Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ เรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย

ใบความรู้ เรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย

Published by nammalilert, 2020-06-11 04:12:34

Description: ใบความรู้ เรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวีปเอเชีย

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ การเผยแผแ่ ละการนบั ถือพระพุทธศาสนาของประเทศในทวปี เอเชยี

ทวีปเอเชยี นับเป็นดนิ แดนแห่งแรกท่พี ระพทุ ธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ มาในราวพุทธศตวรรษท่ี 3 ซึ่ง พระพทุ ธศาสนาทไ่ี ดเ้ ผยแผ่เขา้ มาน้ันแบง่ ออกเป็น 2 นิกาย คือ นิกายเถรวาท และนิกายอาจารยิ วาท ต่อมาได้ ผสมผสานกับวัฒนธรรมและความเชื่อดั้งเดิมของแตล่ ะท้องถิ่นของแตล่ ะประเทศ ทาให้เกดิ การวิวัฒนาการ เป็นพระพุทธศาสนานกิ ายต่างๆ หลายนิกาย เชน่ นิกายเถรวาทเดมิ นิกายตันตระ นิกายสขุ าวดี เป็นต้น ด้วย เหตุนี้การนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาของประเทศตา่ งๆ ในทวีปเอเชียจึงแตกต่างกันออกไป ดงั นี้

การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลังกา พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ข้ามายังลังกาทวีป (ศรลี งั กาปัจจุบนั ) ในรัชกาลของพระเจ้าเทวา นัมปยิ ตสิ สะ (พ.ศ. 235-275) ผู้ครองเมอื ง อนุราธปุระ โดยการนาของพระมหนิ ทเถระและคณะสมณทูต ซง่ึ พระเจา้ อโศกมหาราชแหง่ ชมพทู วปี ไดท้ รงสง่ มาในคราวทาสังคายนา คร้งั ที่ 3 พระพุทธศาสนาในรัชกาลของพระเจ้าเทวานมั ปยิ ตสิ สะเจริญแพร่หลายมาโดยลาดบั ไดม้ กี ารสง่ คณะทตู ไปส่รู าชสานกั ของพระเจา้ อโศกมหาราช ทลู ขอพระสังฆมิตตาเถรี เพื่อมาอปุ สมบท พระนางอนฬุ าเทวี มเหสีและสตรบี ริวาร นอกจากน้ยี งั ได้ทูลขอกิ่งพระศรีมหาโพธ์มิ าส่ลู งั กาทวีปอีกด้วย ในสมัยนัน้ ลงั กาทวปี มีประชาชนอยู่ 2 เผ่า คอื เผ่าสิงหล และเผ่าทมฬิ ชนเผ่าสิงหลท่ัวๆ ไป นับถือพระพทุ ธศาสนา ส่วนชนเผา่ ทมฬิ ไม่ไดน้ บั ถอื พระพุทธศาสนา เม่ือสิน้ รชั กาลของพระเจ้าเทวา นัมปิยติสสะแล้วลังกาทวีปก็ตกอยใู่ น อานาจของกษตั รยิ ์ทมิฬเกือบศตวรรษ พระพุทธศาสนากพ็ ลอยเสอื่ มถอยลงไปดว้ ย พระพุทธศาสนาในลังกา บางคร้งั กเ็ จรญิ ร่งุ เรือง บางครัง้ ก็เสื่อมลงจนถึงสูญสน้ิ สมณวงศ์ สลับกนั ไปเช่นนข้ี นึ้ อยู่กับว่ากษตั รยิ ข์ องชน เผ่าใดในระหวา่ งสงิ หลกับทมฬิ ขน้ึ มามอี านาจ คร้ันตอ่ มาเมือ่ พระเจา้ วชิ ัยสิริสงั ฆโพธิ ทรงกอบกู้ราชบัลลังก์ จากพวกทมิฬได้ และทรงจดั การทางฝ่ายราชอาณาจักรเรยี บร้อยแลว้ ก็ได้หันมากอบกู้ฟืน้ ฟพู ระพทุ ธศาสนา ทรงหาพระภกิ ษุสงฆท์ ี่เป็น ผู้มศี ีลบรสิ ุทธ์ิในลงั กาแมร้ ปู เดียวก็ไมไ่ ด้ พระองคจ์ งึ สง่ ราชทูตไปขอพระภิกษุ สงฆจ์ ากพมา่ ในรัชกาล ของพระเจา้ อโนรธามังชอ่ มาทาการบรรพชาอุปสมบทกุลบุตรชาวลังกา ทาใหส้ มณ วงศ์ในลังกาได้กลับ มขี ึน้ อกี ครง้ั ใน พ.ศ. 2293 พระเจา้ กติ ตสิ ริ ริ าชสีห์มีพระราชประสงค์จะต้ังสังฆมณฑลขนึ้ ใหม่อกี ครง้ั ได้รบั คาแนะนา จากพระสรณงั กรส่งราชทูตไปขอพระสงฆจ์ ากประเทศไทย ในรชั สมัยพระเจ้าบรมโกศ แหง่ กรุงศรอี ยธุ ยา พระเจ้าบรมโกศทรงส่งพระอบุ าลีและพระอริยมุนี พรอ้ มดว้ ยคณะสงฆ์ 12 รปู เดนิ ทางไปลงั กา และไดท้ า การบรรพชาอปุ สมบทแก่กุลบุตรชาวสงิ หล พระสรณงั กรกไ็ ดร้ ับการบรรพชาอปุ สมบทใหม่ และไดร้ ับการ สถาปนาให้เป็น สมเด็จพระสังฆราช พระสงฆท์ ่บี รรพชาอปุ สมบทนเี้ รียกวา่ อุบาลวี งศห์ รอื สยามวงศ์ หรือ สยามนกิ าย ซง่ึ เปน็ คณะสงฆ์ส่วนใหญข่ องลงั กามาจนกระท่งั ทุกวนั นี้ ใน พ.ศ. 2358 องั กฤษไดเ้ ขา้ มายึด ครองลังกา ทาใหว้ งศ์กษตั ริย์ลงั กาสูญสน้ิ ไป พระพทุ ธศาสนาในชว่ งนไี้ ด้รบั ภยนั ตรายเปน็ อยา่ งมากจาก ขบวนการต่อต้านและทาลายพระพทุ ธศาสนาท่ีรฐั บาลต่างชาตสิ นับสนนุ เป็นเวลากวา่ 100 ปี ที่ชาวลงั กาได้ ต่อสดู้ ้ินรนแสวงหาอิสรภาพเพอื่ นาศาสนาประจาชาติ ของตนกลบั คนื มา ในท่สี ุดลงั กาก็ไดอ้ สิ รภาพจาก อังกฤษ เม่ือ พ.ศ. 2490 พระพทุ ธศาสนาจงึ ไดร้ บั การพนื้ ฟู เอาใจใส่ทานุบารงุ ให้ดีย่ิงขึ้นตามลาดับ พระสงฆ์ ในลงั กาได้ทางานกันอย่างเข้มแข็งโดยการ สอนพระพทุ ธศาสนาใหแ้ กเ่ ด็กและประชาชนท่ัวไป ตลอดจนส่ง พระสงฆ์ออกไปประกาศเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในทวีปยุโรปและอเมริกาดว้ ย

การเผยแผแ่ ละการนบั ถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศจีน เทา่ ทปี่ รากฏหลกั ฐาน พบว่า พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ มาในประเทศจนี เม่อื ประมาณพุทธศักราช 608 ในสมยั ของพระจกั รพรรดมิ ง่ิ ต่ี แหง่ ราชวงศฮ์ ั่น โดยพระองค์ได้จดั ส่งคณะทูต 18 คน ไปสบื ทอด พระพทุ ธศาสนาในอนิ เดีย คณะทตู ชดุ นี้ได้เดินทางกลบั ประเทศจนี พรอ้ มด้วยพระภกิ ษุ 2 รปู คอื พระกาศยป มาตงั คะและพระธรรมรักษ์ รวมท้งั คมั ภีรข์ องพระพุทธศาสนาอีกสว่ นหน่ึงด้วยเมอ่ื พระเถระ 2 รูปพร้อมด้วย คณะทูตมาถงึ นครโลยาง