Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้หน่วยที่ 3_ทรานซิสเตอร์

ใบความรู้หน่วยที่ 3_ทรานซิสเตอร์

Published by stp_1975, 2017-05-17 10:20:14

Description: ใบความรู้หน่วยที่ 3_ทรานซิสเตอร์

Search

Read the Text Version

1. ทรานซสิ เตอร2. ชนดิ ของทรานซสิ เตอร3. โครงสรา งและสญั ลกั ษณท รานซสิ เตอร4. การไบอัสทรานซสิ เตอร5. คุณสมบัตทิ างไฟฟาของทรานซสิ เตอร6. การวัดและทดสอบทรานซิสเตอร1. อธิบายโครงสรางของทรานซสิ เตอรไ ด2. บอกสญั ลกั ษณของทรานซิสเตอรไ ด3. อธบิ ายวิธีการไบอัสทรานซสิ เตอรได4. อธบิ ายคณุ สมบัติทางไฟฟา ของทรานซสิ เตอรได5. อธิบายวิธีการวัดและทดสอบทรานซสิ เตอรได

34ทรานซิสเตอร ทรานซิสเตอร เปน อปุ กรณส ารก่งึ ตัวนาํ ทีถ่ ูกพัฒนาจากไดโอด มีคุณสมบตั ิในการขยายสัญญาณได จึงสามารถเขามาแทนหลอดสุญญากาศ เนอ่ื งจากมีขนาดเลก็ ทําใหป ระหยัดเนื้อท่ีและสามารถทาํ ใหอุปกรณเครอื่ งใชอิเลก็ ทรอนกิ ส มขี นาดเลก็ กะทัดรดั ราคาถูก ส้นิ เปลอื งพลังงานนอ ย มีความรอนต่าํ ทนทานและปลอดภัยกวา ท่ีสําคญั มคี วามไวในการทํางานสูงกวา หลอดสุญญากาศมากๆ นอกจากนี้ ยงั ทาํ หนาที่เปนสวทิ ซอิเลก็ ทรอนกิ สในวงจรตางๆ ภาพท่ี 3-1 แสดงรปู รา งของทรานซสิ เตอรแ ละหลอดสุญญากาศท่ีมาของภาพ : http://teshwin41.blogspot.com/p/blog-page_6480.htmlชนดิ ของทรานซิสเตอร การแบง ชนิดของทรานซสิ เตอร สามารถแบง ออกไดแ ตกตางกันหลายแนว ขน้ึ อยูกบั ผูทที่ ําการแบงชนิดของทรานซสิ เตอร วา จะยดึ ถอื รปู แบบใด ชนดิ ของทรานซิสเตอร แบง ตามรปู แบบของการใชง าน ได 3 ชนิด คอื 1. ทรานซสิ เตอรส วิทชง่ิ เปน ทรานซสิ เตอรท ี่ทําหนาทเี่ สมือนสวทิ ช ซึง่ สว นใหญจะอยูใ นวงจรภาคเพาเวอรซ ัพพลายหรือภาคควบคมุ การทํางานของโหลด การประยกุ ตใ ชง านทรานซิสเตอรใ นวงจรสวิทชิ่ง นอกจากจะเปนประโยชนในงานควบคุมการปดและเปดอุปกรณไฟฟาตา งๆ แลว ยังเปน จุดเร่มิ ตน ของการกาวเขาสโู ลกของดิจิตอลอิเล็กทรอนิคสไ ดดว ย ซึง่ ในการ

35ใชทรานซิสเตอรเปนสวิทชนั้น จะอาศัยหลักการเดียวกันกับการขยายสัญญาณแตลักษณะการทํางานของทรานซิสเตอร จะทํางานอยู 2 สถานะ คือ สถานะที่ไมนํากระแสเลย (OFF) และในสถานะที่นํากระแสเต็มที่จนอม่ิ ตวั (ON) ดังรปู ที่ 3-2 ภาพท่ี 3-2 แสดงวงจรทรานซสิ เตอรส วทิ ซที่มาของภาพ : http://electronics.se-ed.com/contents/069S209/069s209_p02.asp ในรปู 3-2 (ก) เปนการจาํ ลอง ใหเห็นถงึ การใชทรานซสิ เตอรท ํางานเหมอื นกบั สวิทชป ด -เปด ซ่ึงถูกควบคมุ ดวยแรงดนั ทีข่ าเบส สว นในรปู 3-2 (ข) เปนตวั อยา งวงจรงา ยๆ โดยใชส วทิ ชค วบคมุ แรงดันทีข่ าเบส ผา นตวั ตา นทาน เพื่อปด-เปด หลอดไฟ เมือ่ สวิทชป ดวงจรหรอื ท่ีตวั ตานทาน มีแรงดันมากกวา 0.6 โวลต จะเกิดกระแสเบสไหลเปน ผลใหมกี ระแสไหลผานหลอดไฟใหต ิดสวา งดว ย 2. ทรานซสิ เตอรกําลงั เปน ทรานซสิ เตอรท ใ่ี ชง านกบั แรงดันและกระแสไฟฟาคา สงู ๆ นิยมนําไปใชกับงานดา นอุตสาหกรรม ภาพที่ 3-3 แสดงรปู รางของทรานซสิ เตอรก าํ ลงัที่มาของภาพ : http://thai-sci.blogspot.com/2009/05/blog-post_4120.html#!/2009/05/blog-post_4120.html

