Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

Published by bps2560, 2021-03-11 03:05:37

Description: ฉบับสมบูรณ์

Search

Read the Text Version

การจดั ทํางบประมาณรายจา ยประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร จัดทาํ โดย สํานักนโยบายและยทุ ธศาสตร สป. กลมุ วิเคราะหง บประมาณ สป.

การจดั ทํางบประมาณรายจา ยประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร จัดทาํ โดย สํานักนโยบายและยทุ ธศาสตร สป. กลมุ วิเคราะหง บประมาณ สป.

คาํ นํา ดวยสํานักงบประมาณไดกําหนดแนวทางการจัดทํางบประมาณและปฏิทิน งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพ่ือใหหนวยรับงบประมาณใชเปนแนวทาง ประกอบการวางแผนการดําเนินงานและกําหนดแผนการปฏิบัติงาน ใหสอดคลองกับกระบวนการ จัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ไดอยางมีประสิทธิภาพ ตามบทบัญญัติ ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลัง ของรัฐ พ.ศ. 2561 และพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และพระราชบัญญัติ หลักเกณฑการจัดทํารางกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธ์ิของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ตลอดจน มติคณะรัฐมนตรี และระเบียบท่ีเกี่ยวของ โดยเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ท่ีสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 นโยบายและแผนระดับชาติ วาดวยความม่ันคงแหงชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนปฏิบัติราชการของกระทรวง เปาหมาย การพัฒนาท่ีย่ังยืน และนโยบายสําคัญของรัฐบาล รวมท้ังการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มาเปนแนวทางในการจัดสรรงบประมาณ โดยคํานึงถึงความจําเปนและภารกิจ ของหนวยงาน ความตองการในพื้นท่ีและแผนพัฒนาพ้ืนท่ีเพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพความคุมคา ในการใชจ า ยงบประมาณและผลสัมฤทธ์ิในการบรหิ ารจัดการภาครฐั ดังนั้น สาํ นกั งานปลดั กระทรวง ศึกษาธิการควรเตรียมความพรอมเพื่อการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยตดิ ตามผลการดําเนินงานและผลการใชจ า ยงบประมาณในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ใหมีความชัดเจน สอดคลองกับสถานการณในปจจุบันมากย่ิงข้ึน และเพ่ือใหกระบวนการวางแผน งบประมาณมปี ระสทิ ธภิ าพสูงสดุ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงไดจัดทํา งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบดว ย 4 หนวยงาน คอื 1. สาํ นักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) 2. สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) 3. สํานักงานคณะกรรมการ ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) และ 4. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (เดิม) ใหสอดคลองกับกระบวนการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ไดอยางมี ประสิทธิภาพ เพื่อเสนอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการใหความเห็นชอบและสงสํานัก งบประมาณตอ ไป สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร สาํ นักนโยบายและยทุ ธศาสตร (ก)

สารบัญ คาํ นํา บทนาํ หนา สารบัญ 1. ความเปน มา (ก) สวนท่ี 1 2. วัตถปุ ระสงค (ข) สว นที่ 2 3. วธิ ีการดาํ เนนิ งาน 4. ผลทีค่ าดวา จะไดร บั 1 แนวทางการจัดทํางบประมาณรายจายประจาํ ป 1 งบประมาณ พ.ศ. 2565 1 1. รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 2 2. ยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561–2580 3 3. แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ แผนแมบ ทเฉพาะกิจภายใตประเด็น 4 4 ยทุ ธศาสตรช าติ อนั เปนผลมาจากสถานการณโ ควิด - 19 (พ.ศ. 2564 – 2565) 5 และโครงการสําคัญเพ่ือบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติและแผนแมบทภายใต 5 ยทุ ธศาสตรช าติ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 4. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับทีส่ บิ สอง พ.ศ. 2560–2564 11 5. นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ า ดว ยความมน่ั คงแหง ชาติ 12 (พ.ศ. 2562-2565) 12 6. แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรุง) 19 7. นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ จันทรโอชา นายกรฐั มนตรี) 20 8. ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 24 9. เปาหมายการพฒั นาทีย่ ัง่ ยืน (Sustainable Development Goals : 26 SDGs) 28 10. (ราง) แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาํ ป พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 29 11. พระราชบัญญตั วิ ินยั การเงินการคลัง พ.ศ. 2561 12. พระราชบญั ญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 (ข)

สว นท่ี 3 สารบญั (ตอ ) หนา 30 รายละเอยี ดการจัดทํางบประมาณรายจายประจาํ ป 31 งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ 38 1. สรปุ ขอ เสนองบประมาณรายจา ยประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 45 เปรยี บเทยี บงบประมาณท่ีไดรบั ป พ.ศ. 2564 (ภาพรวม) 47 2. สรุปขอเสนองบประมาณรายจา ยประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 70 เปรียบเทยี บงบประมาณท่ีไดร บั ป พ.ศ. 2564 (สป.เดมิ ) 82 3. แบบสรปุ คําของบประมาณรายจา ยประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2565 85 87 ของสาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ (เดมิ ) ในระบบ e-budgeting 93 (สงป. 1001, สงป. 1001_1) 94 4. ความเช่อื มโยงยทุ ธศาสตรการจดั สรรงบประมาณ เปา หมายการให 96 บริการกระทรวง เปา หมายการใหบ ริการหนว ยงาน และผลผลิต/โครงการ 105 (สงป. 1002) 106 5. ความเชอื่ มโยงยทุ ธศาสตรกระทรวง กลยุทธห นวยงาน และนโยบาย 107 การจดั สรรงบประมาณ (สงป. 1003) 108 6. เปาหมายการใหบริการหนวยงาน และงบประมาณ/ประมาณการ 110 รายจายลวงหนา จําแนกตามแหลง เงนิ (สงป. 1004) 132 7. สรปุ งบประมาณรายจา ย ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2565 จําแนก 136 ตามกลุมแผนงาน (สงป. 1005) 148 8. แบบแสดงรายละเอียดตามงบรายจา ย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 149 (สงป. 1009) 150 9. รายงานตรวจสอบการบันทกึ เงนิ ระดับรายการ กจิ กรรม : บคุ ลากรภาครฐั สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กจิ กรรม : การดาํ เนนิ งานดานนโยบายและยทุ ธศาสตร กจิ กรรม : ความสัมพันธต างประเทศ กจิ กรรม : สนบั สนุนเทคโนโลยีเพอ่ื การปฏิบตั งิ าน กจิ กรรม : สนบั สนุนการดําเนนิ งานสํานกั งานรัฐมนตรี กจิ กรรม : สนับสนนุ การพัฒนาการศึกษา กิจกรรม : การสรางและพัฒนาเครอื ขายเทคโนโลยสี ารสนเทศ กจิ กรรม : ลูกเสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรียน กิจกรรม : อุดหนุนสํานักงานลกู เสอื แหงชาติ กิจกรรม : สนบั สนุนเทคโนโลยเี พื่อกจิ กรรมลกู เสือ กิจกรรม : การขบั เคลือ่ นนโยบายดานการศึกษา กจิ กรรม : การดําเนินงานตามแผนพัฒนาพนื้ ทรี่ ะดบั ภาค (ค)

สารบัญ (ตอ ) หนา 151 กจิ กรรม : การขับเคลอื่ นการปฏิรปู การศึกษาในสว นภูมิภาค 256 กิจกรรม : สนับสนุนการดําเนินงานการจดั การศึกษา 260 261 ในจังหวดั ชายแดนภาคใต 262 กิจกรรม : โครงการหนึง่ อําเภอหนึง่ ทนุ 263 กิจกรรม : การพฒั นาบคุ ลากรท่ีสอดคลองตอการเปลีย่ นแปลง 264 265 ในศตวรรษที่ 21 266 กิจกรรม : สรา งกลไกปองกนั การทจุ ริตใหเขม แข็งและมีประสทิ ธภิ าพ กิจกรรม : การสรา งภูมิคมุ กนั และปองกันยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา กิจกรรม : การศึกษาเพ่ือความมัน่ คง กิจกรรม : สง เสริมพหวุ ัฒนธรรมทเ่ี ขมแข็ง กิจกรรม : ชวยเหลือเยียวยาผูไดร บั ผลกระทบทง้ั ทางกาย และจิตใจตามหลักศาสนา ภาคผนวก ภาคผนวก 1 267 หนงั สอื เสนอการจัดทาํ คําขอเบ้อื งตน งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ 268 พ.ศ. 2565 แผนงานบุคลากรภาครฐั ของสาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 270 ภาคผนวก 2 271 หนงั สอื ถึงผูอาํ นวยการสํานักงบประมาณ เรื่อง การจดั ทาํ คําขอเบ้ืองตน งบประมาณรายจา ยประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานบุคลากรภาครัฐ 283 ของสาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 284 ภาคผนวก 3 หนงั สือถงึ ผูอาํ นวยการสํานกั นโยบายและยุทธศาสตร สป. เร่ือง การจัดทํา 285 งบประมาณรายจายประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานกั งาน 286 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ภาคผนวก 4 หนังสือถึงผูอาํ นวยการสํานักงบประมาณ เร่ือง การจัดทาํ คําของบประมาณ รายจายประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของกระทรวงศึกษาธิการ (ง)

สวนที่ 1 บทนาํ 1. ความเปนมา ดวยสํานักงบประมาณไดกําหนดแนวทางการจัดทาํ งบประมาณและปฏิทนิ งบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพ่ือใหหนวยรับงบประมาณใชเปนแนวทางประกอบการ วางแผนการดําเนินงานและกําหนดแผนการปฏิบัติงาน ใหสอดคลองกับกระบวนการจัดทํา งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ไดอยางมีประสิทธิภาพ ตามบทบัญญัติ ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลัง ของรัฐ พ.ศ. 2561 และพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และพระราชบัญญัติ หลักเกณฑการจัดทํารางกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ตลอดจน มติคณะรัฐมนตรี และระเบียบท่ีเก่ียวของ โดยเช่ือมโยงกับยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายและแผนระดับชาติ วาดวยความมั่นคงแหงชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนปฏิบัติราชการของกระทรวง เปาหมาย การพัฒนาท่ียั่งยืน และนโยบายสําคัญของรัฐบาล รวมท้ังการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มาเปนแนวทางในการจัดสรรงบประมาณ โดยคํานึงถึงความจําเปนและภารกิจ ของหนวยงาน ความตองการในพื้นที่และแผนพัฒนาพ้ืนที่เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพความคุมคา ในการใชจา ยงบประมาณและผลสัมฤทธิใ์ นการบริหารจัดการภาครฐั ดังนั้น สํานักงานปลดั กระทรวง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ค ว ร เต รี ย ม ค ว า ม พ ร อ ม เพื่ อ ก า ร จั ด ทํ า ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ า ย ป ร ะ จํ า ป ง บ ป ร ะ ม า ณ พ.ศ. 2565 โดยติดตามผลการดําเนินงานและผลการใชจ ายงบประมาณในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ใหมีความชัดเจน สอดคลองกับสถานการณในปจจุบันมากยิ่งขึ้น และเพ่ือใหกระบวนการวางแผน งบประมาณมปี ระสทิ ธิภาพสูงสดุ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงไดจัดทํา งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบดว ย 4 หนว ยงาน คือ 1. สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.) 2. สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) 3. สํานักงานคณะกรรมการ ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) และ 4. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (เดิม) ใหสอดคลองกับกระบวนการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ไดอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือเสนอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการใหความเห็นชอบและสง สาํ นักงบประมาณตอ ไป 2. วตั ถปุ ระสงค เพ่ือจัดทํารายละเอียดคําของบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

3. วิธีการดาํ เนนิ งาน 1. ศึกษา วิเคราะห แนวทางการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามปฏิทินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ใหสอดคลองกับ กระบวนการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไดอยางมีประสิทธิภาพ ตามบทบัญญัติตามบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 และพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และพระราชบัญญัติหลักเกณฑการจัดทํารางกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ตลอดจน มติคณะรัฐมนตรี และระเบียบท่ีเก่ียวของ โดยเช่ือมโยงกับ ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ท่ีสอดคลองกับ ยุทธศาสตรช าติ แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายและแผนระดับชาติวาดวยความม่ันคงแหงชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนปฏิบัติ ราชการของกระทรวง เปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน และนโยบายสําคัญของรัฐบาล รวมท้ัง การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนแนวทางในการจัดสรรงบประมาณ โดยคํานึงถึงความจําเปนและภารกิจของหนวยงาน ความตองการในพื้นท่ีและแผนพัฒนาพ้ืนที่ เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพความคุมคาในการใชจายงบประมาณและผลสัมฤทธ์ิในการบริหารจัดการ ภาครัฐ 2. ศึกษา วิเคราะห ทบทวนการกําหนดเปาหมายการใหบริการ ผลผลิต กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค ผลลัพธ และตวั ช้วี ัดผลสาํ เร็จ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 3. ศึกษากฎกระทรวงการแบงสวนราชการของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใหการจดั ทํางบประมาณมีความครอบคลุมตามภาระหนาที่และความรับผิดชอบของหนวยงาน ในสังกัดสาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 4. ศึกษา วิเคราะหงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ีไดรับ จัดสรรเปนขอมูลเปรียบเทียบในการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 และจัดทํางบประมาณในแผนงานบุคลากรภาครฐั 5. จัดทําแบบฟอรมที่เก่ียวของกับการจดั ทาํ งบประมาณรายจายประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2565 ตามที่สาํ นกั งบประมาณกําหนด พรอมคําอธิบายการกรอกขอมูลในแบบฟอรม 6. จัดประชุมปฏิบัติการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ดงั นี้ 6.1 ผูบริหารระดับสูงใหนโยบาย แนวคิด/ทิศทางการจัดทํางบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการท่ีสอดคลองกับ การบรหิ ารงบประมาณของสาํ นักงบประมาณ 6.2 วางแผนการดําเนินงานจดั ประชุมปฏบิ ัตกิ าร 6.3 จัดทําหนังสือเชิญประชุม ประสานงานการจัดประชุมทั้งในดานผูเขารวม ประชมุ อาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ รวมทั้งส่ิงจาํ เปนอน่ื สาํ หรบั การประชมุ 6.4 ชี้แจงรายละเอียดเก่ียวกับการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2565 เชน นโยบาย แนวคิด/ทิศทางการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่สอดคลองกับการบริหาร 2

งบประมาณของสํานักงบประมาณและยุทธศาสตร การจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2565 6.5 แบงกลุมปฏิบัติการ จัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ 6.6 อภปิ ราย ระดมความคดิ เห็น ใหข อเสนอแนะเพิม่ เตมิ มาปรับปรงุ แกไข 6.7 รวบรวมขอมูลการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของหนว ยงาน ในสงั กัดสาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในเบ้ืองตน 6.8 ประสาน ใหคําปรึกษา แนะนํา ติดตามความคืบหนาในการจัดทํา รายละเอียดงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของหนวยงานในสังกัดสํานักงาน ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ เพ่อื ใหการดาํ เนินการจัดทาํ งบประมาณรายจายและประมาณการรายจาย ลว งหนาระยะปานกลางของสาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร เปน ไปในทศิ ทางเดียวกนั 6.9 รวบรวม ตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห และสรุปการจัดทํางบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของหนว ยงานในสงั กัดสาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพื่อดําเนินการใหเปนไปตามที่สํานักงบประมาณกําหนด และดําเนินการเปรียบเทียบงบประมาณ รายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 กับงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ทไี่ ดรบั การจัดสรร 6.10 จัดทําและบันทึกขอมูลในระบบ e-budgeting ในแตละกิจกรรมทุกงบ รายจาย ประกอบดวย 4 ข้ันตอน คือ 1. บันทึกทะเบียนรายการ 2. รายละเอียดหรือคําช้ีแจง ของแตละรายการ 3. บันทึกงบประมาณในระบบ 4. บันทึกพิกดั สาํ หรับงบลงทนุ 6.11 เสนอการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานั กงาน ป ลัดก ระท รวงศึ กษ าธิการต อผูบ ริห าร เพื่ อ นํ าเส น อรัฐม น ตรีวาก าร กระทรวงศึกษาธิการใหความเห็นชอบในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ และนําสงสํานัก งบประมาณ 4. ผลทีค่ าดวา จะไดรับ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีรายละเอียดคําของบประมาณรายจาย ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีความสอดคลองกับ ยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) นโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร กระทรวงศึกษาธิการ ยทุ ธศาสตรส าํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร และภารกิจของหนว ยงาน 3

สว นท่ี 2 แนวทางการจัดทาํ งบประมาณรายจาย ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 การจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดดําเนินการตามแนวทางการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 2. ยทุ ธศาสตรชาติ พ.ศ.2561 – 2580 3. แผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติ แผนแมบทเฉพาะกิจภายใตประเด็นยุทธศาสตรช า อันเปนผลมาจากสถานการณโ ควิด - 19 (พ.ศ. 2564 – 2565) และโครงการสาํ คัญ เพ่ือบรรลเุ ปาหมายยุทธศาสตรช าตแิ ละแผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 4. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ทีส่ บิ สอง (พ.ศ.2560 - 2564) 5. นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ าดวยความมน่ั คงแหง ชาติ (พ.ศ.2562 - 2565) 6. แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรงุ ) ประกาศราชกจิ จานุเบกษา ใชบังคับเมื่อ วันท่ี 25 กมุ ภาพันธ 2564 7. นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ จนั ทรโอชา นายกรัฐมนตรี) 8. ยุทธศาสตรก ารจดั สรรงบประมาณประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 9. เปาหมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) 10. รา ง แผนปฏบิ ัติราชการประจําป พ.ศ.2565 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ 11. พระราชบัญญตั ิวนิ ัยการเงนิ การคลัง พ.ศ. 2561 12. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และ การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาเปนแนวทางในการจัดสรร งบประมาณ โดยคํานึงถึงความจาํ เปน ภารกจิ ความตองการในพน้ื ทแี่ ละแผนพัฒนา พน้ื ที่ 1. รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 หมวด 7 รัฐสภา สวนท่ี 4 บทท่ีใชแกสภาท้ังสอง มาตรา 142 ในการเสนอราง พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ ตองแสดงแหลงที่มาและประมาณ การรายได ผลสัมฤทธ์ิหรือประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการจายเงิน และความสอดคลองกับ ยุทธศาสตรชาติและแผนพัฒนาตาง ๆ ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑที่บัญญัติไวในกฎหมายวาดวยวินัย การเงนิ การคลังของรัฐ

2. ยุทธศาสตรชาติ พ.ศ.2561 – 2580 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 บัญญัติใหรัฐพึงจัดใหมียุทธศาสตรชาติ เปนเปาหมายการพัฒนาประเทศอยางย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใชเปนกรอบในการจัดทํา แผนตา ง ๆ ใหส อดคลองและบูรณาการกันเพื่อใหเกิดเปนพลังผลักดันรว มกันไปสูเปา หมาย วิสัยทัศน “ประเทศไทย มีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการ พฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” เปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกจิ พัฒนาอยางตอเนื่อง สงั คมเปนธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาตยิ ั่งยนื ” ยทุ ธศาสตรการพัฒนาประเทศ 6 ดาน และภารกิจสาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ สนบั สนนุ ใหบ รรลเุ ปาหมายการพัฒนาท่ีสาํ คญั ทัง้ 6 ดาน ดังนี้ 1) ยุทธศาสตรด านความมั่นคง 2) ยุทธศาสตรชาติดานการสรา งความสามารถในการแขงขัน 3) ยทุ ธศาสตรชาตดิ า นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย 4) ยุทธศาสตรชาตดิ านการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 5) ยุทธศาสตรช าติดานการสรา งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม 6) ยุทธศาสตรช าติดา นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั การประเมนิ ผลการพฒั นาตามยุทธศาสตรช าติ 1) ความอยูดีมีสุขของคนไทยและสงั คมไทย 2) ขีดความสามารถในการแขงขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได 3) การพฒั นาทรัพยากรมนุษยข องประเทศ 4) ความเทา เทียมและความเสมอภาคของสงั คม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดลอม และความยั่งยืนของทรัพยากร ธรรมชาติ 6) ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการและการเขาถึงการใหบริการของภาครฐั 3. แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทเฉพาะกิจภายใตประเด็นยทุ ธศาสตรชาติ อันเปนผลมาจากสถานการณโควิด - 19 (พ.ศ. 2564 – 2565) และโครงการสําคัญเพ่ือบรรลุ เปาหมายยุทธศาสตรช าติและแผนแมบทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 3.1 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ เปนแผนแมบทเพ่ือบรรลุเปาหมายตามที่กําหนด ไวในยุทธศาสตรชาติ มีผลผูกพันตอหนวยงานของรัฐท่ีเกี่ยวของจะตองปฏิบัติใหเปนไปตามนั้น รวมทั้งการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปตองสอดคลองกับแผนแมบทดวย โดยแผนแมบท ภายใตยุทธศาสตรชาติ ประกอบดวย 23 ประเด็น 62 แผนยอย (ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ.2561-2580) ณ วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2562 ซึง่ เก่ียวของกับภารกิจสาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 12 ประเดน็ 21 แผนยอ ย 5

1) ประเด็นความม่ันคง ใน 2 แผนยอย ไดแก 3.1 การรักษาความสงบภายใน ประเทศ 3.2 การปองกนั และแกไขปญ หาทมี่ ีผลกระทบตอความม่ันคง 6) ประเด็นพื้นท่ีและเมืองนาอยูอัจฉริยะ ใน 1 แผนยอย ไดแก 3.1 การพัฒนา เมอื งนา อยูอัจฉรยิ ะ 9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ ใน 3 แผนยอย ไดแก 3.1 การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก 3.2 การพัฒนาพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจภาคใต 3.3 การพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พเิ ศษชายแดน 10) ประเด็นการปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม ใน 1 แผนยอย คือ 3.1 การปลกู ฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม คานยิ ม และการเสริมสรางจติ สาธารณะและการเปนพลเมืองที่ดี 11) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ใน 4 แผนยอย ไดแก 3.2 การพัฒนาเด็กตั้งแตชวงการตั้งครรภจนถึงปฐมวัย 3.3 การพัฒนาชวงวัยเรียน/วัยรุน 3.4 การพฒั นาและยกระดบั ศกั ยภาพวยั แรงงาน 3.5 การสง เสรมิ ศักยภาพผูสงู อายุ 12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู ใน 1 แผนยอย ไดแก 3.1 การปฏิรูป กระบวนการเรยี นรูทต่ี อบสนองตอ การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 17) ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสังคม ใน 1 แผนยอย คือ 3.1 การคุมครองทางสังคมข้นั พื้นฐานและหลักประกันทางเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ 18) ประเด็นการเติบโตอยางย่ังยืน ใน 1 แผนยอย ไดแก 3.5 การยกระดับ กระบวนทศั นเพอ่ื กาํ หนดอนาคตประเทศ 20) ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครฐั ใน 4 แผนยอย ไดแก 3.1 การพัฒนาบริการประชาชน 3.2 การบริหารจัดการการเงินการคลัง 3.4 การพัฒนาระบบ บริหารงานภาครัฐ 3.5 การสรางและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ 21) ประเด็นการตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ ใน 1 แผนยอย คือ 3.1 การปองกันการทุจรติ และประพฤติมิชอบ 22) ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ใน 1 แผนยอย คือ 3.1 การพัฒนากฎหมาย 23) ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ใน 1 แผนยอย ไดแก 3.4 การวิจัย และพฒั นานวตั กรรมดานองคความรพู ้ืนฐาน 3.2 แผนแมบทเฉพาะกิจภายใตประเด็นยุทธศาสตรชาติ อันเปนผลมาจาก สถานการณโควิด-19 (พ.ศ. 2564-2565) และโครงการสําคัญเพื่อบรรลุเปาหมาย ยุทธศาสตรชาติและแผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565 คณะรัฐมนตรีมีมติเหน็ ชอบ เมือ่ วนั ที่ 29 กันยายน 2563 รวม 2 เรอื่ ง 1) การแกไขเพ่ิมเติมแผนแมบทใหสอดคลองกับความเปล่ียนแปลงหรือความจําเปน ของประเทศ ตามมาตรา 10 ของพระราชบัญญัติการจัดทํายุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2560 โดยมอบให สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ดําเนินการตามแนวทางการจัดทํา แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติในรูปแบบเฉพาะกิจ เพื่อรองรับผลกระทบจากสถานการณ โควิด-19 ในชวงระหวางป 2564-2565 คือ ใช ราง แผนแมบทเฉพาะกิจฯ เบื้องตน ไปรับฟง 6

ความคิดเห็นและนําเสนอ ราง แผนแมบทเฉพาะกิจฯ ฉบับสมบูรณ ตอคณะกรรมการยุทธศาสตรชาติ และคณะรฐั มนตรี ภายในเดือนพฤศจกิ ายน 2563 2) โครงการสําคัญเพื่อบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติและแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 571 โครงการ โดยมอบให สศช. สํานัก งบประมาณและหนว ยงานท่เี กี่ยวของ ดําเนินการตามแนวทางการขับเคลอื่ นโครงการสาํ คัญ ดงั น้ี 2.1) สํานักงบประมาณพิจารณาจัดสรรงบประมาณรองรับการดําเนินการ โครงการสําคัญประจําปงบประมาณ 2565 ทั้ง 571 โครงการ ในลักษณะงบประมาณพิเศษ หรืองบประมาณแบบบูรณาการ และใหใช ราง “แผนแมบทเฉพาะกิจภายใตยุทธศาสตรชาติ อันเปนผลมาจากสถานการณโควิด-19 พ.ศ. 2564-2565” และหวงโซคุณคาของประเทศ (Final Value Chain Thailand) เพ่ือประกอบการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณเพื่อการบรรลุ เปา หมายยทุ ธศาสตรชาติและแผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรชาติ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 2.2) สศช.รวมกับหนวยงานท่ีมีโครงการสําคัญ จัดทํารายละเอียดโครงการ สําคัญฯ ใหมีความสมบูรณครบถวน และ สศช.รวมกับหนวยงานเจาภาพแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติและหนวยงานที่เกี่ยวของ ดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 5 พฤษภาคม 2563 เพื่อขบั เคลือ่ นการดาํ เนนิ งานใหบ รรลุเปา หมายยทุ ธศาสตรชาติ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2566-2570 แผนแมบทเฉพาะกิจภายใตยุทธศาสตรชาติฯ (ประกาศ ราชกิจจานุเบกษา เลม 137 ตอนพิเศษ 305 ง. ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2563) ใหความสําคัญกับการพัฒนาศักยภาพของประเทศ ใหสามารถ “ลมแลวลุกไว” (Resilience) ภายใตแนวคิด Resilience ใน 3 มิติสําคัญ คือ การพรอมรับ (Cope) การปรับตัว (Adapt) และการเปล่ียนแปลงเพื่อพรอมเติบโตอยางยั่งยืน (Transform) เปาหมายสาํ คัญและตัวช้ีวดั ของแผนแมบ ทเฉพาะกิจภายใตยุทธศาสตรช าติฯ 1. คนสามารถยังชีพอยูได มีงานทํา กลุมเปราะบางไดรับการดูแลอยางท่ัวถึง มี 5 ตัวช้วี ัด 2. สรา งอาชพี และกระจายรายไดส ทู อ งถน่ิ มี 2 ตัวช้ีวดั 3. เศรษฐกจิ ประเทศฟน ตัวเขา สูภาวะปกติ มี 3 ตวั ชว้ี ัด 4. มีการวางรากฐาน เพื่อรองรับการปรบั โครงสรางเศรษฐกจิ ใหม มี 5 ตวั ชี้วัด แนวทางการพัฒนาที่ควรใหความสําคัญเปนพิเศษในระยะ 2 ปขางหนา (พ.ศ. 2564 -2565) 4 แนวทางหลัก 16 แนวทางยอย และความสอดคลองสู“เปาหมาย” ยุทธศาสตรช าติฯ 6 ดาน ภารกิจสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีสวนเกี่ยวของกับแนวทางหลักท่ี 1, 3 และ 4 ดงั นี้ แนวทางหลักที่ 1 การเสริมสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจฐานรากภายใน ประเทศ (Local Economy) สอดคลองยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน และดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม เพื่อลดความเสี่ยงในการพ่ึงพาตางประเทศ โดยกระจายความเจริญและโอกาสทางเศรษฐกิจไปยังระดับพื้นท่ี สงเสริมการลงทุน สรางงาน สรางรายไดใหแกชุมชน ทองถ่ิน และผูประกอบการโดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) รวมถึงเสริมสรางศักยภาพของทองถิ่นใหพรอมรับการกระจายตัวของการพัฒนา 7

และการเคลื่อนยายกําลังแรงงานกลับคืนถิ่น เพื่อใหเศรษฐกิจฐานรากเปนกําลังหลักในการ ขับเคล่อื นเศรษฐกิจของประเทศ ทงั้ ดา นการผลิตและการบรโิ ภค ประกอบดวย 3 แนวทางยอย 1.1) การสงเสริมการจางงาน 1.2) การชวยเหลือและพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) 1.3) การกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจไปยังหัวเมืองหลัก ในภูมิภาค และเมืองรอง ภารกิจสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีสวนเกี่ยวของกับแนวทางยอย ที่ 1.3) ในมิติการเปล่ียนแปลงเพ่ือพรอมเติบโตอยางย่ังยืน (Transform) ท่ี 3) ยกระดับสถาบัน การศึกษาในพื้นท่ีใหเปนศูนยกลางการพัฒนาและการเรียนรู ดานเทคโนโลยีนวัตกรรมท่ีสงเสริม จดุ เดน ทางเศรษฐกิจของพืน้ ท่นี ้นั ๆ แนวทางหลักที่ 3 การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคนใหเปนกําลังหลัก ในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ (Human Capital) สอดคลองยุทธศาสตรชาติ ดานการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย โดยการยกระดับและปรับทักษะแรงงานใหตรงกับ ความตองการของนายจาง รวมกับการเสริมสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจฐานรากใหสอดคลองกับ อุตสาหกรรมและบริการเปาหมายที่ประเทศไทยมีโอกาสและมีศักยภาพตามท่ีไดระบุไวในประเด็น การพัฒนาขอ 2) Future Growth ตลอดจนใหมีความสอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และโครงสรางเศรษฐกิจที่ปรับเปลี่ยนไป พรอมทั้งเยียวยาผูที่ไดรับผลกระทบจากภาวะวิกฤต และจัดสวัสดิการทางสังคมใหเหมาะสม เพียงพอกับความจําเปนในการดํารงชีวิต ท้ังความมั่นคง ทางรายไดและสขุ ภาพ ประกอบดวย 3 แนวทางยอ ย 3.1) การยกระดบั ทักษะ ปรับทักษะ และสงเสริมการเรียนรู 3.2) การขยายและพัฒนาระบบหลักประกนั ทางสังคม 3.3) การเสริมสรา งความมัน่ คงทางสขุ ภาพ ภารกิจสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีสวนเก่ียวของกับแนวทางยอย ที่ 3.1) ใน 3 มติ ิ มิติการพรอมรับ (Cope) ท่ี 3) สงเสริมการเขาถึงเทคโนโลยีดิจิทัลที่จําเปน สําหรับการเรียนการสอน การเรียนรูดวยตนเอง การพัฒนาทักษะอาชีพ และการแสวงหาโอกาส ทางเศรษฐกิจ มิติการปรับตัว (Adapt) ที่ 1) สงเสริมใหแรงงานมีทักษะที่หลากหลาย มีความยืดหยุน พรอมปรับตัวสูวิธีการทํางานหรืออาชีพใหมเมื่อมีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนดวยการ สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของแรงงาน 2) ปรับรูปแบบการเรียนรูและพัฒนาทักษะใหมีความยืดหยุน และตอบสนองตอภาวะวิกฤตมากข้ึน อาทิ การเรียนรูทางไกล หลักสูตรระยะส้ันและการผสมผสาน การเรียนรูแบบออฟไลนและออนไลน 3) สงเสริมทักษะที่จําเปน โดยเฉพาะทักษะภาษา ตางประเทศ และทักษะดิจิทัล รวมถึงทักษะท่ีสําคัญอื่น ๆ เชน ทักษะการคิดเชิงวิพากษ ทักษะ ทางการเงนิ และทักษะทางอารมณ เปนตน มิติการเปล่ียนแปลงเพ่ือพรอมเติบโตอยางย่ังยืน (Transform) ที่ 2) สราง สภาพแวดลอมและพัฒนาบุคลากรใหเออื้ ตอการเรยี นรตู ลอดชีวิต เพ่ือใหคนทุกชว งวัยสามารถเขาถึง 8

โอกาส ในการยกระดับและปรับทักษะความรูและทักษะเพื่อการพัฒนาตนเองและประกอบอาชีพ ที่หลากหลายไดอ ยางตอ เนื่อง แนวทางหลักท่ี 4 การปรับปรุงและพัฒนาปจจัยพื้นฐานเพื่อสงเสริมการฟนฟู และพัฒนาประเทศ (Enabling Factors) สอดคลองยุทธศาสตรชาติ ดานยุทธศาสตรชาติ ดานความม่ันคง ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน และดานการปรับสมดุลและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยเรงรัด พัฒนาและปรับปรุงโครงสรางพ้ืนฐานท่ีสําคัญ แกไข ปรับปรุงกฎหมายและการดําเนินงานของภาครัฐใหทันสมัย พัฒนาและประยุกตใชองคความรู และนวัตกรรม เสริมสรางความมั่นคงและพัฒนาระบบการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึง สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมจากภาคีเครือขาย ภาคประชาชน ภาคเอกชน ทองถิ่น สถาบัน และองคกรตาง ๆ เพ่ือลดอุปสรรค ขอจํากัด และสงเสริมการฟนฟูและพัฒนาประเทศ ตามประเด็นการพัฒนาทัง้ 3 ขอขางตน ประกอบดว ย 5 แนวทางยอย 4.1) การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเพื่อรองรับการปรบั โครงสรา งเศรษฐกิจใหม 4.2) การปรับปรุงกฎหมายและสงเสริมภาครัฐดจิ ิทลั 4.3) การพัฒนาองคความรูและนวัตกรรม 4.4) การเสรมิ สรา งความม่นั คงและบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง 4.5) การสง เสริมการมีสวนรว มของเครือขายและภาคกี ารพัฒนา ภารกิจสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีสวนเก่ียวของ 4 แนวทางยอย ใน 3 มติ ิ แนวทางยอยที่ 4.1 ในมิติการพรอมรับ (Cope) ท่ี 2) พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน เชิงระบบ เชน ระบบบริหารจัดการขอมูลภาครัฐ ระบบการบริหารจัดการงานวิจัยสูการผลิต เชงิ พาณิชย และระบบการแกป ญ หาและเยยี วยาผไู ดรบั ผลกระทบจากวกิ ฤตตา ง ๆ แนวทางยอ ยท่ี 4.2 ใน 3 มติ ิ มิติการพรอมรับ (Cope) ที่ 1) ปรับปรุงและพัฒนาฐานขอมูลแบบบูรณาการ โดยการจัดเก็บและเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงานตาง ๆ รวมถึงการเปดเผยและใชประโยชน จากฐานขอมูลในการวิเคราะหปญหา ความตองการ ศักยภาพ และวางแผนการพัฒนาใหสอดคลอง กับบริบทเชิงพื้นที่ อาทิ ฐานขอมูลประชาชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในพื้นที่และฐานขอมูล ทรัพยากรธรรมชาติเพอ่ื พัฒนาการผลิต มิติการปรับตัว (Adapt) ที่ 1) นําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการใหบริการ ประชาชน อาทิ กลไกเพื่อชวยเหลือกลุมเปาหมายและระบบเตรียมความพรอมดานการจัดการ สาธารณภยั เพอื่ บริการท่ีรวดเร็วและมปี ระสทิ ธภิ าพ มิติการเปลี่ยนแปลงเพื่อพรอมเติบโตอยางยั่งยืน (Transform) ที่ 4) ปรับโครงสรางและวิธีปฏิบัติราชการ ใหมีความยืดหยุน คลองตัว มีความบูรณาการเชื่อมโยงระหวาง หนวยงานที่เกี่ยวของเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานที่ยึดภารกิจหรือพื้นที่เปนพื้นฐาน และสามารถตอบสนองตอการเปลยี่ นแปลงไดอยางเทา ทัน แนวทางยอยท่ี 4.4 ในมิติการปรับตัว (Adapt) ท่ี 1) พัฒนาระบบการเตรียม ความพรอมดานการจัดการภาวะวิกฤตใหมีประสิทธิภาพ โดยการบูรณาการระบบการจัดการ 9

ในภาวะฉุกเฉินใหมีเอกภาพ สามารถรองรับเหตุการณความขัดแยงและสาธารณภัยรูปแบบใหม ในทุกมิติ อาทิ ความปลอดภยั ทางไซเบอร และภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ แนวทางยอยที่ 4.5 ในมิติการเปลี่ยนแปลงเพื่อพรอมเติบโตอยางยั่งยืน (Transform) ท่ี 1) เพิ่มบทบาทและศักยภาพของทองถ่ิน และยกระดับการมีสวนรวมของภาคีตาง ๆ ในการบรหิ ารราชการ แกไขปญหาและพัฒนาประเทศ 3.3 โครงการสําคัญเพ่ือบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติและแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรช าติ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 คณะรฐั มนตรีมีมตเิ ห็นชอบแนวทางการขับเคล่อื นการดําเนินงานเพ่ือบรรลุเปาหมาย ตามยุทธศาสตรชาติและแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประจําปงบประมาณ 2565 เมื่อวันท่ี 5 พฤษภาคม 2563 ตามที่ สศช. เสนอ โดยมอบสว นราชการดาํ เนินการ ดังน้ี 1) สศช. และทุกสวนราชการดําเนินการตามแนวทางการขบั เคลื่อนทง้ั 4 แนวทาง 1.1) การมองเปาหมายรวมกันในการดําเนินงานตามยุทธศาสตรชาติและแผน แมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ 1.2) การจัดทําโครงการสําคญั ตามการวิเคราะหห ว งโซความสัมพนั ธและชองวา ง การพัฒนาตอการบรรลุเปาหมาย (xyz) 1.3) การจดั ลําดับความเรงดว นของโครงการสําคัญ 1.4) การจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําป ตามกระบวนการท่ีกําหนดไวใ น พระราชกฤษฎกี าวา ดวยหลกั เกณฑแ ละวิธีการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2562 2) สศช. รวมกับหนวยงานเจาภาพขบั เคลื่อนแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ ทัง้ 3 ระดับ และสาํ นักงบประมาณ เพื่อใหไ ดผ ลลัพธต ามแนวทางการดาํ เนนิ การ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ โครงการสําคัญเพื่อบรรลุเปาหมายยุทธศาสตร ชาติและแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวม 571 โครงการ เมื่อวนั ท่ี 29 กันยายน 2563 จาํ แนกเปน 1) โครงการสําคัญประจําปงบประมาณ 2565 ตามแผนแมบทเฉพาะกิจฯ ซงึ่ เปน โครงการท่ตี องใหค วามสําคญั เปนพเิ ศษ (Top Priorities) รวม 250 โครงการ 2) โครงการสําคัญรองรับการพัฒนาประเทศ ที่สอดคลองกับการดําเนินการ เพ่ือบรรลุเปาหมายยอยที่เก่ียวของจากท้ัง 140 เปาหมายของ 23 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ รวม 321 โครงการ ภารกิจของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่สนับสนุนการบรรลุเปาหมาย ยุทธศาสตรชาติและแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ไดรับการ คัดเลือกเปนรายการโครงการสําคัญ (รายการหวงโซคุณคาของประเทศไทย : Value Chain Thailand) 6 โครงการสําคัญ 3 เปาหมายแผนแมบทยอย ใน 571 โครงการสําคัญ 140 เปาหมาย แผนแมบท ยอยภายใตยุทธศาสตรชาติ ที่คณะรัฐมนตรีมีมติใหความเห็นชอบ (29 กันยายน 2563) ประกอบดวย 10

1) แผนแมบทที่ 1 ประเดน็ ความมัน่ คง เปาหมายแผนแมบ ทยอย/โครงการสาํ คัญฯ ป 2565 010102 คนไทยมีความจงรักภักดี ซื่อสัตย พรอมธํารงรักษาไวซ่ึงสถาบันหลัก ของชาติ สถาบันศาสนา เปนท่ีเคารพยดึ เหนีย่ วจิตใจของคนไทยสูงขึน้ 1. โครงการสง เสริมกระบวนการเรียนรูและปลูกฝงแนวทางการจัดการความขัดแยง โดยแนวทางสนั ตวิ ิธี 2. โครงการสงเสริมการพัฒนาโรงเรียนเอกชนในโครงการตามพระราชดําริ สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจากรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯสยามบรมราชกมุ ารี ใหม คี ณุ ภาพ 2) แผนแมบ ทที่ 11 ประเดน็ การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต เปา หมายแผนแมบ ทยอย/โครงการสาํ คัญฯ ป 2565 110301 วัยเรียน/วัยรุน มีความรูและทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถวน รูจักคิด วิเคราะห รักการเรียนรู มีสํานึกพลเมือง มีความกลาหาญทางจริยธรรม มีความสามารถ ในการแกปญหา ปรบั ตวั สื่อสาร และทาํ งานรว มกับผูอ่นื ไดอ ยา งมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีขน้ึ 1. โครงการพฒั นาหลักสตู รทม่ี ีทักษะอาชีพสูงตามความตองการตลาดแรงงาน 3) แผนแมบทที่ 12 ประเดน็ การพัฒนาการเรยี นรู เปาหมายแผนแมบทยอย/โครงการสาํ คัญฯ ป 2565 120101 คนไทยไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู และทักษะท่ีจาํ เปน ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขาถึงการเรียนรูอยา งตอเนื่องตลอดชีวติ ดีขนึ้ 1. โครงการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรูการวัดและประเมินผล 2. โครงการสงเสริมเวทีเพื่อการจัดทํารูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่อง เช่อื มโยงการศกึ ษาขัน้ พ้นื ที่ฐานกับอาชีวศกึ ษาและอุดมศกึ ษา 3. โครงการพัฒนาสมรรถนะการจดั การเรียบนการสอนสาํ หรับศตวรรษที่ 21 4. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่สบิ สอง (พ.ศ.2560 - 2564) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติไดจ ัดทําแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ.2560-2564) สําหรับใชเปนแผนพัฒนาประเทศ ไทยในระยะ 5 ป ซ่ึงเปนการแปลงยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป สูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม เพื่อเตรียมความพรอมและวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยใหเปนประเทศท่ีพัฒนาแลว มคี วามม่นั คง มงั่ ค่ัง ย่งั ยืน ดว ยการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ยุทธศาสตรการพัฒนา 10 ยุทธศาสตร โดยมี 6 ยุทธศาสตรตามกรอบยุทธศาสตรชาติ พ.ศ.2561-2580 และอีก 4 ยุทธศาสตรที่เปนปจจัยสนับสนุน ซึ่งภารกิจสํานักงานปลัด กระทรวงศึกษาธิการสนับสนุนใหบรรลุเปาหมายรวม 10 ยุทธศาสตร ไดแก ยุทธศาสตรที่ 1) การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย ยุทธศาสตรที่ 2) การสรางความเปนธรรม ลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม ยุทธศาสตรท่ี 3) การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขัน ไดอยางยั่งยืน ยุทธศาสตรท่ี 4) การเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน ยุทธศาสตรท่ี 5) การเสริมสรางความม่ันคงแหงชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสูความมั่นค่ังและย่ังยืน ยุทธศาสตรที่ 6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล 11

ในสังคมไทย ยุทธศาสตรท่ี 7) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโลจิสติกส ยุทธศาสตรที่ 8) การพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตรท่ี 9) การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนทเี่ ศรษฐกิจ 10) ความรวมมือระหวา งประเทศเพือ่ การพัฒนา 5. นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ าดว ยความมน่ั คงแหง ชาติ (พ.ศ.2562 - 2565) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2562 เพ่ือเปน แผนหลักของชาติท่ีเปนกรอบทิศทางการดําเนินการปองกัน แจงเตือน แกไข หรือระงับยับยั้ง ภัยคุกคาม เพื่อธํารงไวซ่ึงความมั่นคงแหงชาติ รวม 7 กรอบแนวคิด 16 นโยบาย 19 แผน ซ่ึง ภารกิจ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีสวนเก่ียวของ รวม 7 นโยบาย 6 แผน ไดแกนโยบายท่ี 1) เสริมสรางความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สอดรับดวย แผนที่ 3) แผนการเสริมสรางความม่ันคงของสถาบัน หลักของชาติภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข นโยบายท่ี 2) สรางความเปนธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันทในชาติ สอดรับดวยแผนที่ 6) แผนการสรางความสามัคคีปรองดอง นโยบายที่ 3) ปอ งกันและแกไขการกอเหตุรุนแรงในจังหวัด ชายแดนภาคใต สอดรับดวย แผนที่ 7) แผนการปองกันและแกไขปญหาการกอเหตุรุนแรงในพ้ืนที่ จังหวัดชายแดนภาคใต นโยบายท่ี 5) สรางเสริมศักยภาพการปองกันและแกไขปญหา ภัยคุกคามขามชาติ และนโยบายที่ 8) เสริมสรางความเขมแข็งและภูมิคุมกันความมั่นคงภายใน สอดรับดวยแผนท่ี 10) แผนการปองกันและปราบปรามยาเสพติด นโยบายท่ี 9) เสริมสรางความม่ันคง ของชาติจากภัยการทุจริต สอดรับดวยแผนท่ี 11) แผนการเสริมสรางความม่ันคงของชาติ จากภัยทุจริต และนโยบายท่ี 10) เสริมสรางความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร สอดรับดวยแผนที่ 15) แผนการ ปอ งกนั และแกไขปญ หาความมน่ั คงทางไซเบอร 6. แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ประกาศราชกิจจานุเบกษา ใชบังคับเม่ือวันท่ี 25 กมุ ภาพนั ธ 2564 แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) 13 ดาน พรอมกับแนวทางการขับเคลื่อนแผนฯ (ฉบับปรบั ปรุง) โดยมีสาระสาํ คญั ดงั น้ี 1. แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) 13 ดาน ไดแก 1) ดานการเมือง 2) ดานการ บริหารราชการแผนดิน 3) ดานกฎหมาย 4) ดานกระบวนการยุติธรรม 5) ดานเศรษฐกิจ 6) ดาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 7) ดานสาธารณสุข 8) ดานส่ือสารมวลชน เทคโนโลยี สารสนเทศ 9) ดานสังคม 10) ดานพลังงาน 11) ดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มชิ อบ 12) ดานการศึกษา และ 13) ดานวัฒนธรรม กฬี า แรงงาน และการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย 2. แ น ว ท างก ารขั บ ค ล่ื อ น แ ผ น ก าร ป ฏิ รูป ป ระ เท ศ ฯ (ฉ บั บ ป รับ ป รุ ง) และกิจกรรมปฏิรูปท่ีจะสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอประชาชนอยางมีนัยสําคัญ (Big Rock) สาระสําคัญทเ่ี ก่ยี วขอ ง ดังนี้ 2.1 การดําเนินกิจกรรมของแผนการปฏิรูปประเทศเดิม ใหดําเนินการคูขนานกับ กจิ กรรม Big Rock โดยหนวยงานรับผิดชอบหลักรับไปดําเนินการในลักษณะภารกิจปกติของหนว ยงาน 12

2.2 สํานักงบประมาณใหความสําคัญในการจัดสรรงบประมาณเพ่ือใชในการ ดําเนินโครงการภายใตกิจกรรม Big Rock เพื่อใหเกิดการเปล่ียนแปลงแผนการปฏิรูปประเทศไปสู การปฏบิ ตั ไิ ดอยางเปน รูปธรรม 2.3 คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ 2 คณะ และหนวยงานหลัก 36 แหง รับผิดชอบ 62 กิจกรรม Big Rock ที่มีเปาหมายสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาประเทศ ท่ีกําหนดไว ในยุทธศาสตรชาติและแผนแมบทฯ รวมกันขับเคลื่อนแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ใหแลวเสรจ็ ภายในป 2565 โดยมีกฎหมายที่ตองจดั ทาํ หรือปรับปรุง รวมท้งั สน้ิ 45 ฉบบั ภารกิจสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวของและสนับสนุนเปาประสงค แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) รวม 10 ดาน ประกอบดวย (1) ดานการเมือง (2) ดานการ บริหารราชการแผนดิน (3) ดานกฎหมาย (5) ดานเศรษฐกิจ (6) ดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (8) ดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ (9) ดานสังคม (11) ดานการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (12) ดานการศึกษา (13) ดานวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย 1) แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบบั ปรับปรุง) ดานการเมอื ง เปาประสงค เพื่อสรางความรูความเขาใจแกประชาชนเกี่ยวกับการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข สง เสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวม ทางการเมืองและกระบวนการนโยบายสาธารณะ การเมืองมีเสถียรภาพและความม่ันคงและเกิด ความสามัคคีปรองดองสมานฉันทของคนในชาติ ตลอดจนเพ่ือใหพรรคการเมืองและนักการเมือง ยึดม่ันในประโยชนของประเทศชาตแิ ละประชาชนเปนหลกั กิจกรรม Big Rock ดานการเมอื ง ประกอบดวย 5 กจิ กรรมปฏริ ปู สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการเก่ียวของกจิ กรรมปฏิรูปที่ 1 และ 3 (1) การสงเสริมความรูทางการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข (2) การสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ในกระบวนการนโยบาย สาธารณะทกุ ระดับ (3) การสรา งความสามัคคปี รองดองสมานฉนั ทของคนในชาติ (4) การสงเสรมิ การพัฒนาพรรคการเมือง (5) การปรบั ปรงุ กระบวนการรางรฐั ธรรมนูญ 2) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรงุ ) ดานการบรหิ ารราชการแผนดนิ เปาประสงค เพื่อใหความสําคัญในการเตรียมความพรอมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง ในทุกมิตแิ ละรองรับผลกระทบของสถานการณชีวติ วถิ ีใหม และทิศทางที่กําหนดไวต ามยุทธศาสตรชาติ กิจกรรม Big Rock ดานการบริหารราชการแผนดิน ประกอบดวย 5 กิจกรรม ปฏิรูป สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารเกย่ี วของทง้ั 5 กจิ กรรมปฏิรปู (1) ปรบั เปลย่ี นรปู แบบการบริหารงานและการบรกิ ารภาครฐั ไปสูระบบดิจิทลั (2) จัดโครงสรางองคกร และระบบงานภาครัฐใหมีความยืดหยุน คลองตัว และเปลยี่ นแปลงไดตามสถานการณ 13

(3) ปรับเปล่ียนการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐสูระบบเปด เพ่ือใหไดมา และรกั ษาไวซ งึ่ คนเกง ดี และมีความสามารถอยางคลองตวั ตามหลักคณุ ธรรม (4) สรางความเขมแข็งในการบริหารราชการในระดับพ้ืนท่ี โดยการมีสวนรวม ของประชาชน (5) ขจัดอุปสรรคในการจัดซ้ือจัดจางภาครัฐ และการเบิกจายเงินเพื่อใหเกิด ความรวดเรว็ คุมคาโปรง ใส ปราศจากการทุจรติ 3) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ดานกฎหมาย เปาประสงค เพื่อใหเกิดผลอันพึงประสงคในการมีกฎหมายท่ีดีและมีเพียงเทาที่ จําเปน ตามหลกั การของมาตรา 258 ค. ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย กจิ กรรม Big Rock ดา นกฎหมาย ประกอบดวย 5 กิจกรรมปฏริ ูป สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการเกยี่ วขอ งกิจกรรมปฏริ ูปท่ี 1 และ 3 (1) มีกลไกยกเลิกหรือแกไขปรับปรุงกฎหมายท่ีสรางภาระหรือเปนอุปสรรคตอการ ดํารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพของประชาชน เพ่ือขับเคล่ือนใหเกิดผลอยางมีประสิทธิภาพและเปน รปู ธรรม (2) จัดใหมีกลไกทางกฎหมายเพ่ือใหมีการพิจารณาปรับเปลี่ยนโทษทางอาญา ท่ีไมใชความผิดรายแรงใหเปนโทษปรับเปนพินัย เพ่ือลดผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพของประชาชน (3) จัดใหมีกลไกกําหนดใหสวนราชการหรือหนวยงานของรัฐซ่ึงมีหนาท่ีควบคุม กํากับดูแล และบังคับการใหเปนไปตามกฎหมาย นําเทคโนโลยีมาใชในการดําเนินการเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบงั คบั ใชก ฎหมาย (4) จัดใหมกี ลไกชวยเหลอื ประชาชนในการจัดทําและเสนอรา งกฎหมาย (5) จัดทําประมวลกฎหมายเพื่อรวบรวมกฎหมายเร่ืองเดียวกันไวดวยกัน เพือ่ ความสะดวกในการใชงาน 5) แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ดานเศรษฐกิจ เปา ประสงค เพ่ือยกระดับศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ กระจายความเจริญ และความเขมแข็งของภาคสังคม และปรับบทบาท โครงสราง และกลไกสถาบันบริหารจัดการ เศรษฐกิจของประเทศตามหลักแนวคิดการบริหารงานคุณภาพท่ีมีบทบาทสําคัญตอการขับเคล่ือน ประเด็นปฏิรูปเพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจ และลดความเหล่ือมล้ําใหเกิด ผลสมั ฤทธ์ิ กจิ กรรม Big Rock ดานเศรษฐกิจ ประกอบดว ย 5 กิจกรรมปฏริ ูป สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกีย่ วของกจิ กรรมปฏริ ปู ท่ี 5 (1) การสรา งเกษตรมลู คาสูง (2) การสงเสรมิ และพัฒนาการทองเทย่ี วคุณภาพสูง (3) การเพ่ิมโอกาสของผูประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กในอุตสาหกรรม และบริการเปา หมาย (4) การเปน ศูนยกลางดา นการคาและการลงทนุ ของไทยในภมู ภิ าค (5) การพัฒนาศักยภาพคนเพอ่ื เปนพลังในการขบั เคล่ือนเศรษฐกิจ 14

6) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ดา นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปาประสงค เพื่อใหทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม ไดรับการดูแล รักษา และฟนฟูอยางเปนระบบ มีประสิทธิภาพและมีความสมบูรณยั่งยืน เปนฐานการพัฒนาประเทศ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม พรอมทั้งเกิดความสมดุลระหวางการอนุรักษ และการใช ประโยชนลดความขัดแยงของการพัฒนาที่ใชฐานทรัพยากรธรรมชาติ บรรเทาผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมและลดภัยพิบัติทางธรรมชาติ และมีระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอมท่ีมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานการมีสว นรว มของทุกภาคสว นตามแนวทางประชารัฐ กิจกรรม Big Rock ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ประกอบดวย 4 กิจกรรมปฏิรปู สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเก่ียวขอ งกจิ กรรมปฏริ ปู ที่ 2 (1) เพ่ิมและพัฒนาพน้ื ท่ปี าไมใหไดต ามเปาหมาย (2) การบริหารจัดการเขตทางทะเลและชายฝงรายจังหวัด (บรรจุในหลักสูตร การศึกษาฯ) (3) การบริหารจัดการนํ้าเพื่อสรางเศรษฐกิจชุมชนในพ้ืนท่ีนอกเขตชลประทาน (4) ปฏิรปู ระบบการบรหิ ารจดั การเขตควบคุมมลพิษ กรณเี ขตควบคุมมลพษิ มาบตาพดุ 8) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยี สารสนเทศ เปาประสงค เพ่ือมุงเนนการสรางดุลยภาพระหวางเสรีภาพในการทําหนาท่ีของ ส่ือบนความรบั ผิดชอบกับการกํากบั ที่มคี วามชอบธรรม และการใชพ้ืนทดี่ ิจทิ ลั เพอื่ การสื่อสารอยางมี จรรยาบรรณ ดํารงรักษาเสรีภาพของการแสดงออก การรับรูของประชาชน ดวยความเชื่อวาเสรีภาพ ของการส่ือสารคือเสรีภาพของประชาชนตามแนวทางของประชาธิปไตย และมุงเนนใหสื่อเปน โรงเรียนของสังคมในการใหความรูแกประชาชน ปลูกฝง วัฒนธรรมของชาติ และปลูกฝง ทัศนคตทิ ี่ดี กิจกรรม Big Rock ดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดวย 3 กิจกรรมปฏิรปู สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกีย่ วขอ งกิจกรรมปฏิรปู ที่ 3 (1) การพัฒนาระบบคลังขอมูลขาวสารเพื่อการประชาสัมพันธเชิงรุก และการจดั การ (2) การกาํ กบั ดูแลส่อื ออนไลน (3) การยกระดบั การรูเ ทาทันสื่อ 9) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบบั ปรับปรุง) ดา นสังคม เปาประสงค เพื่อแกไขปญหาความยากจนและความเหล่ือมล้ําในสังคม การคุมครองกลุมเปราะบางในสังคม ตลอดจนการสรางความเปนธรรมในการเขาถึงทรัพยากร และแหลงทนุ ของประชาชน กิจกรรม Big Rock ดานสังคม ประกอบดวย 5 กิจกรรมปฏริ ปู สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกีย่ วของกิจกรรมปฏิรูปท่ี 2 และ 3 (1) การมีระบบการออมเพ่ือสรางหลักประกันรายไดหลังวัยเกษียณที่เพียงพอ และครอบคลุมในกลุมแรงงานท้ังในและนอกระบบ 15

(2) ผลักดันใหมีฐานขอมูลทางสังคมและคลงั ความรูในระดับพื้นท่ี เพือ่ ใหสามารถ จัดสวสั ดิการและสรางโอกาสในการประกอบอาชพี ท่ีตรงตามความตอ งการของกลุมเปา หมาย (3) การปฏิรูปการข้ึนทะเบียนคนพิการ เพ่ือใหคนพิการไดรับสิทธิ สวัสดิการ และความชวยเหลือไดอ ยางครอบคลุมและทั่วถงึ (4) การสรา งกลไกที่เอ้อื ใหเกิดชมุ ชนเมอื งจัดการตนเอง (5) การสรา งมูลคาใหก ับทีด่ นิ ท่รี ฐั จดั ใหก บั ประชาชน 11) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ดานการปองกันและปราบปราม การทจุ รติ และประพฤติมิชอบ เปาประสงค เพ่ือแกปญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ ใหมีการสงเสรมิ สนับสนุน และใหความรูแกประชาชนเก่ียวกับการทุจริตประพฤติมิชอบ และใหมีมาตรการควบคุม กํากับ ติดตามการบริหารจัดการของหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะการปฏิบัติหนาที่ ดวยความซื่อสัตยสุจริตของบุคลากรใชดุลยพินิจโดยสุจริต ภายใตกรอบธรรมาภิบาลและการกํากับ กิจการท่ีดีอยางแทจริง รวมถึงการเปดเผยขอมูลขาวสารภาครัฐใหประชาชนสามารถเขาถึง และตรวจสอบไดและสนับสนุนแนวรวมปฏิบัติของภาคเอกชนในการตอตานการทุจริตเพ่ือขจัด ปญ หาการทุจรติ ทเี่ กีย่ วของกับการติดตอ กบั หนว ยงานภาครฐั กิจกรรม Big Rock ดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประกอบดวย 5 กิจกรรมปฏริ ูป สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารเกยี่ วของกิจกรรมปฏริ ูปที่ 4 และ 5 (1) สงเสริมการมีสวนรวมของภาคประชาชนในการตอตานการทุจริต (2) พั ฒ น าระบ บ คุม ครองผูแจงเบ าะแสการทุ จริตที่ มี ป ระสิท ธิภ าพ (3) พัฒนากระบวนการยุติธรรมที่รวดเร็ว โปรงใส ไมเลือกปฏิบัติในการดําเนินคดี ทจุ รติ ทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชน (4) พัฒนาระบบราชการไทยใหโปรง ใส ไรผลประโยชน (5) พัฒนามาตรการสกัดก้ันการทุจริตเชิงนโยบายในการดําเนินโครงการ ขนาดใหญ 12) แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ดานการศึกษา เปาประสงค เพื่อยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหลื่อมล้ําทางการ ศึกษา มุงความเปนเลิศและสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ ปรับปรุงระบบการศึกษา ใหมีประสิทธิภาพในการใชทรัพยากร เพ่ิมความคลองตัวในการรองรับความหลากหลาย ของการจัดการ ศกึ ษาและสรา งเสริมธรรมภิบาล ซง่ึ ครอบคลุมการปฏริ ูปการเรียนรูตลอดชีวติ ความสอดคลอ งของการปฏิรูปประเทศดานการศกึ ษากับยทุ ธศาสตรชาติ 1. ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ขอ 4.2 การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชวงชวี ิต ขอ 4.3 ปฏริ ูปกระบวนการเรียนรทู ่ตี อบสนองตอการ เปล่ียนแปลง ในศตวรรษที่ 21 ขอ 4.4 การตระหนักถงึ พหุปญญาของมนุษยทหี่ ลากหลาย 2. ยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ขอ 4.1 การลดความเหลื่อมล้ํา สรางความเปนธรรมในทุกมิติ ขอ 4.2 การกระจายศูนยกลางความเจริญ ทางเศรษฐกจิ สังคม และเทคโนโลยี ขอ 4.3 การเสรมิ สรา งพลังทางสงั คม 16

ความสอดคลองของการปฏิรูปประเทศดานการศึกษากับแผนแมบทภายใต ยุทธศาสตรชาติ 1. แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวง ชีวิต 1.1 เด็กเกิดอยางมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเขาถึงบริการที่มีคุณภาพมากขึ้น 1.2 วัยเรียน/วัยรนุ มีความรู และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถวน รูจักคิด วิเคราะห รักการเรียนรู มีสํานึกพลเมือง มีความกลาหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแกปญหา ปรับตัว สื่อสาร และทํางานรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีข้ึน 1.3 แรงงานมีศักยภาพในการ เพ่ิมผลผลิต มีทักษะอาชีพสูง ตระหนักในความสําคัญท่ีจะพัฒนาตนเองใหเต็มศักยภาพ สามารถ ปรับตัวและเรยี นรูสิ่งใหมตามพลวัตของโครงสรา งอาชพี และความตองการของตลาดแรงงานเพิ่มขึ้น 1.4 มีคนไทยที่มีความสามารถและผูเชี่ยวชาญตางประเทศเขามาทําวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมในอุตสาหกรรมเปาหมายเพ่ิมข้ึน 1.5 ผูสูงอายุมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดี มีความมั่นคงในชีวิต มีทักษะการดํารงชีวิต เรียนรูพัฒนาตลอดชีวิต มีสวนรวมในกิจกรรมสังคม สรางมูลคาเพิ่มใหแก สังคมเพมิ่ ข้นึ 2. แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู 2.1 คนไทย ไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรูและทักษะที่จาเปนของโลกศตวรรษ ที่ 21 สามารถเขาถงึ การเรยี นรูอ ยางตอเนอ่ื งตลอดชีวติ ดขี ึน้ 3. แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็นพลังทางสังคม 3.1 ประชากรไทย มกี ารเตรยี มการกอนยามสงู อายเุ พอ่ื ใหส งู วยั อยางมีคุณภาพเพิ่มขึ้น กิจกรรม Big Rock ดา นการศกึ ษา ประกอบดว ย 5 กิจกรรมปฏริ ปู สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเกี่ยวของกิจกรรมปฏริ ูปท่ี 1 - 3 กิจกรรมปฏิรูปท่ี 1 การสรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแต ระดบั ปฐมวัย (หนว ยรับผิดชอบหลัก : กองทุนเพอ่ื ความเสมอภาคทางการศึกษา) กิจกรรมปฏิรูปท่ี 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสูการเรียนรูฐานสมรรถนะ เพ่ือตอบสนองการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 (หนวยรับผิดชอบหลัก : กระทรวงศึกษาธกิ าร) กิจกรรมปฏิรูปท่ี 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหมคี ุณภาพมาตรฐาน (หนว ยรับผดิ ชอบหลัก : กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม) กิจกรรมปฏิรูปที่ 4 การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและระบบอ่ืน ๆ ที่เนนการ ฝก ปฏิบัติอยา งเต็มรูปแบบ นําไปสูการจางงานและการสรางงาน (หนวยรับผิดชอบหลัก : กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร) กิจกรรมปฏิรูปท่ี 5 การปฏิรูปบทบาทการวิจัยและระบบธรรมาภิบาลของสถาบัน อุดมศึกษาเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายไดปานกลางอยางยั่งยืน (หนวยรับผิดชอบหลัก : กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวตั กรรม) ภารกิจของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีสวนเก่ียวของและสนับสนุน ในขน้ั ตอนของกจิ กรรมปฏริ ปู ที่ 1, 2 และ 3 ดังน้ี กิจกรรมปฏิรูปท่ี 1 การสรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแตระดับ ปฐมวยั (กองทุนเพ่อื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา) 17

ขั้นตอนการดาํ เนนิ การปฏริ ปู 1. การพัฒนาเคร่ืองมือและระบบบูรณาการทํางานเพื่อสนับสนุนการดําเนินการ ปฏิรูป 2. การสนับสนุนนวัตกรรมการปองกัน (Prevention) และการแกไข (Correction) ปญหาเด็กและเยาวชนออกจากระบบการศึกษาตั้งแตระดับปฐมวัย เพ่ือลดความเหลื่อมลํ้าทางการ ศกึ ษา 3. การสนบั สนุนกลไกการดําเนินงานในระดบั พน้ื ท่ีและตน สังกดั 4. การติดตามความคืบหนา และการระดมการมีสวนรว มของสังคม กิจกรรมปฏิรูปท่ี 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสูการเรียนรูฐานสมรรถนะ เพอื่ ตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 (กระทรวงศกึ ษาธิการ) ขัน้ ตอนการดําเนินการปฏริ ูป 1. ปรับแนวทางการจดั การเรยี นรูทุกระดับ 2. พฒั นาครใู หม ีศกั ยภาพในการออกแบบการเรียนรู 3. ปรับปรงุ ระบบการวัดผลและประเมินผล 4. สงเสริมการมีสวนรวมในการจัดการศึกษาและการเรียนรูกับภาคีเครือขายตาง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน 5. คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานการศึกษา ประชุมหนวยงานผูรับผิดชอบ ตดิ ตามความคบื หนา ในการดําเนินการ กิจกรรมปฏิรูปท่ี 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหมคี ุณภาพมาตรฐาน (กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม) ขน้ั ตอนการดาํ เนินการปฏริ ปู 2) ดานกลไกและระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสายสามัญศึกษา และสายอาชวี ศึกษาใหมีคณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพและมคี วามกาวหนาในการประกอบอาชีพ ข้ันตอนที่ 1 การศึกษาวิเคราะหและกําหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐาน และตัวช้วี ัดสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ข้ันตอนท่ี 2 การศึกษาวิเคราะหและกําหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐาน และตัวชี้วัดสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาตามความตอ งการจําเปน ข้นั ตอนท่ี 3 การศกึ ษาและพัฒนาระบบ/รปู แบบการนเิ ทศ การตดิ ตามชว ยเหลือ ครู และการพฒั นาสมรรถนะศกึ ษานิเทศกตามความตองการจาํ เปน ข้ันตอนที่ 4 การสงเสริม สนับสนุนระบบกลไกใหครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการติดตามชวยเหลือครูใหม ครูท่ีไมมีวุฒิทางการศึกษา ครทู ่ีมีความรู ความสามารถและมีคุณลักษณะไมเพียงพอกับการปฏิบัติงานในหนาท่ี ครแู ละสถานศึกษา ในทองถ่ินยากจน หางไกลและทุรกันดาร อาทิ การรวมมือกับชุมชน (PLC&CPD: (Professional Learning Community & Continuous Professional Development) การศึกษาอบรม และแพลตฟอรมกระบวนการจดั การเรยี นรูการบริหารการศึกษาและการนเิ ทศการศึกษา 18

ข้ันตอนท่ี 5 การปรับปรุงระบบการประเมินการปฏิบัติงานและสมรรถนะ วชิ าชพี ครู ขั้นตอนที่ 6 การพัฒนาระบบกลไกในการเลื่อนวิทยฐานะท่ีไดรับการ ปรับปรุงใหมและการคงวิทยฐานะของครู โดยนําผลการประเมินวิทยฐานะไปเปนสวนสําคัญในการ ประเมินและการปรบั ปรุงคาตอบแทนที่เหมาะสม 13) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ดานวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย เปาประสงค เพื่อใหประชาชนมีคุณธรรมจริยธรรม เพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจ ฐานวัฒนธรรม ประชาชนออกกําลังกายและเลนกีฬาอยางสมํ่าเสมอ รวมถึงมีความรอบรู ดานสุขภาพเพื่อพัฒนาสุขภาพใหแข็งแรง และเปนฐานในการพัฒนากีฬาชาติ และกําลังคน ของประเทศมีทักษะท่ีเอื้อตอการสรางผลิตภาพแรงงานและคุณภาพชีวิตท่ีดี กจิ กรรม Big Rock ดา นวฒั นธรรม กีฬา แรงงาน และการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย ประกอบดวย 5 กจิ กรรมปฏิรูป สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารเก่ยี วของกิจกรรมปฏิรูปที่ 2 และ 5 (1) การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมในทุกชวงวัย ผานการปฏิรูปอุตสาหกรรมบันเทิง และการใชกลไกรว มระหวา งภาครฐั และเอกชนในการขบั เคลอื่ น (2) การพัฒนาการเรียนรูและเศรษฐกิจชุมชนบนฐานวัฒนธรรมแบบบูรณาการ (ข้ันตอนท่ี 2 สรางความตระหนักและจูงใจใหเด็กและเยาวชนเห็นความสําคัญ และสืบสาน รักษา และตอ ยอดทนุ ทางวฒั นธรรมในพน้ื ท่ีของคนแตล ะพนื้ ท่ีอ่ืน ๆ ของประเทศ) (3) การสงเสริมประชาชนเปน ศูนยกลางในการสรางวิถีชวี ิตทางการกฬี าและการ ออกกําลังกายอยางทั่วถึงและเทาเทียม และการสรางโอกาสทางการกีฬาและการพัฒนานักกีฬา อาชีพ (4) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการกําลังคนของประเทศแบบบูรณาการ (5) การบริหารจัดการศักยภาพบุคลากรของประเทศ (ขั้นตอนท่ี 1 พัฒนาทักษะ ดิจิทัลใหก บั คนทกุ ชวงวัยอยางเหมาะสม) 7. นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยทุ ธ จันทรโ อชา นายกรฐั มนตร)ี นายกรัฐมนตรีไดแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอสภานิติบัญญัติแหงชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2562 รวม 12 นโยบายหลัก และ 12 นโยบายเรงดวน ซึ่งภารกิจสํานกั งาน ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมสี วนเกี่ยวของ รวม 11 นโยบายหลกั 5 นโยบายเรงดวน ดงั น้ี นโยบายหลักที่ 1 การปกปองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย นโยบายหลักที่ 2 การสรางความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ นโยบายหลัก ที่ 3 การทํานุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (3.2 ปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมท่ีดี ท้ังดาน คุณธรรม จริยธรรม กตัญู ความซื่อสัตย การมีวินัย เคารพกฎหมาย มีจิตสาธารณะและการมี สวนรว มทําประโยชนใ หป ระเทศและการเปน พลเมืองดี) นโยบายหลักท่ี 4 การสรางบทบาทของไทย ในเวทีโลก (4.2 สรางความเปนปกแผนของอาเซียน) นโยบายหลักที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจ และความสามารถในการแขงขันของไทย (5.3 พัฒนาภาคเกษตร 5.4 พัฒนาภาคการทองเที่ยว) 19

นโยบายหลักที่ 6 การพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกิจและการกระจายความเจรญิ สูภมู ิภาค (6.1 สงเสริมพื้นที่ เศรษฐกิจพิเศษเพื่อเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจของเอเชีย 6.2 สงเสริมและเรงรัดการพัฒนาเมือง อจั ฉริยะนาอยูทั่วประเทศ) นโยบายหลักที่ 8 การปฏริ ูปกระบวนการเรียนรูและการพัฒนาศกั ยภาพ ของคนไทยทุกชวงวัย (8.1 สงเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย 8.2 พัฒนาบัณฑิตพันธุใหม 8.5 วิจัย และพัฒนานวัตกรรมที่ตอบโจทยการพัฒนาประเทศ 8.6 สงเสริมการเรียนรูและพัฒนาทักษะ ทุกชวงวัย 8.7 จัดทําระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น) นโยบายหลักที่ 9 การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสังคม (9.4 สรางหลักประกันทางสังคม) นโยบาย หลักท่ี 10 การฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาส่ิงแวดลอมเพ่ือสรางการเติบโตอยางย่ังยืน นโยบายหลักที่ 11 การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ นโยบายหลักท่ี 12 การปองกันและปราบปราม การทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ และกระบวนการยตุ ธิ รรม นโยบายเรงดวนที่ 6 การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสูอนาคต นโยบาย เรงดวนที่ 7 การเตรียมคนไทยสูศตวรรษท่ี 21 นโยบายเรงดวนที่ 8 การแกไขปญหาทุจริต และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ นโยบายเรง ดวนที่ 9 การแกไ ขปญหายาเสพติดและสรางความสงบสุข ในพน้ื ทีช่ ายแดนภาคใต นโยบายเรงดวนท่ี 10 การพฒั นาระบบการใหบรกิ ารประชาชน 8. ยุทธศาสตรก ารจัดสรรงบประมาณประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 142 กําหนดใหในการเสนอ รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณตองแสดงความสอดคลองกับ ยุทธศาสตรชาติและแผนพัฒนาตาง ๆ ประกอบกับพระราชบัญญัติการจัดทํายุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 5 วรรคสาม กําหนดใหการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ ตองสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ และมาตรา 10 วรรคสาม กําหนดใหแผนแมบทท่ีคณะรัฐมนตรี ใหความเห็นชอบและประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหมีผลผูกพันหนวยงานของรัฐท่ีเกี่ยวของ ที่จะตองปฏิบัติใหเปนไปตามนั้น รวมทั้งการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ ตองสอดคลองกับแผนแมบทดวย ตลอดจนพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 19 (1) กําหนดใหผูอํานวยการสํานักงบประมาณมีหนาท่ีและอํานาจกําหนดยุทธศาสตร การจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เพ่ือใหหนวยรับ งบประมาณใชเปนแนวทางในการจัดทําคําขอตั้งงบประมาณรายจายประจําป ซึ่งประกอบดวย ยทุ ธศาสตร 6 ดา น ดงั น้ี 1. ยุทธศาสตรดานความมนั่ คง เปา หมาย - ประชาชนอยูด ี กินดี และมีความสขุ ดขี ้ึน - บานเมอื งมีความมั่นคงในทุกมติ ิและทกุ ระดบั - กองทัพ หนวยงานดานความมั่นคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความพรอ มในการปอ งกนั และแกไ ขปญหาความม่นั คง - ประเทศไทยมีบทบาทดานความมั่นคงเปนท่ีชื่นชมและไดรับการนอมรับ โดยประชาคมระหวา งประเทศ - การบริหารจดั การความมนั่ คงมผี ลสําเรจ็ ท่เี ปนรปู ธรรมอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 20

ตัวชีว้ ัด - ความสขุ ของประชากรไทย - ความมน่ั คงปลอดภยั ของประเทศ - ความพรอมของกองทัพ หนวยงานดานความมั่นคง และการมีสวนรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการปอ งกนั และแกไขปญ หาความม่ันคง - บทบาทและการยอมรับในดา นความมัน่ คงของไทยในประชาคมระหวา งประเทศ - ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการความม่นั คงแบบองคร วม 2. ยุทธศาสตรดานการสรา งความสามารถในการแขง ขัน เปาหมาย - ประเทศไทยเปนประเทศท่ีพัฒนาแลว เศรษฐกิจเติบโตอยางมีเสถียรภาพ และยงั่ ยนื - ประเทศไทยมีขดี ความสามารถในการแขง ขนั สงู ขึน้ ตัวชีว้ ัด - รายไดประชาชาติ การขยายตัวของผลิตภัณ ฑมวลรวมภายในประเทศ และการกระจายรายได - ผลติ ภาพการผลิตของประเทศ ทั้งในปจ จยั การผลิตและแรงงาน - การลงทุนเพอื่ การวจิ ยั และพฒั นา - ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ 3. ยุทธศาสตรดา นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย เปาหมาย - คนไทยเปนคนดี คนเกง มีคุณภาพ พรอมสําหรับวถิ ชี ีวิตในศตวรรษที่ 21 - สังคมไทยมีสภาพแวดลอ มที่เอื้อและสนบั สนุนตอการพฒั นาคนตลอดชว งชีวติ ตัวช้ีวัด - การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ สุขภาวะ และความเปนอยูท่ดี ขี องคนไทย - ผลสัมฤทธท์ิ างการศึกษาและการเรียนรตู ลอดชีวิต - การพัฒนาสงั คมและครอบครัวไทย 4. ยุทธศาสตรด า นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม เปาหมาย - สรางความเปน ธรรม และลดความเหล่อื มล้ําในทุกมติ ิ - กระจายศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกาสใหทุกภาคสวน เขา มาเปน กาํ ลงั ของการพฒั นาประเทศในทุกระดับ - เพิม่ ขีดความสามารถของชุมชนทองถิ่นในการพฒั นา การพ่ึงตนเองและการจดั การ ตนเอง เพ่อื สรางสงั คมคุณภาพ ตวั ชวี้ ัด - ความแตกตา งของรายไดแ ละการเขาถึงบริการภาครฐั ระหวางกลุมประชากร - ความกาวหนาในการพัฒนาจังหวัดในการเปนศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สงั คม และเทคโนโลยี 21

- คณุ ภาพชีวติ ของประชากรสูงอายุ 5. ยุทธศาสตรดา นการสรา งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม เปา หมาย - อนุรักษและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม ใหคนรุนตอไป ไดใชอยางย่งั ยืนมีสมดลุ - ฟนฟูและสรางใหมฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพ่ือลดผลกระทบ ทางลบจากการพัฒนาสงั คมเศรษฐกิจของประเทศ - ใชประโยชนและสรางการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ใหส มดุลภายในขดี ความสามารถของระบบนิเวศ - ยกระดับกระบวนทัศน เพ่ือกําหนดอนาคตประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอมและวฒั นธรรม บนหลักของการมีสว นรวม และธรรมาภบิ าล ตัวชวี้ ดั - พ้นื ท่สี เี ขยี วทเี่ ปน มิตรกับสงิ่ แวดลอ ม - สภาพแวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาติท่เี ส่ือมโทรมไดร ับการฟน ฟู - การเติบโตทเี่ ปนมติ รกับสิง่ แวดลอม - ปริมาณกาซเรอื นกระจก มลู คาเศรษฐกิจฐานชวี ภาพ 6. ยทุ ธศาสตรด านการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั เปาหมาย - ภาครัฐมวี ัฒนธรรมการทํางานทม่ี ุงผลสัมฤทธิแ์ ละผลประโยชนสว นรวม ตอบสนอง ความตอ งการของประชาชนไดอ ยางสะดวก รวดเรว็ โปรงใส - ภาครฐั มีขนาดที่เล็กลง พรอ มปรบั ตวั ใหท ันตอ การเปลยี่ นแปลง - ภาครัฐมคี วามโปรงใส ปลอดการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ - กระบวนการยตุ ิธรรม เปน ไปเพอ่ื ประโยชนต อสว นรวมของประเทศ ตัวช้ีวดั - ระดับความพงึ พอใจของประชาชนตอการใหบริการสาธารณะของภาครฐั - ประสทิ ธภิ าพของการบริหารภาครฐั - ระดับความโปรงใส การทจุ รติ ประพฤติมชิ อบ - ความเสมอภาคในกระบวนการยตุ ธิ รรม ในสวนของสํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการมีความเช่ือมโยงกบั ยุทธศาสตรการจัดสรร งบประมาณรายจายประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 จาํ นวน 5 ดา น ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรดานความม่นั คง ประกอบดวย 1) แผนงานบรู ณาการขบั เคล่ือนการแกไ ขปญ หาในจังหวัดชายแดนภาคใต 1.1) โครงการเสรมิ สรางภมู คิ ุมกนั เพ่อื สันติสุขในพื้นทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต 1.2) โครงการเสรมิ สรา งสงั คมพหวุ ัฒนธรรมทีเ่ ขมแข็ง 1.3) โครงการอํานวยความยตุ ธิ รรมและเยยี วยาผไู ดร บั ผลกระทบ 22

2) แผนงานบรู ณาการปองกนั ปราบปราม และบาํ บดั รักษาผตู ดิ ยาเสพตดิ 2.1) โครงการสรางภูมิคมุ กันและปอ งกนั ยาเสพติด 2. ยุทธศาสตรดา นการสรา งความสามารถในการแขงขนั ประกอบดวย 1) แผนงานยทุ ธศาสตรพ ฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมดจิ ิทัล 1.1) โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั 3. ยทุ ธศาสตรดานการพฒั นาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย ประกอบดวย 1) แผนงานบคุ ลากรภาครฐั (ดา นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย) 1.1) รายการคา ใชจ า ยบคุ ลากรภาครัฐ 2) แผนงานพน้ื ฐานดานการพฒั นาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย ผลผลิต : นโยบายและแผนดานการศึกษา ผลผลิต : หนวยงานในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการไดรับบริการเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศกึ ษา ผลผลติ : ผไู ดร ับการสง เสรมิ และพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ผลผลติ : ผรู บั บริการการศกึ ษานอกระบบ ผลผลิต : ผรู บั บริการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ผลผลติ : มาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคลของขาราชการครู และบคุ ลากร ทางการศกึ ษา ผลผลิต : นักเรยี นโรงเรยี นเอกชนทีไ่ ดร ับการอุดหนุน ผลผลติ : ผูอํานวยการ ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร บั การสงเคราะหตาม กฎหมายของโรงเรียนเอกชน 3) แผนงานยุทธศาสตรการพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว งชวี ิต 3.1) โครงการพฒั นาคุณภาพชีวติ ผูส ูงอายุ 3.2) โครงการพฒั นาคนตลอดชวงวัย 4) แผนงานยุทธศาสตรเพ่ือสนับสนุนดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพ ทรพั ยากรมนษุ ย 4.1) โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศกึ ษาทย่ี ั่งยนื 4.2) โครงการบรหิ ารจัดการศกึ ษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต 5) แผนงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู (3.3.1 แนวทางยอยการปฏิรูป กระบวนการเรยี นรูที่ตอบสนองตอการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21) 5.1) โครงการพฒั นาบุคลากรทสี่ อดคลอ งตอการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 กระทรวงศึกษาธกิ าร 23

4. ยุทธศาสตรดา นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประกอบดวย 1) แผนงานยทุ ธศาสตรส รางความเสมอภาคทางการศึกษา 1.1) โครงการหน่งึ อาํ เภอหนึ่งทุน 1.2) โครงการสนับสนุนคาใชจายในการจัดการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลจนจบ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 5. ยทุ ธศาสตรด านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ ประกอบดว ย 1) แผนงานบูรณาการตอตานการทจุ รติ กระทรวงศึกษาธิการ 1.1) โครงการเครอื ขายตอตา นการทุจริต กระทรวงศกึ ษาธิการ 9. เปา หมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) การประชุมสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติ (United Nations General Assembly – UNGA) เมื่อวันท่ี 25 กันยายน 2558 ผูนําประเทศสมาชิกสหประชาชาติและประเทศไทย รวม 193 ประเทศ ไดลงนามรับรองเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals; SDGs) ทดแทนเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (Millennium Development Goals ; MDGs) ซึ่งหมดอายุลงในป 2558 เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนจะถูกใชเปนเครื่องกําหนดทิศทาง การพัฒนาท้ังของประเทศไทยและของโลกจนถึงป ค.ศ.2030 (พ.ศ.2573) ครอบคลุมระยะเวลา 15 ป ที่ประกอบดวย 17 เปาหมาย (Goal) 169 เปาประสงค (Target) ครอบคลุมประเด็น การพัฒนาดานเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอมอยางสมดุล อันเปนสามเสาหลักของการพัฒนา ท่ีย่ังยืน โดยมีเปาหมายสูงสุดเพ่ือขจัดความยากจน ลดความเหลื่อมลํ้า โดยไมท้ิงใครไวเบื้องหลัง ไมทําลายแหลงทรัพยากรและส่ิงแวดลอม รวมท้ังใหความสําคัญมากยิ่งข้ึนตอการมีสวนรวม ของทกุ ภาคสวนซึ่งจะตองรวมขบั เคล่อื นการพฒั นาทยี่ ั่งยืน ประเทศไทยไดกําหนดกลไกการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในรูปแบบ คณะกรรมการ โดยมีการปรับเปล่ียนแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้ (มติท่ีประชุมคณะกรรมการ เพอ่ื การพฒั นาท่ยี ั่งยนื : กพย. เมือ่ วันท่ี 19 ธันวาคม 2562) 1. เหน็ ชอบหลกั การรา งแผนการขบั เคลอ่ื น SDGs สําหรับประเทศไทยตามที่ สศช. เสนอ 2. มอบหมายให สศช. ดําเนินงานตามแผนขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน สาํ หรับประเทศไทยรว มกบั หนวยงานตาง ๆ 3. เห็นชอบใหยกเลิกการดําเนินงานตาง ๆ ตามท่ีคณะอนุกรรมการตาง ๆ ภายใต คณะกรรมการเพ่อื การพัฒนาท่ียั่งยืนทีไ่ ดเ คยมีขอ สง่ั การหรือเคยมมี ติ 4. ปรบั การดาํ เนินงานใหสอดคลอ งกับรางแผนการขบั เคล่ือนฯ รา ง แผนการขบั เคลื่อนการพัฒนาทยี่ ง่ั ยืนของประเทศไทย ประกอบดว ย 1. การสรา งการตระหนักรู 2. การเชื่อมโยงเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนกับยุทธศาสตรชาติ แผนระดับที่ 2 และแผนระดบั ท่ี 3 ของประเทศ 3. กลไกการขับเคล่ือนเปาหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื 24

3.1 คณะกรรมการเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน (กพย.) เปนกลไกหลักในการขับเคลื่อน ระดับชาติเชิงนโยบาย (นายกรัฐมนตรี : ประธาน ปลัดกระทรวง ผูแทนสวนราชการ และหนวยงานตาง ๆ : กรรมการ สํานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ (สศช.) : เลขานุการ) 3.2 คณะอนุกรรมการเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน เปนกลไกในการแปลงนโยบาย และยุทธศาสตรดานการพัฒนาท่ีย่ังยืนของประเทศไทยสูการปฏิบัติอยางบูรณาการ รวม 4 คณะ ประกอบดว ย 3.2.1 คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเปา หมายการพฒั นาท่ยี ง่ั ยืน 3.2.2 คณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนาที่ย่ังยืนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง 3.2.3 คณะอนกุ รรมการตดิ ตามและประเมนิ ผลการพฒั นาท่ีย่ังยืน 3.2.4 คณะอนุกรรมการการประเมนิ สง่ิ แวดลอ มระดบั ยุทธศาสตร 4. การจดั ทําโครงการ/การดาํ เนินงานเพื่อบรรลุเปา หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน ผา นการ ดําเนนิ การตามยุทธศาสตรช าติและแผนแมบทฯ ดว ยหลักการความสัมพันธเชงิ เหตุและผล (Causal Relationship: XYZ) 5. ภาคีการพัฒนา (ภาคธุรกจิ เอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม ภาคภาคเี พ่ือการ พัฒนาระหวา งประเทศ) กพย. ไดมอบหมายใหก ระทรวงศึกษาธกิ ารเปนหนวยงานรับผิดชอบและประสานงาน หลักการขบั เคลือ่ นเปา หมายการพัฒนาท่ียง่ั ยืน 1. รายเปาหมายหลัก (Goal) เปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน เปาหมายท่ี 4 สรางหลัก ประกันวาทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม และสนับสนุนโอกาส ในการเรยี นรตู ลอดชีวิต 2. รายเปาหมายยอ ย (Target) ที่ 4.1/4.2/4.4/4.5/4.6/4.7/4.A/4.C เปาหมายยอย 4.1 : สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสําเร็จ การศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ เทาเทียม และไมมีคาใชจาย นําไปสู ผลลพั ธท างการเรียนทมี่ ปี ระสทิ ธิผล ภายในป พ.ศ. 2573 เปาหมายยอย 4.2 : สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญงิ ทกุ คนเขา ถึงการพฒั นา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับกอนประถมศึกษา สําหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ เพ่ือใหเด็ก เหลานนั้ มีความพรอมสําหรับการศกึ ษาระดับประถมศึกษา ภายในป 2573 เปาหมายยอย 4.4 เพิ่มจํานวนเยาวชนและผูใหญท่ีมีทักษะที่เก่ียวของ รวมถึง ทักษะทางดา นเทคนิคและอาชีพสําหรับการจา งงาน การมงี านที่มีคณุ คา และการเปนผูประกอบการ ภายในป 2573 เปาหมายยอย 4.5 ขจัดความเหล่ีอมลํ้าทางเพศดานการศึกษาและสรางหลักประกัน วากลุมท่ีเปราะบางซึ่งรวมถึงผูพิการ ชนพื้นเมือง และเด็ก เขาถึงการศึกษาและการฝกอาชีพทุกระดับ อยางเทาเทียม ภายในป พ.ศ. 2573 เปาประสงคท่ี 4.6 สรางหลักประกันวาเยาวชนทุกคนและผูใหญในสัดสวนสูง ทั้งชายและหญงิ สามารถอานออกเขียนไดแ ละคํานวณได ภายในป 2573 25

เปาประสงคที่ 4.7 สรางหลักประกันวาผูเรียนทุกคนไดรับความรูและทักษะ ที่จําเปนสําหรับสงเสริมการพัฒนาอยางย่ังยืน รวมไปถึงการศึกษาสําหรับการพัฒนาอยางยั่งยืน และการมีวิถีชีวิตที่ยั่งยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหวางเพศ การสงเสริมวัฒนธรรม แหงความสงบสุข และไมใชความรุนแรง การเปนพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลาย ทางวฒั นธรรมและการมสี ว นรว มของวัฒนธรรมตอการพฒั นาท่ยี ่งั ยนื ภายในป 2573 เปาประสงคท่ี 4.A สรางและยกระดบั อุปกรณและเครื่องมือทางการศึกษาที่ออนไหว ตอเด็ก ผูพิการ และเพศภาวะ และใหมีสภาพแวดลอมทางการเรียนรูที่ปลอดภัย ปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและมีประสิทธิผลสาํ หรับทุกคน เปาประสงคที่ 4.C เพ่ิมจํานวนครูที่มีคุณวุฒิ รวมถึงการดําเนินการผานทาง ความรวมมือระหวางประเทศในการฝกอบรมครูในประเทศกําลังพัฒนา โดยเฉพาะอยางย่ิงในประเทศ พัฒนานอยที่สุดและรัฐกําลังพฒั นาทเี่ ปน เกาะขนาดเลก็ ภายในป 2573 ภารกิจของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีสวนเกี่ยวของกับเปาหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน รายเปาหมายหลัก (Goal) ท่ี 4 สรางหลักประกันวาทุกคนมีการศึกษา ที่มีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิตและทุกราย เปาหมายยอย (Target) ที่กระทรวงศึกษาธิการเปนหนวยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก การขับเคลื่อนเปา หมายการพัฒนาทยี่ ่ังยนื 10. รา ง แผนปฏบิ ัติราชการประจาํ ป พ.ศ.2565 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏพล ทีปสุวรรณ) ใหความเห็นชอบ ในหลกั การสาระสําคญั รา ง แผนปฏิบัตริ าชการ ประจาํ ป พ.ศ.2565 เมื่อวนั ท่ี 3 ธนั วาคม 2563 วิสัยทัศน “พัฒนาผูเรียนทุกชวงวัยใหมีคุณธรรม มีทักษะที่จําเปนในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะอาชีพ และมที กั ษะการเรียนรูอยา งตอเนื่องตลอดชวี ติ ตามความสามารถของพหปุ ญ ญา” พันธกจิ 1. ยกระดบั คุณภาพของการจัดการศึกษาใหมีมาตรฐาน 2. ลดความเหลอื่ มล้าํ ทางการศกึ ษา 3. มุงความเปนเลิศและสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ 4. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการการศึกษาใหมีประสิทธิภาพในการใชทรัพยากร เพิ่มความคลอ งตัวในการรองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษา และสรางเสรมิ ธรรมาภิบาล เปาประสงครวม 1. ผเู รยี นมที กั ษะทีจ่ าํ เปน ในศตวรรษที่ 21 สอดคลองกบั มาตรฐานการศึกษาของชาติ 2. ผูเรียนไดรับการปลูกจิตสํานึกที่ถูกตองเกี่ยวกับความมั่นคง และรูเทาทันตอ ภัยคุกคามรูปแบบใหม 3. ผูเรียนปฐมวัยมพี ฒั นาการท่สี มวัย 4. ครูและบุคลากรทางการศึกษามคี ุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ 5. ผูเรียนทุกคนไดรับโอกาสเขาถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพอยางท่ัวถึง และเหมาะสมกับชวงวัย 26

6. มีการพัฒนาระบบฐานขอ มลู พหปุ ญญาของผูเรียน 7. กําลังคนมีทักษะอาชพี สมรรถนะ สอดคลอ งกับความตอ งการของตลาด แรงงาน 8. องคความรู สิ่งประดิษฐ งานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม สามารถนําไปใช ประโยชนในเชงิ เศรษฐกิจและสงั คม 9. ระบบบริหารจัดการการศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล สามารถ สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาทีห่ ลากหลายในระดับพ้นื ท่ี ตอบสนองความตอ งการของผเู รียน ประเด็นยุทธศาสตรและแผนงานภายใตประเด็นยุทธศาสตร (5 ประเด็น 35 แผนงาน) 1. พฒั นาหลกั สูตร กระบวนการจดั การเรยี นรู การวดั และประเมนิ ผล (7 แผนงาน) แผนงานที่ 1 สรางความตระหนักรูถึงความสําคัญของสถาบันหลักของชาติ และสง เสรมิ ความเปน พลเมอื งดี แผนงานที่ 2 พัฒนาหลักสูตรท่ีตอบสนองการสรางทักษะภาษา ทักษะดิจิทัล ทักษะอาชีพ และพหปุ ญญา แผนงานที่ 3 เพม่ิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู รียนทุกระดับ แผนงานที่ 4 สงเสริมจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนฝกปฏิบัติจริง (Active learning) แผนงานที่ 5 สงเสริมกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือการปรับตัวตอโรคอุบัติใหมและโรค อุบตั ิซํา้ แผนงานท่ี 6 สง เสริมกจิ กรรมการเรยี นรเู พอื่ สรา งความเปน มติ รกับส่ิงแวดลอม แผนงานท่ี 7 ปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการวัดผล การประเมินผลผูเรียน และสถานศกึ ษาใหมคี วามเหมาะสม 2. พฒั นาครู บคุ ลากรทางการศึกษา และบคุ ลากรผูปฏิบัติงานทกุ ระดับ (5 แผนงาน) แผนงานที่ 8 ปรบั บทบาทและเพิ่มสมรรถนะครูใหเปนครูยุคใหม แผนงานท่ี 9 จดั หาครตู างประเทศท่ีมคี วามสามารถสงู ใหแ กสถานศึกษา แผนงานท่ี 10 พฒั นาทักษะความเปน มืออาชพี ใหผ ูบ ริหารสถานศกึ ษาและผูปฏบิ ัตงิ าน ทกุ สายงาน แผนงานที่ 11 พฒั นามาตรฐานวชิ าชีพครูใหเหมาะสม แผนงานท่ี 12 จัดทําแผนการใชอัตรากําลังครู และสงเสริมขวัญกําลังใจ ในการปฏบิ ตั ิงานของครูในสถานศกึ ษา 3. เพิม่ โอกาสใหผูเรยี นทุกชวงวัยเขาถึงบริการทางการศึกษาอยางตอ เนอื่ งตลอดชีวิต (5 แผนงาน) แผนงานที่ 13 สง เสริมการสรางทกั ษะวิชาชพี และการดาํ รงชวี ิต แผนงานที่ 14 พัฒนาสถานศึกษาปฐมวัยและเด็กปฐมวัยใหมีพัฒนาการท่ีเหมาะสม แผนงานท่ี 15 สนบั สนนุ และเผยแพรโ ครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาํ รแิ กผูเรยี น แผนงานท่ี 16 สนับสนุนคาใชจายการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพื่อเปนหลักประกัน แกผเู รียนทด่ี อ ยโอกาส 27

แผนงานท่ี 17 พัฒนาระบบเทียบโอนหนวยกิจผลการเรียน ความรูและประสบการณ ท่ีเหมาะสม 4. สง เสริมระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่อื การศกึ ษา (5 แผนงาน) แผนงานที่ 18 จดั หาอนิ เตอรเน็ตความเรว็ สงู ใหแ กทุกสถานศึกษา แผนงานที่ 19 สง เสริมระบบดจิ ิทัลแพลตฟอรมเพ่ือการเรียนรู แผนงานที่ 20 จดั หาสอ่ื การเรียนการสอนในรปู แบบดจิ ทิ ัล แผนงานท่ี 21 จัดทําระบบฐานขอ มูลกลางดา นการศกึ ษาในระดบั ประเทศ แผนงานท่ี 22 พัฒนาระบบฐานขอ มลู พหปุ ญ ญาของผูเรียนเปน รายบุคคล 5. ผลิตกําลังคน รวมท้งั งานวจิ ัยทีส่ อดคลองกับความตองการของประเทศ (7 แผนงาน) แผนงานที่ 23 เพิ่มปริมาณผูเรยี นอาชีวศกึ ษาในระดับจังหวดั แผนงานท่ี 24 ผลิตบุคลากรที่เชื่อมโยงภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการท่ีตอบสนอง เขตเศรษฐกจิ พิเศษ แผนงานที่ 25 ผลติ บคุ ลากรเพ่อื ตอบสนองการสง เสริมผลิตภาพภาคการเกษตร แผนงานท่ี 26 สงเสริมผเู รยี น ใหม ที ักษะในการเปนผปู ระกอบการธรุ กิจ แผนงานท่ี 27 สนับสนนุ ผูเรยี นที่มีความสามารถพิเศษตามพหุปญ ญา แผนงานที่ 28 สง เสรมิ การวิจยั และพัฒนานวตั กรรมในเชงิ พาณิชย แผนงานที่ 29 สงเสริมการวิจัย สรางองคความรู ดานการพัฒนาพหุปญญาของ ผเู รียน 6. ปรับปรงุ ระบบบริหารจัดการและสงเสรมิ ใหทุกภาคสวนมีสว นรวมในการจดั การ ศกึ ษา (6 แผนงาน) แผนงานที่ 30 ปองกนั และแกไขปญหายาเสพตดิ ในสถานศึกษา แผนงานท่ี 31 นําการศึกษามาสนับสนุนการแกไขปญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต แผนงานท่ี 32 สง เสริมภาคเอกชนใหมีสว นรวมในการจดั การศกึ ษา แผนงานท่ี 33 ขยายผลการจัดการศึกษาระดบั จังหวัดในรูปแบบพ้ืนที่นวตั กรรม การศกึ ษา แผนงานที่ 34 ปรับปรุงโครงสรางใหมีเอกภาพและออกแบบระบบบริหารงาน ใหมีประสิทธิภาพ แผนงานท่ี 35 บริหารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็ ใหม ีความเหมาะสม 11. พระราชบัญญัตวิ ินัยการเงินการคลัง พ.ศ. 2561 สวนท่ี 2 การดําเนินการทางการคลังและงบประมาณ มาตรา 19 การเสนอกฎหมายวาดวย งบประมาณรายจายประจําปใหเปนไปตามกฎหมาย วาดวยวิธีการงบประมาณ โดยตองแสดง แหลงท่ีมาและประมาณการรายได ผลสัมฤทธ์ิหรือประโยชนท่ีคาดวา จะไดรับจากการจายเงิน และความสอดคลอ งกับยุทธศาสตรช าติและแผนพฒั นาตา งๆ ดวย 28

12. พระราชบัญญตั ิวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. 2561 หมวด 2 ลักษณะของงบประมาณ มาตรา 10 งบประมาณประจําปท่ีเสนอตอรัฐสภา อยางนอยตองมีเอกสารประกอบ ดังตอไปน้ี (1) คําแถลงประกอบงบประมาณแสดงฐานะ และนโยบายการคลังและการเงิน สาระสําคัญ ของงบประมาณ และความสัมพันธระหวางรายรับ และงบประมาณรายจายที่ขอตั้ง (2) รายรับรายจายเปรียบเทียบระหวางปที่ลวงมาแลว ปปจจุบัน และปท่ีขอต้ังงบประมาณรายจาย (3) คําอธิบายเก่ียวกับประมาณการรายรับ (4) คําช้ีแจงเก่ียวกับ งบประมาณรายจายท่ีขอตั้ง ซ่ึงรวมถึงการแสดงผลสัมฤทธิ์และประโยชน ท่ีคาดวาจะไดรับจาก การใชจายงบประมาณ และความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ (5) รายงานเกี่ยวกับสถานะ ทางการเงินโดยรวมของรัฐวิสาหกิจ (6) รายงานเกี่ยวกับสถานะเงินนอกงบประมาณและแผนการ ใชจายเงินนอกงบประมาณ โดยรวมของหนวยรับงบประมาณ (7) คําอธิบายเก่ียวกับหนี้ของรัฐบาล ทั้งที่มีอยูแลวในปจจุบันและหน้ีท่ีเสนอเพิ่มเติม (8) ผลการดําเนินงานและการใชจายงบประมาณ ของปง บประมาณท่ีลวงมาแลว (9) รา งพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา ยประจําป และ การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนแนวทางในการจัดสรรงบประมาณ โดยคาํ นึงถงึ ความจําเปน ภารกจิ ความตอ งการในพ้นื ท่แี ละแผนพัฒนาพื้นท่ี 29

สวนที่ 3 รายละเอยี ดการจดั ทาํ งบประมาณรายจา ย ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 30

สรปุ ขอ เสนองบประมาณรายจายประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 เปรยี บเทยี บงบประมาณไดร ับป พ.ศ.2564 หนว ย : บาท ของสาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จําแนกตามหนวยงาน รวม 10,989,348,000 หนวยงาน งบรายจาย งบบุคลากร งบดาํ เนินงาน งบลงทนุ งบเงนิ อดุ หนุน งบรายจายอนื่ 3,643,538,800 1. สป. คาํ ขอป 2565 2,146,345,700 1,191,990,600 2,332,628,700 1,172,740,000 4,145,643,000 7,345,809,200 2. กศน. ไดร ับป 2564 1,967,697,700 177,220,200 602,267,900 3. กคศ. เพิ่ม-ลด 577,878,600 2,155,408,500 570,472,100 318,474,400 201.61 4. สช. รอยละ 178,648,000 614,112,000 1,216.23 94.72 3,827,168,600 13,898,533,400 คําขอป 2565 9.08 1,330,351,500 3,128,216,000 11,280,550,900 รวม ไดร ับป 2564 106.27 267,185,000 3,129,663,000 1,201.72 เพ่ิม-ลด 6,262,947,600 1,705,374,700 1,063,166,500 - 1,447,000 1,471,643,600 2,617,982,500 รอ ยละ 5,783,136,600 1,390,455,800 397.91 - 0.05 23.21 คําขอป 2565 7,902,900 710,110,500 ไดร ับป 2564 479,811,000 314,918,900 1,117,400 - 761,533,100 404,437,600 เพ่ิม-ลด 8.30 22.65 6,785,500 - 225,923,600 รอยละ 607.26 - 107.24 178,514,000 คาํ ขอป 2565 123,487,400 267,103,300 40,622,200 33,619,812,900 5,944,000 ไดร ับป 2564 103,219,500 121,586,700 22,990,900 33,068,157,500 79.02 เพม่ิ -ลด 20,267,900 145,516,600 17,631,300 551,655,400 - 37,344,895,100 รอ ยละ 76.69 1.67 5,944,000 34,919,718,800 คําขอป 2565 19.64 119.68 3,711,505,300 37,920,768,900 ไดรับป 2564 355,645,400 119,783,500 468,513,500 36,800,088,400 100.00 2,425,176,300 เพิม่ -ลด 338,998,400 3,242,991,800 1,120,680,500 3,209,031,100 6.95 รอยละ 91,484,800 692.19 3.05 1,398,087,200 16,647,000 28,298,700 1,810,943,900 62,637,214,100 4.91 50,069,732,100 30.93 129.53 12,567,482,000 8,888,426,100 3,284,252,100 8,832,261,700 8,193,052,200 2,181,405,900 2,426,672,100 25.10 1,102,846,200 6,405,589,600 695,373,900 8.49 50.56 263.97 31

สรุปขอ เสนองบประมาณรายจา ยประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 ของสาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ภาพรวม) หนว ย : บาท รวมท้ังสิน้ ท่ี ผลผลิต/โครงการ งบบุคลากร งบดําเนินงาน คําขอบประมาณป 2565 62,637,214,100 8,888,426,100 9,268,993,400 รวมสาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 8,888,426,100 ตชส. สาธารณูปโภค รวม งบลงทุน งบเงนิ อดุ หนนุ งบรายจา ยอน่ื 9,182,967,600 ก รวมแผนงานบุคลากรภาครฐั 37,920,768,900 8,832,261,700 503,875,000 ข รวมแผนงานพนื้ ฐาน 1 แผนงาน - 2,982,580,200 301,671,900 3,284,252,100 3,711,505,300 43,508,819,800 ค รวมแผนงานบรู ณาการ 3 แผนงาน - 380,567,300 - 380,567,300 - - - 172,558,300 ง รวมแผนงานยทุ ธศาสตร 4 แผนงาน 1,979,130,700 233,393,100 866,287,400 3,354,397,900 9,268,993,400 จ แผนงานพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรู (3.3.1 แนวทางยอยการ -- 2,212,523,800 2,749,758,500 68,631,000 9,268,993,400 622,882,200 68,278,800 - - 36,985,850,500 435,244,000 2,268,488,000 ปฏริ ูปกระบวนการเรียนรูท่ตี อบสนองตอ การเปลีย่ นแลงในศตวรรษท่ี 21 -- 4,870,061,500 6,486,558,300 ก แผนงานบคุ ลากรภาครฐั (ดา นการพฒั นาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย) 691,161,000 961,746,800 - 172,558,300 124,264,000 - - - 389,683,100 รายการคาใชจ ายบุคลากรภาครฐั - - 9,182,967,600 1. กิจกรรม บุคลากรภาครฐั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 8,888,426,100 380,567,300 - 380,567,300 - - 9,182,967,600 2. กิจกรรม บุคลากรภาครัฐ สํานักงาน กศน. 8,888,426,100 380,567,300 - 380,567,300 - 866,287,400 1,090,538,900 3. กจิ กรรม บคุ ลากรภาครัฐดา นการพัฒนาระบบบริหารงานบุคคล 2,146,345,700 122,142,300 866,287,400 3,354,397,900 1,356,173,200 6,262,947,600 223,610,700 122,142,300 201,210,700 3,354,397,900 680,496,400 ของขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 223,610,700 1,240,470,700 4. กจิ กรรม บคุ ลากรภาครฐั ดานสงเสรมิ การศึกษาเอกชน 123,487,400 776,600 - 494,835,800 1,684,621,400 ข รวมแผนงานพ้ืนฐาน 1 แผนงาน 776,600 502,792,300 27,977,000 1 แผนงานพืน้ ฐานดา นการพฒั นาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย 68,802,300 132,317,500 274,229,600 1 ผลผลติ : นโยบายและแผนดานการศึกษา 355,645,400 34,037,700 34,037,700 58,225,700 226,503,700 2 ผลผลติ : หนว ยงานในสังกัด ศธ. ไดรบั บริการเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา - 1,979,130,700 233,393,100 2,212,523,800 2,749,758,500 24,000 2,629,933,700 3 ผลผลิต : ผไู ดรับการสงเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม 1,979,130,700 233,393,100 2,212,523,800 2,749,758,500 - 4,430,600 4 ผลผลิตท่ี 4 ผรู บั บริการการศกึ ษานอกระบบ 271,412,100 123,080,300 - 5 ผลผลิต : ผรู บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั 243,879,200 27,532,900 66,645,600 1,261,550,600 85,458,100 6 ผลผลติ : มาตรฐานการบริหารงานบุคคลของขา ราชการครู และบคุ ลากรทางการ 50,279,200 16,366,400 40,629,600 4,757,000 8,000,000 14,677,600 7 ผลผลติ : นักเรียนโรงเรียนเอกชนทไี่ ดรับการอดุ หนนุ 37,864,600 755,864,800 357,577,900 2,621,933,700 8 ผลผลิต : ผูอ ํานวยการ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาไดร ับ การสงเคราะหต าม 675,918,100 2,765,000 725,899,200 954,267,600 กฏหมายของโรงเรยี นเอกชน 624,456,800 79,946,700 266,326,700 7,902,900 266,326,700 101,442,400 85,745,800 40,622,200 80,406,100 5,339,700 - 32

สรปุ ขอเสนองบประมาณรายจา ยประจําปงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ภาพรวม) หนวย : บาท ที่ ผลผลิต/โครงการ งบบคุ ลากร งบดาํ เนินงาน คาํ ขอบประมาณป 2565 งบเงนิ อุดหนุน งบรายจายอืน่ รวมทง้ั สิน้ - ตชส. สาธารณูปโภค รวม งบลงทุน 68,631,000 435,244,000 ค รวม แผนงานบรู ณาการ 3 แผนงาน - 68,631,000 348,987,300 503,875,000 1 แผนงานบรู ณาการขบั เคลอ่ื นการแกไ ขปญ หาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต - -- -- - 335,963,200 417,618,300 -- -- 335,963,200 โครงการเสรมิ สรา งภมู คิ มุ กันเพ่ือสันติสขุ ในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต (สงป. - -- -- เปลยี่ นช่อื ป 2564) 49,069,800 กิจกรรม การศึกษาเพ่ือความม่ันคง (สป.) - - 49,069,800 54,099,700 กิจกรรม การศึกษาเพ่ือความมนั่ คง (กศน.) - - - 54,099,700 232,793,700 กจิ กรรม การศกึ ษาเพือ่ ความมน่ั คง (สช.) - - - 232,793,700 13,024,100 2. โครงการเสริมสรา งสังคมพหวุ ฒั นธรรมทเ่ี ขมแข็ง - 13,024,100 กิจกรรม สงเสริมพหุวฒั นธรรมที่เขม แข็ง - - 13,024,100 13,024,100 1) คาใชจายโครงการสง เสริมการอยรู ว มกนั ในสงั คมพหุวัฒนธรรมจงั หวัดชายแดน - - 13,024,100 68,631,000 ภาคใต - 13,024,100 68,631,000 3. โครงการอํานวยความยตุ ิธรรมและเยียวยาผูไดร ับผลกระทบ 68,631,000 กิจกรรม ชว ยเหลือเยยี วยาผไู ดรบั ผลกระทบท้งั ทางกายและจติ ใจตามหลกั ศาสนา 68,631,000 1) เงินอดุ หนนุ การศึกษาตอ เนื่องทายาทผูไ ดรบั ผลกระทบจากความไมสงบ 3 68,631,000 73,972,200 จงั หวัดชายแดนภาคใต 68,631,000 73,972,200 2 แผนงานบูรณาการปอ งกนั ปราบปราม และบําบัดรกั ษาผตู ิดยาเสพตดิ 10,650,000 โครงการสรางภูมิคมุ กนั และปองกนั ยาเสพตดิ - - - - - 73,972,200 63,322,200 กิจกรรม การสรางภูมิคมุ กนั และปอ งกนั ยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา (สป.) - - - - - 73,972,200 12,284,500 กจิ กรรม เสริมสรางภมู คิ มุ กันและปองกนั ยาเสพติดในสถานศึกษาเอกชน - 12,284,500 3 แผนงานบูรณาการตอ ตา นการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ - - - 10,650,000 12,284,500 โครงการเครือขายตอตา นการทจุ ริต กระทรวงศกึ ษาธิการ - - - - 12,284,500 กิจกรรม สรางกลไกปองกนั การทุจรติ ใหเ ขม แข็งและมปี ระสิทธภิ าพ - - - - 63,322,200 43,508,819,800 1.คาใชจายโครงการตอ ตานการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ กระทรวงศึกษาธกิ าร 622,882,200 68,278,800 - 961,746,800 - 12,284,500 58,171,800 - 58,171,800 รวมแผนงานยทุ ธศาสตร 4 แผนงาน - 12,284,500 126,349,400 1 แผนงานยุทธศาสตรพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทลั 691,161,000 12,284,500 - 12,284,500 1.โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดจิ ิทลั - 36,985,850,500 4,870,061,500 กิจกรรม ศนู ยดจิ ิทัลชมุ ชน - 58,171,800 58,171,800 58,171,800 33

สรปุ ขอ เสนองบประมาณรายจา ยประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 ของสาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ (ภาพรวม) หนวย : บาท รวมทัง้ ส้นิ ท่ี ผลผลติ /โครงการ งบบุคลากร งบดาํ เนินงาน คาํ ขอบประมาณป 2565 งบเงนิ อดุ หนุน งบรายจายอนื่ 5,106,133,900 - ตชส. สาธารณปู โภค รวม งบลงทุน 5,053,582,500 52,551,400 2 แผนงานยทุ ธศาสตรการพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชวงชวี ติ - 52,551,400 52,551,400 1. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตผูสูงอายุ -- -- 5,053,582,500 52,551,400 52,551,400 กจิ กรรม การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตผูส ูงอายุ - -- -- 1,738,362,800 5,053,582,500 2. โครงการพฒั นาคนตลอดชว งวัย - - 3,315,219,700 - 1,738,362,800 กิจกรรม สง เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตนกั เรยี นโรงเรยี นเอกชนระดบั ปฐมวัย -- - 30,611,655,600 - 3,315,219,700 กิจกรรม สง เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ นกั เรียนโรงเรียนเอกชนระดบั ประถมศกึ ษา - -- - 30,611,655,600 - - 15,809,000 15,809,000 3 แผนงานยทุ ธศาสตรสรา งความเสมอภาคทางการศึกษา - -- 30,595,846,600 30,595,846,600 1. โครงการหนง่ึ อําเภอหนึง่ ทนุ - 3,059,389,700 2.โครงการสนับสนนุ คา ใชจ า ยในการจดั การศึกษาต้ังแตร ะดับอนบุ าลจนจบ 27,536,456,900 การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน - 7,732,858,500 กจิ กรรม จดั การศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน 6,284,756,800 กิจกรรม สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานของโรงเรียนเอกชน 622,882,200 68,278,800 - 961,746,800 3,059,389,700 211,845,000 - 27,536,456,900 45,000,000 4 แผนงานยุทธศาสตรเพ่ือสนับสนนุ ดา นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพ 691,161,000 1,320,612,400 4,759,338,300 40,000,000 ทรพั ยากรมนษุ ย 35,000,000 611,340,100 66,228,000 677,568,100 910,579,900 - 4,696,608,800 30,300,000 1 โครงการขบั เคลอื่ นการพฒั นาการศกึ ษาท่ียัง่ ยนื -- -- - 211,845,000 30,000,000 กิจกรรมท่ี 1 : การขับเคล่ือนนโยบายดานการศึกษา (สป.) 1) คา ใชจ า ยโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม 45,000,000 15,000,000 การศกึ ษา เพ่ือพัฒนาการศกึ ษา 16,545,000 2) คา ใชจ ายโครงการสรา งและสงเสริมความเปนพลเมืองดตี ามรอยพระยุคลบาท 40,000,000 ดา นการศึกษาสูการปฏบิ ตั ิ สาํ นักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั 3) คา ใชจ ายโครงการขบั เคล่อื นพื้นทนี่ วัตกรรมการศกึ ษา ตาม พรบ.พ้ืนท่นี วตั กรรม 35,000,000 การศึกษา พ.ศ.2562 4) คาใชจา ยโครงการขบั เคล่อื นการพฒั นาการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ในระดับพน้ื ท่ี 30,300,000 5) คา ใชจา ยโครงการจัดทาํ งานขอ มลู และระบบติดตามประเมนิ ผลระดบั พ้ืนทเี่ พอ่ื 30,000,000 สนับสนนุ การขบั เคล่อื นเปาหมายของสหประชาชาตวิ า ดวยการพฒั นาทีย่ ัง่ ยืนดา น การศึกษา SDG 4 15,000,000 6) คาใชจายโครงการขบั เคลอ่ื นการบรหิ ารจัดการศึกษาในระดบั ภาคและกลุม จังหวดั 16,545,000 * 7) คา ใชจ ายโครงการยกระดบั มาตรฐานการนเิ ทศการศึกษา เพ่ือรองรับทิศทางการ จดั การศึกษาในระดบั ภูมิภาค 34

สรุปขอเสนองบประมาณรายจา ยประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ (ภาพรวม) หนวย : บาท ที่ ผลผลิต/โครงการ งบบุคลากร งบดาํ เนินงาน คาํ ขอบประมาณป 2565 รวมทง้ั สนิ้ ตชส. สาธารณูปโภค 611,340,100 66,228,000 รวม งบลงทนุ งบเงินอุดหนนุ งบรายจายอื่น 2,788,588,400 611,340,100 66,228,000 - 1,218,946,400 677,568,100 กจิ กรรมที่ 2 : การขบั เคลอื่ นการปฏริ ูปการศกึ ษาในสว นภมู ิภาค - 677,568,100 892,073,900 892,073,900 1) งบรายจายประจาํ พอื่ การบรหิ ารของหนวยงาน ศธภ./ศธจ. - 677,568,100 892,073,900 1,218,946,400 2) งบลงทนุ เปน รายการครุภณั ฑ รายการปรับปรงุ รายการส่ิงกอ สรา ง 1,763,938,100 1,218,946,400 3) งบเพอ่ื การดําเนินงานโครงการตามภารกจิ ของ ศธจ.และ ศธภ. - -- - 18,506,000 - 1,219,631,400 1,763,938,100 กิจกรรมที่ 3 : การดําเนนิ งานตามแผนพฒั นาพนื้ ท่ีระดับภาค 382,235,700 1,238,137,400 - สํานักงาน กศน. - 5,508,000 382,235,700 กิจกรรม : สงเสริมศูนยฝ ก อาชพี ชุมชน - 55,741,400 5,508,000 กจิ กรรม : พัฒนาครู กศน. ตน แบบการสอนภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร - 18,756,000 55,741,400 กิจกรรม : พัฒนาบคุ ลากร สาํ นกั งาน กศน. - 291,820,000 18,756,000 กจิ กรรม : พฒั นาคลงั ความรู กศน. - 26,904,000 กจิ กรรม : จดั การเรยี นรวู ิทยาศาสตรในแหลง การเรยี นรู - 14,825,000 291,820,000 กจิ กรรม : ภาษาตางประเทศเพอ่ื การส่ือสารดา นอาชีพ -- 15,403,500 26,904,000 กจิ กรรม : พัฒนาส่อื การเรยี นออนไลนห ลักสตู รการพัฒนาโปรแกรมคอมพวิ เตอรเ พือ่ 1,854,000 14,825,000 งานอาชีพ 3,681,000 กิจกรรม : สง เสรมิ และพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู 108,500,000 15,403,500 กิจกรรม : สะสมหนว่ ยการเรยี นเพื�อการเทยี บโอนและยกระดบั คณุ วุฒิการศึกษาตามกรอบ -- -- - 201,420,000 5,535,000 19,069,100 คุณวฒุ แิ ห่งชาติ (Credit Bank) 52,014,400 108,500,000 กจิ กรรม : พัฒนาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 201,420,000 กิจกรรม : เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพือ� สง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2,769,300 19,069,100 กจิ กรรม : พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พน�ื ท�ภี าคเหนือ 37,636,000 52,014,400 276,303,900 กิจกรรม : พัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามศาสตรพ์ ระราชา 52,962,000 2,769,300 กจิ กรรม : พฒั นาครสู อนคนพิการ 37,636,000 กจิ กรรม : 1 ตาํ บล 1 ผลติ ภณั ฑ์พรีเมี�ยม 31,440,600 276,303,900 52,962,000 สํานักงาน สช. 21,521,400 31,440,600 กจิ กรรม 1 เสริมสรางศักยภาพการศกึ ษาเอกชน 1) คาใชจ า ยในการยกระดบั คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาสําหรบั เดก็ ทมี่ ีความ 21,521,400 ตองการจําเปนพเิ ศษและเด็กทมี่ ีความสามารถพเิ ศษ 2) คาใชจ า ยในการปลูกฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คานิยมและการเสรมิ สรา งจติ สาธารณะและการเปนพลเมอื งดี 35

สรุปขอ เสนองบประมาณรายจา ยประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 ของสาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ภาพรวม) หนว ย : บาท รวมทั้งส้นิ ท่ี ผลผลติ /โครงการ งบบคุ ลากร งบดําเนินงาน คําขอบประมาณป 2565 งบเงินอดุ หนนุ งบรายจา ยอ่ืน 203,023,100 ตชส. สาธารณปู โภค รวม งบลงทนุ - 203,023,100 กจิ กรรม 2 สงเสรมิ และพัฒนาการเรยี นรนู สถานศึกษาเอกชน 25,210,500 25,210,500 1) คา ใชจ า ยโครงการประเมินคุณภาพผเู รียนระดับการศึกษาภาคบงั คบั - 27,522,200 27,522,200 2) คาใชจ ายโครงการพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา 36,803,900 36,803,900 3) คา ใชจ ายโครงการสง เสรมิ การเรยี นภาษาคอมพวิ เตอร (Coding) 23,690,200 23,690,200 *4) คา ใชจา ยโครงการพฒั นาหลักสูตรกระบวนการจดั การเรยี นรู การวดั และ 19,600,900 19,600,900 5,463,500 ประเมนิ ผล 9,000,000 5) คา ใชจ า ยโครงการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนคณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร 5,463,500 36,507,100 และเทคโนโลยี 9,000,000 5,698,300 6) คาใชจายโครงการสงเสริมการเรียนการสอนภาษาตางประเทศ 36,507,100 7) คาใชจา ยโครงการสง เสริมการจัดการศึกษาทางไกลผานดาวเทยี ม 5,698,300 2,703,800 8) คาใชจ า ยโครงการพฒั นาการจัดประสบการณการเรยี นการสอนปฐมวัย 7,822,700 *9) คา ใชจ ายโครงการสง เสริมการพฒั นาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ใน 2,703,800 3,000,000 โครงการตามพระราชดาํ ริสมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพ 20,318,800 รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 7,822,700 3,868,400 *10) คา ใชจ า ยโครงการพฒั นาหลักสูตรท่มี ที กั ษะอาชพี สูงตามความตองการของ ตลาดแรงงาน 3,000,000 4,000,000 *11) คาใชจ ายโครงการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนการสอน 12,450,400 ในศตวรรษที่ 21 20,318,800 5,944,000 12) คา ใชจายโครงการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนวชิ าภาษาไทย สาํ หรับ 3,868,400 โรงเรยี นนานาชาติ 4,000,000 กจิ กรรม : พฒั นาการศึกษาเอกชนพื้นท่ภี าคใตช ายแดน 1) โครงการพัฒนาระเบียงการศกึ ษาเอกชนชายแดนใตเพ่อื ยกระดบั คุณภาพผเู รยี น 12,450,400 รองรบั สูเมืองตนแบบ สามเหลี่ยม มัน่ คง มั่งคั่ง ยัง่ ยืนคณุ ภาพผเู รยี นรองรบั สูเมือง ตน แบบ สามเหลี่ยม ม่ันคง มั่งคงั่ ยัง่ ยนื 5,944,000 2) โครงการยกระดบั คุณภาพชีวิตเยาวชน สูตนแบบนวตั กรเพอื่ พฒั นานวัตกรรมสราง เสริมสุขภาวะอยา งยั่งยนื 3) โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารสง เสรมิ ทักษะการตลาดออนไลนใ หกับเยาวชนใน โรงเรียนเอกชนจงั หวัดปตตานี กจิ กรรม การพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลสําหรับขาราชการครแู ละบุคลากร ทางการศกึ ษา 36

สรุปขอเสนองบประมาณรายจายประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ (ภาพรวม) หนวย : บาท รวมท้ังส้ิน ที่ ผลผลิต/โครงการ งบบคุ ลากร งบดาํ เนินงาน คําขอบประมาณป 2565 1,448,101,700 - ตชส. สาธารณูปโภค 2 โครงการบริหารจดั การศึกษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต 11,542,100 2,050,800 รวม งบลงทุน งบเงนิ อุดหนนุ งบรายจายอื่น 487,253,300 กจิ กรรม สนบั สนนุ การดําเนนิ งานการจัดการศกึ ษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต - 11,542,100 2,050,800 24,533,000 กจิ กรรม การพฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดน - 13,592,900 51,166,900 1,320,612,400 62,729,500 936,315,400 ภาคใต - -- 13,592,900 51,166,900 384,297,000 38,196,500 172,558,300 กิจกรรม สงเสริมสนับสนุนคุณภาพการศึกษาเอกชนในจังหวัดชายแดนภาคใต - 24,533,000 - 172,558,300 5 แผนงานพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู (3.3.1 แนวทางยอ ยการ ปฏิรปู กระบวนการเรยี นรูท่ีตอบสนองตอ การเปล่ียนแลงในศตวรรษท่ี 21 - 936,315,400 - 172,558,300 โครงการพฒั นาบุคลากรท่สี อดคลองตอ การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 กระทรวงศึกษาธกิ าร -- - 172,558,300 กิจกรรม : การพัฒนาบคุ ลากรทสี่ อดคลอ งตอ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 -- -- - 172,558,300 -- -- - 172,558,300 37

สรปุ ขอเสนองบประมาณรายจายประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 ของสาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (เดมิ ) หนว ย : บาท ท่ี ผลผลติ /โครงการ งบบุคลากร งบดาํ เนินงาน คําของบบประมาณป 2565 รวมทงั้ สิน้ ตชส. สาธารณปู โภค รวมสํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ (เดิม) 2,146,345,700 รวม งบลงทนุ งบเงินอดุ หนนุ งบรายจา ยอนื่ 10,989,348,000 ก รวมแผนงานบุคลากรภาครัฐ 2,146,345,700 2,268,488,000 ข รวมแผนงานพ้นื ฐาน 1 แผนงาน 1,077,047,500 114,943,100 1,191,990,600 2,332,628,700 1,172,740,000 4,145,643,000 3,127,208,500 ค รวมแผนงานบูรณาการ 3 แผนงาน 122,142,300 - - - ง รวมแผนงานยุทธศาสตร 3 แผนงาน 122,142,300 - 378,687,300 153,659,400 จ แผนงานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู (3.3.1 แนวทาง 332,023,000 46,664,300 1,389,387,900 704,003,000 655,130,300 5,267,433,800 -- - - 68,631,000 85,028,400 ยอยการปฏิรูปกระบวนการเรยี นรูทต่ี อบสนองตอ การเปล่ยี นแลงใน 622,882,200 68,278,800 691,161,000 400,106,000 3,232,926,000 172,558,300.0 ศตวรรษท่ี 21 943,240,800 ก แผนงานบุคลากรภาครฐั (ดา นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพ 2,268,488,000 ทรพั ยากรมนุษย) - - - - - - 172,558,300.0 รายการคาใชจ ายบคุ ลากรภาครฐั 2,268,488,000 1. กจิ กรรม บุคลากรภาครัฐสํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 2,146,345,700 122,142,300 - 122,142,300 - - - 2,268,488,000 ข รวมแผนงานพน้ื ฐาน 1 แผนงาน 3,127,208,500 1 แผนงานพ้ืนฐานดา นการพัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย 2,146,345,700 122,142,300 - 122,142,300 - - - 3,127,208,500 1 ผลผลติ : นโยบายและแผนดา นการศกึ ษา 2,146,345,700 122,142,300 122,142,300 1,090,538,900 1.1 กจิ กรรม การดําเนินงานดานนโยบายและยทุ ธศาสตร 332,023,000 46,664,300 378,687,300 1,389,387,900 704,003,000 655,130,300 1.2 กิจกรรม ความสมั พันธต างประเทศ - 46,664,300 704,003,000 655,130,300 983,478,300 1.3 กจิ กรรม สนบั สนุนการพฒั นาการศกึ ษา - 332,023,000 27,532,900 378,687,300 1,389,387,900 201,210,700 494,835,800 6,016,900 1.4 กจิ กรรม สนบั สนุนเทคโนโลยเี พ่ือการปฏบิ ัตงิ าน 26,363,000 201,175,000 440,063,200 24,848,000 1.5 กิจกรรม สนับสนุนการดาํ เนนิ งานรฐั มนตรี 243,879,200 192,000 271,412,100 123,080,300 10,903,900 2 ผลผลิต : หนวยงานในสังกดั ศธ. ไดร บั บริการเทคโนโลยี 193,107,900 24,000 219,470,900 122,769,200 35,700 450,000 65,291,800 903,900 5,531,200 - 0 17,322,600 สารสนเทศทางการศกึ ษา 5,339,200 50,000 7,401,700 1,356,173,200 3 ผลผลติ : ผไู ดรับการสง เสรมิ และพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 7,377,700 16,366,400 10,903,900 123,700 0 37,000,000 10,000,000 28,104,400 0 - 27,977,000 680,496,400 กิจกรรม ลกู เสือ ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรยี น 28,054,400 241,011,100 กิจกรรม อดุ หนนุ สาํ นกั งานลูกเสอื แหง ชาติ 50,279,200 187,400 439,085,300 กิจกรรม สนับสนุนเทคโนโลยเี พ่อื กจิ กรรมลูกเสือ 66,645,600 1,261,550,600 400,000 - 37,864,600 2,765,000 40,629,600 4,757,000 502,792,300 132,317,500 37,464,600 2,765,000 40,229,600 4,757,000 63,707,000 132,317,500 - - 439,085,300 - 400,000 - 400,000 38

สรปุ ขอเสนองบประมาณรายจายประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (เดิม) หนว ย : บาท ท่ี ผลผลติ /โครงการ งบบุคลากร งบดาํ เนนิ งาน คําของบบประมาณป 2565 งบเงนิ อุดหนนุ งบรายจายอ่ืน รวมทั้งสิ้น - ตชส. สาธารณปู โภค รวม งบลงทนุ รวม แผนงานบูรณาการ 3 แผนงาน - 68,631,000 85,028,400 153,659,400 1 แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแกไ ขปญ หาในจงั หวดั ชายแดน - -- -- 68,631,000 62,093,900 130,724,900 -- -- 49,069,800 1.โครงการเสรมิ สรา งภมู คิ ุมกันเพ่ือสนั ตสิ ขุ ในพ้นื ท่ีจงั หวดั ชายแดน - -- - 49,069,800 ภาคใต - -- กจิ กรรม การศกึ ษาเพ่ือความม่นั คง (สป.) - - 49,069,800 2. โครงการเสรมิ สรางสงั คมพหุวัฒนธรรมทเ่ี ขมแขง็ - 49,069,800 13,024,100 กิจกรรม สงเสริมพหุวฒั นธรรมท่ีเขมแขง็ - 13,024,100 1) คา ใชจา ยโครงการสง เสริมการอยรู ว มกันในสังคมพหวุ ัฒนธรรม - 13,024,100 13,024,100 3. โครงการอาํ นวยความยุติธรรมและเยยี วยาผูไดรบั ผลกระทบ 68,631,000 กิจกรรม ชว ยเหลือเยยี วยาผูไดร บั ผลกระทบทัง้ ทางกายและจติ ใจตาม - 13,024,100 68,631,000 หลกั ศาสนา - 13,024,100 1) เงินอดุ หนุนการศึกษาตอ เนื่องทายาทผูไ ดร บั ผลกระทบจากความไม - 68,631,000 สงบ 3 จังหวดั ชายแดนภาคใต 68,631,000 2 แผนงานบูรณาการปองกัน ปราบปราม และบาํ บดั รักษาผูตดิ ยาเสพ 68,631,000 10,650,000 โคิ รงการสรางภมู คิ มุ กนั และปองกันยาเสพตดิ 10,650,000 กิจกรรม การสรางภมู คิ มุ กนั และปองกนั ยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา 68,631,000 10,650,000 3 แผนงานบูรณาการตอ ตานการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ 12,284,500 โครงการเครือขายตอ ตานการทจุ ริต กระทรวงศึกษาธิการ -- - - - 10,650,000 12,284,500 กจิ กรรม สรางกลไกปอ งกนั การทุจริตใหเขมแขง็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ - - 12,284,500 -- - - - 10,650,000 12,284,500 1.คาใชจายโครงการตอ ตา นการทุจริตและประพฤติมิชอบ -- - - - 10,650,000 กระทรวงศึกษาธกิ าร -- - - - 12,284,500 5,267,433,800 รวมแผนงานยุทธศาสตร 2 แผนงาน -- - - 15,809,000 1 แผนงานยทุ ธศาสตรส รา งความเสมอภาคทางการศึกษา -- 12,284,500 1. โครงการหนง่ึ อาํ เภอหน่งึ ทุน - 943,240,800 12,284,500 15,809,000 2 แผนงานยทุ ธศาสตรเพอื่ สนับสนนุ ดา นการพฒั นาและเสรมิ สรา ง - 5,251,624,800 ศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย 691,161,000 12,284,500 - 943,240,800 622,882,200 68,278,800 400,106,000 3,232,926,000 - - - 15,809,000 3,232,926,000 691,161,000 622,882,200 68,278,800 15,809,000 384,297,000 39

สรุปขอเสนองบประมาณรายจายประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.2565 ของสํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ (เดิม) หนว ย : บาท ท่ี ผลผลติ /โครงการ งบบคุ ลากร งบดําเนนิ งาน คาํ ของบบประมาณป 2565 งบเงินอดุ หนนุ งบรายจายอ่ืน รวมทงั้ สิ้น - ตชส. สาธารณูปโภค 3,194,729,500 1 โครงการขบั เคลื่อนการพฒั นาการศกึ ษาที่ยั่งยืน - 611,340,100 66,228,000 รวม งบลงทุน - 4,764,371,500 กิจกรรมท่ี 1 : การขบั เคลือ่ นนโยบายดา นการศึกษา (สป.) - 211,845,000 211,845,000 - -- 677,568,100 892,073,900 45,000,000 1) คา ใชจา ยโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม -- 45,000,000 การศึกษา เพ่อื พฒั นาการศกึ ษา 40,000,000 2) คา ใชจ ายโครงการสรา งและสง เสรมิ ความเปน พลเมอื งดีตามรอยพระยคุ ลบาท 611,340,100 66,228,000 677,568,100 892,073,900 - 40,000,000 ดานการศึกษาสูการปฏิบตั ิ สาํ นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั 611,340,100 66,228,000 677,568,100 892,073,900 - 35,000,000 3) คาใชจา ยโครงการขับเคลื่อนพ้ืนทน่ี วัตกรรมการศกึ ษา ตาม พรบ.พ้ืนท่ี 35,000,000 นวตั กรรมการศึกษา พ.ศ.2562 -- - - 30,300,000 30,000,000 30,300,000 4) คาใชจา ยโครงการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพืน้ ที่ 30,000,000 15,000,000 5) คา ใชจ า ยโครงการจัดทํางานขอมลู และระบบติดตามประเมนิ ผลระดบั พืน้ ท่ี 16,545,000 15,000,000 เพื่อสนบั สนุนการขับเคลอื่ นเปา หมายของสหประชาชาตวิ าดวยการพัฒนาทีย่ งั่ ยนื 1,218,946,400 16,545,000 ดานการศึกษา SDG 4 6) คา ใชจ า ยโครงการขบั เคลอื่ นการบริหารจัดการศึกษาในระดับภาคและกลมุ 1,218,946,400 2,788,588,400 7)ั คา ัใชจ ายโครงการยกระดบั มาตรฐานการนิเทศการศกึ ษา เพ่ือรองรับทศิ 1,763,938,100 677,568,100 ทางการจดั การศกึ ษาในระดับภมู ภิ าค 892,073,900 กจิ กรรมที่ 2 : การขบั เคลอ่ื นการปฏิรปู การศึกษาในสวนภูมภิ าค 91,923,400 1) งบรายจายประจําพอ่ื การบริหารของหนวยงาน 1,218,946,400 2) งบลงทนุ เปน รายการครภุ ัณฑ รายการปรับปรงุ รายการสิง่ กอ สราง 848,567,600 1,763,938,100 3) งบเพ่อื การดําเนนิ งานโครงการตามภารกิจของ ศธจ.และ ศธภ. กิจกรรมท่ี 3 : การดาํ เนนิ งานตามแผนพฒั นาพืน้ ทร่ี ะดับภาค 462,493,200 91,923,400 1) คา ใชจายโครงการพัฒนาทกั ษะอาชพี ใหแ กผ ดู อยโอกาสเพอื่ การมี 848,567,600 งานทาํ และการดาํ รงชพี 2) คาใชจ า ยโครงการยกระดบั ทักษะอาชีพของผเู รียนเพ่ือการมีงานทํา 462,493,200 ทส่ี อดคลองกับความตองการและทศิ ทางการพฒั นาพ้นื ทีร่ ะดับภาค 3) คา ใชจ ายโครงการยกระดบั การจดั การเรียนการสอนเพอ่ื พฒั นา คุณภาพผเู รยี นทสี่ อดคลอ งกบั ทิศทางการพัฒนาพนื้ ที่ระดบั ภาค 40

สรุปขอเสนองบประมาณรายจายประจําปง บประมาณ พ.ศ.2565 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (เดมิ ) หนว ย : บาท รวมทัง้ สน้ิ ที่ ผลผลิต/โครงการ งบบคุ ลากร งบดําเนินงาน คาํ ของบบประมาณป 2565 งบเงนิ อดุ หนุน งบรายจายอน่ื ตชส. สาธารณปู โภค รวม งบลงทนุ 84,190,400 84,190,400 4) คา ใชจ า ยโครงการสงเสริมการเรยี นรเู พ่อื ปลูกจิตสํานกึ การอนุรักษ - 27,400,000 ส่ิงแวดลอม - 27,400,000 164,298,900 5) คา ใชจ ายโครงการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาเดก็ ปฐมวยั - 164,298,900 2,053,000 6) คาใชจา ยโครงการสงเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ผูส งู อายุ 83,011,600 7) คา ใชจา ยโครงการสรา งเครอื ขายและฐานขอ มูลทางการศึกษาทม่ี ี 2,053,000 487,253,300 คณุ ภาพ 487,253,300 8) คาใชจา ยโครงการสงเสรมิ การจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพดา น 83,011,600 172,558,300 การทองเทยี่ วเชิงธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรม 2 โครงการบริหารจดั การศึกษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต 11,542,100 2,050,800 13,592,900 51,166,900 384,297,000 38,196,500 172,558,300 กิจกรรม สนับสนนุ การดําเนนิ งานการจดั การศึกษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต 11,542,100 2,050,800 13,592,900 51,166,900 384,297,000 38,196,500 3 แผนงานพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและการเรยี นรู (3.3.1 แนวทาง 172,558,300 ยอยการปฏิรปู กระบวนการเรียนรูทต่ี อบสนองตอ การเปล่ยี นแลงใน - - - - - 172,558,300 30,181,000 ศตวรรษท่ี 21 โครงการพัฒนาบคุ ลากรที่สอดคลอ งตอ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษ - - - - - 172,558,300 128,072,900 ที่ 21 กระทรวงศึกษาธกิ าร - - - - - 172,558,300 กจิ กรรม : การพฒั นาบคุ ลากรทส่ี อดคลองตอ การเปล่ยี นแปลงใน 14,304,400 ศตวรรษที่ 21 30,181,000 128,072,900 1) คา ใชจา ยโครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพ่อื การจดั ทาํ รูปแบบและการ 14,304,400 พฒั นาหลกั สตู รตอเนื่องเชือ่ มโยงการศึกษา ขน้ั พ้นื ฐานกับอาชวี ศกึ ษาและ อ2ด) มคศา ึกใชษจ าา ยโครงการพัฒนาทกั ษะดานดิจทิ ัลของขา ราชการและบคุ ลากร ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 3) คาใชจ า ยโครงการพฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรของกระทรวงศึกษาธิการ \"หลกั สูตรพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สารดา นอาชพี ในศตวรรษที่ 21\" 41

เปรียบเทียบแผนงบประมาณ ผลผลิต/โครงการ ไดรับในปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กับคําของบประมาณป พ.ศ.2565 สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (เดิม) หนว ย : บาท ที่ ยทุ ธศาสตร แผนงาน ผลผลติ /โครงการ และรายการ ไดรับป 2564 คาํ ขอป 2565 เพม่ิ - ลด รอยละ หนว ยงานรบั ผิชอบ รวมสาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 3,643,538,800 10,989,348,000 7,345,809,200 201.61 ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 ดานความมัน่ คง 97,163,000 141,374,900 44,211,900 45.50 ยุทธศาสตรท่ี 2 ดานการสรางความสามารถในการแขงขนั - - - - ยุทธศาสตรท ี่ 3 ดา นการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพคน ยุทธศาสตรท ่ี 4 ดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 3,466,353,300 10,819,879,600 7,353,526,300 212.14 ยทุ ธศาสตรท ี่ 6 ดา นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั 74,370,000 15,809,000 - 58,561,000 - 78.74 5,652,500 12,284,500 6,632,000 117.33 ยุทธศาสตรที่ 1 ดา นความมั่นคง 97,163,000 141,374,900 57,244,700 58.92 1 แผนงานบรู ณาการขบั เคล่อื นการแกไ ขปญหาในจังหวดั ชายแดนภาคใต 87,365,200 130,724,900 43,359,700 49.63 1. โครงการเสรมิ สรา งภูมิคุม กันเพ่อื สนั ติสขุ ในพื้นท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใต 3,656,300 49,069,800 45,413,500 1,242.06 สป.เดิม 2. โครงการเสรมิ สรา งสงั คมพหวุ ัฒนธรรมท่ีเขม แขง็ 1,192,900 13,024,100 11,831,200 991.80 สป.เดิม (ศปบ.จชต.) 3. โครงการอาํ นวยความยุตธิ รรมและเยียวยาผูไดร บั ผลกระทบ 82,516,000 68,631,000 - 13,885,000 - 16.83 สป.เดมิ (ศปบ.จชต.) 2 แผนงานบูรณาการปองกนั ปราบปราม และบาํ บัดรักษาผูต ดิ ยาเสพตดิ 9,797,800 10,650,000 852,200 8.70 1.โครงการสรางภูมิคมุ กันและปอ งกันยาเสพติด 9,797,800 10,650,000 852,200 8.70 กจิ กรรม การสรา งภูมคิ ุมกนั และปอ งกันยาเสพตดิ ในสถานศึกษา 9,797,800 10,650,000 852,200 8.70 สป.เดิม ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 ดา นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย 3,466,353,300 10,819,879,600 7,353,526,300 3,145 2,065,663,300 2,268,488,000 202,824,700 9.82 1 แผนงานบุคลากรภาครฐั (ดา นการพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย) 2,065,663,300 2,268,488,000 202,824,700 9.82 สป.เดิม 892,025,700 3,127,208,500 2,235,182,800 1,190 1. รายการคาใชจ า ยบุคลากรภาครัฐ 359,533,400 1,090,538,900 731,005,500 203.32 สป.เดิม 2 แผนงานพ้นื ฐานดา นการพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย 133,406,300 1,356,173,200 1,222,766,900 916.57 สป.เดิม 399,086,000 680,496,400 281,410,400 70.51 สป.เดมิ ผลผลติ : นโยบายและแผนดานการศกึ ษา 508,664,300 5,251,624,800 4,742,960,500 1,945 ผลผลิต : หนวยงานในสงั กัด ศธ. ไดร บั บริการเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา 465,193,700 4,764,371,500 4,299,177,800 924.17 ผลผลติ : ผูไ ดร ับการสง เสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม 3 แผนงานยทุ ธศาสตรเพอ่ื สนบั สนนุ ดา นการพฒั นาและเสริมสรางศักยภาพ ทรพั ยากรมนษุ ย 1. โครงการขับเคลือ่ นการพัฒนาการศึกษาทยี่ ่ังยืน 42

เปรียบเทยี บแผนงบประมาณ ผลผลติ /โครงการ ไดร บั ในปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กับคําของบประมาณป พ.ศ.2565 สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ (เดมิ ) หนว ย : บาท ที่ ยทุ ธศาสตร แผนงาน ผลผลิต/โครงการ และรายการ ไดรับป 2564 คาํ ขอป 2565 เพิ่ม - ลด รอยละ หนว ยงานรบั ผชิ อบ กิจกรรมท่ี 1 : การขบั เคล่อื นนโยบายดา นการศกึ ษา (สป.) 132,941,900 211,845,000 78,903,100 59.35 สป.เดิม 1) คา ใชจ า ยโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพือ่ 25,000,000 45,000,000 20,000,000 80.00 2) คา ใชจ า ยโครงการสง เสรมิ เวทีและประชาคมเพ่อื การจดั ทํารูปแบบและการพฒั นาหลักสตู ร 7,000,000 -- 7,000,000 - 100.00 ป 2565 โครงการเสนอใน ตอเนอื่ งเช่อื มโยงการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา 40,000,000 40,000,000 - แผนพัฒนาคณุ ภาพฯ แมบ ท 3) คา ใชจ า ยโครงการสรา งและสงเสริมความเปน พลเมอื งดีตามรอยพระยคุ ลบาทดา น 25,000,000 35,000,000 การศกึ ษาสูการปฏบิ ตั ิ สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด 10,000,000 - 4) คา ใชจา ยโครงการขบั เคลื่อนพนื้ ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษา ตาม พรบ.พ้นื ทีน่ วตั กรรมการศกึ ษา 40.00 5) คาใชจ า ยโครงการขบั เคลอื่ นการพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดบั พน้ื ท่ี 7,000,000 30,300,000 23,300,000 332.86 6) คา ใชจา ยโครงการจัดทํางานขอ มูลและระบบติดตามประเมนิ ผลระดบั พื้นทเ่ี พอ่ื สนบั สนุน 6,954,400 30,000,000 23,045,600 331.38 การขับเคลอื่ นเปา หมายของสหประชาชาติวาดว ยการพฒั นาทยี่ งั่ ยืนดา นการศกึ ษา SDG 4 8,000,000 7) คาใชจ า ยโครงการขบั เคลอื่ นการบริหารจดั การศึกษาในระดับภาคและกลุม จังหวัด 10,197,200 15,000,000 7,000,000 87.50 -- 10,197,200 - 100.00 ป 2565 โครงการเสนอใน 8) คาใชจ า ยโครงการพัฒนาทักษะดานดิจทิ ลั ของขา ราชการและบุคลากรของ 3,790,300 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร - - 3,790,300 - แผนพฒั นาคณุ ภาพฯ แมบท 9) คาใชจา ยโครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ \"หลกั สูตร 332,251,800 100.00 ป 2565 โครงการเสนอใน พฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สารดานอาชีพในศตวรรษที่ 21\" - 16,545,000 16,545,000 7) คาใชจ ายโครงการยกระดบั มาตรฐานการนิเทศการศึกษา เพอ่ื รองรบั ทศิ ทางการจัด แผนพฒั นาคณุ ภาพฯ แมบท การศกึ ษาในระดับภมู ภิ าค 43,470,600 2,788,588,400 2,456,336,600 กิจกรรมที่ 2 : การขบั เคล่ือนการปฏิรปู การศกึ ษาในสว นภูมภิ าค 43,470,600 1,763,938,100 1,763,938,100 739.30 สป.เดิม (จังหวัด/ภาค) สป.เดิม (จังหวัด/ภาค) กิจกรรมท่ี 3 : การดาํ เนนิ งานตามแผนพฒั นาพ้ืนที่ระดับภาค - 487,253,300 443,782,700 2. โครงการบริหารจดั การศกึ ษาในจังหวัดชายแดนภาคใต 1,020.88 - 487,253,300 443,782,700 1,020.88 สป.เดิม (ศปบ.จชต.) กจิ กรรม สนบั สนนุ การดําเนินงานการจัดการศกึ ษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต 172,558,300 172,558,300 4 แผนงานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู (3.3.1 แนวทางยอ ยการ 172,558,300 172,558,300 ปฏริ ูปกระบวนการเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปล่ียนแลงในศตวรรษท่ี 21 โครงการพฒั นาบคุ ลากรทสี่ อดคลอ งตอ การเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 กระทรวงศึกษาธกิ าร 43

เปรยี บเทียบแผนงบประมาณ ผลผลิต/โครงการ ไดรบั ในปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กบั คําของบประมาณป พ.ศ.2565 สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร (เดิม) หนวย : บาท ท่ี ยทุ ธศาสตร แผนงาน ผลผลิต/โครงการ และรายการ ไดร ับป 2564 คาํ ขอป 2565 เพ่ิม - ลด รอยละ หนวยงานรบั ผิชอบ กิจกรรม : การพัฒนาบคุ ลากรทสี่ อดคลองตอ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 - 172,558,300 172,558,300 1) คาใชจ ายโครงการสง เสริมเวทีและประชาคมเพอ่ื การจัดทาํ รูปแบบและการพัฒนาหลกั สูตร 30,181,000 30,181,000 สป.เดมิ (สบศ.) ตอเน่ืองเช่ือมโยงการศกึ ษา ข้นั พื้นฐานกบั อาชีวศึกษาและอดุ มศึกษา 2) คา ใชจ ายโครงการพฒั นาทกั ษะดา นดจิ ิทลั ของขา ราชการและบุคลากรของ 128,072,900 128,072,900 สป.เดมิ (สคบศ) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3) คา ใชจา ยโครงการพัฒนาสมรรถนะบคุ ลากรของกระทรวงศึกษาธิการ \"หลักสตู รพฒั นา 74,370,000 14,304,400 14,304,400 สป.เดมิ (สคบศ) ทักษะภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสารดานอาชีพในศตวรรษที่ 21\" 74,370,000 15,809,000 - 58,561,000 - 78.74 ยุทธศาสตรท ่ี 4 ดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 74,370,000 15,809,000 -58,561,000 -79 1 แผนงานยทุ ธศาสตรส รางความเสมอภาคทางการศกึ ษา 5,652,500 15,809,000 - 58,561,000 - 5,652,500 12,284,500 6,632,000 78.74 สป.เดมิ 1. โครงการหนึง่ อําเภอหนง่ึ ทนุ 12,284,500 6,632,000 117.33 ยุทธศาสตรท ่ี 6 ดา นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครฐั 5,652,500 12,284,500 6,632,000 117.33 1 แผนงานบรู ณาการตอ ตานการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ 117.33 สป.เดิม โครงการเครือขา ยตอ ตา นการทจุ รติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 44