พระจกั รพรรดมิ ิง่ ตไ่ี ด้ทรงส่ังให้สรา้ งวัดเพ่ือเป็นที่อยูข่ องพระเถระทัง้ 2 และตงั้ ช่ือ วดั วา่ วัดแปะเบย๊ ่ี แปลเป็นภาษาไทยว่า วัดมา้ ขาว เพอื่ เปน็ อนุสรณ์แกม่ ้าตัวท่ีได้บรรทกุ พระคัมภรี ท์ าง พระพทุ ธศาสนามากับพระเถระท้ังสอง หลงั จากนัน้ พระกาศยปมาตงั คะกบั พระธรรมรักษ์ไดแ้ ปลพระ คมั ภรี พ์ ระพุทธศาสนาเปน็ ภาษาจีนเลม่ แรกพระพทุ ธศาสนาในประเทศจีนมคี วามเจริญรุ่งเร่ืองสลบั กับความ เสือ่ มโทรมผา่ นยคุ สมยั หรือราชวงศต์ ่างๆ มาโดยลาดบั ตัง้ แตร่ าชวงศห์ งอโต้ว ราชวงศ์ซ้อง ราชวงศห์ ยวน ราชวงศ์หมิง จนกระท่ังถึงราชวงศช์ งิ ทัง้ น้ีข้นึ อยู่กับว่าพระเจ้าจกั รพรรดิจะทรงนบั ถือลทั ธหิ รอื ศาสนาใด พ.ศ. 2492 สาธารณรฐั จีนได้เปล่ยี นช่อื ประเทศอกี คร้งั หนึ่ง เป็นสาธารณรัฐประชาชนจีน ปกครองด้วยลทั ธิ คอมมิวนิสต์ ลัทธคิ อมมิวนสิ ตน์ ีม้ คี าสอนทขี่ ัดแย้งกับพระพทุ ธศาสนาเปน็ อยา่ งมาก พระพทุ ธศาสนาจึงไม่ อาจอยู่ไดใ้ นสาธารณรัฐประชาชนจีน ในระยะแรกพรรคคอมมวิ นิสต์ เหน็ ว่า พระพทุ ธศาสนายังมีอทิ ธพิ ล อยู่ในจติ ใจของประชาชนจึงยังไมใ่ ช้ความรุนแรง จนใน พ.ศ. 2494 รฐั บาลไดอ้ อกกฎหมายเพกิ ถอนสทิ ธิวดั ในการยึดครองทด่ี ิน ซงึ่ เปน็ การบบี ให้พระสงฆ์ต้องลาสิกขาโดยทางอ้อม พระภกิ ษทุ ี่ยังไมล่ าสิกขาก็ต้องไป ประกอบอาชีพเอง เช่น ทาไร่ ทานา เป็นต้น ทง้ั ที่ยงั ครองเพศเปน็ พระภิกษุอยู่ และในช่วงปฏิวตั ิวัฒนธรรม ครง้ั ใหญข่ องสาธารณรฐั ประชาชนจีนเมื่อ พ.ศ. 2509-2512 ได้มเี หตุการณ์ทกี่ ระทบกระเทือนต่อ พระพทุ ธศาสนาเป็นอย่างมาก คือ รัฐบาลได้ยดึ วดั เป็นของราชการหา้ มประกอบศาสนกิจตา่ งๆ การเผยแผ่ พระพุทธศาสนาถอื เปน็ การผิดกฎหมาย พระภกิ ษถุ กู บงั คับให้ ลาสกิ ขา พระคัมภีร์ต่างๆ ถกู เผา พระพุทธรูป และวัดถูกทาลายไปเปน็ จานวนมาก จากห้ามประกอบศาสนกิจตา่ งๆ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาถือเปน็ การ ผดิ กฎหมาย พระภกิ ษถุ กู บงั คบั ใหล้ าสกิ ขา พระคมั ภรี ต์ ่างๆ ถกู เผา พระพุทธรปู และวัดถูกทาลายไปเปน็ จานวนมาก จากเหตกุ ารณ์น้ีทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนาเกอื บจะสูญส้นิ ไปจากประเทศจีนเลยทเี ดียวเมื่อประธาน พรรคคอมมวิ นสิ ต์จนี เหมา เจ๋อ ตุง ได้ถงึ แกอ่ สญั กรรมใน พ.ศ. 2519 รัฐบาล ชดุ ใหมข่ องจีน คือ เต้ิงเส่ยี วผิง

การเผยแผแ่ ละการนบั ถือพระพุทธศาสนาในประเทศเกาหลี พระพทุ ธศาสนาเริม่ เผยแผ่เข้าสู่ประเทศเกาหลีเมอ่ื พ.ศ. 915 โดยสมณทตู ซุนเตา เดนิ ทางจากจีน แผน่ ดนิ ใหญเ่ ข้ามาเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในอาณาจกั รโกครุ ิโอ คือประเทศเกาหลใี นปัจจุบนั พระพทุ ธศาสนาไดแ้ ผข่ ยายเข้ามาในเกาหลอี ย่างรวดเร็ว เพียงระยะเวลา 20 ปี ก็มกี ารสร้างวดั ข้ึนมากมาย เฉพาะเมืองหลวงแห่งเดียว มีถงึ 9 วัด ประเทศเกาหลใี นสมยั กอ่ นน้ันประกอบด้วย 3 อาณาจกั ร คือ โกคุรโิ อ ปีกเช และซิลลา แตผ่ นู้ าท้ัง 3 อาณาจกั รนับถือพระพุทธศาสนา และให้การสนับสนนุ กจิ การต่างๆ ท่เี ก่ียวข้องกับพระพทุ ธศาสนาเสมอ และทีส่ าคญั ได้ทรงถือว่าพระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติ เพราะคาสอนของพระพุทธเจา้ เป็นสง่ิ ท่ี สง่ เสรมิ และให้การศึกษาแกป่ ระชาชน และเป็นที่ ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน พร้อมท้งั สรา้ งความสามัคคี ให้เกดิ ขึน้ ในชาติ พระพทุ ธศาสนาจงึ มคี วามรุง่ เรืองตลอดมา ตอนปลายสงครามโลกคร้งั ท่ีสอง กองทพั สหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกาได้เข้ายึดเกาหลีจากญป่ี ุ่น เม่ือ พ.ศ. 2488 เกาหลีจึงถกู แบ่งเปน็ 2 ประเทศ ท่เี ส้นขนานที่ 38 องศาเหนือ กลา่ วคอื ทางตอนเหนอื อยภู่ ายใต้ การคมุ้ ครองดแู ลของสหภาพโซเวียต มชี ่ือประเทศว่า สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนเกาหลี ทางตอน ใตอ้ ยู่ภายใตก้ ารดูแลของสหรฐั อเมริกา มชี ่ือประเทศวา่ สาธารณรัฐเกาหลี พระพุทธศาสนาในเกาหลเี หนอื น้ันไมส่ ามารถทจ่ี ะรสู้ ถานการณไ์ ด้ เพราะเกาหลีเหนือปกครองด้วยลัทธิ คอมมิวนิสต์ ซง่ึ ไม่สนับสนุนพระพุทธศาสนา ดงั นนั้ พระพทุ ธศาสนาจงึ เจริญรุ่งเรืองใน เกาหลีใต้มากกว่า ในปจั จุบันคณะสงฆใ์ นประเทศเกาหลใี ต้ ถอื ว่าเป็นคณะสงฆ์ท่มี ีความก้าวหน้ามากทีส่ ุดปรบั ตัวให้ทันกับ เหตกุ ารณ์ต่างๆ อยู่เสมอ ทง้ั นก้ี เ็ พื่อความม่ันคงของพระพทุ ธศาสนาน่นั เอง กจิ การทพ่ี ระสงฆเ์ กาหลีใต้สนใจ และทากนั อยา่ งเข้มแข็งจริงจังที่สุด คือ การศกึ ษา ซ่ึงเร่ืองน้ีเปน็ การสอดคลอ้ งกับนโยบายของรัฐบาลในด้าน การศกึ ษา นอกจากจะมโี รงเรียนพระปริยัตธิ รรมสาหรบั สอนพระภิกษุ พระภกิ ษุณี สามเณรและสามเณรี แลว้ คณะสงฆเ์ กาหลใี ต้ยังมสี ถานศึกษาฝา่ ยสามัญระดบั ต่างๆ ท่ีเปิดรบั นกั ศึกษา ชายหญิงโดยทัว่ ไปดว้ ย ซงึ่

สถาบนั เหลา่ นี้มคี ฤหสั ถ์เป็นผู้บริหาร แต่อยู่ในความควบคมุ ดแู ลของคณะกรรมาธิการฝ่ายการศึกษาของ คณะสงฆ์ สถนศึกษาเหลา่ นแี้ ยกประเภทเปน็ มหาวทิ ยาลัยและวทิ ยาลยั โรงเรียนมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนประถมศกึ ษา โรงเรียนอนุบาล มหาวทิ ยาลัยพระพทุ ธศาสนาซ่งึ เกา่ แกท่ ่สี ดุ ของเกาหลี คือ มหาวิทยาลัยดงกุก ตงั้ ข้นึ เมอ่ื พ.ศ. 2449 ปัจจุบัน มนี ักศกึ ษาชายหญงิ ท้ังหมดประมาณ 6,000 คน มพี ระภกิ ษุสามเณรศกึ ษาอยูด่ ้วยประมาณ 60 รปู การเผยแผแ่ ละการนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาในประเทศญ่ปี ุ่น พระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศญ่ปี ุ่นโดยผ่านเกาหลี ในหนังสอื ประวัตศิ าสตร์ญี่ปุ่นสมัยโบราณช่ือ นิฮอนโก ชิ ได้บันทกึ ไวว้ ่า วันท่ี 13 ตุลาคม พ.ศ. 1095 เปน็ ปที ่ี 13 ในรชั กาล พระจกั รพรรดิกิมเมจิ จกั รพรรดอิ งคท์ ี่ 29 ของญีป่ ุ่น พระพุทธศาสนาไดเ้ ข้าส่ญู ี่ปนุ่ โดยพระเจา้ เซมาโวแห่งเกาหลี สง่ ราชทตู ไปยังราชสานักพระ จกั รพรรดกิ มิ เมจิพร้อมด้วยพระพุทธรปู ธง คมั ภรี ์พุทธธรรม และพระราชสาสน์ แสดงพระราชประสงคท์ ่ีจะ ขอให้พระจกั รพรรดกิ มิ เมจิรับนับถือพระพุทธศาสนา พระจกั รพรรดกิ ิมเมจทิ รงรับด้วยความพอพระทัย ซ่งึ นบั เปน็ การเริ่มตน้ ของพระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นพระพทุ ธศาสนาในประเทศญปี่ ุ่นในสมยั ของพระจักรพรรดิ กมิ เมจไิ ดเ้ จริญเปน็ อยา่ งมากแตภ่ ายหลงั ที่พระองค์สน้ิ พระชนมแ์ ล้ว พระจักรพรรดิองคต์ ่อๆ มาก็มไิ ดใ้ ส่ พระทัยในพระพุทธศาสนา ปล่อยใหพ้ ระพทุ ธศาสนาเสื่อมโทรมลง จนถงึ สมัยพระจกั รพรรดินซี ยุ โก ได้ ทรงสถาปนา เจา้ ชายโชโตกุล เปน็ ผูส้ าเร็จราชการแผ่นดิน เม่ือ พ.ศ. 1135 เจ้าชายพระองคน์ เ้ี องท่ีได้ทรง วางรากฐานการปกครองประเทศญีป่ ุ่น และสร้างสรรคว์ ัฒนธรรมพร้อมทั้งทรงเชิดชพู ระพทุ ธศาสนา และ ในวันท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1137 พระองคไ์ ดป้ ระกาศพระราชโองการเชดิ ชูพระรตั นตรัย ทาให้ พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองอย่างมัน่ คงในญี่ปุ่น ประชาชนญปี่ ุ่นรวมเป็นอันหน่งึ อันเดียวกนั ขา้ ราชการ ทหาร และพลเรือนทง้ั ปวงต่างแขง่ ขนั กนั สร้างวัดในพระพุทธศาสนาและสานกั ปฏิบตั ธิ รรมเป็นจานวนมาก ยุคสมยั นีไ้ ด้ชอื่ ว่า ยคุ โฮโก คือ ยุคท่สี ัทธรรมไพโรจน์

ในปจั จบุ ันชาวญป่ี ุน่ นับถือพระพุทธศาสนาควบคไู่ ปกับศาสนาชินโต พระพทุ ธศาสนาแบง่ ออกเปน็ หลานกิ าย แต่นิกาย ทส่ี าคญั มี 5 นกิ าย ดังนี้ 1. นิกายเทนได (เทียนไท้) 2. นกิ ายชินงอน 3. นิกายโจโด (สุขาวดี) 4. นิกายเซน (ธฺยาน หรือ ฌาน) 5. นกิ ายนิจเิ รน หลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 มนี ักการศกึ ษามากมายพยายามเช่อื มประสานพระพทุ ธศาสนา นิกายตา่ งๆ เขา้ ด้วยกนั โดยจัดต้งั เป็นองคก์ ารขน้ึ องค์การสือ่ สัมพันธ์ระหว่างชาวพุทธที่ใหมท่ ่ีสดุ คอื พทุ ธศาสนิก สัมพันธแ์ หง่ ญีป่ ่นุ (Japan Buddhist Federation) มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ส่งเสรมิ ความสัมพนั ธอ์ ยา่ งใกล้ชดิ ของ นิกายและชาวพุทธในญี่ปุน่ วางแผนผนึกกาลงั ชาวพุทธในการดาเนินการเพอ่ื ความกา้ วหน้า และเสริมสร้าง สันตสิ ุขของชาวโลก ต้งั ขนึ้ เม่ือวนั ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2500 มสี านกั งานอยู่ทีว่ ัดซกุ จิ ิ ฮองวันจิ ในนคร โตเกียวกิจการทางพระพทุ ธศาสนาที่สาคญั และมจี ุดเด่นกา้ วหนา้ ทสี่ ุดของญป่ี ุ่น คือ การจดั การศึกษา ซึง่ พระพุทธศาสนานิกายตา่ งๆ จะมมี หาวทิ ยาลัย วิทยาลัย โรงเรียนระดบั มัธยมและประถมเป็นของตนเอง จานวนมาก

การเผยแผแ่ ละการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศทิเบต แต่เดิมชาวทิเบตนบั ถือลัทธบิ อนโป ซงึ่ เปน็ ลัทธิทีน่ ับถือผีสางเทวดา ต่อมาเมื่อพระเจ้าสรองสันคมั โป ทรง ขน้ึ ครองราชย์ ได้ทรงอภิเษกสมรสกบั เจา้ หญงิ เนปาลและเจา้ หญิงจีน ซงึ่ นับถอื พระพุทธศาสนา ทาให้ พระพทุ ธศาสนาเริม่ เผยแผ่เข้าสู่ทิเบต อยา่ งไรก็ดี พระพทุ ธศาสนาในยคุ แรกเริ่มน้ี ยงั ไม่แพรห่ ลายในทเิ บต เพราะได้รับการต่อตา้ นจากลัทธคิ วามเชื่อเดิมของชาวพ้ืนเมือง พระพุทธศาสนาได้เริม่ แพร่หลายอยา่ ง กว้างขวางออกไปทั่วทิเบตในรชั สมัยของกษัตริยท์ ิเบตพระองค์ที่ 5 นบั แตพ่ ระเจ้าสรองสัมคมั โป โดย พระองคท์ รงอาราธนา พระปัทมสัมภวะ ผสู้ ่ังสอนพระพทุ ธศาสนาแบบตันตระจากอนิ เดีย ตามคาแนะนา ของพระศานตรักษติ แหง่ มหาวทิ ยาลยั นาลันทา ทเ่ี ข้ามาเผยแผ่หลักพุทธรรมกอ่ นหนา้ นี้แล้ว แต่ต้องกลับ อนิ เดียไปกอ่ นเพราะประชาชนทเิ บตยังไม่ยอมรับ การทพ่ี ระปัทมสมั ภวะเขา้ มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน ทเิ บต จงึ เปน็ เหตุใหพ้ ระพุทธศาสนาแบบตันตระต้งั มั่นและเจริญในทิเบตในเวลาต่อมา พระพุทธศาสนาในทิเบตมหี ลายนกิ าย นกิ ายเกา่ ทน่ี บั ถอื พระปทั มสัมภวะนั้นต่อมาได้ชื่อว่า นิกายหมวก แดง มีคาสอนท่ีผสมผสานระหวา่ หีนิ ยานกบั มหายานเข้าดว้ ยกนั บงั คบั พระสงฆใ์ ห้ถือพรหมจรรย์และไม่ สนบั สนนุ ไสยศาสตร์ ต่อมาพระตสองขอปะ ไดป้ ฏิรปู หลักคาสอนของนกิ ายหมวกแดงน้ีแล้วตง้ั นิกายใหม่ ขึ้นเม่อื นิกายเกลุกปะ หรอื นิกายหมวกเหลอื ง พระสงฆ์ในนกิ ายนี้ไดร้ บั การยกย่องนับถอื จากผ้ปู กครองมอง โกลว่าเป็นผ้นู าทางจติ ใจ และต่อมาถอื ว่าเปน็ ผปู้ กครองบ้านเมืองดว้ ย ในรชั สมยั ของพระเจา้ อัลตนั ข่าน พระองคไ์ ดพ้ บประมุขสงฆ์องค์ที่ 3 ของนกิ ายเกลกุ ปะชอื่ สอดนมั ยาโส พระองคเ์ กิดความเชือ่ ว่า พระ สอดนัมยาโสนี้เป็นอาจารย์ของพระองคใ์ นชาตกิ อ่ นจึงเรยี กพระสอดนมั ยาโสว่า ทะเล หรือทะไล (Dalai) ตั้งแต่นัน้ มาประมขุ สงฆ์ของทเิ บตจะถูกเรยี กว่า ทะไลลามะ ทะไลลามะบางองค์ไดร้ บั มอบอานาจจากผู้นา มองโกลให้ปกครองประเทศทิเบตทัง้ หมด ทาใหพ้ ระพุทธศาสนาและวฒั นธรรมเจริญรุ่งเรือง จนถึงทะไลลามะองคท์ ี่ 7 (พ.ศ. 2351-2401) ทิเบตได้เขา้ สู่ยคุ ของการปดิ ประตูอยู่โดดเดีย่ ว เนื่องจาก

การเผยแผแ่ ละการนบั ถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศเนปาล พระพทุ ธศาสนาเผยแผ่เข้าสู่ประเทศเนปาลทางประเทศอินเดีย พระพทุ ธศาสนาในประเทศเนปาล ในยคุ แรกเป็นพระพทุ ธศาสนาแบบดง้ั เดิม หรอื แบบเถรวาท ต่อมาเถรวาทเส่ือมสูญไป เนปาลไดก้ ลายเปน็ ศูนย์กลางของพระพุทธศาสนามหายานนิกายตันตระซงึ่ ใช้คาถาอาคมและพธิ ีกรรมแบบไสยศาสตร์ นอกจากนไี้ ด้มีนิกายพุทธปรชั ญาสานักใหญ่ๆ เกดิ ข้ึนอีก 4 นิกาย คอื สวาภาวภิ ะ ไอศวรกิ ะ การมกิ ะ และยา ตรกิ ะ ซ่ึงแตล่ ะนิกายก็ยงั แยกเปน็ อกี หลายสาขา แต่นกิ ายต่างๆ เหลา่ นแี้ สดงให้เห็นถงึ การผสมผสานเขา้ ด้วยกันของความคิดทางปรัชญาหลายแบบ หลายแนว เท่านเ้ี กิดขน้ึ ตามอิทธพิ ลของศาสนาฮนิ ดูและ พระพุทธศาสนา ปัจจุบนั ได้มีการฟื้นฟูการศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาฝ่ายเถรวาทขน้ึ ในประเทศเนปาล โดย สง่ พระภิกษสุ งฆ์สามเณรไปศึกษาในประเทศท่ีนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาฝ่ายเถรวาท เช่น ประเทศไทย พมา่ ศรี ลงั กา โดยเฉพาะในประเทศไทยน้ันพระภกิ ษสุ ามเณรชาวเนปาล ซึ่งได้อุปสมบทและบรรพชา แบบเถรวาท ได้มาศึกษาปรยิ ัติธรรมและศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั สงฆ์ 2 แหง่ คอื มหามกฏุ ราชวิทยาลัยและมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย นอกจากนั้นคณะสงฆ์เนปาลยังได้กราบทูลเชิญเสดจ็ สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช แห่งประเทศไทยใหไ้ ปบรรพชาอุปสมบทแกก่ ุลบตุ รชาวเนปาล ณ กรงุ กาฐมาณฑุ พร้อมทงั้ ทรงแสดงพระ ธรรมเทศนาโปรดชาวเนปาล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook