Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 มาตรการความปลอดภัย

หน่วยที่ 1 มาตรการความปลอดภัย

Published by stp_1975, 2017-10-30 02:39:18

Description: หน่วยที่ 1 มาตรการความปลอดภัย

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่ 1ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ สนั ติภาพ มะสะ

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม นกั เรียนสามารถ............... 1. บอกความหมายของไฟฟ้าได้ 2. บอกประโยชน์ของไฟฟา้ ได้ 3. บอกโทษของไฟฟา้ ได้ 4. บอกอนั ตรายของไฟฟ้าตอ่ ร่างกายมนุษยไ์ ด้ 5. บอกข้อควรปฏิบตั ใิ นการใช้ไฟฟ้าอยา่ งถูกตอ้ งปลอดภยั 6. บอกการปฏิบตั งิ านด้านไฟฟ้าท่ีปลอดภัย 7. บอกการช่วยเหลือผปู้ ระสบอนั ตรายจากไฟฟ้าดูด

เนอ้ื หาบทเรียน 1. ความหมายของไฟฟ้า 2. ประโยชน์/โทษของไฟฟ้า 3. อันตรายของไฟฟ้าตอ่ รา่ งกายมนษุ ย์ 4. ขอ้ ควรปฏิบตั ิในการใช้ไฟฟา้ อยา่ งถูกตอ้ งปลอดภยั 5. การปฏบิ ตั งิ านด้านไฟฟ้าทป่ี ลอดภัย 6. การชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบอันตรายจากไฟฟา้ ดูด

ความหมายของไฟฟา้ ไฟฟา้ เปน็ พลงั งานท่ีสามารถเปลย่ี นแปลงพลงั งานจากรปู แบบหนงึ่ไปยังอีกรปู แบบหน่ึง โดยอาศัยค่าแรงดันและกระแส จ่ายให้กับอปุ กรณ์เครือ่ งมอื และเครอื่ งใช้ไฟฟา้ เพอื่ ให้เกิดการทํางาน

ไฟฟา้ มปี ระโยชน์อนนั ต์ และมโี ทษมหนั ต์

ประโยชน์ของไฟฟา้ ใหค้ วามรอ้ น ใหค้ วามเยน็ ให้พลังงานกล ใหอ้ ํานาจแม่เหล็ก ให้แสงสว่าง ใหค้ วามสะดวกสบาย

โทษของไฟฟา้ ไฟฟ้าชอ็ ต หรอื ไฟฟ้าลัดวงจร คอื สภาวะทีก่ ระแสไฟฟ้าไหลได้ครบวงจร โดย ไม่ผา่ นอุปกรณ์ไฟฟา้ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า หรอื ภาระ (Load) ไฟฟ้าดูด คอื สภาวะที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษย์ ลงพ้ืนดนิ หรือไหลผา่ นร่างกายมนุษยค์ รบวงจร

อนั ตรายของไฟฟา้ ต่อรา่ งกายมนุษย์ การสัมผัสไฟฟา้ โดยตรง คือ สภาวะทรี่ า่ งกายของมนุษย์สมั ผสั ถูกสว่ นที่มี กระแสไฟฟ้าไหลหรอื จา่ ยออกโดยตรง การสัมผสั ไฟฟ้าโดยออ้ ม คือ สภาวะที่ร่างกายมนุษย์ไมไ่ ด้สัมผัสกับสว่ นท่ีมี กระแสไฟฟ้าไหลหรอื จา่ ยโดยตรง แตจ่ ะเกิดจาการไป สัมผัสกบั อุปกรณ์ไฟฟ้า หรอื เครื่องใช้ไฟฟา้

ความสัมพันธข องปริมาณกระแสไฟฟา ไหลผานรา งกายกบั ปฏิกริ ิยาทเี่ กดิ ขนึ้ปริมาณกระแสไหลผ่านร่างกายมนษุ ย์เป็นมลิ ลิ ปฏิกริ ิยาทเ่ี กดิ ขึ้นแอมแปร์ ( mA )น้อยกวา่ 0.5 - ไม่เกดิ ความรสู้ ึก1 - เริม่ เกิดความรู้สกึ กลา้ มเน้ือกระตกุ เล็กน้อย5 -ส่นั เลก็ น้อย แตไ่ ม่เจ็บ6-25 (ญ) 9-30 (ช) - เจ็บปวดกลา้ มเน้ือ สญู เสียการควบคมุ กลา้ มเนื้อ ไม่ สามารถขยบั เขยอ้ื นได้50 – 150 - เจบ็ ปวดอยา่ งมาก การหายใจหยุดทาํ งาน กล้ามเน้อื หด ตวั อยา่ งรนุ แรง และอาจเสียชวี ติ1,000 – 4,300 -หัวใจหยุดเตน้ กลา้ มเน้อื หดตวั เส้นประสาทถกู ทําลายทํา ใหเ้ สยี ชวี ิต10,000 (10A) --หวั ใจหยดุ เต้น ถกู เผาไหม้อย่างรุ่นแรง เสียชีวติมากกว่า 10A - กระแสเกินค่าตํ่าสดุ ทฟี่ ิวส์ หรือเซอรก์ ติ เบรกเกอรจ์ ะตดั วงจร

ความสัมพนั ธของปริมาณกระแสไฟฟาไหลผา นรา งกายกบั ระยะเวลาท่ที าํ ใหเ สียชวี ติปรมิ าณกระแสไหลผา่ นรา่ งกาย ระยะเวลามนษุ ยเ์ ป็นมิลลแิ อมแปร์ ( mA ) 15 2 นาที 20 1 นาที 30 35 วนิ าที 100 3 วนิ าที 500 0.11 วินาที1,000 (1A) 0.01 วินาที

ขอ้ ควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟา้ อย่างถูกตอ้ งปลอดภัย 1. ควรตรวจสอบใหแ้ นช่ ัดก่อนจ้างงานหรอื ทําสัญญากบั บรษิ ทั 2. อุปกรณ์การติดตั้งทางไฟฟ้าตอ้ งเปน็ ชนดิ ที่ได้รบั การรับรองจาก มาตรฐานต่างๆ 3. การเดินสายไฟ และติดต้ังอปุ กรณ์ไฟฟา้ ต้องเป็นไปตามกฎ การเดินสายและติดตงั้ อุปกรณไ์ ฟฟ้าของการไฟฟา้ นครหลวงและ การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค 4. ก่อนใช้เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ผู้ใช้ตอ้ งอา่ นและศึกษาคู่มือแนะนาํ การใช้งานใหเ้ ขา้ ใจ

ขอ้ ควรปฏบิ ัติในการใช้ไฟฟ้าอย่างถกู ตอ้ งปลอดภัย (ต่อ) 5. ทกุ คร้งั ที่จะใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟ้า ควรตรวจสอบสายไฟ เต้าเสยี บ และเตา้ รบั 6. เครื่องใช้ไฟฟ้าทีม่ ีเปลือกหุ้มภายนอก ทําด้วยโลหะทุกชนิด หรอื เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ทอ่ี าจมีไฟฟ้ารั่วมากับนา้ํ จําเปน็ ต้องตอ่ สายดินของเครือ่ งใช้ไฟฟา้ เข้ากบั ระบบสายดิน 7. เมอ่ื รา่ งกายเปยี กช้ืน หา้ มแตะตอ้ งส่วนทมี่ ีไฟฟา้ หรอื เครอ่ื งใช้ ไฟฟา้ โดยเด็ดขาด

ขอ้ ควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟา้ อย่างถูกต้องปลอดภัย (ตอ่ ) 8. ในการเดินสายไฟ หรอื ลากสายไฟไปใช้งานนอกอาคาร เปน็ ช่ังคราว หรอื ถาวร ต้องเปน็ ชนิดท่ีกน้ั น้ําและทนทานต่อสภาพ แวดล้อมทางกลและแสงแดด 9. ควรแยกวงจรไฟฟ้าที่น้าํ อาจทว่ มถงึ ออกตา่ งหาก 10. หมน่ั ตรวจสอบอปุ กรณ์ติดต้ังทางไฟฟ้า และเคร่ืองใช้ไฟฟ้า 11. สงั เกตส่งิ ผิดปกตจิ ากสี กลน่ิ เสียง และการสมั ผสั อุณหภมู ิ รวมทั้ง การใชเ้ คร่ืองมอื ง่ายๆ ในการตรวจสอบ

ขอ้ ควรปฏิบตั ใิ นการใชไ้ ฟฟา้ อย่างถูกตอ้ งปลอดภัย (ตอ่ ) 12. อยา่ พยายามใช้ไฟฟา้ หรือเปดิ สวิทซ์พัดลมระบายอากาศ ในบรเิ วณทมี่ ไี อของสารระเหยหรือกา๊ ซไวไฟ 13. ระมัดระวังการใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าราคาถกู ทีไ่ มไ่ ด้มาตรฐาน 14. อปุ กรณ์ทม่ี กี ารเสียบปลก๊ั ทง้ิ ไวน้ านๆ ควรหลกี เล่ยี งจาก บริเวณทม่ี วี สั ดุติดไฟได้ง่าย 15. ทกุ ครั้งทเ่ี ลกิ ใช้เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ควรปิดสวทิ ซท์ เ่ี ครอ่ื งใช้ ไฟฟ้ากอ่ น

ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในการใชไ้ ฟฟ้าอย่างถกู ตอ้ งปลอดภัย (ตอ่ ) 16. อยา่ พยายามซอ่ มเครื่องใช้ไฟฟา้ ด้วยตวั เอง หรือโดยชา่ งซ่อม ที่มคี วามรคู้ วามชํานาญไมเ่ พียงพอ 17. หลกี เลี่ยงการใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในขณะทีม่ ีฝนตก ฟา้ คะนอง โดยเฉพาะอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์ 18. เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทคี่ วบคุมการเปิด-ปิด ด้วยปมุ่ สัมผัส อิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรือรีโมทคอนโทรล ควรถอดเตา้ เสยี บออก หรอื ติดต้ังซวงจรสวทิ ซต์ ดั ไฟ

ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในการใชไ้ ฟฟ้าอย่างถกู ตอ้ งปลอดภัย (ต่อ) 19. เม่อื ไฟฟา้ ทจี่ า่ ยมาจากการไฟฟา้ เกิดดับ ใหร้ บี สบั สวิทซ์ เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าทุกชนิดท่ีเปดิ ค้างไว้อยูท่ ันที 20. ฝึกฝน ศกึ ษาวิธีการแก้ไขหรอื ป้องกันอันตรายทีเ่ กิดจากการ ใช้ไฟฟา้ และวธิ ีการช่วยเหลอื ผ้ปู ่วยหรอื การปฐมพยาบาล เบื้องต้น

การปฏิบตั ิงานด้านไฟฟ้าท่ีปลอดภัย 1. ควรคาํ นึงถึงกฎแห่งความปลอดภยั ทกุ ครง้ั 2. กอ่ นการปฏิบตั ิงานเก่ียวกับไฟฟ้า ตอ้ งถือว่า เครือ่ งใช้ไฟฟา้ หรอื อปุ กรณ์ไฟฟ้า มีไฟฟ้าจ่ายอยู่ 3. ต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ไฟฟ้าก่อนการปฏิบตั งิ าน 4. ไม่ควรนําอปุ กรณห์ รือเคร่อื งมอื ทช่ี าํ รุดและไม่สมบรู ณ์ มาใช้งาน 5. หา้ มปฏบิ ตั ิงาน เม่ือรู้สึกเหนอ่ื ย ออ่ นเพลยี หรอื ง่วงนอน

การปฏิบตั งิ านด้านไฟฟา้ ที่ปลอดภัย (ตอ่ ) 6. อยา่ ปฏบิ ตั ิงานในขณะมอื เปียกนํา้ 7. ตอ้ งแขวนปา้ ยหรอื เขยี นปา้ ยแสดงการงดใช้ไฟฟ้า โดยเฉพาะ บรเิ วณทีม่ คี นพลกุ พล่าน หรือมีทํางานร่วมอยู่ด้วย 8. ต้องกั้นบริเวณทไี่ มส่ ามารถตัดไฟออกได้ หรือป้องกนั ไม่ให้ ผู้ไม่เกี่ยวขอ้ งเข้าใกล้ 9. ตอ้ งตรวจสอบสวิทซต์ ัดตอน สะพานไฟ กอ่ นลงมอื ปฏบิ ตั ิงาน หลงั จากละงานไปช่วั คราว

การปฏิบัตงิ านด้านไฟฟ้าท่ีปลอดภัย (ตอ่ ) 10. การปฏิบตั งิ านแต่ละครง้ั ควรมีผรู้ ่วมปฏิบตั งิ านดว้ ย อย่างน้อย 2 คน 11. การปฏิบัตงิ านเกี่ยวกับไฟฟา้ แรงสูง ควรใช้เครื่องชว่ ยปอ้ งกัน ไฟฟา้ ใหม้ ากข้ึนกวา่ ปกติ

การช่วยเหลอื ผปู้ ระสบอันตรายจากไฟฟา้ ดูด 1. อยา่ ใชม้ ือเปล่าแตะตอ้ งตัวผทู้ ่ีกาํ ลงั ติดอยู่กบั สายไฟฟา้ หรือ ตวั นาํ ไฟฟา้ ท่ีมกี ระแสไหลผ่าน 2. รีบหาทางตัดทางเดินของไฟฟา้ ก่อน โดยถอดเต้าเสยี บ ตัดสวิทซ์ตดั วงจรอัตโนมตั หิ รือสวทิ ซป์ ระธาน 3. ใช้มีด ขวาน หรือ ของมีคม ทมี่ ีดา้ นไม้หรือด้ามท่ีเป็นฉนวน ฟนั สายไฟฟ้าใหข้ าดหลุดออกจากผปู้ ระสบภยั โดยเร็วที่สดุ 4. อยา่ ลงไปในบริเวณนาํ้ ขงั ทม่ี ีกระแสไฟฟ้าอยู่ 5. อยา่ เขา้ ใกล้หรือหลีกเล่ยี งบริเวณทม่ี สี ายไฟแรงสงู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook