ มากรุงเทพมหานครบ้าง แยกยา้ ยไป ทิศตา่ ง ๆ บ้าง ท่ีกรุงเทพก็เปน็ ขึน้ เม่ือ ณ วนั ขึน้ ๖ คำ่� เดือน ๗ ไปถึงวันเพญ็ คนตายทั้งชาย ทงั้ หญิง ศพ ทปี่ ่าช้าแลศาลาดนิ ในวดั สระเกศ วัดบางล�ำ พู (วัดสงั เวชวิศยาราม) วดั บพิตรภิมุข วัดปทมุ คงคา แลวัดอน่ื ๆ กา่ ยกนั เหมอื นกองฟนื ทเ่ี ผาเสยี กม็ ากกวา่ มาก แลทล่ี อยในแมน่ �้ำ ล�ำ คลองเกลอื่ นกลาดไปทกุ แหง่ จนพระสงฆ์ กห็ นอี อกจากวดั คฤหสั ถก์ ห็ นอี อกจากบา้ น นา่ อเนจอนาถนกั ถนนหนทางกไ็ มม่ คี นเดนิ ตลาดกไ็ มไ่ ดอ้ อกซอื้ ขายกนั ต่างคนตา่ งรบั ประทานแต่ปลาแห้งพรกิ กับเกลอื เท่านั้น น�้ำ ในแม่น�้ำ ก็กนิ ไม่ได้ ดว้ ยอาเกยี รณ์ไปดว้ ย ซากศพ...” ๑๓ ๑๒ สุจติ ต์ วงศ์เทศ และคณะ, Black Death โรคหา่ กาฬโรคยุคพระเจ้าอู่ทอง : ฝังโลกเกา่ ฟนื้ โลกใหม่ ได้ “ราชอาณาจักรสยาม” (กรงุ เทพมหานคร : กระทรวงวัฒนธรรม, ๒๕๕๓), น. ๖ - ๑๕ ๑๓ เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ,์ พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๒(พระนคร: องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา, ๒๕๐๔), น. ๑๑๕- ๑๑๗. 7

ในคร้ังน้ัน เร่ิมมีการนำ�คำ�ว่า “อหิวาตกโรค” มาใช้แทนโรคระบาดที่มีอาการท้องร่วงเป็นสำ�คัญ ดังปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๒ ฉบับพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้า บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ำ รงราชานุภาพ สอดคลอ้ งกับความในพงศาวดารเมอื งสงขลาท่วี ่า อหวิ าตกโรคน้ี เร่ิมขน้ึ มาแตท่ างภาคใต้ของไทย ความวา่ “ครั้นปมี ะโรงโทศก ศกั ราช ๑๑๘๒ บงั เกิดความไข้อหวิ าตกโรค ราษฎรพลเมืองล้มตายเปน็ อันมาก ความไข้ตลอดมาจนถงึ ปีมะเส็งตรศี กจึ่งได้สงบ” ๑๔ โดยเฉพาะความทม่ี าในจดหมายเหตุโหร ท่ีวา่ “ปีมะโรง จ.ศ.๑๑๘๒ ณ วันพฤหสั บดี ขนึ้ ๖ คำ�่ เดือน ๗ เวลายามเศษ ทิศพายัพเป็นแสงไฟจบั อากาศ โหรดเู คราะหเ์ มอื งวา่ ร้าย จะมศี ึกผมี าแต่ทิศทักษิณ ใหต้ ้ังพธิ ยี ิงปืนอาฏานา ณ วันจันทร์ ข้ึน ๑๑ คำ�่ เดอื น ๗ พระสงฆ์ประนำ�้ โปรยทราย ณ วันพุธ ขน้ึ ๑๒ ค�่ำ เดอื น ๗ คนตายดว้ ยโรคลงรากเปน็ อนั มาก” ๑๕ นบั เปน็ การสะทอ้ นนยั ส�ำ คญั ของสงั คมไทยทว่ี า่ การเจบ็ ปว่ ยไดด้ ว้ ยโรคระบาดนเ้ี ปน็ “ศกึ ผ”ี คอื เปรยี บ โรคระบาดนี้ดังภูติผีปีศาจ หนทางแก้ไขในครั้งนั้น ราชสำ�นักจึงโปรดให้พระสงฆ์ต้ังการพระราชพิธีอาพาธ พินาศ๑๖ หรอื พระราชพิธีอาฏานาฏิยสูตร๑๗ ด้วยความเชื่อที่วา่ บทสวดอาฏานาฏิยสูตรน้ี เป็นบทพระปริตร ที่เรยี กอีกอย่างว่า สวดภาณยกั ษ์ เพอ่ื ขบั ไลย่ ักษ์ หรอื ภูตผิ ที ี่เข้ามาทำ�รา้ ย การระบาดของอหิวาตกโรคเกิดข้ึนต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ เมอ่ื ปรี ะกา พ.ศ.๒๓๙๒ ความว่า “...ฝา่ ยทีก่ รงุ เทพมหานคร เมื่อเดือน ๗ แรม ๑ ค�ำ่ (ตรงกบั วันท่ี ๖ มิถุนายน พ.ศ.๒๓๙๒) เกดิ ความ ไข้ป่วงท้ังแผ่นดิน ไข้นั้นเป็นมาแต่ประเทศฝ่ายทะเล เป็นมาแต่เมืองฝ่ายตะวันตกขึ้นมาก่อน ไข้น้ันเป็นข้ึน มาถงึ กรงุ เทพมหานคร เป็นขึ้นไปจนถงึ เมอื งฝา่ ยเหนอื เสยี พระเจ้าลูกยาเธอ พระองคเ์ จ้าเฉลมิ วงศอ์ งค์ ๑ พระองคเ์ จ้าจินดาองค์ ๑ พระราชธดิ า พระองคเ์ จา้ พวงแกว้ องค์ ๑ เสนาบดี เจ้าพระยาบดินทรเดชา ๑ จง่ึ บ�ำ เพ็ญพระราชกุศลทรงศีล แลว้ ใหเ้ จ้าพนกั งานซือ้ สัตว์ทจ่ี ะต้องถึงมรณภัย แล้วปล่อยไปให้รอดชีวติ ทกุ วนั สน้ิ พระราชทรัพย์เป็นอันมาก จ่ึงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ป่าวรอ้ งราษฎรท�ำ บุญใหท้ าน ปล่อยสตั ว์ทีอ่ ยู่ ในกกั ขังให้รอดจากความตาย แล้วใหต้ ง้ั อยูใ่ นความเมตตากรุณาตอ่ กัน...” ๑๘ ๑๔ “พงษาวดารเมืองสงขลา,” ประชมุ พงษาวดาร ภาคที่ ๓, เจ้าพระยาอภยั ราชามหายุตธิ รรมธรฯ พิมพแ์ จกในงานศพหมอ่ มเจ้าอรชร พ.ศ. ๒๔๕๗ (พระนคร : โรงพิมพ์ไทย, ๒๔๕๗), น. ๕๒. ๑๕ ส�ำ นกั หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาต,ิ ม.ก. ร.๕ บ มว้ น ๔๓ เอกสารรชั กาลที่ ๕ เบด็ เตลด็ เรอ่ื งที่ ๓ ร.๕ บ ๒๐(๑-๔), “จดหมายเหตโุ หร,” อา้ งถงึ ใน ชาตชิ าย มกุ สง, จากปีศาจสู่เช้ือโรค: ประวัตศิ าสตร์การแพทยก์ ับโรคระบาดในสังคมไทย (กรุงเทพมหานคร: มตชิ น, ๒๕๖๓), น. ๗๒. ๑๖ ส มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำ รงราชานภุ าพ, พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลท่ี ๒ (กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร, ๒๕๔๖), น. ๑๕๓ - ๑๕๔. ๑๗ เรอ่ื งเดยี วกนั , น. ๑๑๗. ๑๘ เจา้ พระยาทิพากรวงศ,์ พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๓ (กรุงเทพมหานคร : กรมศลิ ปากร, ๒๕๔๗), น. ๑๓๖. 8

เมอื่ มชิ ชนั นารเี ขา้ มา องคค์ วามรู้ในการจ�ำ แนกประเภทของโรคระบาดจงึ ชดั เจนขน้ึ จากวทิ ยาการตะวนั ตก มาพร้อมกับทฤษฎีเชื้อโรคท่ีทำ�ให้ทราบว่าโรคแต่ละประเภทน้ันมีกำ�เนิดมาจากเช้ือชนิดใด ตลอดจนวิธีการ รกั ษากต็ รงกบั สมฏุ ฐานของโรคมากขน้ึ จงึ ไมเ่ รยี กอยา่ งครอบคลมุ วา่ “โรคหา่ ” อกี ตอ่ ไป แตเ่ รยี กชอื่ โรคนน้ั ๆ ดว้ ยค�ำ ไทยหรอื ค�ำ ตะวนั ตกแทน เชน่ ฝดี าษและอหวิ าตกโรคทเี่ คยสบั สนกันในคัมภีรแ์ พทย์ไทยหรือทค่ี นไทย เรยี กกนั นัน้ กก็ ลายเป็นชดั เจนขนึ้ เปน็ ทรพษิ และอหิวาตกโรคท่มี เี ช้ือโรคเฉพาะมาเรียกแทน หรือบางโรคก็ ทบั ศพั ทภ์ าษาตา่ งประเทศ เชน่ มาลาเรยี เพลกหรอื กาฬโรค สง่ ผลใหร้ ฐั บาลจดั การกบั โรคระบาดเฉพาะเหลา่ นไ้ี ด้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น๑๙ ในระยะนั้น มกี ารแพรร่ ะบาดอยา่ งรุนแรงอยูด่ ้วยกนั ๔ โรค คือ อหิวาตกโรค ไข้ทรพษิ กาฬโรค และ ไขห้ วดั ใหญ่สเปน อหิวาตกโรค ในส่วนของอหิวาตกโรคนนั้ หมอบรดั เลย์ มิชชันนารีชาวอเมรกิ นั เร่มิ นำ�เอายาคลอโรดนิ มาใช้ในการ รกั ษาผปู้ ว่ ย โดยเฉพาะในสมยั รชั กาลท่ี ๔ พบวา่ สาเหตปุ ระการหนงึ่ ของโรคระบาดนนั้ มที มี่ าจากความสกปรก ของบ้านเมือง และส่ิงแวดล้อม จึงเร่ิมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาด ทั้งส่วนบุคคล และ สาธารณะ ดังปรากฏในประกาศรัชกาลท่ี ๔ เรือ่ ง “ประกาศทรงตักเตอื นไมใ่ หท้ ง้ิ ศพสัตว์ลงในนำ้� และให้ทอด เตาไฟอยา่ ให้เปนเชอื้ เพลิง และให้คิดท�ำ ล่มิ สลกั รกั ษาเรือน” ลงวนั อาทิตย์ เดอื น ๓ ขึ้น ๗ คำ�่ ๑ ปีมะโรง อัฐศก จลุ ศักราช ๑๒๑๘ ตรงกับวันท่ี ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๓๙๙ ความตอนหน่งึ วา่ “...การซง่ึ ทงิ้ ซากศพสตั วต์ า่ ง ๆ ลงในน�้ำ ใหล้ อยขนึ้ ลอยลงอยดู่ งั นี้ คดิ ดโู ดยละเอยี ดกเ็ หน็ เปน็ ทรี่ งั เกยี จ แกค่ นทไี่ ดอ้ าศยั ใชน้ �้ำ อยทู่ ง้ั สน้ิ ดว้ ยกนั พระสงฆส์ ามเณรเปน็ พระสมณะชาวนอกกรงุ เทพฯ คอื เมอื งลาวและหวั เมืองฝ่ายเหนือทงั้ ปวง และชาวราษฎรชาวนอกกรงุ ฯ เม่อื มเี หตตุ อ้ งลงมายงั กรงุ เทพฯ น้ีแล้วก็รังเกียจตเิ ตยี น ว่า เพราะต้องใช้นำ้�ไมส่ ะอาด จงึ เป็นโรคตา่ ง ๆ ไมเ่ ป็นสุขเหมือนอยูน่ อกกรงุ ฯ...”๒๐ ๑๙ ชาตชิ าย มกุ สง, จากปีศาจสู่เชื้อโรค: ประวัตศิ าสตรก์ ารแพทย์กับโรคระบาดในสังคมไทย, น. ๗. ๒๐ พ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั , ประชมุ ประกาศรชั กาลท่ี ๔ พ.ศ.๒๓๙๔- ๒๔๐๐ (กรงุ เทพมหานคร: องคก์ ารคา้ ของครุ สุ ภา, ๒๕๐๓), น. ๒๕๗. 9

แม้จะมีความพยายามจัดการด้านสุขาภิบาลเมืองแล้ว แต่ก็ยังเกิดภาวะอหิวาตกโรคระบาดในปี พ.ศ. ๒๔๐๓ จดหมายเหตุของหมอบรัดเลย์กล่าวว่า เริ่มระบาดในวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๔๐๓๒๑ ส่วนใน พระราชพงศาวดารระบวุ า่ “ในเดอื น ๕ นน้ั ทก่ี รงุ เทพมหานครเกดิ ความไขจ้ บั ไขป้ ว่ งทง้ั ๒ อยา่ ง เกดิ มาแตท่ าง เมอื งตาก เมืองระแหงกอ่ น จงึ มาถงึ กรงุ เทพมหานคร ไขจ้ ับนน้ั ดเู หมอื นไม่รา้ ยแรง คร้นั ไปได้ ๑๔ วัน ๑๕ วัน กระทำ�ท้องลงเปน็ โลหิตออกมา อยู่ได้ ๔๐ วัน หรือ ๔๐ วันเศษก็ตาย ไม่เหน็ ผู้ใดรกั ษาหายแต่สักคน ๑ ความไขค้ ร้งั นเี้ ป็นไมย่ ดื ยาว สบื ขา่ วดูก็เสยี ไปบา้ นละคน ๒ คน ตามบ้านใหญบ่ า้ นเลก็ แลว้ ก็สงบหายไป” ๒๒ หากแต่การระบาดของอหวิ าตกโรคน้ยี ังคงปรากฏสืบมาในรัชกาล โดยเฉพาะในปี พ.ศ.๒๔๐๖ ท่มี เี หตกุ ารณ์ อหวิ าตกโรคระบาด อนั เปน็ เหตแุ หง่ การสนิ้ พระชนมข์ องสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ จนั ทรมณฑล พระราชธดิ า ในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ เกิดการระบาดของอหวิ าตกโรคระบาดครั้งแรก ในปีพุทธศักราช ๒๔๑๖ ดังปรากฏ ความในจดหมายเหตโุ หร เมือ่ ปีระกา จ.ศ. ๑๒๓๕ ว่า “ณ วันเสาร์ แรม ๑๑ ค่ำ� เดอื น ๗ (วนั ท่ี ๒๑ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๔๑๖) คนเป็นไข้อหิวาตกะโรคตาย ประปรายวนั ปฐม ณ วันอาทติ ย์ แรม ๑๒ คำ่� เดือน ๗ (วันท่ี ๒๒ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๔๑๖) หนาข้ึน ตายมากขน้ึ ณ วนั พธุ ขน้ึ ๘ ค�่ำ เดือน ๘ (วันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๑๖) ไข้ลงรากยงั ชัว่ ข้ึน ณ วนั พฤหสั บดี ขนึ้ ๙ ค�ำ่ เดอื น ๘ (วันท่ี ๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๑๖) ไข้ลงรากน้อยลง ณ วันอาทิตย์ แรม ๑๑ ค�่ำ เดอื น ๘ (วนั ท่ี ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๑๖) ความไขส้ งบเงยี บลง” ๒๓ รวมระยะเวลาการระบาดทัง้ สนิ้ ๑ เดือน คร้ังนั้น พระบาทสมเดจ็ พระจฬุ าลงกรณเ์ กลา้ เจ้าอยู่หวั ทรง พระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้จัดเป็นการรักษาพยาบาล แทนการทำ�พิธกี รรมทางศาสนาดงั กอ่ น ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ ให้พระวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ สายสนิทวงศ์ แพทย์หลวงประจ�ำ พระองคท์ ่ีสำ�เรจ็ การแพทย์แผน ตะวนั ตก ทรงก�ำ กบั กรมหมอหลวง คดิ ปรงุ ยารกั ษาโรคเปน็ อย่างฝรัง่ ข้นึ ใหม่ ๒ ขนาน คือ เอายาวสิ ัมพญา ใหญต่ ามต�ำ รายาไทยกบั แอลกอฮอลท์ �ำ เปน็ ยาหยดในน�้ำ ขนานหนงึ่ เอาการบรู ท�ำ เปน็ ยาหยดเรยี กวา่ น�้ำ การบรู อีกขนานหนึ่ง และแนะนำ�ให้ใช้การบูรโรยเส้ือผ้าเป็นเคร่ืองป้องกันเช้ือโรคอีกอย่างหน่ึง๒๔ ด้วยเหตุผลที่ว่า เม่ือปี พ.ศ.๒๔๐๘ หมอเฮ้าส์เพ่ิงค้นพบวิธีการบำ�บัดอหิวาตกโรคและได้เขียนรายงานพิมพ์เผยแพร่ใน สหรฐั อเมริกา ระบุวา่ หวั แอลกอฮอลแ์ ละการบรู ผสมนำ�้ ให้คนไข้ดื่มบ่อย ๆ นน้ั ได้ผลดีมาก และช่วยให้คนไข้ ทีไ่ ด้รับการรกั ษาดว้ ยวธิ ีนไ้ี มม่ ตี ายเลย๒๕ ๒๑ “จดหมายเหตขุ องหมอบรัดเล ปชี วด จลุ ศกั ราช ๑๑๙๐ พ.ศ.๒๓๗๑ ในรชั กาลที่ ๓,” ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๑๒, น. ๔๗. ๒๒ เจา้ พระยาทิพากรวงศ์, พระราชพงศาวดารกรงุ รัตนโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๔ (พระนคร : การพมิ พ์เก้ือกูล, ๒๕๐๗), น. ๑๑๕. ๒๓ “จดหมายเหตุโหร,” ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๘, พระยาศรภี รู ปิ รีชา รามาธิปติราชภักดี ศรีสาลกั ษณวสิ ยั อภยั พิรยิ พาห พิมพ์ แจกในงานศพคุณหญงิ ศรีภรู ิปรชี า ปีมเสง พ.ศ. ๒๔๖๐ (พระนคร : โรงพิมพ์ไทย, ๒๔๖๐), น. ๔๖. ๒๔ ส มเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ำ รงราชานภุ าพ, ความทรงจ�ำ (กรงุ เทพมหานคร: บรรณาคาร, ๒๕๑๖), น. ๒๗๒ - ๒๗๓. ๒๕ จ อร์จ เฮาส์ เฟลตสั , หมอเฮาส์ในรัชกาลท่ี ๔ (ม.ป.ท., ๒๕๐๔), น. ๔๘. 10

ครั้นเมื่อเกิดการระบาดครั้งใหญ่ของอหิวาตกโรคในปี พ.ศ.๒๔๒๔ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยหู่ วั กท็ รงสนพระทยั ในการดแู ลการขยายตวั ของโรคระบาดนด้ี ว้ ยพระองคเ์ อง ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ จัดเรือกลไฟ ๓ ลำ� ปักธงขาวเป็นเครื่องหมาย ล่องไปตาม แมน่ �ำ้ ล�ำ คลอง คอยใหค้ �ำ แนะนำ�แก่ชาวบ้าน ทัง้ ยังได้ทรงนำ�บรรดาพระอนุชา และข้าราชการผู้ใหญ่ให้จดั ต้ัง โรงพยาบาลชั่วคราวขึ้นด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ และโปรดให้มีการถวายรายงานการระบาดของโรค ใหพ้ ระองคท์ รงทราบทกุ วนั จนกระทง่ั อหวิ าตกโรคสงบลงในเวลา ๖ สปั ดาหต์ อ่ มา หลงั จากนนั้ ไดพ้ ระราชทาน เหรียญทรี่ ะลึกใหแ้ กผ่ ู้ได้ทำ�หนา้ ที่ชว่ ยเหลือต่าง ๆ ทั่วหน้ากัน๒๖ เหรยี ญรางวัลในการรกั ษาอหิวาตกโรค หลงั จากการระบาดของอหิวาตกโรคได้ ๔ ปี จงึ เกิดการระบาดข้ึนอีกคร้งั ในปี พ.ศ.๒๔๒๘๒๗ จงึ โปรด ให้มกี ารต้ังคณะกรรมการจดั สร้างโรงพยาบาลถาวรขน้ึ และกอ่ สรา้ งโรงพยาบาลแล้วเสรจ็ ในอีก ๓ ปีต่อมา คือ ปี พ.ศ.๒๔๓๑ จงึ ไดเ้ ปิดทำ�การรักษาคนไข้อย่างเปน็ ทางการในนาม “โรงศริ ริ าชพยาบาล” ๒๖ คารล์ บ็อค, ทอ้ งถน่ิ สยามยุคพระพทุ ธเจา้ หลวง, แปลโดย เสฐียร พนั ธรงั ษี และอมั พร ทีขะระ (กรงุ เทพมหานคร: มตชิ น, ๒๕๓๑), น. ๓๑ – ๓๒. ๒๗ “จดหมายเหตโุ หร,” ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๘, น. ๖๐. 11

ไข้ทรพิษ ส่วนไข้ทรพิษ หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า ฝีดาษ พบการระบาดรุนแรงในสมัยรัชกาลท่ี ๓ แห่งกรุง รตั นโกสนิ ทร์ เมอื่ ปี พ.ศ.๒๓๘๑๒๘ คนโบราณเชอ่ื กนั วา่ ถา้ ใครออกฝดี าษตาย ชาวสยามถอื ไมเ่ ผา ตอ้ งเอาศพ ไปฝัง แต่เพราะธรรมเนียมสยามเห็นว่าการเผาศพน้ีเป็นเคร่ืองสนองคุณในครั้งสุดท้าย จึงมีการขุดศพที่ฝัง จนกว่าจะพ้นกำ�หนด ๓ ปีไปแล้ว๒๙ จึงถือว่าเป็นโรคไข้ทรพิษน้ีเป็นโรคระบาดร้ายแรงที่ยากต่อการรักษา จนเมอ่ื ความรู้ทางการแพทย์แผนตะวันตกเร่มิ เข้ามา มชิ ชันนารจี งึ ได้น�ำ การปลกู ฝีมาใช้ในการรกั ษา หากแต่ พันธุ์หนองฝีท่ีใช้ปลูกน้ันจำ�เป็นต้องนำ�เข้ามาจากประเทศอเมริกา นานปีละคร้ังหนึ่ง ต่อมาใช้พันธ์ุหนอง ส่งมาแต่ยุโรป ๒ เดือนมาถึงคร้ังหนึ่ง๓๐ คร้ังน้ันหมอบรัดเลย์ ได้เริ่มทดลองปลูกฝีให้กับบุตรหลานของ มชิ ชนั นารกี อ่ น๓๑ จงึ เอาหนองฝจี ากแผลลกู ปลกู ทค่ี นอนื่ ตอ่ ๆ กนั ไป เมอื่ ประสบความส�ำ เรจ็ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั กท็ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหแ้ พทยห์ ลวงมาหดั เรยี นรวู้ ธิ กี ารปลกู ฝี หลงั จากนน้ั หมอ บรดั เลยก์ ป็ ลกู ฝใี หก้ บั คนทว่ั ไปอยา่ งแพรห่ ลายมากขนึ้ และประสบความส�ำ เรจ็ อยา่ งรวดเรว็ จนสามารถเขยี น เป็นตำ�รา โดยได้รับการสนับสนุนจากพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้พิมพ์หมายประกาศเป็น ใบปลิว ๑๐,๐๐๐ ฉบบั แจกจ่ายชวนชาวพระนครให้ปลูกฝี หมอบรัดเลยเ์ ขยี นไว้ในจดหมายเหตวุ ่า รัฐบาล ไทยใชก้ ารพมิ พห์ นังสือเป็นทแี รกในครงั้ นนั้ ๓๒ ตอ่ มาในสมยั รชั กาลที่ ๕ เมอ่ื ฝรง่ั เศสเขา้ มาตงั้ สาขาท�ำ หนองปลกู ฝดี าษทเี่ มอื งไซง่ อ่ น ประเทศเวยี ดนาม การขนส่งพันธุ์หนองจึงใช้เวลาภายใน ๑๕ วัน หนองจึงไม่เสียในกลางทาง จนในปลายรัชกาลจึงมีการตั้ง สถานทีท่ ำ�พนั ธุ์หนองปลกู ฝีดาษในเมอื งไทย ถงึ ในสมยั รชั กาลท่ี ๖ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๕๕ เกดิ โรคฝดี าษชุกชมุ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงดำ�รัสส่ังให้เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยกับเสนาบดีกระทรวง นครบาล ปรึกษากันจัดการป้องกันโรคระบาดด้วยปลูกฝีชาวเมืองให้มากเท่าที่จะทำ�ได้ ถ้าหากจะต้องใช้ เงินเกนิ กวา่ ทม่ี ีอยู่ จะทรงพระกรณุ าโปรดพระราชทานเงนิ ส่วนพระองคช์ ว่ ย ดงั ท่มี ีปรากฏในรายงานประชุม เทศาภิบาล พ.ศ. ๒๔๕๖ วา่ จ�ำ นวนคนที่ไดป้ ลูกฝีถงึ ๗๘,๗๖๘ คน๓๓ ๒๘ วลิ เลีย่ ม แอล บรัดเลย์, สยามแตป่ างก่อน, แปลโดยศรีเทพ แววหงษ์ และ ศรลี กั ษณ์ สง่าเมือง (กรุงเทพมหานคร: สถาบนั ไทย คดีศึกษา มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๒๙), น. ๘๖. ๒๙ สงดั เปลง่ วานชิ , “ประวตั กิ ารแพทยข์ องประเทศไทย,” บรริ กั ษเวชชการ อนสุ รณ,์ กระทรวงสาธารณสขุ รว่ มกบั องคก์ ารเภสชั กรรม พมิ พเ์ ป็นบรรณาการ ในงานพระราชทานเพลงิ ศพ พระยาบรริ ักษเ์ วชชการ ณ เมรุหน้าพลับพลาอศิ รยิ าภรณ์ วัดเทพศริ นิ ทราวาส วันท่ี ๒๖ มถิ ุนายน ๒๕๑๑ (พระนคร : ไทยเขษม, ๒๔๑๑), น. ๑๒๓. ๓๐ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชานภุ าพ, นิทานโบราณคดี (พระนคร: คลงั วทิ ยา, ๒๕๐๑), น. ๒๘๑. ๓๑ “จดหมายเหตขุ องหมอบรดั เล ปชี วด จลุ ศกั ราช ๑๑๙๐ พ.ศ.๒๓๗๑ ในรชั กาลท่ี ๓,” ประชุมพงษาวดาร ภาคที่ ๑๒, พิมพ์แจก ในงานศพ หม่อมเจา้ ชายสง่างาม ต,ช. ต,ม. ปมี ะแม พ.ศ.๒๔๖๒ (พระนคร : โรงพิมพโ์ สภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๒), น. ๓๙. ๓๒ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ�รงราชานภุ าพ, นิทานโบราณคด,ี น. ๒๕๐-๒๕๑. ๓๓ เร่ืองเดยี วกัน, น. ๒๘๑-๒๘๗. 12

กาฬโรค ในสมยั รชั กาลที่ ๕ เรมิ่ มกี ารแพรร่ ะบาดของโรคทม่ี หี นเู ปน็ พาหะ อนั มจี ดุ เรม่ิ ตน้ มาจากประเทศจนี โดย มกี ารระบาดรุนแรงในเมืองทา่ สำ�คญั เช่น ฮ่องกง เมอื่ ปี พ.ศ.๒๔๓๗ และเป็นจุดเร่มิ ตน้ ของการระบาดไปยัง ประเทศตา่ ง ๆ แมร้ ฐั บาลจะได้ตั้งรบั ดว้ ยการใช้มาตรการกักกันเรอื (Quarantine) โดยการตรวจเรือทกุ ล�ำ ท่มี าจากเมอื งทม่ี ีการระบาดในปเี ดยี วกันน้ัน แตก่ ารแพรร่ ะบาดของกาฬโรคก็มาถึงประเทศไทยเปน็ ครงั้ แรก ระหวา่ งเดือนพฤษภาคมถงึ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๔๔๔ ทจี่ ังหวดั ภูเกต็ ครั้งน้ันมผี ู้เสยี ชีวิตราว ๕๐ คน จนการแพร่ ระบาดเข้ามาในถงึ กรงุ เทพมหานครระหว่างปี พ.ศ.๒๔๔๕ - ๒๔๔๖ และแพร่ระบาดไปยังหวั เมอื งตา่ ง ๆ โดย เฉพาะเมืองทต่ี ั้งอยู่ตามเสน้ ทางรถไฟ ปรากฏข้อมลู ว่าใน ปีพ.ศ.๒๔๔๙ มผี ปู้ ว่ ยในกรุงเทพและหัวเมอื งในปี นั้นทง้ั หมด ๓๙๐ คน เสียชวี ติ ๓๒๘ คน การแพรร่ ะบาดของกาฬโรคยงั คงปรากฏตอ่ มาอกี เกอื บทกุ ปี โดยเฉพาะในเขตกรงุ เทพและหวั เมอื งซงึ่ เปน็ แหล่งเพาะเชือ้ สำ�คญั โดยในระหวา่ งปี พ.ศ.๒๔๕๖ - ๒๔๗๗ มีอตั ราผู้เสียชวี ิตราว ๓,๑๖๗ คน และต่อมา ระหว่างปี พ.ศ.๒๔๘๑ - ๒๔๙๕ การแพร่ระบาดมักเกดิ ขนึ้ ตามหมู่บ้านและท้องนา มักพบอาการไมร่ ุนแรง อัตราการตายต�่ำ จึงมผี ูเ้ สียชวี ติ ทั้งส้นิ รวม ๓๙๕ คน จนในปี พ.ศ.๒๔๙๕ รัฐบาลไทยโดยความชว่ ยเหลือ ของสหรัฐอเมรกิ าไดจ้ ัดตง้ั หนว่ ยควบคุมกาฬโรคในท้องท่ี ๓ จังหวดั คอื ราชบุรี นครราชสีมา และนครสวรรค์ เพอื่ ปอ้ งกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของกาฬโรค จนสง่ ผลให้ไมป่ รากฏการแพรร่ ะบาดของกาฬโรคอกี เลย นบั แตน่ นั้ ๓๔ ท่ีมา : หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ จนั ทบรุ ี ๓๔ กาฬโรคสมัยรัชกาลที่ ๕ (กรุงเทพมหานคร: กรมศลิ ปากร, ๒๕๖๒), น. ๖ – ๑๔. 13

ไข้หวัดใหญส่ เปน หรอื ไวรัสอนิ ฟลูเอ็นซา ในสมยั รัชกาลท่ี ๖ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๔๖๑ ซงึ่ เปน็ ปีสุดทา้ ยของสงครามโลกครงั้ ท่ี ๑ เกดิ การแพร่ระบาด ของเชือ้ โรคอุบัตใิ หม่ ส่งผลให้มีผ้ชู ีวติ ทงั้ โลกราว ๒๐ ล้านคน จึงเรยี กขานโรคระบาดนี้ตามช่ือประเทศท่พี บ การติดเชื้อเป็นคร้ังแรกว่า “ไข้หวัดใหญ่สเปน” (Spanish flu)๓๕ สาเหตุแห่งโรคน้ีแพร่ระบาดไปท่ัวโลกน้ัน สันนิษฐานว่ามีท่ีมาจากทหารท่ีไปราชการสงครามท่ียุโรปแล้วนำ�เช้ือโรคกลับไปแพร่ระบาดยังประเทศของ ตน ดงั พบการระบาดมากในบรเิ วณเมอื งทา่ ในส่วนของประเทศไทย การแพร่ระบาดของไข้หวัดสเปนน้ัน เข้ามาทางภาคใต้ของประเทศไทย ดังปรากฏในโทรเลขของสมเด็จพระเจา้ น้องยาเธอ เจ้าฟา้ ยคุ ลทิฆมั พร กรมขนุ ลพบรุ ีราเมศวร์ ถงึ เจา้ พระยา สุรสีห์ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย ลงวันท่ี ๑๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๖๑ ว่าได้เกดิ โรคอนิ ฟลูเอนซา่ ข้นึ ท่ีจังหวัด ปัตตานี และสงขลา มีผู้ป่วยเป็นโรคน้ีมาก ท้ังข้าราชการและราษฎรท่ีจังหวัดปัตตานี นักโทษในเรือนจำ� ๒๕๐ คน ปว่ ยเป็นโรคน้ที ัง้ หมด ๒๓๘ คน และแพทยประจำ�จงั หวดั กป็ ว่ ยหลายนาย ท่ีทางจงั หวัดสงขลา ก็ มขี า้ ราชการและต�ำ รวจภูธรปว่ ยทัง้ หมด ๑๔๒ คน ในกรุงเทพมหานคร ครงั้ น้ันมีประชากรราว ๕ แสนคน ปว่ ยเป็นโรคนรี้ าว ๒ แสนคน ทางราชการ ได้ออกหนังสือเวียนให้ประชาชนรู้ตัวว่าป่วยให้ไปรับการรักษาพยาบาลอย่างเร็วท่ีสุด โดยเฉพาะอย่างย่ิง ประชาชนในต่างจังหวัดท่ีเสียชีวิตมากกว่าในพระนคร-ธนบุรี โดยประชาชนของประเทศไทยในสมัยน้ัน มีอยู่ราว ๘,๔๗๘,๕๖๖ คน มีผู้ปว่ ยทง้ั หมด ๒,๓๑๗,๖๖๓ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๗.๓๒ ของประชากรทัง้ ประเทศ และมผี ู้เสียชีวติ ทง้ั หมด ๘๐,๒๖๓ คน ตงั้ แต่วันท่ี ๑ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๖๑ การระบาดของไข้หวดั ใหญค่ รั้งนร้ี ะบาดรา้ ยแรงมากในเดือน ตลุ าคม โรคไดค้ อ่ ยสงบลงบา้ งในกลางเดอื นพฤศจกิ ายน และไดส้ งบลงในเดอื นมนี าคม โดยมผี เู้ สยี ชวี ติ สงู สดุ ในวันท่ี ๒๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๖๑ มผี ูเ้ สียชวี ตี มากถึงวันละ ๖๕ คน การระบาดโรคนไี้ ด้ใชจ้ า่ ยเปน็ เงนิ ๑ แสนบาท เพอ่ื ท�ำ การรกั ษาและปอ้ งกนั โรคนไ้ี มใ่ หร้ ะบาดมากขน้ึ และ ได้จ่ายยาให้แก่ประชาชนมแี อสไพรินและควนิ นิ โดยต้งั ทจ่ี ่ายยาตามสถานีต�ำ รวจและศาลาวัด ส่วนประชาชน ท่ีนิยมยาไทยกจ็ า่ ยยาไทยแทน ๓๕ น �ำ ชัย ชวี วิวรรธน,์ COVID-19 โรคระบาดแห่งศตวรรษ (กรุงเทพมหานคร: มตชิ น, ๒๕๖๓), น. ๑๙. 14

ภายหลงั การแพร่ระบาดของไข้หวัดสเปนยาวนานถงึ ๓๐ ปี คณะนักวทิ ยาศาสตร์ชาวอังกฤษ คอื เซอร์ แอนดรูว์ ดร.สมทิ ธ์ิ และ ดร.เลดลอว์ จงึ สามารถเพาะเช้อื กอ่ โรคได้ในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ พบวา่ เป็นเชื้อไวรัส ที่เรียกช่ือว่า “ไวรสั ไขห้ วัดใหญ่” หรอื ในภาษาองั กฤษวา่ “ไวรัสอนิ ฟลเู อน็ ซา” นัน้ ๓๖ ประกาศกระทรวงนครบาล เรือ่ งการจา่ ยยาในการรักษาไข้หวดั ใหญ่สเปน ในสมยั รชั กาลท่ี ๖ หลังจากนนั้ กม็ กี ารแพรร่ ะบาดของโรคคร้ังสำ�คญั ท่พี บในประเทศไทย ไดแ้ ก่ ไข้หวดั ใหญ่เอเซีย เม่ือปี พ.ศ.๒๕๐๐ ครั้งน้ันในประเทศไทยมีผู้ป่วยราว ๑ ล้านคน ไข้หวัดฮ่องกง เม่ือปี พ.ศ.๒๕๑๑ คร้ังนั้นใน กรงุ เทพฯ มผี ปู้ ว่ ยราว ๑๕๐,๐๐๐ คน ไมม่ รี ายงานผเู้ สยี ชวี ติ ไขห้ วดั ใหญ่H1N1 เมอื่ ปี พ.ศ.๒๕๑๙๓๗ ไขห้ วดั รสั เซยี เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๑๙ โรคเอชไอวี(HIV) ทเ่ี รม่ิ ระบาดเมอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๒๖ โรคไขก้ าฬหลงั แอน่ ทเ่ี รม่ิ ระบาด เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๓๖ โรคไขห้ วดั นก เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๗ ไข้หวดั ใหญ่ H1N1 สายพนั ธุ์ใหม่ 2009 ทีร่ ะบาดเมอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๕๒ กอ่ นที่จะมกี ารระบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา่ ๒๐๑๙ (Covid-19) ในปจั จุบัน ๓๖ ส ำ�ราญ วังศพา่ ห์, “ประวตั ศิ าสตร์การแพทย์ไทย : ไขห้ วดั ใหญใ่ นรชั สมยั รชั กาลที่ ๖,” สารศิรริ าช, ปที ่ี ๑๙ ฉบับท่ี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๐ : น. ๑๕ - ๒๐. ๓๖ ประเสริฐ ทองเจริญ, ไข้หวัดใหญส่ ายพนั ธุ์ใหม่ ๐๙ มาแล้ว ระบาดบันลือโลก เล่ม ๒ (ม.ป.ท., ม.ป.ป.), น. ๙๖ - ๑๒๓. 15

บทบาทพระสงฆ์ในภาวะวิกฤตโรคระบาด นบั แตโ่ บราณกาล พระสงฆเ์ ปน็ ศนู ยร์ วมจติ ใจของชมุ ชน ทง้ั ในคราวบา้ นเมอื งเปน็ ปรกตสิ ขุ และในคราวมี วกิ ฤตการณต์ า่ ง ๆ โดยเฉพาะในภาวะทเ่ี กดิ โรคระบาดขน้ึ นนั้ ปรากฏพระราชพธิ ที ท่ี างราชส�ำ นกั อาราธนาพระสงฆ์ ประกอบเพอ่ื บ�ำ บดั ความเจบ็ ไขต้ า่ ง ๆ ทสี่ �ำ คญั คอื “พระราชพธิ อี าพาธพนิ าศ” หรอื “พระราชพธิ อี าฏานาฏยิ สตู ร” ดงั ปรากฏหลกั ฐานทที่ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ งั้ การพระราชพธิ อี าพาธพนิ าศขน้ึ ในคราวเกดิ อหวิ าตกโรค ระบาดในสมัยรัชกาลท่ี ๒ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๓๖๓ พระราชพิธอี าพาธพินาศ หรอื พระราชพิธอี าฏานาฏยิ สตู รน้ี เป็นพระราชพิธที �ำ ขึ้นเพอ่ื บำ�บัดความเจ็บไข้ จดั เปน็ พธิ สี งฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนต์ เสกน�้ำ และทราย ตลอด ๓วนั โดยแบง่ ออกเปน็ ๓ ระดบั อยา่ งเบาประกอบ พิธใี น ๓ พระอาราม อยา่ งกลางประกอบพิธใี น ๕ พระอาราม และอย่างหนักประกอบพธิ ใี น ๗ พระอาราม โดยพิธใี นวนั ที่ ๓ จึงจดั ให้สวดภาณยักษ์ และใหพ้ ระภกิ ษุสงฆ์ประพรมนำ้�และโปรยทรายให้ท่ัวพระนคร ดังปรากฏรายละเอียด “พระราชพิธีอาพาธพินาศ” ในตำ�ราพระราชพธิ เี กา่ วา่ “สิทธิการิยะ พระราชพิธีอาพาธพินาศ อันจะบำ�บัดความไข้ ให้อันตรธานในกาลอันเกิดความไข้นั้น มี ๓ อยา่ ง คอื เอามทุ ๑ มชั ฌมิ ๑ อกุ ฤษฐ์ ๑ พิธสี งฆ์อย่างเอามุทนนั้ ให้ทำ�ในส�ำ นกั พระสงฆ์ ๓ อาราม ให้เอาหม้อใหม่ ๒๗ ใบใสน่ �้ำ อันใสบริสทุ ธ์ิ บาตรดิน ๓ ใบใสท่ รายบริสทุ ธิ์ แลว้ แบง่ เอาไปประดิษฐานไว้ใน อโุ บสถกไ็ ด้ ไว้ในหอสวดมนตก์ ็ได้ ใหถ้ ้วนท้งั ๓ อาราม คือ อาราม ๑ นั้น เป็นหมอ้ น้�ำ ๙ หมอ้ บาตรทราย ใบหนึง่ ท้ัง ๓ อาราม จงึ เป็นหม้อนำ้� ๒๗ ใบ บาตรทราย ๓ แลว้ จบั มงคลสตู ร มงคลยน่ สวมหม้อนำ้�และ บาตรทรายวงสายสญิ จน์ แลว้ จงึ นมิ นตพ์ ระสงฆพ์ อควร ๒๐- ๓๐ รปู มาเจรญิ พระพทุ ธมนต์ ตง้ั แตเ่ จด็ ต�ำ นาน ภาณต้น สบิ สองตำ�นาน สามภาณ จตภุ าณล�ำ ดับไป จงได้สามวัน ๆ ละ ๓ เวลา ให้คารวะสกั การบชู าด้วยธูป เทียนข้าวตอกดอกไม้ ราชวัตรฉตั รธงตน้ กล้วยออ้ ยหอ้ ยย้อยบปุ ผามาลัยพรหมโหด กัน้ มา่ นดาดเพดานบชู า พระรัตนตรัยด้วยประทีปชวาลาตา่ ง ๆ ตามจะทำ�ได้ ใหส้ ัมมาคารวะจงดที งั้ ๓ วัน ให้กำ�หญา้ คาเทา่ หมอ้ น้�ำ คฤหัสถ์ผูจ้ ะปฏบิ ัติพระรตั นตรยั ใหส้ มาทานศีล ๕ ศีล ๘ น่งุ ขาวห่มขาวถือสังข์ อธิษฐานขอพรแดเ่ ทพยดาอนั รักษาโลกและศาสนา ถือคุณพระรัตนตรยั จงม่ัน และคุณต่าง ๆ ให้รับอาพาธโรคาไข้เจบ็ ทง้ั ปวงใหอ้ ันตรธาน หาย แลว้ จงมคี วามสุขจงวฒั นาการเจรญิ แกโ่ ลกท้งั ปวงดว้ ยอานุภาพคณุ ทั้งปวงนัน้ แล 16

พธิ สี งฆ์อยา่ งมชั ฌิมะนน้ั ท�ำ ๕ อาราม อยา่ งอุกฤษฐ์นน้ั ทำ� ๗ พระอาราม อำ�นาจพระสงฆ์มากขึ้นไป สตพิ ลกด็ มี ากขนึ้ ไป เหตวุ า่ พระสงฆ์ในศาสนามากดว้ ยคณุ ตา่ ง ๆ กนั หมอ้ น�ำ้ ๙ ใบ บาตรทรายใบหนง่ึ เหมอื น กันท้งั ๕ อาราม ๗ อาราม แต่ว่าทวีมากขึน้ ไปตามอาราม หมอ้ น�้ำ ๒๗ บาตร ทราย ๓ รวม ๓๐ หมอ้ น�้ำ ๔๕ บาตรทราย ๕ รวม ๕๐ หม้อน้�ำ ๖๓ บาตรทราย ๗ รวม ๗๐ ตา่ ง ๆ กนั ทัง้ ๓ อย่าง เมอื่ วนั สดุ ท้ายนั้นสวดภาณยกั ษ์ รุง่ ข้ึนค�ำ รบ ๔ นนั้ จงึ นมิ นตพ์ ระสงฆ์ให้ครบหม้อน�้ำ และบาตรทราย ให้คฤหสั ถถ์ ือ หมอ้ น�ำ้ และบาตรทราย ไปประโปรยน�ำ้ โปรยทรายใหบ้ ริกรรมดว้ ย “สพพฺ โรควนิ ิมุตโฺ ต ฯลฯ จ ตวุ ํ ภว” จงทว่ั บ้านเรือนรอบพระนครแล จบพระราชพิธีอาพาธพนิ าศอันทา่ นกระทำ�สืบกนั มาดงั พรรณามานแ้ี ล ฯ” ๓๘ หากแตใ่ นพระราชพงศาวดารระบุไว้ พระราชพิธอี าพาธพนิ าศในครงั้ นนั้ ว่า “พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชด�ำ รวิ า่ ความไขซ้ งึ่ บงั เกดิ ทว่ั ไปแกส่ มณชพี ราหมณแ์ ลไพรฟ่ า้ ขา้ แผน่ ดนิ ครง้ั นเี้ พอื่ กรรมของสตั ว์ ใชจ่ ะเปน็ แตก่ รงุ เทพมหานครกห็ าไม่ เมอื งตา่ งประเทศแลเกาะหมากเมอื ง ไทรกเ็ ป็นเหมอื นกัน ซง่ึ จะรักษาพยาบาลแก้ไขด้วยคุณยาเห็นจะไม่หาย จึงใหต้ ัง้ พระราชพิธอี าฏานาฏิยสตู ร เม่ือวันจันทร์ เดือนเจ็ด ขึ้นสิบคำ่� ยิงปืนใหญ่รอบพระนครตลอดคืนหน่ึงยังรุ่ง แล้วเชิญพระแก้วมรกตแล พระบรมธาตุ ทง้ั พระราชาคณะออกแหโ่ ปรยทรายประน�้ำ ปรติ รทงั้ ทางบกทางเรอื สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั กท็ รงศลี ทงั้ พระราชวงศานวุ งศท์ มี่ กี รมหากรมมไิ ด้ ขา้ ราชการผู้ใหญผ่ นู้ อ้ ยฝา่ ยหนา้ ฝา่ ยใน กโ็ ปรดสงั่ มใิ หเ้ ฝา้ ใหง้ ดกจิ ราชการเสียมิใหว้ า่ มใิ ห้ทำ� ใหต้ ัง้ ใจท�ำ บุญสวดมนต์ใหท้ าน บรรดาไพร่ซึ่งนอนเวรประจำ�ซองรกั ษาพระราชวัง ชนั้ ในแลชน้ั นอกก็ให้เลกิ ปลอ่ ยไปบ้านเรือน โดยทรงพระเมตตาว่าประเพณีสัตวท์ ั่วกัน ภัยมาถงึ ก็ย่อมรกั ชีวิต บิดามารดาภรรยาแลบุตรญาติพี่น้องก็เป็นที่รักเหมือนกัน จะได้ไปรักษาพยาบาล ท่ีผู้ใดมีกตัญญูอยู่รักษา พระองคม์ ิได้ไปนัน้ กพ็ ระราชทานเงินตราใหค้ วามชอบ แลให้จดั ซ้ือปลาแลสัตวส์ ีเ่ ทา้ สองเทา้ ทม่ี ผี จู้ ะฆ่าซอ้ื ขาย ในท้องตลาด ในจงั หวัดกรุงเทพมหานคร ทรงปล่อยสิน้ พระราชทรัพย์เปน็ อนั มาก คนโทษทต่ี อ้ ง เวรจ�ำ อยนู่ นั้ กป็ ล่อยออกส้ิน เว้นแต่พม่าขา้ ศึก บรรดาประชาราษฎรท้ังปวง มรี ับสัง่ ห้ามมิให้ไปฆ่าสัตว์ตัดชีวติ สัตว์ในน้ำ� แลบนนก ใหอ้ ยแู่ ตบ่ า้ นเรอื น ตอ่ เมอื่ มกี ารรอ้ นควรจะตอ้ งไปจงึ ให้ไป เดชะอานสิ งสศ์ ลี แลทานบารมแี หง่ สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ทรงพระมหากรุณาแกอ่ าณาประชาราษฎรใหท้ ำ�ดังน้ี มาจนถึง ณ วนั เสาร์ เดอื นเจ็ด แรมเจ็ดค่ำ� ความไขก้ ร็ ะงบั เสอ่ื มลงโดยเรว็ บรรดาศพชายหญงิ ซงึ่ หาญาตจิ ะฝงั จะเผามไิ ดน้ นั้ พระราชทานเงนิ คา่ จา้ งแลฟนื ให้พวกพม่าคนโทษเก็บเผาจนสิน้ แตพ่ ระบรมญาตพิ ระองคเ์ จ้าหญิงสองพระองคส์ ้ินพระชนม์ พระราชวงศา- นุวงศแ์ ลข้าราชการฝา่ ยหนา้ ฝา่ ยในที่เปน็ ผู้ใหญ่นัน้ ดีปรกติอยู่ ความไขท้ ัง้ น้นั ผหู้ ญิงตายมากกว่าชายสองส่วน ไดข้ ่าวว่าไข้น้ันเดนิ ข้นึ ไปขา้ งบน” ๓๙ ๓๘ ต ำ�ราพระราชพิธเี กา่ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ โปรดใหพ้ ิมพเ์ มือ่ ปี กุน พ.ศ. ๒๔๖๖ (พระนคร : โรงพิมพ์ โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๖๖), น. ๑๖ - ๑๘. ๓๙ เจ้าพระยาทิพากรวงศ,์ พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลที่ ๒, น. ๑๑๗ - ๑๑๙. 17

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยถึงพระราชพิธีอาพาธพินาศในครั้ง นน้ั วา่ “คนทเี่ ขา้ กระบวนแหแ่ ละหามพระพทุ ธรปู และพระสงฆเ์ ดนิ ไปกลางทางกล็ ม้ ลงขาดใจตาย ทก่ี ลบั มาถงึ บา้ นแลว้ จงึ่ ตายกม็ มี าก และตงั้ แตต่ ง้ั พธิ แี ลว้ โรคนนั้ กย็ งิ่ ก�ำ เรบิ รา้ ยแรงหนกั ขนึ้ ดว้ ยอากาศยงิ่ รอ้ นจดั หนกั ขน้ึ ตามธรรมดาฤดู คนทง้ั ปวงกพ็ ากนั ลงวา่ เพราะการพธิ นี นั้ สผู้ ีไม่ไดผ้ มี กี าํ ลงั มากกวา่ ตงั้ แตท่ าํ พธิ อี าพาธพนิ าศใน ปมี ะโรงโทศกนน้ั ไมร่ ะงบั โรคปจั จบุ นั ได้ กเ็ ปน็ อนั เลกิ กนั ไมไ่ ดท้ าํ อกี ตอ่ ไป คงอยแู่ ตพ่ ระราชพธิ สี มั พจั ฉรฉนิ ท์ ตามธรรมเนียม ถงึ เมือ่ ปีระกาเอกศกในแผ่นดนิ พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจา้ อยู่หัว มีโรคปจั จบุ นั หนามาก กไ็ มอ่ าจทาํ พธิ นี ้ี ใชจ่ ะเปน็ ดว้ ยคดิ เหน็ วา่ ความคดิ ทจ่ี ะอาศยั พระพทุ ธวจนะ ซง่ึ มาในอาฏานาฎยิ สตู รไมต่ อ้ งกนั กบั เหตกุ ารณท์ เ่ี ปน็ ขนึ้ ดงั เชน่ กลา่ วมา เลกิ ยกเวน้ เสยี ดว้ ยไมเ่ ปน็ ทช่ี อบใจคนทง้ั ปวง คนทง้ั ปวงถอื วา่ การทที่ าํ พธิ ีน้นั เหมอื นไปยวั่ ไปผดั ล่อให้ผีมีความโกรธคิดเอาชนะมากไป” ๔๐ นับแต่เกิดไข้อหิวาตกโรคระบาดใหญ่ในคราวน้ัน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงสังเวช สลดพระราชหฤทยั ทก่ี รรมบนั ดาลใหเ้ กดิ ภยั พบิ ตั แิ กไ่ พรฟ่ า้ ขา้ แผน่ ดนิ เปน็ อนั มาก เปน็ เหตใุ หท้ รงพระราชด�ำ ริ บ�ำ เพญ็ พระราชกศุ ลหลายประการ หนงึ่ ในนน้ั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ง้ั โรงทานขนึ้ ทร่ี มิ ประตศู รสี นุ ทร ระหวา่ งก�ำ แพงพระราชวงั กบั ก�ำ แพงเมอื ง พระราชทานอาหารเลย้ี งราษฎรทม่ี คี วามปรารถนามารบั พระราชทาน แลจดั ทีแ่ สดงธรรม นมิ นตพ์ ระสงฆม์ าแสดงธรรมทานท่ีโรงทานน้นั ทุกวันมิไดข้ าด๔๑ การต้งั โรงทานในครั้งน้ัน สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ทรงอรรถาธบิ ายวา่ “การตัง้ โรงทานนี้ มีค�ำ เล่ากันมาวา่ แต่เดิมพระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้าเจา้ อยู่หวั เม่อื ยงั เปน็ กรม (ด�ำ รงพระ อิสริยยศที่พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์) ทรงดำ�ริจัดต้ังขึ้นที่วังก่อน ความทราบถึงพระบาท สมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย ทรงพระราชด�ำ รเิ หน็ ชอบดว้ ย รบั สั่งวา่ แต่เขาเปน็ ตา่ งกรมยังอตุ ส่าหท์ ำ�ทาน ควรจะมขี องหลวง จงึ ได้โปรดใหต้ ง้ั โรงทานข้ึน”๔๒ สมดงั พระบาลที วี่ า่ “ชฆิ จฉฺ าปรมา โรคา” แปลว่า “ความหวิ เปน็ โรคอย่างยงิ่ ” เพราะเมื่อประชาชนได้ ความทุกข์ทรมานอดอยากหิวโหย อันเกิดแต่ภาวะโรคระบาดแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระ กรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ง้ั โรงทาน เพ่ือบรรเทาความอดอยากหิวโหยน้นั ทงั้ ยังได้อาราธนาพระภกิ ษุมาแสดง พระธรรมเทศนาประจำ�โรงทานน้ันมิได้ขาด เพราะเม่ือประชาชนผู้หิวโหยได้รับความอ่ิมท้องด้วยอาหารแล้ว กจ็ กั มกี �ำ ลงั กายและมกี �ำ ลงั ใจรบั ฟงั ขอ้ อรรถขอ้ ธรรมของพระบรมศาสดา กน็ บั เปน็ บทบาทพระสงฆอ์ กี ประการ หนงึ่ ในวิกฤตโรคระบาดท่บี ันทึกไว้ในพระราชพงศาวดาร ๔๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั , พระราชพิธสี ิบสองเดอื น, น. ๑๒๕ - ๑๒๖. ๔๑ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาด�ำ รงราชานภุ าพ, พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๒, น. ๑๖๐. ๔๒ เรือ่ งเดียวกนั . 18

บทบาทพระสงฆ์ในคราวเกิดวิกฤตอหิวาตกโรคระบาดในสมยั รชั กาลที่ ๓ เม่ือปี พ.ศ.๒๓๙๒ น้ันมีการ เปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ เมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั มไิ ด้โปรดใหต้ งั้ การพระราชพธิ อี าพาธพนิ าศ ข้นึ แตท่ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระชาชนท�ำ บญุ ทำ�ทานรกั ษาศลี ตลอดจนปลอ่ ยนกปลอ่ ยปลานนั้ แทน พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวทรงอรรถาธบิ ายว่า “...คนทัง้ ปวงก็พากันลงวา่ เพราะการพิธีนน้ั สู้ผี ไมไ่ ดผ้ ีมกี าํ ลังมากกว่า ตั้งแต่ทาํ พิธีอาพาธพินาศในปีมะโรงโทศกน้นั ไมร่ ะงับโรคปจั จบุ ันได้ กเ็ ป็นอนั เลกิ กัน ไม่ไดท้ าํ อีกตอ่ ไป คงอยแู่ ต่พระราชพธิ สี มั พัจฉรฉินทต์ ามธรรมเนยี ม ถึงเมือ่ ปีระกาเอกศกในแผ่นดินพระบาท สมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั มโี รคปจั จบุ นั หนามากกไ็ มอ่ าจทาํ พธิ นี ้ี ใชจ่ ะเปน็ ดว้ ยคดิ เหน็ วา่ ความคดิ ทจ่ี ะอาศยั พระพุทธวจนะ ซึ่งมาในอาฏานาฎยิ สูตรไมต่ อ้ งกันกับเหตุการณท์ ี่เปน็ ข้นึ ดังเช่นกล่าวมา เลกิ ยกเวน้ เสยี ดว้ ย ไมเ่ ปน็ ท่ีชอบใจคนทัง้ ปวง คนท้ังปวงถือว่าการท่ีทําพธิ ีนน้ั เหมอื นไปย่วั ไปผัดลอ่ ให้ผีมคี วามโกรธคิดเอาชนะ มากไป...” ๔๓ หากแตใ่ นครงั้ นน้ั ปรากฏพระนามพระภกิ ษทุ มี่ บี ทบาท ในการปลงศพผู้คนที่เสียชีวิตจากอหิวาตกโรคระบาด คือ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎสมมติเทววงศ์ (วชิรญาณภิกขุ) ซึ่งภายหลังเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังปรากฏความ ในบนั ทึกความทรงจ�ำ ของหมอสมธิ ที่ว่า “ปี พ.ศ.๒๓๙๒ อหวิ าตกโรคไดแ้ พรร่ ะบาดอยา่ งรนุ แรง อกี ครัง้ หนึ่ง กล่าวกนั ว่าในช่วงระยะเวลา ๑ เดอื น มีผูค้ น เสยี ชวี ติ ลงดว้ ยโรคนนี้ บั เปน็ จ�ำ นวนถงึ ๑๕,๐๐๐- ๒๐,๐๐๐ คน และในปีนั้นเองเจ้าฟ้ามงกุฎ ซึ่งขณะนั้นทรงดำ�รง ต�ำ แหนง่ เปน็ หวั หนา้ คณะสงฆ์ในสยาม(คณะสงฆธ์ รรมยตุ กิ - พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั นิกาย) ได้ทรงมีบัญชาให้ใช้วัดสำ�คัญ ๓ วัดในกรุงเทพฯ ได้แก่ วัดสระเกศ วัดบางลำ�พู (วัดสังเวชวิศยาราม) และวัดบพิตรพิมุข เป็นสถานท่ีสำ�หรับเผาศพ สถิติ ผเู้ สียชวี ติ ทถี่ กู นำ�มาเผาที่วดั ทั้ง ๓ แหง่ นับต้ังแตว่ นั ท่ี ๑๗ มิถนุ ายน ถงึ วันท่ี ๒๕ กรกฎาคม รวม ๓๘ วนั มีจ�ำ นวนทัง้ สน้ิ ๕,๔๕๗ ศพ จำ�นวนศพที่ถกู น�ำ มาเผาสูงสดุ ใน ๑ วัน คอื วันที่ ๒๓ มิถุนายน มจี ำ�นวนทั้งสิ้น ๖๙๖ ศพ เมืองท้งั เมืองประสบกบั ความโกลาหลวนุ่ วาย ธุรกิจต่าง ๆ มอี ันตอ้ งหยุดชะงักลง เนื่องจากผคู้ น ส่วนใหญม่ ภี าระทจ่ี ะต้องดแู ลผู้ปว่ ยและจัดการกบั ศพผเู้ สียชีวติ ” ๔๔ ๔๓ พ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว, พระราชพธิ สี บิ สองเดือน, น. ๑๒๕ - ๑๒๖. ๔๔ มลั คอลม์ สมธิ , ราชส�ำ นกั สยามในทรรศนะของหมอสมธิ , แปลโดยศกุ ลรตั น์ ธาราศกั ด์ิ(กรงุ เทพมหานคร: กรมศลิ ปากร, ๒๕๓๗), น. ๗ - ๘. 19

โดยเฉพาะในยามโรคระบาดนนั้ ชาวบา้ นกย็ งั ตอ้ งการหาสง่ิ ยดึ เหนย่ี วจติ ใจ ดงั ปรากฏในบนั ทกึ ของหมอ สมิธ วา่ มกี ารใช้เครอ่ื งรางของขลังที่บรรดาพระภกิ ษุสงฆ์ไปปลกุ เสกข้ึน ท้ังดา้ ยสายสญิ จน์ ตะกรุด ลูกสะกด ตลอดจนลกู ประคำ� ๑๐๘ เม็ดตามเลขมงคลทางพระพุทธศาสนา ตลอดจนในยามค�ำ่ คืนระหว่างอหิวาตกโรค ระบาด ชาวบา้ นยงั มีความเชือ่ ด้วยการจดุ ตะเกยี งผูกปลายไม้ไว้ทห่ี นา้ บา้ นอกี ด้วย๔๕ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อความรู้ทางการแพทย์แผนตะวันตกเร่ิมเข้ามามากข้ึน บทบาทพระสงฆ์ กบั งานดา้ นโรคระบาดก็เริม่ มีการเปลี่ยนแปลงไป โดยเปน็ ผู้ใหค้ วามรคู้ วามเข้าใจในการดูแลสขุ ลักษณะและ สุขาภิบาล ด้วยการผลิตตำ�ราเผยแพร่ความรู้ ท่านสำ�คัญคือ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส (ภายหลงั ไดร้ บั สถาปนาขนึ้ ที่ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส) โดยทรงพระนพิ นธห์ นงั สอื ช่ือ “มนษุ ยวทิ ยา” ว่าดว้ ยความร้อู นั เก่ียวกับมนุษยแ์ ละความรทู้ ่ีมนุษย์ได้คดิ คน้ มาโดยล�ำ ดบั ส่วนหน่ึงน้ันคือ การท�ำ งานของระบบต่าง ๆ ของรา่ งกาย ตลอดจนการดแู ลสขุ ลกั ษณะต่าง ๆ ตัวอยา่ งเชน่ “...หมอทง้ั หลายกล่าววา่ โรคทั้งหลาย เชน่ กษัย หรือวณั โรคเม็ดเล็กและฝคี ณั ฑมาลา ยอ่ มเปน็ มาแต่ อากาศเปน็ พิษทีห่ ายใจออกมาอบอยู่ในเรอื นและโรงงานมากกวา่ มาก ย่งิ กวา่ เปน็ มา แตจ่ ับหนาวหรือผลดั ฤดู สถานท้ังปวงทค่ี นชุมนมุ กนั เป็นหมู่ใหญ่ ๆ เช่น โรงเรียน โรงงาน วัด โรงธรรม และโรงละคร ควรทำ�ให้โปรง่ คอื มที างส�ำ หรบั น�ำ ลมหายใจซง่ึ เปน็ อากาศเสยี ออกไปขา้ งนอก น�ำ อากาศบรสิ ทุ ธเ์ิ ขา้ ไปขา้ งใน ทเ่ี หลา่ นนั้ โปรง่ ไมพ่ อ หรือไมโ่ ปรง่ เลยทเี ดยี ว...” ๔๖ หนังสือเรื่อง “มนุษยวิทยา” น้ี ทรงนิพนธ์ขึ้นในปี พ.ศ.๒๔๓๑ ซ่ึงเป็นปีเดียวกับท่ีก่อตั้งโรงศิริราช พยาบาล นับเป็นการน�ำ ความรูท้ างด้านสุขาภิบาลมาเผยแพรใ่ นแวดวงของพระภกิ ษสุ งฆ์ ซงึ่ เป็นระยะเวลา ก่อนทีม่ ีการจัดต้งั งานสขุ าภิบาล และพระราชบญั ญัตสิ ขุ าภบิ าล ร.ศ.๑๑๖ เสียอกี ๔๕ คาร์ล บอ็ ค, ท้องถนิ่ สยามยุคพระพุทธเจา้ หลวง, น. ๓๑ - ๓๒. ๔๖ ส มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, มนุษยวทิ ยา (พระนคร: โรงพิมพม์ หามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๔๘๒), น. ๑๒. 20

สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส 21

สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (ปุ่น ปุณณฺ สิร)ิ เมื่อครง้ั ยงั ด�ำ รงสมณศักดิท์ สี่ มเด็จพระวันรัต 22

นับแต่รัชกาลที่ ๖ เป็นต้นมา บทบาทพระสงฆ์กับโรคระบาดน้ันมิได้ปรากฏหลักฐานชัด จักเร่ิมมา ปรากฏหลกั ฐานทพี่ ระสงฆเ์ ขา้ มาชว่ ยดแู ลในการสรา้ งโรงพยาบาล เพอื่ ชว่ ยเหลอื ประชาชนในสงั คมกล็ ว่ งเขา้ ใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลท่ี ๙ ครั้งน้ันเริ่มมีพระเถระรูปสำ�คัญเข้ามามีบทบาทในด้านการสาธารณสุขน้ี อาทิ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อคร้ังยังดำ�รงสมณศักด์ิท่ีสมเด็จพระ วันรัต ไดส้ รา้ งโรงพยาบาลขน้ึ เม่อื ปี พ.ศ.๒๕๑๐ ชื่อวา่ “โรงพยาบาลสมเดจ็ พระวันรัต\" ท่ตี ำ�บลสองพี่น้อง อำ�เภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องค์ท่ี ๑๗” สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวราลงกรณ (วาสน์ วาสโน) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เม่ือ คร้ังดำ�รงพระอิสริยยศที่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช ได้สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระ สงั ฆราช (วาสนมหาเถระ) ทต่ี ำ�บลบ่อโพง อำ�เภอนครหลวง จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ในโอกาสทีท่ รงเจรญิ พระชนมายคุ รบ ๘๔ พรรษา วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๕ ตลอดจนได้สร้างสถานสงเคราะหค์ นชรา (วาสนะ เวศม)์ ในบริเวณใกล้เคยี งโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช (วาสนมหาเถระ) ในโอกาสที่ทรงหายจากประชวร เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๙๔๗ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) วดั บวรนิเวศวหิ าร ทรงเป็นประธานกรรมการอุปการะฝ่ายบรรพชิตและประทานพระอุปการะในเรื่องต่าง ๆ ในการสร้างอาคาร ภปร. โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ ในมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรม นาถบพติ ร ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ พ.ศ.๒๕๓๐ โรงพยาบาลวดั ญาณสังวราราม อำ�เภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบรุ ี และทรงมพี ระด�ำ รใิ หจ้ ดั สรา้ ง “ตกึ สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก” ถวายเปน็ พระอนสุ รณแ์ ดส่ มเดจ็ พระ สงั ฆราชแหง่ กรุงรัตนโกสินทร์ ๑๙ พระองค์ในถิน่ ท่ีขาดแคลนสถานพยาบาล กระจายไปในจงั หวัดตา่ ง ๆ ทุก ภาคของประเทศ นอกจากนยี้ ังมีพระเถรานุเถระทีม่ เี มตตารว่ มจัดสร้างอาคารโรงพยาบาลตา่ ง ๆ ตลอดจนใช้ วดั วาอารามดแู ลผูป้ ว่ ยไขม้ าจนถงึ ทุกวนั นี้ ๔๗ ทองตอ่ กลว้ ยไม้ ณ อยธุ ยา, พระประวตั ิ สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ(วาสนมหาเถระ) สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก (กรงุ เทพมหานคร: วดั ราชบพธิ สถติ มหาสีมาราม, ๒๔๓๒). 23

สมเด็จพระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงชนิ วราลงกรณ เม่อื ครั้งด�ำ รงพระอสิ ริยยศทส่ี มเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในพิธีเปิดสถานสงเคราะห์คนชรา \"วาสนะเวศม์\" เมื่อวันท่ี ๘ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๐ ในครงั้ นน้ั สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนเี สดจ็ พระราชด�ำ เนนิ เปน็ องคป์ ระธาน สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร เม่ือครัง้ ด�ำ รงสมณศักดท์ิ ่ีสมเดจ็ พระญาณสงั วร เสด็จตรวจดคู วามเรยี บรอ้ ยในการกอ่ สรา้ งตึกวชิรญาณ-สามัคคพี ยาบาร ตกึ สงฆ์อาพาธหลงั แรกของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๕๒๙ 24

สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ (อมพฺ รมหาเถร) สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก โปรดให้ไวยาวัจกรจัดกปั ปิยกณั ฑเ์ ทา่ จำ�นวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท จัดหาหน้ากากอนามัยประทานแกพ่ ระภกิ ษสุ ามเณรท่ัวประเทศ ในปัจจุบันที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-19) สมเด็จพระ อริยวงศาคตญาณ (อมฺพรมหาเถร) สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก วัดราชบพธิ สถิตมหาสีมาราม ได้ทรงมีพระดำ�ริให้วัดท่ีมีศักยภาพร่วมกันจัดตั้งโรงทานเพ่ือช่วยเหลือประชาชนผู้ตกทุกข์ได้ยาก ให้อยู่รอด จากภาวะความยากลำ�บากในครั้งนี้ไปให้ได้ เรยี บเรยี งโดย ดร. ศรัณย์ มะกรดู อินทร์ 25

ความเป็นมาของการแพรร่ ะบาด ของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -19)

ที่มาและแหลง่ กำ�เนิดของเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยภาพรวม ในวันสน้ิ ปพี ุทธศกั ราช ๒๕๖๒ (ค.ศ.๒๐๑๙) เจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ เมอื งอู่ฮน่ั มณฑลหูเปย่ ์ ประเทศจนี แจง้ กบั องคก์ ารอนามยั โลกวา่ บดั นไี้ ดเ้ กดิ มโี รคระบาดของโรคทไี่ มม่ ใี ครรจู้ กั มากอ่ น โดยตน้ เหตนุ า่ จะเปน็ เชอื้ ไวรสั โคโรนาสายพันธ์ุหนงึ่ ซง่ึ ทำ�ให้ผตู้ ิดเช้อื มอี าการปอดบวมอย่างรนุ แรงและทำ�ให้เสยี ชีวิตได้ ความรา้ ยแรง ของโรคสง่ ผลใหเ้ ริม่ มผี ูเ้ สียชวี ิตจากโรคนี้เป็นรายแรก เมื่อวนั ที่ ๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ ตอ่ มาในวนั ท่ี ๒๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ยนื ยนั ว่า มกี ารตดิ ตอ่ ของเช้อื โรคโคโรนาไวรัสชนิดใหม่น้ีสามารถแพร่จากคนสู่คนได้ ในวันนั้นมีผู้ป่วยสะสม ๒๒๒ คน และมีผู้เสียชีวิต รวมเป็น ๔ ราย ความรนุ แรงของโรค ส่งผลใหป้ ระเทศจีนจำ�เปน็ ตอ้ งประกาศปิดเมืองอฮู่ น่ั อย่างเปน็ ทางการ มาตรการ ปิดสนามบนิ และระบบขนส่งสาธารณะทั้งหมด มีการสบื สวนโรคอยา่ งละเอยี ด ตรวจสอบผู้ที่เคยสัมผสั หรอื ใกลช้ ดิ กบั ผู้ป่วย และตดิ ตามไปกกั ตวั ในวันที่ ๒๓ มกราคม ทั้งยงั มกี ารประกาศใหย้ กเลกิ เทศกาลตรษุ จนี ทง้ั ประเทศ และในวันถดั มาจงึ มกี ารประกาศปดิ เมอื งตา่ ง ๆ ในประเทศจนี เพม่ิ เตมิ เปน็ ๑๓ เมือง เป็นเหตใุ ห้ หลายประเทศเรมิ่ ประกาศแผนท่ีจะน�ำ คนของประเทศตนกลบั จากเมืองอฮู่ ่ัน วนั ท่ี ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ จงึ ได้มปี ระกาศให้เรยี กเช้อื ไวรัสชัว่ คราวนีว้ ่า 2019-nCoV Acute Respiratory Disease คอื โรคระบาดทางเดนิ หายใจแบบเฉยี บพลนั จากโคโรนาไวรสั ชนดิ ใหมป่ ี ๒๐๑๙ หรอื 2019 new Coronavirus การต้ังชอื่ ครง้ั น้ีเพือ่ เป็นการหลกี เลีย่ งการตั้งชอ่ื โดยใช้ชอ่ื เมืองที่พบ ซง่ึ จะเปน็ การ สรา้ งตราบาปให้กับเมอื งหรอื ประเทศน้นั ๆ ดงั เช่นในอดีตทผี่ า่ นมา ค�ำ วา่ “โคโรนา”(Corona) นแี้ ปลวา่ มงกฎุ หรอื รศั มขี องพระอาทติ ย์ ซงึ่ ใชอ้ ธบิ ายรปู รา่ งของไวรสั ชนดิ น้ี ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ในช่วงเดือนมกราคมนี้ ผู้ติดเช้ือส่วนใหญ่ยังคงเป็นคนที่อาศัยอยู่ในประเทศจีน องค์การอนามัยโลก สรปุ ผตู้ ดิ เชอ้ื สะสมทงั้ หมด ๙,๘๒๖ คน มผี ปู้ ว่ ยในประเทศจนี ทงั้ หมด ๙,๗๒๐ คน เสยี ชวี ติ ๒๑๓ ราย และมี ผตู้ ดิ เชือ้ ที่พบนอกประเทศจีน ทงั้ หมด ๑๐๖ คน รวม ๑๙ ประเทศใน ๓ ทวปี ประกอบดว้ ย ทวีปเอเชยี ได้แก่ ประเทศไทย ญป่ี นุ่ เกาหลใี ต้ สงิ คโปร์ มาเลเซยี เวยี ดนาม เนปาล กมั พชู าศรลี งั กา สหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส์ และ รสั เซยี ทวปี ออสเตรเลยี ไดแ้ ก่ ประเทศออสเตรเลยี ทวปี ยโุ รป ไดแ้ ก่ ประเทศฝรง่ั เศส เยอรมนี สหราชอาณาจกั ร สวเี ดน และสเปน ทวปี อเมริกาเหนอื ไดแ้ ก่ ประเทศสหรฐั อเมรกิ าและแคนาดา ส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ ใน เอเชยี เริ่มใชม้ าตรการที่สนามบินในการตรวจสอบนกั ท่องเทยี่ วจากประเทศจีนอย่างเข้มขน้ มากข้ึน 27

ด้วยว่าการเคล่ือนย้ายของประชาชนน้ี เป็นปัจจัยสำ�คัญทางกายภาพที่ทำ�ให้ผู้ติดเชื้อหรือผู้ป่วยท่ีเป็น พาหะของโรคแพรร่ ะบาดไปท่ัวโลก เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ ความรนุ แรงของโรคระบาดนี้ได้ทวีความรนุ แรงมากขนึ้ โดยในวันที่ ๑๐ กมุ ภาพนั ธน์ น้ั มผี เู้ สยี ชวี ติ มากถงึ ๙๐๙ คน นบั วา่ มากกวา่ โรคระบาดในรอบหลายสบิ ปที ผ่ี า่ นมา ทง้ั โรคซารส์ และโรคเมอรส์ องคก์ ารอนามยั โลก ไดก้ �ำ หนดชอื่ เรยี กของโคโรนา่ ไวรสั ชนดิ ใหมท่ ร่ี ะบาดในครงั้ นอ้ี ยา่ งเปน็ ทางการวา่ โควิด-๑๙ (COVID-19) มกี ารประชุมระดบั โลกเรอื่ งงานวิจยั และนวัตกรรมทน่ี ครเจนวี า สมาพนั ธรัฐสวสิ เพ่อื ก�ำ หนดเป้าหมาย ทส่ี รา้ งแผนทยี่ ทุ ธศาสตร์(Roadmap) ส�ำ หรบั การใหค้ วามส�ำ คญั เรง่ ดว่ นกบั งานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั โควดิ -๑๙ ผอู้ �ำ นวยการองคก์ ารอนามยั โลก ระบวุ า่ การระบาดของโควดิ -๑๙ “เปน็ ภยั คกุ คามระดบั ความเปน็ ความตาย สำ�หรับส่วนอน่ื ๆ ที่เหลือของโลก” ในชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธน์ ้ี การระบาดของโรคโควดิ -๑๙ นน้ั แพรไ่ ปจนครบทกุ ทวปี ในโลก มผี ตู้ ดิ เชอื้ เพมิ่ ขน้ึ จากเดอื นทแ่ี ลว้ ๘.๗ เทา่ โดยผตู้ ดิ เชอ้ื ส่วนใหญย่ ังคงเปน็ คนที่อาศยั อยู่ในประเทศจนี องค์การอนามัยโลก สรปุ ผตู้ ดิ เชอื้ สะสมทง้ั หมด ๘๕,๔๐๓ คน มผี ปู้ ว่ ยในประเทศจนี ทง้ั หมด ๗๙,๓๙๔ คน เสยี ชวี ติ ๒,๘๓๘ ราย ผู้ปว่ ยนอกประเทศจนี ใน ๕๓ ประเทศ ทง้ั หมด ๖,๐๐๙ คน เสียชวี ติ ๘๖ ราย ตอ่ มาในเดอื นมนี าคมน้ี นายเทดรอส กเี บรเยซสั (TedrosA.Ghebreyesus) ผอู้ �ำ นวยการใหญอ่ งคก์ าร อนามยั โลก ไดป้ ระกาศใหเ้ ชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ หรอื โควดิ -๑๙(COVID-19) เปน็ “โรคระบาดใหญไ่ ปทว่ั โลก” (Pandemic) ในวันท่ี ๑๑ มีนาคม โดยในช่วงกลางเดือนมีนาคมนั้น ทวีปยุโรปกลับกลายเป็นศูนย์กลาง การระบาดใหญ่(Epicenter) แทนประเทศจนี อตั ราการแพรร่ ะบาดเพมิ่ ขนึ้ อยา่ งทวคี ณู โดยในวนั ท่ี ๗ มนี าคม มผี ตู้ ดิ เชอ้ื ทง้ั โลกมากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ คน ในวนั ท่ี ๑๙ มนี าคม มผี ตู้ ดิ เชอ้ื ทงั้ โลกมากกวา่ ๒๐๐,๐๐๐ คน และ ในวันที่ ๒๒ มีนาคม มีผตู้ ดิ เชอ้ื ทั้งโลกมากกวา่ ๓๐๐,๐๐๐ คน จากเดิมท่ใี ช้เวลาถงึ ๓ เดอื นกว่าจะมีผปู้ ่วย ครบหนึง่ แสนคนแรก มาเปน็ การใชเ้ วลาเพียง ๑๒ วัน และ ๓ วนั ส�ำ หรับผปู้ ว่ ยอกี แสนคนถดั มา ตามล�ำ ดับ องค์การอนามัยโลก สรปุ ผ้ตู ิดเชอ้ื สะสมในเดอื นมนี าคมท้ังสิ้น ๔๖๒,๖๘๔ คน เสียชีวิต ๒๐,๘๓๔ ราย จนในเดอื นเมษายน ศนู ย์กลางการแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ หรอื โควิด-๑๙ ได้กระจาย ไปทวั่ โลก จนมผี ตู้ ดิ เชอ้ื สะสมมากกวา่ ๑ ลา้ นคน (๑,๐๒๐,๙๒๐ คน) ในวนั ที่ ๒ เมษายน มากกวา่ ๒ ลา้ นคน (๒,๐๗๖,๕๐๒ คน) ในวนั ท่ี ๑๕ เมษายน มากกวา่ ๓ ลา้ นคน (๓,๐๕๕,๘๐๐ คน) ในวนั ที่ ๒๗ เมษายน และทวคี ณู เปน็ ๒ เทา่ คือ มากกวา่ ๖ ลา้ นคน (๖,๐๒๖,๓๘๐ คน) ในวันท่ี ๒๙ พฤษภาคม โดยได้เพม่ิ ศนู ย์กลางการแพร่ระบาดจากในทวปี ยุโรป เปน็ สหรฐั อเมรกิ า และกลุ่มประเทศในทวปี อเมรกิ าใต้ 28

สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ในประเทศไทย ประเทศไทยนับเป็นประเทศแรก ๆ ท่ีพบผูต้ ิดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโควิด-๑๙ (COVID-19) โดยมีรายงานการตรวจพบผู้ป่วยรายแรกเป็นนักท่องเท่ยี วชาวจีนจากเมืองอฮู่ น่ั อายุ ๖๑ ปี ทีเ่ ดนิ ทางเข้ามา ทอ่ งเทีย่ วในประเทศไทย เม่อื วันท่ี ๑๓ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๓ และวันที่ ๑๗ มกราคม ก็มีรายงานยืนยนั การ พบผปู้ ว่ ยเปน็ รายท่ี ๒ ทเ่ี ปน็ นกั ทอ่ งเทย่ี วชาวจนี ดว้ ยเชน่ กนั ตลอดเดอื นมกราคมนนั้ มผี ปู้ ว่ ยทลี่ ว้ นเปน็ ชาวจนี ทเี่ ดนิ ทางเข้ามาทง้ั หมด ๑๘ คน ในขณะเดยี วกันในวันท่ี ๓๑ มกราคม เร่มิ มกี ารพบการแพรร่ ะบาดจาก นักท่องเทย่ี วสูค่ นไทย โดยเป็นผู้ประกอบกจิ การขับรถแท็กซี่ นับเป็นสัญญาณการแพร่ระบาดทเี่ ร่มิ กอ่ ตัวขึ้น ในประเทศไทย สถานการณ์ในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ยงั คงพบผปู้ ว่ ยทงั้ ทเ่ี ปน็ ชาวจนี ทเ่ี ดนิ ทางเขา้ มาในประเทศไทย ตลอดจน คนไทยทเี่ ดนิ ทางกลบั มาจากประเทศจนี ในกรณที ม่ี รี ฐั บาลจนี มมี าตรการปดิ เมอื งอฮู่ น่ั คนไทยทเี่ ดนิ ทางกลบั มาจากประเทศญี่ปุ่นท่ีมีการแพร่ระบาดในครอบครัว ตลอดจนบุคลากรทางแพทย์ท่ีเริ่มมีการติดเช้ือไวรัสน้ี รวมผู้ป่วยสะสมในเดือนกุมภาพันธ์ทั้งหมด ๔๒ คน และเริ่มมีชาวไทยเสียชีวิตจากโรคระบาดในคร้ังน้ี ในวันท่ี ๒๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ สถานการณ์ในเดอื นมนี าคม มจี ดุ เปลย่ี นส�ำ คญั ของการแพรก่ ระจายของเชอื้ โควดิ -๑๙ จากการฝา่ ฝนื ค�ำ สงั่ ห้ามคนจำ�นวนมากมาชุมนุมกัน จากกรณีการจัดชกมวยที่สนามมวยลุมพินี ทำ�ให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อ ตอ่ ไปยังผ้อู น่ื เป็นจำ�นวนมาก ทเ่ี รยี กวา่ “ซปุ เปอร์สเปรดเดอร”์ (Super Spreader) ท�ำ ใหจ้ �ำ นวนผตู้ ดิ เชอ้ื ใน ประเทศไทยเพิม่ ขน้ึ อยา่ งกา้ วกระโดด ส่งผลให้ในวนั ท่ี ๑๕ มีนาคม มีผตู้ ิดเชื้อสะสมเกนิ รอ้ ยราย (๑๑๔ คน) ในอกี สามวนั ถดั มาจ�ำ นวนผตู้ ดิ เชอ้ื สะสมเพมิ่ ขนึ้ อยา่ งกา้ วกระโดดมากกวา่ ๒ รอ้ ยราย(๒๑๒ คน) จนมผี ตู้ ดิ เชอื้ สะสมมากกวา่ พันคน (๑,๐๔๕ คน) ในวันท่ี ๒๖ มีนาคม ในวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๓ พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี จึงมีคำ�ส่ังให้จัดต้ัง “ศูนย์ข้อมูลมาตรการแก้ไขปัญหาจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙” เรียกโดยย่อว่า “ศูนย์ข้อมูล COVID-19” ณ ตึกนารีสโมสร ทำ�เนียบรัฐบาล เพ่ือบูรณาการความช่วยเหลือผู้ได้รับความเดือดร้อนจาก สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ หรอื โควดิ -๑๙ (COVID-19) ในทกุ มติ ิ ทงั้ มติ ิ ดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสาร มติ ดิ า้ นสาธารณสขุ มติ ดิ า้ นเศรษฐกจิ มติ ดิ า้ นสงั คมและการสงเคราะหอ์ ยา่ งทนั ทว่ งที รวมทงั้ สร้างการรับรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องแก่สาธารณชน เพื่อให้เกิดความตระหนักรู้เท่าทัน และเตรียมพร้อม โดยไมต่ ่นื ตระหนกในขา่ วสารอนั ไมเ่ ปน็ จริง 29

ในสว่ นกรงุ เทพมหานคร พลต�ำ รวจเอกอัศวิน ขวญั เมอื ง ผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร ประกาศส่งั ปิด สถานท่ีเปน็ การชั่วคราว เพอ่ื ลดการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-๑๙ ตัง้ แต่วนั ท่ี ๒๒ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๓ ถงึ วนั ที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๓ ได้แก่ ร้านอาหาร ห้างสรรพสนิ ค้า (เว้นซปุ เปอร์มาร์เกต็ รา้ นขายยา) พืน้ ทน่ี ่ัง หรอื ยนื รบั ประทานอาหารในรา้ นสะดวกซอื้ ตลาด ตลาดนดั รา้ นเสรมิ สวย รา้ นสกั สถานทเ่ี ลน่ สเกต็ สวนสนกุ รา้ นเกม สนามกอลฟ์ สระวา่ ยน�ำ้ สนามชนไก่ศนู ยพ์ ระเครอ่ื งศนู ยแ์ สดงสนิ คา้ ศนู ยป์ ระชมุ สถานศกึ ษาทกุ ระดบั สถาบันกวดวิชา คลีนิกความงาม สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ สถานท่ีให้บริการอาบน้ำ�และตัดขนสัตว์ สถานประกอบกจิ การอาบอบนวด โรงมหรสพ สถานที่ออกก�ำ ลังกาย สนามมวย สนามกฬี า และสนามม้า ส่งผลให้ประชาชนต่างจังหวัดท่ีเข้ามาทำ�งานในกรุงเทพมหานครเร่ิมทยอยเดินทางกลับต่างจังหวัด ในวันท่ี ๒๓ มีนาคม ทั้งยังมีมาตรการให้งดการจัดกิจกรรมรวมคนจำ�นวนมากที่มีความเส่ียงสูงต่อการแพร่ระบาดของโรค ให้ทกุ หนว่ ยงานพิจารณามาตรการเหลื่อมเวลาท�ำ งาน การท�ำ งานท่ีบา้ น (Work from Home) แยกตัวผปู้ ่วย ออกจากผู้ไมป่ ว่ ย และการกกั กนั ตัวเองเมื่อเดนิ ทางกลบั มาจากต่างประเทศและต่างจังหวดั ๑๔ วนั ตลอด ระยะเวลาฟกั ตัวของเช้ือ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตทอ้ งท่ที ั่วราชอาณาจักร พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี และตามคำ�แนะนำ� ของผู้บริหารและนักวิชาการด้านการแพทย์และสาธารณสุข “ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ ท่วั ราชอาณาจกั ร” เม่อื วันท่ี ๒๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๓ โดยประกาศใช้พระราชกำ�หนดการบรหิ ารราชการใน สถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ เพ่อื ควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-๑๙ มผี ลบังคบั ใช้ ตง้ั แต่วันท่ี ๒๖ มนี าคม พ.ศ.๒๕๖๓ จนถงึ วนั ท่ี ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๓ โดยมีระบุส่ิงที่ห้ามท�ำ และให้ทำ� เช่น ห้ามเข้าพ้ืนที่เขตก�ำ หนดตามคำ�ส่ังผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หา้ มคนทง้ั หลายเดนิ ทางเขา้ ราชอาณาจกั รไทย(มขี อ้ ยกเวน้ ส�ำ หรบั บคุ คลตา่ ง ๆ) หา้ มแพรข่ า่ วเทจ็ การไมร่ วม กลมุ่ กบั ผคู้ นจ�ำ นวนมาก การใชม้ าตรการปอ้ งกนั โรคเพอ่ื ตนเองและแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม เชน่ การใช้ หนา้ กากอนามยั เจลลา้ งมอื การหมนั่ ลา้ งมอื การไมส่ มั ผสั หรอื รบั เชอ้ื ทมี่ ากบั ฝอยละอองน�้ำ ลาย การเวน้ ระยะ สัมผัสห่างจากผู้อื่น (Social Distancing) คือไม่อยู่ใกล้กันน้อยกว่า ๑ - ๒ เมตร และการไปพบแพทย์ ในกรณีตอ้ งสงสยั 30

31

นอกจากนี้ ยงั มกี ารจดั ตงั้ “ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -๑๙)” เรยี กโดยยอ่ วา่ “ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณ์โควดิ -๑๙” หรอื “ศบค.” ขนึ้ ในส�ำ นกั เลขาธกิ ารนายก รฐั มนตรี ท�ำ เนียบรฐั บาล เป็นหนว่ ยงานพเิ ศษเพอ่ื ปฏบิ ตั หิ น้าทใ่ี นสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยมีนายกรฐั มนตรี เป็นผ้อู �ำ นวยการ มีหนา้ ทแ่ี ละอ�ำ นาจ ดงั นี้ ๑) ก�ำ หนดนโยบายและมาตรการเรง่ ดว่ นในการบรหิ ารสถานการณต์ ามพระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชบญั ญัตปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.๒๕๕๐ และพระราชบญั ญตั ิระเบยี บ บริหารราชการแผ่นดนิ พ.ศ.๒๕๓๔ ในด้านการสาธารณสุข ดา้ นเวชภัณฑ์ป้องกนั ด้านข้อมลู ด้าน การชแี้ จงและการรบั เร่อื งร้องเรยี น ดา้ นการต่างประเทศ ด้านมาตรการป้องกนั และด้านมาตรการ ให้ความช่วยเหลือเยียวยา เพื่อป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอันเกิดจากแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ๒) ส ั่งการให้สว่ นราชการ รฐั วสิ าหกจิ และหน่วยงานของรฐั ปฏิบัตภิ ายในขอบเขต หนา้ ที่ และอำ�นาจ ตามกฎหมาย รวมท้ังขอความร่วมมือภาคเอกชน เพ่ือให้ดำ�เนินการเป็นไปตามนโยบาย และ มาตรการเรง่ ด่วนที่กำ�หนด ๓) ก ำ�กบั ดแู ล ควบคุม และตดิ ตามการปฏิบัตงิ านของเจา้ หน้าท่ที ีเ่ กย่ี วข้อง เพอ่ื ให้การด�ำ เนนิ งานเพ่ือ แก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) เป็นไปอย่างรวดเร็ว มเี อกภาพ และมีประสิทธิภาพ ๔) บ รหิ ารจดั การขอ้ มลู ทไี่ ดร้ บั รายงานจากศนู ยข์ อ้ มลู มาตรการแก้ไขปญั หาจากโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -๑๙) และแหลง่ ขอ้ มลู อนื่ ๆ เพอ่ื การประเมนิ สถานการณท์ เ่ี ปน็ ปจั จบุ นั และแนวโนม้ ของสถานการณ์ในอนาคต ๕) ชแี้ จงและประชาสมั พนั ธต์ อ่ ประชาชนเพอื่ สรา้ งความรเู้ ทา่ ทนั และความเขา้ ใจทตี่ รงกนั ในสถานการณ์ ดงั กลา่ ว ประธานกรรมการอาจมอบหมายให้กรรมการทำ�หน้าท่ีผู้ชี้แจงและประชาสัมพันธ์ในนามของศูนย์ บริหารสถานการณโ์ ควดิ -๑๙ ก็ได้ ๖) แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการ คณะท�ำ งาน หรอื มอบหมายเจา้ หนา้ ทที่ เ่ี กยี่ วขอ้ ง เพอ่ื ชว่ ยเหลอื การปฏบิ ตั ิ หนา้ ท่หี รอื ดำ�เนินการอย่างหนงึ่ อยา่ งใดใหเ้ ปน็ ไปตามค�ำ สง่ั นีไ้ ด้ตามความจำ�เปน็ และเหมาะสม ๗) เชิญบุคคลเข้าร่วมประชุม หรือขอเอกสารหลักฐานจากหน่วยงานหรือบุคคลใดที่เก่ียวข้อง เพื่อ ประโยชน์ในการด�ำ เนินการตามหน้าทีแ่ ละอำ�นาจตามค�ำ สั่งนี้ ๘) ปฏบิ ตั ิการอื่นใดตามท่นี ายกรัฐมนตรมี อบหมาย 32

เพื่อให้การควบคุมโรคโควิด-๑๙ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รัฐบาลได้ขอความร่วมมือให้ประชาชน อยู่บ้าน ลดการเดินทาง เพ่ือสกัดกั้นและควบคมุ การระบาดของโรคโควิด-๑๙ ไมใ่ หแ้ พร่กระจายในวงกวา้ ง เมื่อจำ�เป็นต้องเดินทางในท่ีสาธารณะก็ขอให้มีการสวมหน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social distancing) และขอใหป้ ระชาชนทเี่ ดนิ ทางกลบั ภมู ลิ �ำ เนาอนั เปน็ ผลจากการประกาศปดิ สถานทตี่ า่ งๆ เปน็ การ ชว่ั คราว ตง้ั แตว่ นั ที่ ๒๒ มนี าคมเปน็ ตน้ ไปนน้ั แยกตวั สงั เกตการณ์ ๑๔ วนั ตามหลกั ของกระทรวงสาธารณสขุ นอกจากน้ี ยงั มปี ระกาศหา้ มประชาชนออกนอกเคหสถานในยามวกิ าล ตง้ั แตเ่ วลา ๒๒.๐๐ น. ถงึ ๔.๐๐ น. ทว่ั ราชอาณาจักร เว้นผ้ทู ่ีมเี หตุจำ�เปน็ เชน่ การไปพบแพทย์ - ไปทำ�งานในโรงพยาบาล การขนสง่ สนิ ค้าที่ จ�ำ เปน็ เพอ่ื อปุ โภคบรโิ ภค หรอื มธี รุ ะจ�ำ เปน็ อยา่ งยง่ิ โดยใหข้ ออนญุ าตจากเจา้ หนา้ ทใี่ นเขตพนื้ ทนี่ น้ั ๆ ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๓ เป็นต้นไป ทั้งยังมีมาตรการห้ามจำ�หน่ายสุรา อันเป็นสาเหตุหน่ึงของการม่ัวสุม ซ่งึ มาตรการนีป้ ระกาศเป็นคำ�สัง่ ตา่ งกนั ไปในแตล่ ะจังหวดั ทงั้ ยงั มมี าตรการตรวจคดั กรอง แยกกกั กนั หรอื คมุ ไวส้ งั เกต เพอื่ การเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคมุ โรค จากผเู้ ดนิ ทางมาจากทอ้ งทหี่ รอื เมอื งทา่ นอกราชอาณาจกั ร โดยมกี ารตดิ ตามเฝา้ ดอู าการตลอด ๑๔วนั ณ สถานท่ี ควบคุมดูแลการแพร่ระบาดสำ�หรับผู้เดินทางกลับมาจากต่างประเทศ ที่เรียกว่า สเตท ควอรันทีน (State Quarantine) เหลา่ นเี้ ปน็ มาตรการทท่ี างภาครฐั บรหิ ารจดั การสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ หรอื โควดิ -๑๙(COVID-19) สง่ ผลใหจ้ �ำ นวนผตู้ ดิ เชอ้ื ลดลงต�่ำ กวา่ สบิ รายตอ่ วนั นบั แตช่ ว่ งปลายเดอื นเมษายน พ.ศ.๒๕๖๓ ส่งผลให้รัฐบาลออกมาตรการผ่อนปรน ๖ กลุ่มกิจกรรมให้กลับมาดำ�เนินการได้ปกติ ได้แก่ ตลาด รา้ นจำ�หน่ายอาหาร กจิ การค้าปลกี -ส่ง กีฬาสนั ทนาการ ร้านตดั ผมและเสริมสวยและรา้ นตดั ผมและ ฝากเล้ียงสัตว์ เมื่อวันท่ี ๓ พฤษภาคม ต่อมาจึงมีมาตรการผ่อนปรนในระยะท่ี ๒ อาทิ อนุญาตให้เปิด หา้ งสรรพสนิ คา้ โดยใหเ้ ปดิ ด�ำ เนนิ การไดจ้ นถงึ เวลา ๒๐.๐๐ น. สถานออกก�ำ ลงั กายบางสว่ น สวนพฤกษศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ ศูนย์การเรียนรู้ แหล่งประวัติศาสตร์ โบราณสถาน ห้องสมุดสาธารณะ หอศิลป์ และปรับเวลา เคอร์ฟวิ จาก ๒๒.๐๐ น. เปน็ ๒๓.๐๐ น. ในวันท่ี ๑๗ พฤษภาคม และมีมาตรการผอ่ นปรนระยะท่ี ๓ ในวันที่ ๑ มถิ นุ ายน อาทิ อนญุ าตใหม้ กี ารเดนิ ทางขา้ มจงั หวดั ได้ในกรณจี �ำ เปน็ รา้ นเสรมิ สวยและรา้ นนวดเพอื่ สขุ ภาพ อนญุ าตใหท้ ำ�กิจการได้เต็มรูปแบบแตไ่ มเ่ กนิ ๒ ชั่วโมง อนุญาตให้เปดิ สวนสตั ว์ ฟิตเนส สนามกฬี าเพื่อการ ฝกึ ซอ้ ม ลานกจิ กรรม โรงภาพยนตร์ แตต่ อ้ งมาตรการรกั ษาระยะหา่ ง มกี ารขยายระยะเวลาปดิ หา้ งสรรพสนิ คา้ จาก ๒๐.๐๐ น. เปน็ ๒๑.๐๐ น. และปรบั เวลาเคอรฟ์ วิ ชว่ งเชา้ ขนึ้ จาก ๔.๐๐ น. เปน็ ๓.๐๐ น. และตอ่ มาในวนั ท่ี ๑๕ มิถุนายน จึงมีมาตรการผ่อนปรนระยะท่ี ๔ โดยมีมติให้ยกเลิกเคอร์ฟิว แต่ยังควบคุมการเดินทางเข้า ราชอาณาจกั รทง้ั ทางบก ทางน้�ำ และทางอากาศ 33

โรงทานตามพระด�ำ ริ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อมพฺ รมหาเถร) สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก

จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรอื โควิด-๑๙ (COVID-19) ทำ�ให้ ประเทศตา่ ง ๆ ต้องมีมาตรการดูแลสขุ ภาพประชาชน พร้อมกับการควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรค กอปรกบั คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ แหง่ ชาติ ประกาศให้โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙(CoronavirusDisease:COVID-19) เปน็ โรคตดิ ตอ่ อนั ตราย ล�ำ ดบั ที่ ๑๔ ตามพระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ตามทมี่ กี ารระบาดอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ดงั นัน้ เพ่อื ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ อันเป็นเหตุให้คณะแพทย์ผู้ถวายการอภิบาลพระอนามัยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก แจ้งแกส่ ำ�นกั งานเลขานกุ ารสมเดจ็ พระสังฆราช วัดราชบพธิ สถิตมหาสีมาราม ว่าดว้ ย เหตุแห่งพระชนมายุสูง และการปฏิบัติพระกรณียกิจที่ต้องประทับท่ามกลางสมาคมของหมู่ชนจำ�นวนมาก นบั เปน็ ภาวะเสย่ี งตอ่ โรค จงึ สมควรงดการประทานพระวโรกาสใหค้ ณะบคุ คลเฝา้ เปน็ การทว่ั ไป และงดการเฝา้ ของบคุ คลทวั่ ไปโดยใกล้ชิด ในระยะทม่ี กี ารแพรร่ ะบาดของโรค สำ�นักงานเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม จึงมีประกาศเลขท่ี ๑/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ เร่ืองงดการถวายสักการะสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ด้วยการประกาศงดการนำ�ความกราบทูลขอประทานพระวโรกาสให้ คณะบคุ คลเฝา้ และงดการเปดิ ใหป้ ระชาชนเฝา้ ถวายสงิ่ ของและเครอ่ื งสกั การะไดเ้ ปน็ การทวั่ ไปดงั ทเี่ คยปฏบิ ตั ิ ในทุกวนั เสารส์ ุดทา้ ยของเดอื น จนกวา่ สถานการณโ์ รคระบาดจะคลคี่ ลาย ที่ประชุมมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๗/๒๕๖๓ เมื่อวันท่ี ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๓ จึงมีมติท่ี ๑๔๓/๒๕๖๓ ให้วดั ดำ�เนินการ ดังน้ี ๑. ใหว้ ัดท่ัวประเทศ ดำ�เนนิ การตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครดั ๒. ขอความรว่ มมอื ใหว้ ดั หลกี เลยี่ ง หรอื เลอื่ นการจดั กจิ กรรมทมี่ กี ารรวมตวั ของประชาชนจ�ำ นวนมาก และอาจมคี วามเสีย่ งต่อการแพร่ระบาดของโรค เช่น งานประจ�ำ ปี ประเพณสี รงน�ำ้ พระ รดน�ำ้ ดำ�หวั การบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน เปน็ ตน้ หากไม่สามารถเลอื่ นกจิ กรรมดังกลา่ วได้ ใหด้ ำ�เนินการ ตามมาตรการเฝา้ ระวังและป้องกัน ตามทก่ี ระทรวงสาธารณสุขก�ำ หนดอย่างเครง่ ครดั อนง่ึ ขอใหเ้ จา้ คณะผปู้ กครองในทกุ ระดบั ก�ำ ชบั วดั ในเขตปกครองในการด�ำ เนนิ การ ตามมาตรการควบคมุ และปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด และขอ้ แนะน�ำ ของกระทรวงสาธารณสุขอยา่ งเคร่งครดั ในการนี้ วดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม จงึ มปี ระกาศเลขที่ ๒/๒๕๖๓ เรอื่ ง มาตรการปอ้ งกนั และควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) อนสุ นธิ มติมหาเถรสมาคม ที่ ๑๔๓/๒๕๖๓ เรอ่ื ง มาตรการควบคมุ และป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโควิด ๑๙ Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) ส�ำ หรบั พระภิกษุ สามเณร ประกอบกับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดที่ทวีจ�ำ นวนผตู้ ิดเชื้ออยา่ งรวดเร็วนน้ั 35

วดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม จึงกำ�หนดมาตรการและขอ้ ปฏิบตั ิ ดังน้ี ๑. งดการจดั กิจกรรมภายในวัด ตั้งแตบ่ ดั นี้ จนกวา่ สถานการณ์จะคลคี่ ลาย ๒. ป ิดอาคารภายในวัดตามวันในข้อ ๑. ยกเว้นพระอุโบสถหรือพระวิหารแล้วแต่กรณี เฉพาะเวลา พระภิกษุสามเณรลงทำ�วัตรเช้าเย็น และประกอบสังฆกรรมตามอาณัติสัญญา โดยไม่อนุญาตให้ บุคคลภายนอกเข้าร่วม แต่อนุญาตให้เจ้าหน้าท่ีวัดจัดการถ่ายทอดสด บันทึกภาพน่ิง หรือภาพ เคล่อื นไหว เผยแพร่ผ่านชอ่ งทางส่ือสารของวัดและสำ�นักงานเลขานกุ ารสมเด็จพระสงั ฆราช เพือ่ ใหพ้ ทุ ธศาสนกิ ชนร่วมอนุโมทนาได้ ๓. ป ิดประตูวัดทุกประตู ยกเว้นประตูฝ่ังถนนเฟ่ืองนครด้านศาลาร้อยปี และประตูฝ่ังถนนอัษฎางค์ สำ�หรับพระภกิ ษุสามเณรและเจ้าหนา้ ที่ผูป้ ฏบิ ตั ิงานซง่ึ จ�ำ เป็นตอ้ งเขา้ ออกบรเิ วณวดั ๔. พ ระภิกษุสามเณรภายใน หากไม่มีกิจจำ�เป็น ไม่พึงออกนอกพ้ืนท่ีวัด ยกเว้นการออกบิณฑบาต ทั้งน้ี เมอ่ื ออกนอกวดั ใหป้ ฏบิ ัติตามมาตรการที่ทางราชการแนะน�ำ อยา่ งเครง่ ครัด เมอื่ กลบั มาจาก ภายนอกวัดใหร้ ีบล้างมือด้วยแอลกอฮอลห์ รอื น้ำ�สบู่ และลา้ งเทา้ ใหส้ ะอาดทกุ ครง้ั ๕. ผ นู้ �ำ ภตั ตาหารหรอื จตปุ จั จยั มาถวายพระภกิ ษสุ ามเณรหรอื ตดิ ตอ่ ภารกจิ จ�ำ เปน็ ใหเ้ ขา้ ไดเ้ ฉพาะเวลา ๐๖.๐๐ ถึง ๐๘.๐๐ น. และ ๑๐.๓๐ ถึง ๑๓.๐๐ น. โดยต้องสวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลาและ ล้างมอื อย่างสมำ�่ เสมอ เมื่อเสร็จแล้วใหอ้ อกจากพื้นท่วี ดั โดยมชิ กั ช้า ๖. ผู้มไี ข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ หรือมีอาการผดิ ปกตขิ องระบบทางเดินหายใจ ให้งดมาวัด ๗. พระภกิ ษสุ ามเณรและบคุ คลภายในวดั ถา้ มอี าการตามขอ้ ๖. ใหร้ บี แจง้ เจา้ คณะทต่ี นสงั กดั งดการ คลุกคลใี กลช้ ิดกบั บุคคลอืน่ พรอ้ มเฝ้าสงั เกตอาการ ๘. ผ ู้ปฏิบัติงานภายในวัดที่มาจากหน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนภายนอก ถ้ามีอาการตามข้อ ๖. หรอื เขา้ ข่ายกลมุ่ เสย่ี ง ใหง้ ดการมาปฏิบัติงานที่วัด แล้วรบี แจง้ ไปยงั ผูบ้ ังคบั บญั ชาของตน ๙. ใหเ้ วน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คลอยา่ งนอ้ ย ๑.๘๐ เมตร ในทกุ อิริยาบถ ๑๐. หลกี เลยี่ งการสมั ผสั ใกลช้ ดิ ระหวา่ งบคุ คล และงดการกราบลงบนพนื้ โดยปราศจากผา้ หรอื กระดาษ จำ�เพาะของตนรองมอื ๑๑. สวมหน้ากากอนามัยเมื่อออกนอกกุฎีหรือห้องของตน ล้างมือด้วยแอลกอฮอล์หรือน้ำ�สบู่อย่าง สมำ่�เสมอ และให้ตดิ ตามขอ้ มูลข่าวสารทีเ่ ช่ือถอื ได้จากหน่วยงานภาครัฐ พรอ้ มท้งั ปฏิบัตติ นตาม หลกั สุขอนามัยอยา่ งเคร่งครัด ทง้ั น้ี ตัง้ แต่บดั นเี้ ป็นต้นไป จนกว่าสถานการณ์จะคล่ีคลาย ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๓ มนี าคม ๒๕๖๓ เชน่ เดยี วกบั วดั อนื่ ๆ กม็ กี ารออกประกาศงดการจดั กจิ กรรมภายในวดั ขอ้ ปฏบิ ตั ขิ องพระภกิ ษสุ ามเณร และฆราวาสทมี่ เี หตุจำ�เป็นต้องเดินทางมาวดั ลว้ นแสดงถงึ ความวกิ ฤตของสถานการณ์โรคระบาดทีม่ ีอัตรา เพมิ่ สูงข้นึ อย่างก้าวกระโดดนบั แต่ชว่ งเดอื นมีนาคม พ.ศ.๒๕๖๓ 36

หนา้ กากอนามัยประทานแกพ่ ระภกิ ษสุ ามเณรท่ัวประเทศ ตามที่สำ�นักงานเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม มีหนังสือเลขที่ สสร. ๐๖๘/๒๕๖๓ ลงวนั ท่ี ๔ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ เรอื่ งประทานกปั ปยิ ภณั ฑเ์ พอื่ จดั หาหนา้ กากอนามยั เจรญิ พร รัฐมนตรีประจำ�สำ�นกั นายกรฐั มนตรี (นายเทวัญ ลปิ ตพัลลภ) ความวา่ ตามที่ เกิดโรคระบาดจากไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ และสถานการณ์ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กใน อากาศสงู เกินมาตรฐาน จนอาจเกิดผลกระทบตอ่ สุขภาพอนามัยของประชาชน สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงห่วงใยสุขอนามัยของ พระภิกษุสามเณร ตลอดจนประชาชนท่ัวไป จึงมีพระบัญชาโปรดให้ไวยาวัจกรจัดกัปปิยกัณฑ์เท่าจำ�นวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สองล้านบาทถว้ น) ประทานเป็นทนุ ประเดมิ มาเพื่อพิจารณาสงั่ การให้ส�ำ นักงานพระพุทธ ศาสนาแหง่ ชาตซิ ง่ึ อยใู่ นบงั คบั บญั ชาของทา่ น หรอื หนว่ ยงานทเี่ หน็ สมควร จดั หาหนา้ กากอนามยั ทไี่ ดม้ าตรฐาน ถวายแด่พระภิกษุสามเณรท่วั ประเทศ อนึ่ง ทรงพระปรารภสนับสนุนให้วัดซ่ึงมีอยู่คู่ชุมชนทั่วประเทศ เป็นศูนย์กลางการแจกจ่ายหน้ากาก อนามยั แกป่ ระชาชนไมจ่ �ำ กดั สญั ชาติ เชอ้ื ชาติศาสนา ผปู้ ระสบความเดอื ดรอ้ นหรอื มคี วามเสยี่ งตอ่ สถานการณ์ ดงั กล่าว ทัง้ นี้ มีพระบญั ชาโปรดใหพ้ ระสงั ฆาธิการทว่ั ราชอาณาจกั ร ร่วมมอื กบั หนว่ ยราชการในพ้นื ท่ีในการ เฝ้าระวังป้องกันโรคระบาดและบรรเทาความเดือดร้อนจากมลภาวะทางอากาศ เพ่ือสุขภาวะของพระภิกษุ สามเณรและประชาชนโดยท่วั กนั ต่อมาในวนั องั คารท่ี ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๓ สมเด็จพระอรยิ วงศาคตญาณ สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหา สงั ฆปรณิ ายก เสดจ็ ออกต�ำ หนกั อรุณ วดั ราชบพธิ สถติ มหาสีมาราม ประทานพระวโรกาสใหร้ ัฐมนตรีประจ�ำ ส�ำ นักนายกรัฐมนตรี (นายเทวญั ลปิ ตพลั ลภ) ผ้กู �ำ กบั ดูแลสำ�นกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เฝา้ ในโอกาสที่ เจ้าพระคุณ สมเดจ็ พระสังฆราช โปรดให้ไวยาวจั กรจดั กัปปยิ กณั ฑ์เท่าจ�ำ นวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท (สองล้าน บาทถ้วน) เป็นทุนประเดิมสำ�หรับสำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จัดหาหน้ากากอนามัย ประทานแก่ พระภกิ ษุสามเณรทัว่ ประเทศ 37

38