36 ทรานซิสเตอรกําลังที่ใชในวงจรขยายกําลังสูงๆ จําเปนตองมีการระบายความรอนที่ดีกวาทรานซิสเตอรธรรมดา ดังน้ัน จึงตองสรางตัวถังโลหะใหใหญขน้ึ ซ่ึงถาหากทรานซิสเตอรมีขนาดเล็ก จะสามารถขยายกําลงั หรอื รับกระแสไดไ มม าก นอกจากนี้ อาจสรางตัวถังเปนพลาสตกิ และมีฐานโลหะโผลอ อกมา เพอ่ื ตดิ แผนระบายความรอน (Heat Sink) เนื่องจากทรานซิสเตอรเปนอุปกรณท่ีมีความไวตออุณหภูมิ ซึ่งรูปรางของทรานซิสเตอรชนดิ น้ี สามารถ สงั เกตไดจ ากตัวถังทเ่ี ปนโลหะ 3. ทรานซิสเตอรความถ่ีสงู เปน ทรานซสิ เตอรท ่ีใชใ นวงจรท่เี ก่ยี วขอ งกบั ความถ่ี เชน ภาคไอเอฟภาคจนู เนอร ชนดิ ของทรานซิสเตอร แบง ตามเนอื้ สารที่นาํ มาสรา ง ได 2 ชนิด คือ 1. เยอรมนั เนีย่ มทรานซสิ เตอร (Germanium Transistor) เปน ทรานซสิ เตอรย คุ แรก ไมค อยนยิ มนํามาใชในปจ จบุ ัน เนือ่ งจากมกี ระแสรัว่ ไหลมาก ทรานซิสเตอรท่ที าํ มาจากสารเยอรมนั เน่ียม สามารถสังเกตไดงายเพราะตัวถงั ทาํ ดวยโลหะสีขาวและสามารถระบายความรอนไดด ีดวย เพ่ือปอ งกนั สญั ญาณรบกวนอนั เนือ่ งมาจากกระแสร่วั ไหลมาก ทรานซสิ เตอรชนิดน้ี อาจมี 4 ขา ซง่ึ ขาที่ 4 จะเปนขาชลี ค (Shield) โดยจะตอไวกับตัวถังและขา C จะทาํ เคร่ืองหมายไวสาํ หรับสงั เกต ภาพท่ี 3-4 แสดงรปู รา งของทรานซสิ เตอรท ี่ทํามาจากสารเยอรมันเน่ยี มท่มี าของภาพ : www.overclockzone.com 2. ซิลิกอนทรานซิสเตอร (Silicon Transistor) เปน ทรานซสิ เตอรทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสูง เพราะกระแสร่วั ไหลมีนอ ยมาก จงึ เปน ทรานซสิ เตอรทไ่ี ดร บั ความนิยมใชก นั ในยคุ ปจจบุ ัน ทรานซิสเตอรท่ีเปนชนิดซลิ กิ อน ตัวถังมักจะเปน พลาสติก ซงึ่ มองเห็นเปนสีดาํ หรือสเี ทา โดยการเรียงขาตางๆ จะไมแ นนอน ทรานซิสเตอรบางแบบตองการระบายความรอ นมากกวา ปกติ ดังนั้น จงึ จาํ เปนตองใชตัวถังแบบโลหะ แตจะแตกตางจากทรานซิสเตอรชนิดเยอรมันเน่ียมแบบตวั ถังโลหะ คือ ตัวถังอาจจะใหญกวา ท่ีสําคญั จะมีครบี เปนจดุ สงั เกตขา ซึง่ ตดิ กับตัวถัง

37 ภาพท่ี 3-5 แสดงรปู รา งของทรานซสิ เตอรท ี่ทํามาจากซลิ กิ อนที่มาของภาพ : http://th.aliexpress.com/w/wholesale-s9014-transistor.html. ชนดิ ของทรานซสิ เตอร แบง ตามโครงสราง ได 2 ชนดิ คอื 1. ทรานซสิ เตอรช นิด พ.ี เอ็น.พี (PNP) 2. ทรานซสิ เตอรช นดิ เอน็ .พี.เอ็น (NPN)โครงสรา งและสัญลกั ษณข องทรานซิสเตอร ทรานซสิ เตอร ประกอบจากสารกง่ึ ตัวนาํ ชนิด P และ N นาํ มาเรยี งกัน 3 ชั้น หรือนํามาตอ กันเพอื่ ใหเกดิรอยตอ ระหวางเน้อื สาร 2 รอยตอ โดยสารตรงกลางจะเปน เนอ้ื สารตางชนิดกบั สารทอี่ ยหู วั และทาย PN NP PN(ก) ทรานซิสเตอรช นิดพเี อน็ พี (ข) ทรานซิสเตอรชนดิ เอ็นพเี อ็นภาพท่ี 3-6 แสดงโครงสรา งและสญั ลักษณของทรานซสิ เตอร

38 การนาํ สารกง่ึ ตวั นําไมบ รสิ ทุ ธชิ์ นิดพี (P) และชนดิ เอ็น (N) มาตอรวมกนั เพอ่ื ใหเกิดรอยตอ ข้ึนมานน้ัจะใชว ธิ ีการโดป หรอื กระบวนการทเี่ รยี กวาการออกซเิ ดชนั่ (Oxidation) ปจ จบุ ัน จะสรา งใหขาคอลเลค็ เตอรเ ปนฐานของสารท้งั หมด แลว จะมกี ารกดั เพอ่ื โดปสารเปนขาเบสและขาอมิ ิตเตอรล งไป ขาใชงานของทรานซสิ เตอร มี 3 ขา คอื 1. ขาคอลเล็คเตอร (Collector) เรียกยอๆ วา ขา C เปนขาท่มี โี ครงสรา งในการโดป สารใหญทส่ี ดุ 2. ขาอมี ิตเตอร (Emitter) เรยี กยอ ๆ วา ขา E เปนขาท่ีมีโครงสรา งในการโดป สารรองลงมาและอยูฝง ตรงขามกบั ขาคอลเลค็ เตอร 3. ขาเบส (Base) เรยี กยอ ๆ วาขา B เปน สว นทีอ่ ยตู รงกลางระหวาง C กบั E มพี ืน้ ทข่ี องโครงสรางแคบท่สี ุด เมอ่ื เทยี บกบั อีกสองสว นการไบอัสทรานซิสเตอร การจะทาํ ใหเ กิดการไหลของกระแสหรอื ทําใหท รานซิสเตอรท าํ งานไดน ้นั จะตอ งใหไบอสั ทรานซสิ เตอรและกระแสท่ีปรากฏทางดานเอาทพทุ ตองสามารถควบคุมกระแสไดดวย จึงทําใหทรานซสิ เตอรข ยายสญั ณาณได ทรานซสิ เตอร มี 3 ขา การปอนแรงดนั ที่เหมาะสมหรอื ไบอัสทถี่ กู ตอง จะทาํ ใหท รานซสิ เตอรท าํ งานไดถา นํามาเปน วงจรขยายกส็ ามารถทําการขยายไดดที ส่ี ดุ โครงสรา งของวงจรไฟฟา จะมีดา นอนิ พุทและเอาทพุท ดา นละ 2 ขวั้ แตท รานซสิ เตอร มี 3 ขา จะใชขาหนึ่งเปนอินพทุ ขาหน่งึ เปน เอาทพทุ และขาทเี่ หลอื จะเปน จดุ รวมระหวา งอนิ พทุ กบั เอาทพทุ INPUT วงจรไฟฟา OUTPUTECINPUT B OUTPUTภาพที่ 3-7 แสดงหลกั การไบอสั ทรานซิสเตอร วัตถุประสงคข องการไบอสั ทรานซสิ เตอร จะสรางจากหลกั การท่ตี องการใหก ระแสทางดา นอินพทุ ไปควบคมุ กระแสเอา ทพ ทุ ดงั นัน้ การไบอสั ทางดานเอา ทพ ทุ จะตองใหไบอสั แบบรเี วรส ถา ใหไ บอัสแบบฟอรเวริ ส จะทําใหกระแสทางดา นเอา ทพทุ เปนอสิ ระจากอนิ พทุ จนไมสามารถควบคุมการไหลของทรานซสิ เตอรไ ด สว นทางดา นอินพทุ จะตอ งใหแบบฟอรเ วิรส โดยคาแรงดนั ฟอรเ วริ ส ไมจ ําเปน จะตองเปนแรงดนั ไฟฟาทีม่ ีคาสงู แตถ าใหกระแสอนิ พทุ สงู เกินไปจะทาํ ใหก ระแสเอาทพทุ เกดิ การอ่มิ ตัวกอ นได

39การไบอสั ทรานซสิ เตอรช นิดเอน็ พเี อ็นIE E N P N C IC IE IC E C IB B IB BVBE VBCภาพท่ี 3-8 แสดงการไบอสั ทรานซสิ เตอรช นิดเอ็นพเี อ็น เม่ือใหขาเบส (B) กับขาอิมิตเตอร (E) ไดร ับไบอสั แบบฟอรเ วิรส จะทําใหเ กดิ กระแสไหลจากขาอิมติ เตอร (E) ไปยังขาเบส (B) แตเนอื่ งจากวา ขาเบส (B) นน้ั เปนขาทมี่ พี ้ืนทีใ่ นการโดปสารนอ ยมาก ทาํ ใหป ระจุจํานวนมากของโฮลมารวมกนั ท่ขี าเบส (B) เพือ่ จะใหครบวงจร ดงั น้นั จึงตองใชแ รงดันไฟฟาลบคา สูงๆ มาดงึ ประจุทางดานขาคอลเลค็ เตอร (C) จะทาํ ใหเ กดิ การไหลของกระแสคอลเลค็ เตอร (IC) ได ซึง่ สามารถสรุปไดวา IE = IB + ICการไบอสั ทรานซสิ เตอรช นดิ พเี อน็ พีIE E P N P C IC IE IC E C IB B IB BVBE VBC ภาพที่ 3-9 แสดงการไบอสั ทรานซสิ เตอรชนิดพีเอน็ พี เมือ่ ใหขาเบส (B) กับขาอิมิตเตอร (E) ไดร บั ไบอสั แบบฟอรเ วิรส จะทําใหเ กดิ กระแสไหลจากขาเบส (B)ไปยังขาอมิ ิตเตอร (E) แตเ นือ่ งจากขาเบส (B) นั้น มพี ้นื ท่ีในการโดป สารแคบมาก จึงทําใหป ระจสุ วนใหญไมส ามารถไหลผา นไปได จึงตองใชแรงดันไฟฟา บวกสงู ๆ มาผลักดนั ประจุทางดา นเอา ทพทุ ใหเ คลื่อนท่ไี ปยงั ขาอมิ ติ เตอร (E) จะทําใหเกดิ การไหลของกระแสอมิ ติ เตอร (IE) ได ซึ่งสามารถสรุปไดวา IE = IB + ICคณุ สมบัติทางไฟฟาของทรานซสิ เตอร จากภาพที่ 3-10 เปน การไบอัสทรานซสิ เตอรต ามโครงสราง เมอ่ื นาํ มาเขียนใหมเปนวงจรโดยแทนดว ยสญั ลักษณของทรานซสิ เตอร จะไดดังภาพรปู ที่ 3-11 ทางดานอินพทุ ขา B และ E จะตอเขา กับแบตเตอรี่ VB และตวั ตานทานปรับคาได RB เน่ืองจากโครงสรางของขา B และ E มีลกั ษณะเหมือนไดโอดและตอ VB เขาในลักษณะไบอัสตรง จึงเกดิ กระแสไหลทางขา B , E เรียกวา IB ซ่ึงสามารถนํามาเขียนเปนกราฟแสดงความสัมพันธของ VBEและ IB ไดด ังภาพที่ 3-12 และมีลักษณะเหมือนกราฟของไดโอดดวย น่นั คือ ถา หาก VBE มคี ามากกวา 0.65 โวลทจะเกิด IB ไหลได โดยมีการจํากดั กระแสดว ย RB ถา RB ปรบั ไวทค่ี านอยๆ จะมี IB ไหลไดม าก

40 (ก) การไบอสั ทรานซิสเตอร ชนิดเอน็ พเี อน็ (ข) การไบอัสทรานซสิ เตอร ชนดิ พเี อน็ พี ภาพที่ 3-10 แสดงการเกดิ กระแส เมอ่ื มกี ารปอ งแรงดันที่ขาตา งๆที่มาของภาพ : http://electronics.se-ed.com/contents/068S165/068s165_p02.asp (ก) การไบอสั ทรานซิสเตอร ชนดิ เอน็ พเี อน็ (ข) การไบอสั ทรานซสิ เตอร ชนิดพีเอ็นพี ภาพท่ี 3-11 แสดงวงจรการเกิดกระแส เมอ่ื มกี ารปอ งแรงดนั ที่ขาตา งๆ เมือ่ มี IB ไหลผา นระหวา งขา B–E ในวงจร จะเกดิ กระแสระหวา งขา C–E เรยี กวา IC ไหลในวงจรดว ยและคา IC สามารถหาไดจ ากกราฟในภาพที่ 3-12 ซงึ่ เปน กราฟทแ่ี สดงถงึ การทํางานของทรานซิสเตอรอยา งแทจ รงิเร่มิ ตน พจิ ารณาท่ี IB สมมตวิ าปรบั RB ให ไดค า IB เปน 1mA จะเกดิ กระแส IC ขึ้น คา หน่งึ (สมมตเิ ปน 100mA) เมื่อปรับ IB มากขึ้น เปน 2mA จะได IC เปน 200mA ในทํานองเดียวกัน เมื่อปรับ IB เปน 3 , 4 , 5mA จะได ICE เปน300mA , 400mA , 500mA ตามลาํ ดบั ซ่ึงจะไดส ตู รของอตั ราขยายกระแส  (เบตา ) วา ตวั  (เบตา) หรอื เรยี กอกี อยา งหน่ึงวา HFE หมายถงึ อตั ราขยายกระแส จากตัวอยางขางบนน้ี จะไดคาเบตา เทา กบั 100 พอดี

41 เม่ือปรับ IB ใหมีคามากขึ้นไปอีกจะไดคา IC เพ่ิมข้ึนไมมากนัก เนื่องจากทรานซิสเตอรมีอัตราขยายกระแสทก่ี ระแสสูงๆ ไดน อยลง จากตวั อยางในภาพท่ี 3-12 จะพบวา เมอื่ IB มคี าเปน 6mA จะได IC เปน 580mAและ IB เปน 10mA จะได IC เปน 750mA หรอื คา  = 75 เทา และย่ิง IB มีคามากนัน้ จะได IC ไมเพ่ิมขึน้ เทาไร เชนIB = 20mA อาจได IC เพยี ง 800mA เทา นนั้ จากกราฟในภาพที่ 3-12 นํามาเขียนเปน กราฟแสดงความสัมพันธข อง IB ตอ IC จะไดด ังภาพที่ 3-13ในชวงที่ IB มีคา นอยๆ จะไดก ราฟเปน เสน ตรงหรอื มีคา  คงที่ และ เมอื่ IB มคี ามกขนึ้ จะได IC เปลย่ี นแปลงไปเพยี งเลก็ นอ ย หรือคา  นอยลง ทัง้ นี้ เน่อื งจากทรานซสิ เตอร เรม่ิ เกิดการอ่ิมตัวแลว ภาพท่ี 3-12 แสดงกราฟแสดงคณุ สมบัติของทรานซสิ เตอร ภาพท่ี 3-13 แสดงความสมั พันธร ะหวาง IB ทม่ี ีผลตอ IC ของทรานซสิ เตอร

42 กราฟทแี่ สดงความสัมพันธของ VCE ตอ IC เม่อื IB มีคาๆ หน่งึ ดังแสดงในภาพท่ี 3-14 จะพบวา เมื่อVCE เปล่ยี นแลง (อันเน่ืองมาจากการปรับคา VS หรือ CR) จาก 1 ถึง 20 กวาโวลท จะทําให IC เปล่ยี นแปลงไปเพียงเลก็ นอ ย เชน อาจเปล่ียนแปลงเพียง 1-2mA เทานน้ั นน่ั หมายความวา คา ของ IC ไมไดขึ้นอยกู ับ VCE เทาใดนัก แตขึ้นอยกู บั IB ภาพที่ 3-14 แสดงความสมั พนั ธระหวา ง VCE กบั IC การทาํ งานของทรานซสิ เตอร ทรานซสิ เตอร ทําหนา ทข่ี ยายกระแส โดยทางดา นขา B เปน ขาปอ นสญั ญาณอินพทุ และขา C เปนขาสัญญาณเอาทพ ทุ อัตราการขยาย คือ คา  มีคา คอ นขางคงที่ เมอ่ื กระแสที่ขา B มีคาไมมากนัก และ  จะมคี านอ ย เมือ่ กระแสท่ขี า B มีคา มากๆ ทางดานขา B และ E ซึง่ เปนขาปอนสญั ญาณอินพุท มีคณุ สมบัติเหมอื นไดโอดคือ เมอื่ ขา B , E มแี รงดันมากกวา 0.65 โวลท จะเกดิ กระแสที่ ขา B และทรานซสิ เตอรนํากระแสได สวนทางดานขา C ซง่ึ เปน ขาสัญญาณเอาทพ ุท จะเกิดกระแสไหลผานขา C ตามคา กระแสท่ีขา B และคา  โดยมี สูตร IC = IBแรงดนั ท่ีขา C , E หาไดจาก VCE = VS - VCR VCE = VS - IC x RC VCE = VS -  x IB x RC ทรานซิสเตอรช นิดเอน็ พีเอ็นและชนดิ พีเอ็นพี มีหลกั การทํางานเหมอื นกนั ทกุ ประการ เพียงแตส ลบัขั้วแบตเตอรีท่ ป่ี อนเขา เทา นน้ั เบอรของทรานซสิ เตอร การที่เราจะบอกวาทรานซสิ เตอรชนดิ ไหนเปน PNP หรอื ตัวไหนเปน NPN นัน้ โดยทั่วไปผผู ลิตจะบอกมาในคูมอื ของทรานซิสเตอรของผผู ลิตอยูแลว ถาขน้ึ ตนเบอรด ว ย 2SA หรอื A เปน ทรานซสิ เตอรชนดิ PNP ใชก บั ยานความถ่สี งู ถา ขึน้ ตนเบอรดวย 2SB หรอื B เปน ทรานซสิ เตอรช นดิ PNP ใชก ับยานความถี่ตํา่ ถา ขึ้นตน เบอรดวย 2SC หรอื C เปน ทรานซสิ เตอรชนดิ NPN ใชก บั ยานความถ่ีสูง ถาขึน้ ตน เบอรด ว ย 2SD หรือ D เปน ทรานซสิ เตอรช นิด NPN ใชก บั ยานความถ่ีต่าํ

43 ปจ จบุ ัน ทรานซิสเตอรที่ผลิตออกมาสูทองตลาดมีจํานวนมากข้ึน ทําใหการจัดระบบเบอรข องทรานซิสเตอร แบบเดิมไมส ามารถจดั การไดลงตัว บางเบอรไมส ามารถระบุชนิดและการใชง านได จงึ ตอ งมคี ูมอื หรือตรวจสอบดวยเครอ่ื งมอื วัดการวัดและทดสอบทรานซสิ เตอร การวัดหาขาของทรานซสิ เตอรก ลายเปน ความจาํ เปน เนอ่ื งจากทรานซสิ เตอรมมี ากมายหลายเบอรแ ละมกี ารวางขาและตัวถงั ทไ่ี มแ นน อน โดยเฉพาะเยอรมนั เนี่ยมทรานซสิ เตอร จะมีการกาํ หนดขาไวแนน อน ซ่งึ มกั จะทาํเครื่องหมายวงกลม สามเหล่ียมหรืออนื่ ๆ ไวทีข่ าคอลเลคเตอร โดยทข่ี าเบสคน่ั อยรู ะหวา งคอลเลคเตอรก บั อมิ ติ เตอรหรอื ทรานซสิ เตอรท เ่ี ปนตัวถงั โลหะแบบมคี รบี ซงึ่ ตรงครบี จะเปน ขาอิมิตเตอร ดังนน้ั ปจ จุบันมีความจาํ เปน อยา งยงิ่ทีจ่ ะตอ งทราบวาขาใดอยูตรงไหน ซง่ึ อาจสามารถหาขา หาชนดิ ของทรานซสิ เตอรไดหลายวธิ ีดว ยกัน อยางเชน - เปด ดูรายละเอียดจากคมู อื ทรานซสิ เตอร - เช็คจากคลนื่ ไฟฟา ในวงจร - ดตู ามลกั ษณะวงจรหรือลักษณะการไบอสั - ตรวจเช็คดวยมัลติมเิ ตอร วิธีการนาํ มัลติมเิ ตอรชนิดมฟู วงิ่ คอยลห รอื ขดลวดเคล่อื นทหี่ รอื แบบเขม็ เปนเคร่ืองมือวดั และทดสอบเพอ่ื หาขาและชนดิ ของทรานซสิ เตอร สามารถทําไดด งั น้ี การวัดหาขาเบส ในการวดั ทรานซิสเตอรเพือ่ หาขาน้ัน ขาเบสเปน ขาท่ีหาไดงายทส่ี ดุ เพราะขาเบสเปนขาท่อี ยตู รงกลาง เมอ่ื ดโู ครงสรางของทรานซสิ เตอรจ ะใกลเคียงกับไดโอด 2 ตัว นาํ มาตอ ชนกนั ดังนั้น การวัดหาขาจะตองมาจากหลักการเดียวกนั กับท่ีวัดไดโอด ซึง่ ถาหากกําหนดใหข าเบสเปนขาหลักไวและใหไบอัสถูกตองสักคร้ังหนึ่งแลว เม่ือมีการยายสายมิเตอรไปยังอีกขาหน่ึง ซึ่งเปนขาท่ีเหลือ โดยยังคงคางที่ขาเบสไว เข็มมิเตอร จะขึ้นเชน เดยี วกนัE C E NP N C BB โครงสรา งของทรานซสิ เตอรช นิดเอ็นพเี อน็E C E PN P C B B โครงสรา งของทรานซสิ เตอรช นิดพีเอ็นพี ภาพที่ 3-15 แสดงวงจรสมมลู ของทรานซิสเตอร

44 การวดั หาขาเบส ใหตง้ั มเิ ตอรย านวัด Rx10 หรือ Rx100 โดยใชส ายมเิ ตอรจ ับที่ขาใดขาหนึง่ เปนหลักวดั เทยี บกบั 2 ขา ทเี่ หลอื ใหทําการวัดจนกวา จะพบจงั หวะท่วี ัดเทียบกบั อกี 2 ขา แลว มเิ ตอรข น้ึ เทาๆ กนั ทง้ั 2 ขาซง่ึ หมายถึง ทาํ การวัด ทั้งหมด 6 ครง้ั เขม็ มเิ ตอร จะข้นึ 2 คร้งั นน่ั แสดงวา ขาท่ีจับเปนหลกั คือ ขาเบส (Base) เมือ่ ทราบขาเบส แลว จะสามารถทราบชนดิ ของทรานซสิ เตอรไ ดใ นเวลาเดียวกัน โดยพจิ ารณาจากหลกั การไบอัสที่ขาเบสดวยฟอรเ วริ ส ไบอสั ถา ขาเบสจา ยไฟเปน ลบ แสดงวาเปนทรานซสิ เตอรชนิด PNP ซึง่ ในทางกลับกนั หากวาขาเบสจายไฟเปน บวก แสดงวา เปน ทรานซิสเตอรชนดิ NPN (เฉพาะมเิ ตอรส ไตลญ ปี่ ุน ไตหวัน เชนยหี่ อซันวา ยูเนียน ยูฟอง สแตนดารด ทีเอสอาร โดยขว้ั บวกของมเิ ตอรจะจายไฟลบ และขว้ั ลบจะจายไฟเปนบวก) * หมายเหตุ เมอ่ื สลบั สายเขม็ มิเตอรจ ะไมข น้ึ ภาพที่ 3-16 แสดงการวดั หาขาเบสของทรานซิสเตอร การวดั หาขาคอลเลค็ เตอรและอมิ ติ เตอร เมื่อหาขาเบสไดแลว ใหทําการสลับสายมิเตอรอีกคร้ังหนึง่ ซึ่งเปน การไบอัสแบบรเี วิรส ผลท่ีไดคอื คาความตา นทานของทรานซิสเตอรจะสูง จนเข็มมิเตอรไมข้ึน ทั้งน้ี การตงั้ ยานวัด Rx10 หรอื Rx100 นั้น ไมสามารถวัดคา ความตา นทานไดสูงพอ แตถาหากจะวดั คา ความตานทานในลักษณะรเี วิรส จะตองต้งั ยานวัดมิเตอรใหสงู สดุ นั้น คอื ยา นวดั Rx10k - ถาวัดขาเบสเทยี บกับขาหน่ึงขาใดแลว ไดคาความตา นทานสูง (เขม็ มิเตอรขน้ึ นอย หรอื ไมข้นึ เลย หากวาคาความตา นทานสงู กวาความสามารถในการวดั ของมิเตอร) ขานน้ั คอื ขาคอลเลค็ เตอร (C) - ถา วัดขาเบสเทียบกับขาใดขาหนง่ึ แลว ไดความตานทานต่าํ กวา (เข็มมิเตอรข้ึนมาก) แสดงวา ขานั้น คือ ขาอิมิตเตอร (E)

45 วิธกี ารวดั แบบนี้ เรียกวา วธิ กี ารวดั โดยอาศยั หลักการวัดเปรียบเทยี บความตานทาน เม่อื รเี วริ สไบอสั ซ่งึ ความตา นทานของรอยตอ (Junction) จะสงู เน่อื งจากขาคอลเล็คเตอรถ กู โดป ใหม ขี นาดใหญ เม่อื ใหร เี วิรสไบอัสเขาไป ทาํ ใหประจุไฟฟาขางในว่งิ เขาหาขั้วแบตเตอรภี่ ายในมเิ ตอรม าก ความตานทานจึงสงู กวาความตา นทานของอมิ ติ เตอร (ซึง่ มีพนื้ ทีน่ อ ยกวา)ภาพท่ี 3-17 แสดงการวัดหาขาคอลเล็คเตอรแ ละอิมติ เตอรข องทรานซสิ เตอร สําหรับทรานซสิ เตอรบ างตวั (โดยเฉพาะชนดิ ซลิ ิกอน) คาความตา นทาน เมอื่ รเี วริ ส คอ นขางสงู(อยางเชน สงู กวา 20 เมกกะโอมห) เขม็ มเิ ตอรจ ะไมข้นึ เลย เพราะเกินพิกัดความสามารถในการวัด ดงั น้นั จะหาขาโดยวิธกี ารขา งตน คงลม เหลว ตอ งใชว ธิ ขี องการไบอสั เขามาชวยการวดั ดวยวธิ ีการไบอสั มีลาํ ดบั ขน้ั ตอนดงั น้ี1. เมื่อทราบตาํ แหนงขาเบสแลว ต้ังยานมิเตอรส เกล Rx10k จับ 2 ขาทีเ่ หลือ2. ถาการจบั ขาของทรานซสิ เตอรถูกตองตามลักษณะการไบอัส เมือ่ นํานวิ้ มาแตะรว มระหวางขาเบส (B) กับขาทเ่ี หลือ สงั เกตผลการวัด หากแตะกบั ขาใดแลว เข็มมเิ ตอรข นึ้ แสดงวา ขาทแี่ ตะรว มกบั ขาเบส คือขาคอลเลค็ เตอร (C) ขาที่เขม็ ไมขึ้น คือ ขาอมิ ิตเตอร (E) ( หมายถงึ การแตะนิว้ ระหวางขาเบส (B) กบั ขาคอลเล็คเตอร (C) เข็มมเิ ตอรจะขึ้น)ภาพที่ 3-18 แสดงการวดั และทดสอบทรานซิสเตอรด วยวธิ กี ารไบอสั ชวย

46 การไบอสั ทรานซสิ เตอรช นิดพีเอ็นพี ใหแตะขาเบสกับขาทป่ี อนไฟลบ (ขัว้ บวก) ถา ขาท่ปี อนไฟลบเปนขาคอลเล็คเตอร เขม็ มเิ ตอรต องขึ้น (คา ความตานทานระหวา งขาคอลเลค็ เตอรกับอิมิตเตอรต่ําลง เมอ่ื ไบอสั ทางดา นเอาทพ ทุ ถกู ตอ ง) หากเขม็ มิเตอรไ มขึน้ ใหส ลบั สายมิเตอรแ ลว แตะนิว้ ใหม สว นขาท่จี า ยไฟบวก คือ ขาอมิ ติ เตอร การไบอสั ทรานซิสเตอรช นดิ เอ็นพเี อน็ ใหแตะขาเบสกบั ขาทป่ี อ นไฟบวก (ขว้ั ลบ) ถา ขาทปี่ อ นไฟบวกเปน ขาคอลเล็คเตอร เขม็ มเิ ตอรตองขึ้น (คา ความตานทานระหวา งขาคอลเลค็ เตอรกบั อิมติ เตอรต ่าํ ลง เม่อื ไบอสั ทางดานเอา ทพ ุทถกู ตอ ง) หากเข็มมิเตอรไมข ้ึนใหส ลบั สายมิเตอรแ ลว แตะนวิ้ ใหม สวนขาทจ่ี ายไฟลบ คือ ขาอมิ ิตเตอร การวัดหาคา อตั ราขยาย ปกตทิ รานซสิ เตอรจ ะบอกอตั ราขยาย (hfe) ไวในคมู อื ผผู ลติ ซ่ึงไดมาจากการเปรียบเทียบอัตราสว นระหวา งกระแสคอลเล็คเตอรก บั กระแสเบส หรือเขยี นความสมั พันธไดว า hfe = IC/IB ดงั น้ัน เมอื่ จะวัดคา อตั ราขยายตอ งมีวธิ กี ารไบอสั ท่ีแนน อน นั่นคอื จะตอ งมกี ารไบอสั ขาเบส โดยใชต วั ตานทานตอผานมิเตอร เชน ในมิเตอรส ไตลญป่ี นุ ใชตัวตานทานคา 24k มเิ ตอรส ไตลยุโรปใชคา ความตา นทานคา 50k สายสดี ํา สาย สีแดง ภาพที่ 3-19 แสดงสายโพรบ ทีใ่ ชวัดอัตราขยาย สายโพรบท่ีใชว ัดคา hfe เปน โพรบ ทมี่ ปี ากคบี โดยอกี สายหนึ่งเปน สายวดั ธรรมดา สายโพรบ จะมี2 เสน เสน ท่หี นง่ึ เปนสายสีแดง ใชจ บั ขาคอลเล็คเตอร อีกเสน หนึ่งเปนสีดํา ใชจับขาเบส วิธีการวดั มขี นั้ ตอนดงั นี้ 1) ตัง้ มิเตอรยา นวัด hfe หรอื โดยท่ัวไปสาํ หรับมิเตอรสไตลญ ป่ี ุน จะตง้ั ยาน Rx10 ซ่ึงตองทําการซีโรโ อหมกอ นทกุ ครง้ั 2) ถา เปนทรานซิสเตอรชนดิ เอน็ พเี อน็ ใหนําสายโพรบ เสียบเขา ข้ัวลบของมเิ ตอร สายธรรมดาเสียบเขาข้วั บวก ใชจ ับขาอิมติ เตอร ถา เปน ทรานซสิ เตอรชนิดพีเอน็ พี ใหนาํ สายโพรบเสยี บเขาขัว้ บวกของมิเตอร สายธรรมดาเสยี บเขา ขวั้ ลบ ใชจับขาอมิ ติ เตอร การอานคา hfe ใหอ านทส่ี เกล hfe บนหนา ปด ถา เปน ชนิดซิลกิ อน สามารถอา นคา โดยตรง แตถาเปนเยอรมนั เนี่ยม อา นคาไดเ ทา ไรใหป ลดขาเบสออก (สายดําของสายโพรบ ) อา นคาออกมาอกี ครง้ั อานคา ไดเทาไรนําไปลบกบั คาทอ่ี า นครง้ั แรก จึงจะไดค า อัตราขยายทแ่ี ทจ รงิ ของทรานซสิ เตอรตัวน้นั ๆ

47ทรานซสิ เตอรชนดิ พีเอน็ พี ทรานซิสเตอรชนดิ เอ็นพเี อน็ภาพที่ 3-20 แสดงการวัดเพ่อื หาอตั ราขยาย การวัดคา กระแสร่วั ไหล (Leakage Current) เปนการวดั กระแสทรี่ ่ัวซึมออกมา ซ่งึ ทรานซิสเตอรท ดี่ ี จะตองมีกระแสร่วั ไหลคานอ ยมากๆ การวดัหาคา กระแสรวั่ ไหล สามารถหาได กรณอี อฟเซท็ วงจร (Offset) ไว หรอื ยงั ไมจา ยไบอัสทางดานขาเบส เรียกวิธกี ารน้ีวา การวัด ICEO นั่น หมายถึง กระแสคอลเลค็ เตอร- อิมติ เตอรใ นขณะท่ีวงจรยังออฟเซ็ทอยู ภาพที่ 3-21 แสดงการวัดกระแสรวั่ ไหล วธิ กี ารวัด ICEO คลายกับการวดั คา hfe แตเ พียงตดั ไบอสั ขาเบสออกเทานนั้ หลกั การวดั สามารถสรปุดงั น้ี 1. เพาเวอรท รานซิสเตอร ต้งั มเิ ตอรยา น Rx1 อานท่ีสเกล ICEO หนวยวดั มิลลแิ อมป อานไดเทาไรตองนําไปคณู กบั 10 2. ทรานซสิ เตอรท ่วั ไป ตง้ั มิเตอรย า น Rx10 ซ่งึ สามารถอานคาไดโ ดยตรง มีหนว ยมลิ ลแิ อมป ทรานซสิ เตอรช นดิ พเี อ็นพี สายบวกของมเิ ตอรจ ับขาคอลเล็คเตอร สายลบจบั ขาอมิ ติ เตอร ทรานซสิ เตอรช นดิ เอน็ พีเอ็น สายบวกของมิเตอรจ ับขาอมิ ติ เตอร สายลบจบั ขาคอลเลค็ เตอร

48 3. ทรานซสิ เตอรช นิดเยอรมนั เนย่ี ม ต้ังมเิ ตอรย าน Rx1k ซึ่งอา นคา ไดเ ทาไรใหนาํ ไปคูณ 10 มหี นวยเปนไมโครแอมป หรอื จะใชว ธิ กี ารจําวา ยาน Rx1 คอื ยาน 150mA , ยา น Rx10 คอื ยา น 15mA และยา น Rx1kคือ ยา น 150A ทรานซิสเตอร เปน อปุ กรณอิเล็กทรอนิกสประเภทแอคทฟี (Active)โครงสรางทํามาจากสารกงึ่ ตวั นาํชนิดเอน็ กับพี มาตอ กนั ใหเ กิดรอยตอ 2 รอยตอ มีขาใชง าน 3 ขา คือ ขาคอลเล็คเตอร (Collector : C) ขาเบส(Base : B) และขาอมิ ติ เตอร (Emitter : E) สามารถแบงชนดิ ตามโครงสรา งได 2 ชนดิ คอื ชนดิ พเี อน็ พี (PNP) กบัชนิดเอ็นพเี อ็น (NPN) การไบอสั ทรานซสิ เตอร จะตองตอไบอสั ตรงทางดา นอินพุทและไบอสั กลับทางดา นเอา ทพทุสญั ลักษณของทรานซสิ เตอรชนิดเอน็ พเี อน็ กบั ชนิดพีเอ็นพี แตกตา งกันตรงที่ขาอมิ ติ เตอร ถา เปนชนิดเอน็ พเี อ็นลูกศรท่ขี าอิมิตเตอรจะชีอ้ อกจากวงกลม สว นชนดิ พีเอ็นพี ลกู ศรท่ขี าอมิ ติ เตอรจ ะชเี้ ขาในวงกลม การวัดและทดสอบเพอ่ื หาขาและชนดิ ของทรานซสิ เตอร เปนความจําเปน เพราะทรานซสิ เตอรมมี ากหลายเบอร และมกี ารวางขาและตวั ถังท่ีไมแ นนอน โดยเฉพาะทรานซสิ เตอรทเ่ี ปน เยอรมนั เนย่ี มนัน้ มกี ารกาํ หนดขาไวแ นน อน โดยมักจะทําเคร่อื งหมายวงกลม สามเหลย่ี มหรืออ่ืนๆ ไวท ่ขี าคอลเลคเตอร โดยที่ขาเบสค่นั อยรู ะหวา งคอลเลคเตอรก บั อมิ ิตเตอร หรอื ทรานซสิ เตอรท เี่ ปน ตัวถงั โลหะแบบมคี รบี ตรงครบี จะเปน ขาอมิ ิตเตอร ดงั นั้นปจจุบันมคี วามจําเปน อยา งย่งิ ท่จี ะตองทราบวาขาไหนอยตู รงไหน ซงึ่ อาจสามารถหาขา หาชนดิ ของทรานซสิ เตอรไ ดหลายวธิ ดี ว ยกนั อยา งเชน เปดดรู ายละเอียดจากคมู ือทรานซิสเตอร เชค็ จากคลืน่ ไฟฟา ในวงจร ดูตามลกั ษณะวงจรลักษณะการไบอัส เชค็ ดวยมลั ตมิ เิ ตอร การวดั หาคาอตั ราขยาย ปกติทรานซสิ เตอร จะบอกอัตราขยาย (hfe) ไวในคูมอื ผผู ลิต ซงึ่ ไดม าจากการเปรยี บเทียบ อัตราสว นระหวา งกระแสคอลเลค็ เตอรกบั กระแสเบสหรือเขยี นความสัมพนั ธไ ดวา hfe = IC/IB ดงั น้ันเม่ือจะวัดคา อัตราขยาย ตองมีวิธีการไบอสั ทีแ่ นนอน คือ จะตอ งมกี ารไบอสั ขาเบส โดยใชต วั ตา นทานตอ ผา นมิเตอรสวนการวดั คากระแสร่วั ไหล (Leakage Current) เปนกระแสทร่ี ่ัวซึมออกมา ทรานซิสเตอรท ่ีดีกระแสรั่วไหลตอ งมีคานอยมากๆ การหาคากระแสร่วั ไหลสามารถหาไดก รณีออฟเซ็ทวงจร(Offset) ไวห รือยงั ไมจ ายไบอสั ทาง ดานขาเบส เรยี กวธิ กี ารนวี้ า การวัด ICEO หมายถงึ กระแสคอลเลค็ เตอร- อมิ ติ เตอรใ นขณะทวี่ งจรยงั ออฟเซท็ อยู

49ตอนที่ 1 จงทําเครือ่ งหมาย () ลงหนา ขอทถ่ี ูกตอ ง 6. ทรานซสิ เตอรไมน ิยมนาํ ไปประกอบในวงจรใด ก. วงจรขยายสญั ญาณ1. ทรานซสิ เตอรถา แบงตามโครงสรา งมกี ช่ี นิด ก. 1 ชนดิ ข. วงจรขยายแรงดนั ข. 2 ชนิด ค. วงจรกรองกระแส ค. 3 ชนดิ ง. วงจรปด -เปด ง. 4 ชนิด 7. ชัน้ กลางของโครงสรา งทรานซสิ เตอรตอ กับขาใด2. ขอ ใดคือขาใชงานของทรานซิสเตอร ก. อมิ ติ เตอร ก. A2 , A1 , G ข. คอลเล็คเตอร ข. N , P , N ค. B , E , C ค. เบส ง. A , K , G ง. กราวด 8. ทรานซสิ เตอรท่ขี ้ึนตน ดวยเบอร 2SA หรือ A มี3. ทรานซสิ เตอรชนดิ เอ็นพเี อน็ ทข่ี า B และขา Cจะตอ งปอ นแรงดนั ไฟอยางไร ความหมายวา อยางไร ก. ทรานซสิ เตอรช นิดพเี อน็ พี ใชใ นความถตี่ ่าํ ก. ขา B จายไฟ + และขา C จายไฟ + ข. ทรานซิสเตอรชนิดพีเอน็ พี ใชในความถสี่ งู ข. ขา B จายไฟ + และขา C จายไฟ - ค. ขา B จา ยไฟ - และขา C จา ยไฟ - ค. ทรานซสิ เตอรช นดิ เอน็ พเี อน็ ใชใ นความถี่ ง. ขา B จา ยไฟ - และขา C จา ยไฟ + ตํา่4. การจดั ไบอสั ใหก ับขาทรานซสิ เตอรจ ะตองจัดไบอัสตรงระหวา งขาใด ง. ทรานซสิ เตอรช นิดเอน็ พีเอ็น ใชในความถ่ี ก. B กบั E ข. B กบั C สูง ค. E กบั C 9. ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟา ในทรานซสิ เตอร ง. C กับ Ground เปน ไปตามขอใด5. เพราะเหตุใดเยอรมนั เนยี มทรานซสิ เตอรใ นปจ จุบันจงึ ไมน ิยมใช ก. ID = IB + IE ก. ตัวใหญเ กนิ ไป ข. IE = IC + IB ข. กระแสรั่วไหลมาก ค. IC = IE + IB ค. คา ความตา นทานตํา่ ง. ไมม จี าํ หนา ยในทอ งตลาด ง. IB = IC + IE 10. ทรานซิสเตอรชนดิ ใดทีต่ อ งติดต้ังบนแผนระบาย ความรอน ก. ทรานซสิ เตอรชนดิ เอน็ พีเอ็น ข. เยอรมนั เนี่ยมทรานซสิ เตอร ค. ทรานซสิ เตอรชนิดพีเอน็ พี ง. ทรานซสิ เตอรก ําลัง

50ตอนท่ี 2 จงเติมคําลงในชอ งวา งใหส มบรู ณ1. ทรานซสิ เตอรทนี่ ยิ มใชใ นปจ จบุ ันทาํ มาจากสาร ……………………………...........................................................………..2. ทรานซสิ เตอรแ บง ตามโครงสรา ง ได ………………… ชนดิ คอื ……..………………………….…………………………………...…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………..3. ทรานซสิ เตอร มขี าใชง าน …………ขา คือ ……………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………..4. ขา ……………………… มพี ื้นทีใ่ นการโดปสารมากทสี่ ุด5. ทรานซสิ เตอรท เ่ี บอรข ้นึ ตน ดวย 2SC เปนทรานซิสเตอรชนดิ ……….……………..……………………………………………….ตอนท่ี 3 จงตอบคาํ ถามใหไดใ จความสมบรู ณ1. ทรานซสิ เตอรตัวหน่ึง วัดระหวางขาเบสกบั คอลเล็คเตอร ปรากฏวาเขม็ มเิ ตอรข น้ึ สุด เมอ่ื สลบั สายเขม็ มิเตอรย ัง ข้นึ สุดเหมือนเดิม แสดงวา ทรานซสิ เตอรดหี รอื เสยี ถา หากเสีย เสยี ในลักษณะใด2. จงบอกวิธกี ารวัดและทดสอบทรานซสิ เตอร3. การวัดและทดสอบทรานซสิ เตอร สามารถบอกคาอะไรบา ง4. จงบอกวิธกี ารไบอสั ทรานซสิ เตอรช นิดเอ็นพเี อ็น5. จงเขียนสัญลักษณของทรานซสิ เตอรท ี่แบง ตามโครงสรา ง

51“การใชและอานคมู ืออปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนิกส ECG”. ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลงทมี่ า http://www.bspc. ac.th/files/1104271616302995_1104280882528.pdf สืบคน เมือ่ 14 กันยายน 2558.“ขอมูลทรานซิสเตอร” . ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลง ทมี่ า https://sites.google.com/site/ newpedaleffect/info/spec?mobile=true. สบื คน เมื่อ 14 กนั ยายน 2558.“โครงสรา งทรานซสิ เตอร” . ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลงทม่ี า http://nirunpootoyaelectroniclearning. blogspot.com/2012/10/7.html. สบื คน เมอื่ 14 กนั ยายน 2558.เจน สงสมพันธ. 2536. เทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนิกส. กรงุ เทพฯ : สถาบนั อเิ ลก็ ทรอนกิ สกรุงเทพฯ.“ซลิ กิ อนทรานซสิ เตอร” . ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลง ที่มา http://th.aliexpress.com/w/wholesale- s9014-transistor.html. สบื คน เม่ือ 14 กนั ยายน 2558.“ตารางเทยี บเบอรของทรานซสิ เตอร” . ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน]. แหลงทม่ี า http://electronics-friendship. blogspot.com/2013/07/blog-post_2330.html. สบื คน เมอื่ 14 กนั ยายน 2558.“ทรานซสิ เตอร” . ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลง ที่มา http://www.hs8jyx.com/html/transistor vs_ vacuum.html. สืบคน เมื่อ 14 กันยายน 2558.“ทรานซสิ เตอรก ําลงั ”. ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลง ทม่ี า http://www.bkk1.in.th/Topic. aspx?TopicID=28034. สืบคน เมอื่ 14 กนั ยายน 2558.ธนกร คีรพี ิทกั ษ. 2537. สารกงึ่ ตวั นําและวงจร. ปทมุ ธานี : สกายบคุ .บรษิ ัท ซเี อ็ดยเู คช่ัน จาํ กัด (มหาชน). ม.ป.ป.. “กราฟคณุ สมบั ติของทรานซสิ เตอร” [ระบบออนไลน] . แหลง ทม่ี า http://electronics.se-ed.com/contents/068S165/068s165_p02.asp. สบื คน เมอื่ 14 กนั ยายน 2558.ประพนั ธ พิพัฒนสขุ และคณะ. ม.ป.ป.. ปฏิบัตอิ ปุ กรณอ เิ ลก็ ทรอนิกสแ ละวงจร 2. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพ ศนู ยสงเสรมิ อาชีวะ.พทุ ธารักษ แสงกงิ่ . ม.ป.ป.. อุปกรณอิเลก็ ทรอนิกส. กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพ ศนู ยส งเสริมอาชีวะ.พนั ธศ กั ดิ์ พุฒิมานติ พงศ. 2557. อุปกรณอ เิ ลก็ ทรอนิกสและวงจร. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พศูนยสงเสรมิ วิชาการ._______. ม.ป.ป.. อปุ กรณอเิ ล็กทรอนกิ สแ ละวงจร. กรงุ เทพฯ : สาํ นักพมิ พศ นู ยสง เสรมิ วชิ าการ._______. ม.ป.ป.. อปุ กรณอิเล็กทรอนกิ สและวงจร. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พศ ูนยสง เสรมิ อาชวี ะ.

52“เยอรมันเน่ียมทรานซสิ เตอร” . ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลงที่มา www.overclockzone.com สืบคน เม่ือ 14 กนั ยายน 2558.โรงเรียนแสงทองโทรทัศน. 2543. การตรวจเชค็ ทรานซสิ เตอร. SANG THONG 2000 3, 12 : 8-14.“วงจรทรานซสิ เตอรส วิทซ” . ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลง ท่ีมา http://www.neutron.rmutphysics. com/physicsboard/forum/index.php?topic=645.0. สืบคน เมือ่ 14 กันยายน 2558.ไวพจน ศรธี ัญ. 2546. อุปกรณอ เิ ล็กทรอนกิ ส. กรงุ เทพฯ : สํานกั พมิ พวงั อกั ษร.อดุลย กลั ยาแกว. ม.ป.ป.. อุปกรณอเิ ล็กทรอนกิ สและวงจร (อุปกรณอิเลก็ ทรอนกิ ส) . กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พ ศูนยสงเสริมอาชีวะ,________. 2556. อปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนิกสแ ละวงจร. กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พศูนยสง เสรมิ อาชวี ะ.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook