Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้หน่วยที่ 5_ไทริสเตอร์

ใบความรู้หน่วยที่ 5_ไทริสเตอร์

Published by stp_1975, 2017-05-17 10:26:40

Description: ใบความรู้หน่วยที่ 5_ไทริสเตอร์

Search

Read the Text Version

1. เอสซีอาร2. ไตรแอค3. เอสซเี อส4. จที โี อ5. พยี ูที1. อธิบายโครงสรางของอปุ กรณไทรสิ เตอรได2. บอกสัญลกั ษณของอปุ กรณไทรสิ เตอรได3. อธิบายการทาํ งานของอุปกรณไ ทรสิ เตอรไ ด4. บอกการใชง านอปุ กรณไทรสิ เตอรไ ด5. อธบิ ายวิธกี ารวัดและทดสอบอปุ กรณไ ทรสิ เตอรไ ด

74 อุปกรณไทริสเตอร (Thyristor) หมายถึง อุปกรณสารก่ึงตัวนําที่ทําหนาที่เปนสวิทซเปดและปดวงจรโดยโครงสรางของอปุ กรณท ําจากสารกึง่ ตวั นาํ ชนิดพแี ละชนดิ เอน็ (P-N-P-N) เรียงกัน 4 ช้นั ขนึ้ ไป มี 3 รอยตอ และมีขาใชงาน ต้ังแต 2-4 ขา ซึ่งการนํากระแสเปน ไดทง้ั ยูนโิ พลา รและไบโพลา ร ท้งั นี้ การนําทรานซิสเตอรไปใชใ นงานอตุ สาหกรรมไมส ามารถทาํ ได เนื่องจากทรานซิสเตอรทนกระแสไดต ํา่ จึงจําเปน ตอ งใชอปุ กรณท ่ีสามารถทนแรงดนัและกระแสไดส ูงกวาทรานซิสเตอร ไดแก เอส.ซี.อาร. , ไตรแอค , เอส.ซีเอส.เอสซอี าร เอสซีอาร ยอมาจาก ซลิ ิกอน คอนโทรล เรก็ ติฟายเออร (SCR : Silicon Control Rectifier) เปนอุปกรณไทรสิ เตอรห รืออปุ กรณโ ซลดิ สเตท (Solid–State) ท่ที าํ หนา ทเ่ี ปน สวิทชเปด–ปด วงจรทางอิเล็กทรอนิกสชนดิ หนงึ่ บางครั้ง เรียกวา “โซลดิ สเตทสวทิ ช” (Solid State Switch) เปน สวิทชอ ิเลก็ ทรอนกิ สท ่ีมีขอดี คือ ไมมีหนาสมั ผสั หรือ คอนแท็ค (Contact) ขณะปด –เปด จงึ ไมท าํ ใหเกดิ ประกายไฟท่ีหนาสมั ผสั จงึ มคี วามปลอดภยั สงูซ่ึงสวิทชธ รรมดา คือ แบบกลไกทม่ี ีหนาสมั ผสั จะไมส ามารถนําไปใชใ นบางสถานทไ่ี ด ภาพท่ี 5-1 แสดงรปู รางของเอสซีอารทม่ี าของภาพ : https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_electronics/wiki/e49cb/__.html นอกจาก การนาํ เอส.ซี.อาร. มาทําหนาทแ่ี ทนสวทิ ซห รอื แมกเนตกิ รเี ลย เพือ่ ใหท าํ งานแทนระบบควบคมุ ทใ่ี ชร ีเลย ยังสามารถนาํ ไปใชส าํ หรบั วงจรหนวงเวลา วงจรจา ยไฟแบบเรก็ กเู ลเตอร เปนสแตติคสวิทซ ใชในงานควบคุมมอเตอร วงจรชอปเปอรไซโครคอนเวอรเ ตอร วงจรชารจ แบตเตอรี่ วงจรปอ งกนั วงจรควบคุมความรอ นและวงจรควบคมุ เก่ียวกบั เร่อื งของเฟส

75ภาพท่ี 5-2 แสดงรูปรางของเอสซอี ารที่ใชใ นงานอุตสาหกรรมทีม่ าของภาพ : http://www.newark.com/nte-electronics/nte5564/scr-thyristor-35a-400v-to- 48/dp/31C4843 โครงสรางของเอสซีอาร เอสซอี าร ประกอบดวยสารก่งึ ตัวนําชนิดพีและชนิดเอ็น เรียงสลับกนั 4 ช้ัน (P–N–P–N) มีขาตอออกมาใชงาน 3 ขา คอื ขาอาโนด (A : Anode) ขาแคโถด (K : Kathode) และขาเกต (G : Gate) A A P G K NGP N Kโครงสรา งของเอสซีอาร สญั ลกั ษณข องเอสซอี ารภาพท่ี 5-3 แสดงโครงสรา งและสญั ลักษณของเอสซีอาร เอส.ซี.อาร. มลี ักษณะการทํางานคลายกับไดโอดเรก็ ติฟายเออร ซึ่งโครงสรา งทาํ มาจากสารกึง่ ตวั นําชนิดซิลิกอนเทา น้ัน มีขาใชง าน 3 ขา และมขี าเกต (Gate) เปนขาควบคมุ การทาํ งาน การนํา เอส.ซี.อาร. ไปใชงาน จะตอ งทาํ ให เอส.ซ.ี อาร. สามารถเปลย่ี นจากวงจรเปด เปนวงจรปดโดยควบคมุ ท่ขี าเกต สวนขาอาโนดกับแคโถด จะตอ งใหไบอัสแบบฟอรเ วิรด เพื่อความสะดวกและงายตอ การเขา ใจเกย่ี วกบั การทาํ งานของ เอส.ซ.ี อาร. จะแสดง เอส.ซี.อาร. ในรปู ของวงจรสมมูล ซ่งึ มโี ครงสรางประกอบดวยทรานซสิ เตอรตางชนดิ กนั อยางละ 1 ตวั คือ ทรานซสิ เตอรพ เี อน็ พีกับทรานซสิ เตอรเอน็ พีเอ็นตอ รวมกนั โดยขาอาโนดของ เอส.ซี.อาร. คือ ขาอิมติ เตอรข องทรานซสิ เตอรพเี อ็นพี สว นขาแคโถด คอื ขาอมิ ิตเตอรของทรานซสิ เตอรช นดิ เอ็นพีเอ็น ซ่งึ ทรานซสิ เตอร ทงั้ 2 ตวั จะตองตอ ขาเบส (B) ไปยงัขาคอลเล็คเตอร (C) ของทรานซสิ เตอร อีก 1 ตัว

76 A A P Q1 Q2 N G KG PN P N K ภาพที่ 5-4 แสดงวงจรสมมูลของเอสซอี าร การทํางานของเอสซีอาร เมอื่ จา ยไฟบวกใหกบั ขาอาโนดเทยี บกบั ขาแคโถด ถาปอ นแรงดันลบใหขาเกต จะทาํ ใหเกิดไบอัสกลับกับทรานซสิ เตอร Q2 เปน ผลทําให Q2 ไมส ามารถนํากระแสได เอสซีอาร จงึ อยใู นสภาพที่ไมส ามารถนํากระแสได ไมมกี ระแสไหลผาน นอกจาก จะมกี ระแสร่ัวไหลเทา นน้ั แตถา ปอ นแรงดันบวกใหข าเกต ขาเบสของทรานซิสเตอร Q2จะไดรับไบอัสตรง จึงทําใหคากระแสคอลเล็คเตอรเพิ่มสูงขึ้นและกระแสคอลเล็คเตอร คือ กระแสเบสของทรานซสิ เตอร Q1 จึงมผี ลทําให Q1 นาํ กระแสตามไปดว ย คา ความตานทานระหวา งขา A กับขา K จงึ ตํ่ามาก ขณะท่ีไมไดทรกิ ขาเกตหรอื จุดชนวนเกต แลวทําการปอนแรงดันฟอรเวิรด ใหกบั ขา A กบั ขา K จะทาํ ใหเอส.ซี.อาร. ไมนํากระแสท่ีแรงดันต่ําๆ จะมีเพียงกระแสร่ัวไหลเทาน้ัน ซ่ึงมีคานอ ยมาก แตถ าเพมิ่ แรงดันใหสูงข้ึนจน ถึงจุดๆ หน่ึง เอส.ซี.อาร. จะสามารถนํากระแสได เน่ืองจากแรงดันท่ีจายจนถึงจุดแรงดันเบรกโอเวอร(BreakOver Voltage) แต เอส.ซี.อาร. จะไมปลอดภัย เพราะอาจทาํ ใหก ระแสไหลเกินพกิ ัดจนทําให เอส.ซี.อาร.พังเสียหายได ดงั นัน้ เอส.ซี.อาร. สามารถนํากระแสไดท ่ีแรงดันคาตํ่าๆ โดยการจดุ ชนวนทข่ี าเกต เรียกจดุ นี้วา จุดกระแสโฮลดิง้ กราฟคุณสมบตั ขิ องเอสซอี ารภาพท่ี 5-5 แสดงกราฟคณุ สมบัติของเอสซีอาร

77 สภาวะการทํางานของเอสซอี าร เอสซอี าร สามารถแบงการทาํ งานออกได 2 สภาวะ คอื 1) สภาวะนาํ กระแส เรียกวา ON 2) สภาวะหยดุ นาํ กระแส เรยี กวา OFF สภาวะนาํ กระแส การท่ีจะทาํ ใหเ อสซอี ารนํากระแส สามารถทําไดโ ดยการจดุ ชนวนทข่ี าเกตหรอื เรียกวา “ทริกเกอร”(Trigger) ดวยกระแสเกต (IG) ใหแกเอสซีอาร (S.C.R.) และทําการไบอัสตรงท่ีขาอาโนด (A) และแคโถด (K) คือจายไฟแรงดันบวก (+) ที่ขาอาโนด และจา ยไฟแรงดนั ลบ (-) ที่ขาแคโถด ทําใหเกดิ กระแส IB2 ไหลเขาขาเบส (B)ของทรานซิสเตอร TR2 ทําให TR2 อยูในสภาวะนาํ กระแส (ON) จะเกิดกระแสคอลเลคเตอร (IC2) ไหลผาน TR2ซ่งึ กค็ ือกระแส IB1 ของทรานซสิ เตอร TR1 น่นั เอง ดงั นน้ั TR1 จงึ นํากระแสดว ย คาความตา นทานระหวางขาอาโนดและแคโถด จึงมีคา ต่ํามาก เปนผลใหเ กิดกระแสอาโนด (IA) ไหลผา นอมิ ติ เตอรของ TR1 ไปออกที่อมิ ิตเตอรข อง TR2สภาวะการทาํ งานของ เอส.ซี.อาร. เปรยี บเสมือนสวทิ ชป ดวงจร A IA TR1 IC2 RA 12 VRG S1 G TR2Es IB2 Kภาพที่ 5-6 แสดงการจดุ ชนวนใหเ อสซีอารนํากระแส เม่อื เอสซอี าร นํากระแสแลว ไมจําเปน ตอ งคงคา กระแสเกต (IG) ไวต ลอดไป สามารถลดคา กระแสเกตใหเปนศนู ย (IG = 0) หรอื ปลดกระแสเกตออกได โดยทเ่ี อสซีอาร (SCR) ยงั คงนาํ กระแสตอไป เพราะ IB2 ที่ไหลเขาเบสของ TR2 จะไหลมาจากคอลเล็คเตอรข อง TR1 ดงั น้นั ถึงแมจ ะไมม ีกระแสเกต เอสซีอาร (SCR) ยังคงนํากระแสตอไปได สภาวะนาํ กระแสน้ี ถาแหลง จา ยเปนไฟกระแสสลบั สามารถจะบงั คบั ใหเ อสซอี าร (SCR) นาํ กระแสไดม ากหรอื นอยได โดยเลือกมุมจุดชนวนทเ่ี กตใหเ หมาะสม สภาวะหยดุ นาํ กระแส วิธกี ารทําให เอสซอี าร (SCR) หยุดนาํ กระแส มีหลกั การ คือ ทําใหกระแสอาโนด (IA) ลดลงจนตา่ํ กวา กระแสโฮลดิง้ (IH : Holding Current คือ คากระแสตาํ่ สดุ ท่ที ําให เอสซอี าร นํากระแส ประมาณ 3-20 mA)หรือ IA < IH จึงจะทาํ ให เอสซีอาร หยดุ นํากระแสได ซ่งึ การจะทาํ ให เอสซีอาร หยุดนํากระแส มี 2 วธิ ี คือ 1) อาโนด เคอเรนท อนิ เทอรัพช่ัน (Anode Current Interruption) โดยการตัดกระแส IA ไมใหไ หลผา นอาโนดของ เอสซีอาร วธิ งี า ยๆ โดยตอสวิทชอนุกรมกับขาอาโนด (A) ของ เอสซีอาร และเปด สวิทชเมื่อตอ งการทาํ ใหเ อสซอี าร หยุดทาํ งาน (Turn off) หรอื อกี วิธี โดยตอสวทิ ชร ะหวางขาอาโนดและแคโถดของเอสซอี ารเปน การเปลีย่ นทางเดินของกระแสอาโนด (IA) ไมใหไ หลผานเอสซีอาร

78 S LAMP + SCR E G ภาพที่ 5-7 แสดงการทําให เอสซอี ารหยดุ นํากระแส ดว ยวธิ อี าโนด เคอเรนท อนิ เทอรพั ชน่ั 2) ฟอรช คอมมูเทช่นั (Forced Commutation) ทําไดโ ดยบงั คับให เอสซีอาร ไดร ับไบอสั กลบัโดยใชส วทิ ชข นานกับ เอสซอี าร เปนตัวควบคุมการหยุดนํากระแสของ เอสซีอาร ถาสวิทชเปดวงจร เอสซอี าร จะยังคงนํากระแสอยู แตถาสวิทชปดวงจร เอสซีอาร จะหยุดนํากระแส เนื่องจากไดรบั การไบอัสกลับ ตลอดเวลาที่สวิทชยังคงปดอยู โดยระยะเวลาในการบังคับให เอสซีอาร หยุดนํากระแส จะตองนานกวาระยะเวลา Turn offTime ซึ่งระบุไวใ นคูมอื โดยท่ัวไปคาเวลาน้ี จะนอยมาก (ประมาณไมโครวินาที) + LAMP + LAMPE E SCR SCR GS GS ภาพท่ี 5-8 แสดงการทําให เอสซีอารหยดุ นาํ กระแส ดว ยวธิ ฟี อรช คอมมเู ทชน่ั การหยดุ นาํ กระแสของ เอสซอี าร โดยใชแ หลง จา ยไฟ การหยดุ นาํ กระแสของ เอสซอี าร ในกรณีแหลงจา ยไฟเปนไฟสลบั จะเปน ไปโดยอัตโนมัติเม่อื คา แรงดัน และกระแสท่ีอาโนด (IA) ของเอสซอี าร ตกลงมาเปนศูนย (หรอื เปน ลบ) ทกุ ๆ รปู คล่ืน ซง่ึ คุณสมบัติแบบนี้ มีประโยชนมาก การจะให เอสซีอาร นาํ กระแสและหยดุ นํากระแส ทําไดโ ดยใชสัญญาณเกตอยางเดยี ว ไมตองมีวงจรหรือสวทิ ชตอ จากภายนอกอีก ทาํ ใหป ระหยดั และวงจรไมซ ับซอน การหยดุ นํากระแสของ เอสซอี าร ถาแหลง จายไฟเปนไฟตรง จะมคี วามยงุ ยากกวา การใชกบั ไฟสลับ คือ ตอ งอาศยั สวทิ ช หรอื วงจรตง้ั เวลาตัดไฟ ชว ยในการทาํ ให เอสซีอาร หยุดนาํ กระแส ซึ่งการทําใหเอสซีอาร หยดุ นํากระแสแบบงา ยๆ มอี ยู 2 แบบ คอื การทาํ ใหเอสซอี าร หยุดนํากระแส โดยใชสวิทช และการทาํ ใหเอสซอี าร หยดุ นาํ กระแส โดยใชตัวเก็บประจุ

79 การทําให เอสซอี าร หยุดนาํ กระแส โดยใชสวติ ช เปน วิธีพืน้ ฐานธรรมดา เพราะงายและสะดวก มีที่ใชง านไดมากพอสมควร วงจรสามารถตอ ได 2 แบบ คอื แบบตอสวทิ ชข นาน (Paralle) กบั เอสซีอาร และแบบตอสวิทชอนกุ รม (Series) กับเอสซอี าร A RL Es S1 Gจดุ ชนวน K RG ภาพท่ี 5-9 แสดงการตอ สวิทซข นานกบั เอสซอี าร วงจรจุดชนวน คือ วงจรทรกิ เกอร (Trigger Circuit) กระตนุ ใหเ กิดการทาํ งาน แหลง จา ยไฟตรง คอื วงจรเพาเวอรซพั พลาย (Power Supply) S1 คอื สวทิ ซแ บบกดตดิ ปลอ ยดับ (กด = ON , ปลอ ย = OFF) RG คอื ความตา นทานท่ตี อครอมกับวงจรทริกเกอร (จดุ ชนวน) RL คือ โหลดรซี สิ เตอร (Load Resister) หมายถงึ โหลดตางๆ ที่นํามาตอใชง าน เมื่อกดสวิทช ท่ีขาอาโนด (A) กับแคโถด (K) ของ เอสซีอาร จะลัดวงจร ดังนั้น กระแสจะไหลลงกราวดโดยไมผาน เอสซีอาร และแรงดันท่ีขาอาโนด (A) จะเปนศูนยเทากับแรงดันท่ีกราวด เอสซีอาร จึงหยุดนํากระแส แตยังมีกระแสไหลครบวงจรโหลดอยู เมื่อปลอ ยสวทิ ชก ลับสูภ าวะปกติ กระแสในวงจรโหลด จึงจะหยุดไหล และเอสซีอาร ยงั คงอยูในภาวะไมนํากระแส จนกวา จะมกี ระแสมาจดุ ชนวนหรือกระแสทริกเกอรท่ีเกตอีกครั้ง RL S1S1 คอื สวทิ ซแ บบกดดับ ปลอ ยตดิ A Esจดุ ชนวน G K RG ภาพท่ี 5-10 แสดงการตอ สวทิ ซอนุกรมกับ เอสซีอาร

80 เมื่อกดสวิทช (Switch) จะเปดวงจร (OFF) ดังนัน้ กระแสอาโนด (IA) จะลดลงเปนศนู ยเอสซอี าร จะหยุดนํากระแส กระแสท่ีไหลผา นโหลดจะไมมี เมอื่ ปลอยสวทิ ชจะกลับสสู ภาวะปกติ เอสซีอาร ยังไมนาํ กระแส จนกวาจะมกี ระแสมาจุดชนวนเกตอีกครงั้ จงึ จะนาํ กระแส การทาํ ให เอสซอี าร หยุดนํากระแส โดยใชตวั เก็บประจุ การใชตัวเก็บประจุ (Capacitor) ในการทําให เอสซีอาร หยุดนํากระแสนนั้ เปนวิธีควบคมุ ไฟตรงไดดี ตัวเก็บประจุ อาจตอ แบบอนกุ รม (Series) หรอื แบบขนาน (Parallel) กับ เอสซอี าร กไ็ ด +V L SCR C RL ภาพท่ี 5-11 แสดงการใชต วั เกบ็ ประจกุ ับตวั เหนี่ยวนําหยดุ กระแสของ เอสซอี าร เมื่อเอสซีอารนํากระแสแลว จะมีกระแสไหลผานขดลวด (L) และผานเอสซีอาร ไปประจุ (Charge) ตัวเกบ็ ประจุ (C) และไปยังโหลด (L) ดวย ผลของการตอขดลวดอนุกรมกับตัวเก็บประจุนี้ ทาํ ใหตัวเก็บประจไุ ดร ับประจุเต็มทเ่ี กอื บ 2 เทา ของแรงดนั ของแหลงจา ยไฟตรง ดังนนั้ แรงดันทีแ่ คโถด (K) จะสูงกวาแอโนด(A) เกดิ การไบอสั กลับ (Reverse Bias) เอสซีอาร จะหยดุ นาํ กระแส วงจรน้ี จะใหก ระแสแกโหลดเปน พลั ส (Pulse)พัลส 1 รปู ตอ การจุดชนวน (Trigger) 1 คร้งั ความกวางของพัลส จะขน้ึ อยูกบั คา ขดลวดและตัวเกบ็ ประจทุ ใ่ี ชการทาํ ใหเอสซอี าร หยดุ นาํ กระแส โดยใชตัวเก็บประประจุ (C) อยางเดียว เปนการหยุด นํากระแสของเอสซอี าร ท่เี ปน ไปดวยตวั เอง ดงั นนั้ จงึ ควรใชเ ปนภาคสุดทา ยในวงจรทจี่ ะทําใหเอสซอี าร หยุดนํา กระแส เม่ือตัวเก็บประจถุ ูกประจเุ ตม็ ท่ี แรงดันจะเขาใกลค าแรงดันของแหลง จา ยไฟ ทาํ ใหแ รงดันระหวา งขาแอโนดกับขาแคโถดเกอื บเทากัน +V SCR C ภาพท่ี 5-12 แสดงการใชตวั เกบ็ ประจุหยดุ กระแสของ เอสซีอาร

81 การวดั และตรวจสอบ เอสซีอาร ขน้ั ตอนการวัด มีดังน้ี 1) ตง้ั มัลติมเิ ตอรย านวัดโอหมมเิ ตอร R×100 หรือ R×1k 2) วดั คาความตานทานระหวา งขาอาโนดกับขาแคโถด คาท่ีอาน เมือ่ ใหข้ัวบวกของมิเตอรจับท่ีขาอาโนดและลบจับท่ีขาแคโถด จะไดความตา นทานท่ีสูงมาก และเมอื่ สลบั สายมเิ ตอรคาความตา นทาน จะอานไดสูง เชนกนั 3) วดั คาความตานทานระหวางขาแอโนดกับขาเกต คา ความตา นทาน จะมคี าสงู มากทั้ง 2 ครงั้ 4) วัดคาความตา นทานระหวา งขาเกตกับขาแคโถด คาทอี่ า นได จะมคี าความตา นทานจะตํา่ เม่อื ใหขัว้ บวกของมเิ ตอรจ ับท่ีขาเกตและขั้วลบจบั ทข่ี าแคโถดถาสลับขั้ว คา ความตานทานจะสงู มาก 5) ถา หากคา ทว่ี ดั ได เปน ไปตามผลการวดั นี้ แสดงวา เอสซอี าร ตัวนี้ ใชง านได ภาพท่ี 5-13 แสดงการวัดและตรวจสอบ เอสซีอาร การวัดหาขา เอสซีอาร ดวยโอหม มเิ ตอร การวัดหาขาของ เอสซอี าร โดยใชโอหมมเิ ตอรแบบอนาลอ็ กหรอื แบบเขม็ ซง่ึ สายวัดสแี ดงจะมีศักย ไฟฟา เปน ลบ (-) สว นสายวัดสีดําจะมีศักยไฟฟาเปนบวก (+) (บางยห่ี อ สายวัดจะตรงกัน คือ สายสีแดงมศี กั ยเปน บวก และสายสีดํามีศกั ยเ ปนลบ) วธิ ีการวัดใหทาํ การสมมตุ ิตําแหนง ขาของ เอสซีอาร คอื เอสซีอาร มี 3 ขา สมมติเปน 1 , 2 และ 3 123 ภาพที่ 5-14 แสดงการสมมติตาํ แหนง ขาของ เอสซอี าร

82 พจิ ารณาคาความตา นทานระหวางขา เอสซีอาร จากตาราง สรปุ ไดว า 1) การวัด เอสซอี าร ทงั้ 3 คู จาํ นวน 6 คร้ัง สามารถอานคา ความตานทานไดต าํ่ เพยี ง 1 คร้ังหรอื เรียกวา “วัด 6 คร้ัง เขม็ ข้นึ 1 ครง้ั ” 2) กรณีพบคขู าของ เอสซีอาร ทสี่ ามารถอานคาความตา นทานไดตํ่า นน้ั หากศักยไ ฟบวก (สาย สีดาํ ) จบั ท่ีขาใด ขานั้นเปนขาเกต และศักยไ ฟลบ (สายสีแดง) จบั ทีข่ าใด ขานน้ั เปน ขาแคโถด สวนขาที่เหลอื เปน ขาอาโนดคูที่ ศักยไ ฟ ความตานทาน บวก (สายสีดํา) ลบ (สายสีแดง)1 ขา 1 ขา 2  ขา 2 ขา 1 2 ขา 2 ขา 3  ขา 3 ขา 2 3 ขา 1 ขา 3 คาความตา นทานตํ่า ขา 3 ขา 1   หมายถงึ คาความตา นทานสงู สุด (เขม็ มเิ ตอรไมข้นึ ) การทดสอบการทํางานของ เอสซอี าร. การทดสอบการจดุ ชนวนของ เอสซอี าร เพ่อื ทดสอบวา ดหี รอื เสีย 1) ต้ังโอหมมเิ ตอรท ย่ี า น (Range) Rx1 2) ใชสายมิเตอรจ บั ทีข่ าแอโนด (A) และแคโถด (K) ของเอสซอี าร สงั เกตทหี่ นาปท มข องมเิ ตอรพบวา เข็มจะอยทู ี่ตําแหนง  แสดงวา เอสซีอาร ยงั ไมนํากระแส 3) นาํ สายปากคบี มาจบั ระหวา งขาแอโนดกับขาเกต เพอ่ื ทําการจุดชนวนทขี่ าเกต พบวา เข็มมิเตอรจ ะช้ีทต่ี ําแหนง  หรอื ช้ที ่ีความตา นทานต่ํา แสดงวา เอสซอี าร นํากระแส AA G G K K ภาพท่ี 5-15 แสดงการทดสอบการทาํ งานของ เอสซอี าร

83 4) ปลดสายปากคีบออก เขม็ มเิ ตอรจ ะยงั ชท้ี ่ีตาํ แหนง  เหมอื นเดิมหรอื ชีท้ ค่ี วามตา นทานตาํ่แสดงวา เอสซอี าร นํากระแสตลอดเวลา 5) เมอ่ื ปลดและใชส ายมิเตอรจบั ทขี่ าอาโนด (A) และขาแคโถด (K) ของเอสซอี าร ใหมอ ีกครงั้สงั เกตทห่ี นาปท มของมเิ ตอรเขม็ จะอยทู ี่ตาํ แหนง  แสดงวา เอสซอี าร อยูใ นสภาพปกตใิ ชง านได การเสียของ เอสซีอาร การเสียของ เอสซีอาร สามารถแบงออกได 2 กรณี คอื การเสียของเอสซอี าร สามารถแบง ออกได 2 กรณี คอื 1) เอสซอี าร อยูใ นสภาพขาด เมื่อวดั ระหวางขาเกตกบั ขาแคโถด เข็มมิเตอรจ ะไมข้ึน (คา ความตานทานสงู ) เม่อื สลบัสายวดั เข็มมเิ ตอร จะยงั ไมขึ้น 2) เอสซอี าร อยูในสภาพชอ็ ต เมอื่ ทาํ การวัดระหวางคูขาของเอสซีอาร คูใดคูหนง่ึ เขม็ มเิ ตอรจะชที้ ่คี วามตา นทานต่าํหรอื เขม็ มิเตอร ขึ้น 2 คร้ัง ขอควรระวัง การใชโอหม มเิ ตอรส เกล Rx1 จะสิน้ เปลอื งกระแสมาก ไมควรวดั นานเกนิ ไป หรอื ปลอ ยใหข ั้วแตะกันนานๆไตรแอค (Triac) ไตรแอค (Triac) มาจากคาํ วา ไตรโอด แอค (Triode AC) เปนอปุ กรณจาํ พวกไทริสเตอร (Thyristor) ที่พัฒนามาจาก เอสซีอาร (SCR) แตส ามารถนาํ กระแสได 2 ทิศทาง และเปนอปุ กรณโ ซลดิ สเตทสวทิ ช ท่ที าํ หนา ทเ่ี ปนสวทิ ชป ด-เปดวงจรทางไฟฟา -อิเลก็ ทรอนกิ สท ใ่ี ชก บั ไฟฟากระแสสลบั จงึ นยิ มอยา งแพรห ลาย โดยเฉพาะการนํา ไปใชเ ปนอปุ กรณอ เิ ลก็ ทรอนกิ สใ นงานอุตสาหกรรม ภาพท่ี 5-16 แสดงรปู รา งของไตรแอคท่มี าของภาพ : http://www.udorncooling.com/14479721/4-%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8% A3%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%844

84 การทรกิ เกอรห รือจุดชนวน (Trigger) เพือ่ ใหไตรแอคทํางาน จะเหมอื นกบั เอส.ซี.อาร. แตส ามารถทริกไดท งั้ ไฟบวกหรือไฟลบ ขอ ดีกวา สวทิ ซธรรมดาของไตรแอคท่ีทาํ หนาที่เปน สวิทซ คือ 1) การเปด -ปดวงจรของไตรแอค (Triac) มีความเร็วหรอื ความไวกวาสวิทซธ รรมดาหลายเทาและมีความปลอดภยั จงึ ทาํ ใหส ามารถควบคมุ กําลงั งานได 2) ใชพ ลังงานเพียงเลก็ นอยในการจดุ ชนวนเกต 3) ไมม กี ารสปารค 4) สามารถควบคุมเรอ่ื งเฟสของสัญญาณได โครงสรางของไตรแอค ไตรแอค ประกอบจากสารก่ึงตัวนาํ ชนดิ พีและชนิดเอ็น 5 ชัน้ เปรียบเสมือนกบั การนาํ เอสซีอาร2 ตวั มาตอ หวั ชนกัน เพอ่ื ใหส ามารถนําไปใชในการควบคุมไฟฟา กระแสสลบั มีขาออกมาใชง าน 3 ขา คือ 1) ขาอาโนด 1 (Anode1) : A1 หรือ MT1 (Main Terminal1) 2) ขาอาโนด 2 (Anode2) : A2 หรือ MT2 (Main Terminal2) 3) ขาเกต (Gate) : Gภาพท่ี 5-17 แสดงสัญลกั ษณ โครงสรา งและวงจรสมมูลของไตรแอคคณุ สมบตั ขิ องไตรแอค 1 2 34ภาพท่ี 5-18 แสดงการทํางานของไตรแอค ทัง้ 4 ควอแดรนท

85 ไตรแอคมคี ุณสมบตั คิ ลายกบั เอสซีอาร ตรงท่ี เม่ือนาํ กระแสแลว กจ็ ะนํากระแสตลอดไป เชน กนัแตไ ตรแอค (Triac) นั้น มขี อ แตกตางตรงทส่ี ามารถนํากระแสได 2 ทศิ ทาง ไมว าจะเปน การไหลของกระแสจาก A1มายงั A2 ดงั นั้น จงึ นิยมใชไ ตรแอคในงานควบคุมกาํ ลงั ไฟทตี่ อ งการใชงาน ทงั้ ไซเกลิ บวกและลบ (ไฟสลบั ) เพราะสามารถนาํ มาใชเปนอปุ กรณห ร่ีไฟหรอื ใชค วบคุมกระแสไฟฟา สลบั ได จากคณุ สมบตั ขิ องไตรแอคเกี่ยวกับการนํากระแสนนั้ สามารถแบงการทาํ งานของไตรแอค (Triac) ออกเปน 4 ควอแดรนท (Quadrant) หรือ 4 รปู แบบ กราฟคณุ สมบัตขิ องไตรแอค ภาพท่ี 5-19 แสดงกราฟคณุ สมบตั ิของไตรแอค จากกราฟคุณสมบัติของไตรแอค (Triac) ที่แสดงความสัมพันธของกระแสท่ีไหลระหวาง A2-A1ทใ่ี หไ ดท ้งั บวกและลบกบั แรงดันตกครอมตัวมัน ในขณะทใี่ หแรงดนั ครอ ม A2- A1 มคี าเปนบวกเทยี บกบั A1 และถายังไมม กี ารจดุ ชนวน (Trigger) แลว จะมคี า แรงดันระหวา ง A2- A1 คาๆ หนึ่ง คือ แรงดนั พัง (Break Over Voltage)ท่ีทาํ ใหไ ตรแอคนํากระแสได เชน เดยี วกับ เอส.ซี.อาร. (S.C.R.) แตถา ใหแ รงดัน A2- A1 มีคานอ ยกวา แรงดนั พัง แลวทาํ การจดุ ชนวน (Trigger) กระแสเกตไมว าจะเปนกระแสเกตทีม่ คี าเปน บวกหรือลบ ไตรแอคจะนํากระแสทนั ที กราฟความสมั พันธและขอจํากัดตา งๆ จะเหมือนกับของ เอส.ซี.อาร. ในทํานองเดียวกัน ถา ใหแรงดันที่ A1 มคี า เปนบวก เมื่อเทยี บกบั A2 สวนของกราฟ คือ แกน x ทางดา นลบ โดยถา เพ่มิ แรงดันน้ี มคี า มากขน้ึจนถึงคาแรงดันพัง จะทําใหไตรแอคนํากระแสได และถาหากวาไมมีการจํากัดกระแสในตัวไตรแอค จะเกิดการเสยี หายได ขณะทไ่ี ตรแอคนาํ กระแส ถาลดคา กระแสลงจนถงึ คา กระแสต่ําสุดทีย่ งั คงทําใหไตรแอคนาํ กระแสตํ่าสดุ ซ่งึ เรียกวา กระแสโฮลดงิ้ (IH : Holding Current) จะทําใหไ ตรแอคหยุดนาํ กระแส ถาไตรแอคยังไมน าํ กระแสจะมกี ระแสร่ัวไหลเกิดขึ้น แตค า กระแสนม้ี ีคา นอ ยมาก

86 เนอื่ งจากไตรแอค สามารถใหก ระแสไฟฟาไหลผานได ทั้ง 2 ทาง จึงเหมาะกบั การนาํ ไปใชกบั ไฟสลบั มากกวา เอส.ซี.อาร. และสําหรับกระแสไฟสลบั (เปน คล่นื รปู ไซน) จะมีชวงเวลาหน่ึงที่กระแสตกตํา่ กวากระแสโฮลด้ิง (Holding Current) ดังนน้ั จึงทาํ ใหไ ตรแอคหยดุ นาํ กระแสและจะรอการจดุ ชนวนใหมอีกครัง้ และถา หากครง่ึ ลบของสัญญาณไฟสลับ จะนาํ กระแสทางดานลบไดเ ชน เดยี วกนั และจะหยดุ นํากระแส เมื่อคา กระแสลดลงต่ํากวากระแสโฮลดง้ิ ขอควรระวัง การวดั แรงดนั ตกครอ มโหลด จะไมส ามารถวัดเทยี บกบั แรงดนั อ่ืนได เนอ่ื งจากใชจดุ รว มคนละจดุ กนัและการติดตงั้ ไตรแอค จะตองยดึ บนแผนระบายความรอนอยางแนนหนาแข็งแรงและใชวัสดุทส่ี ามารถทนความรอนไดดี จดุ ออ นของไตรแอคอยูทข่ี าเกต ถา แรงดนั ที่ตกครอ มเกตมีคาสูง จะทําใหเ กิดทะลไุ ดงาย โดยเฉพาะการนาํ ไตรแอคไปใชในวงจรกําลงั ดังนัน้ ที่ขาเกตจะตอ งตอ ไดแอคเขาไปเพอื่ ปอ งกนั ไมใ หไ ตรแอคเกดิ ความเสียหายและเพอื่ กําหนดแรงดันทจี่ ะมากระตุน เกตดว ยการตรวจสอบและการหาขาไตรแอคดว ยโอหม มิเตอร ใหพจิ ารณาจากโครงสราง พรอ มกบั ตารางคา ความตานทานประกอบ และปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) ทาํ การสมมตขิ าของไตรแอค เปนขา A , B และ C หรือขาท่ี 1 , 2 และ 3 2) นําสายวดั ของโอหมมเิ ตอรท าํ การวดั ท่ีขาของไตรแอคเปน คๆู ดงั ตาราง A2 NP , N , N PN1 2 3 A1 G ,ภาพท่ี 5-20 แสดงการสมมตติ ําแหนง ขาและคา ความตา นทานระหวา งขาตางๆ ของไตรแอคคูท ี่ ศักยไ ฟ ความตานทาน บวก (+) ลบ (-) 1 ขา 1 ขา 2  ขา 2 ขา 1 ความตา นทานต่ํา (  ) ความตานทานตํา่ (  )2 ขา 2 ขา 3  ขา 3 ขา 2 3 ขา 1 ขา 3 ขา 3 ขา 1

87 ผลจากตารางแสดงคาความตา นทาน พอสรุปไดดังนี้ 1) การวดั ไตรแอค ทั้งหมด 6 คร้ัง จํานวน 3 คู สามารถอา นคา ความตานทานได 2 ครงั้ หรือท่ีเรยี กวา “วัด 6 ครง้ั เขม็ ข้นึ 2 คร้ัง” 2) ขาท่ไี มม สี วนเกย่ี วของกบั คาความตา นทาน ท้งั 2 คร้งั คือ ขาอาโนด 2 หรอื ขา A2 3) ขาคูที่ 2 จะมีคาความตานทานท่ีใกลเ คยี งหรอื เทา กนั และไมส ามารถบอกไดว า ขาใดเปนขา A1หรือ ขา G ดังนั้น จึงตอ งทาํ การตรวจสอบ โดยวิธกี ารไบอัส 4) วธิ กี ารไบอัส ทาํ ไดโดยการสมมตใิ ห ขาใดขาหนง่ึ เปนขาเกต (G) แลวทาํ การจดุ ชนวน โดยใชไ ฟจากขาอาโนด 2 (A2) ดงั ภาพท่ี 6-21 (ก.) เขม็ มเิ ตอรจะชีท้ ี่คาความตา นทานประมาณ 15 โอหม ตอจากน้ัน ใหส ลบัขาท่ีเหลือเปนขาเกต แลวทาํ การจุดชนวน โดยใชไฟจากขาอาโนด 2 ดังภาพท่ี 6-21 (ข.) เข็มมิเตอรจ ะชี้ท่คี าความตา นทานประมาณ 20 โอหม จากการวดั จะสังเกตไดว า เมอ่ื ทาํ การจดุ ชนวนทข่ี าเกต จะไดคาความตานทานตา่ํ กวาจดุ ชนวนทขี่ าอาโนด 1 (A1) A2 A2 แอ แ (ก.) (ข.) ภาพท่ี 5-21 แสดงการจดุ ชนวนเพื่อหาขาเกตของไตรแอคเอสซีเอส (SCS) เอสซีเอส (SCS) มีช่ือเต็มวา ซิลิกอน คอนโทรล สวทิ ซ (Silicon Control Switch) เปนอุปกรณสารก่ึงตัวนําท่ีมีลักษณะคลายกับ เอสซีอาร แตมีขอดอยกวา เอสซีอาร คือ ไมสามารถทนกําลังไฟฟาไดสูงนัก นิยมนาํ ไปใชในวงจรสวิทช เชน วงจรตงั้ เวลา โครงสรางและสัญลกั ษณของ เอสซีเอส AAP GAN GAGk P GkN KKโครงสราง สัญลักษณภาพที่ 5-22 แสดงโครงสรางและสญั ลกั ษณข อง เอสซเี อส

88 เอสซีเอส ประกอบดวยสารกงึ่ ตัวนําชนดิ และชนดิ เอ็น (P-N-P-N) 4 ช้ัน 3 รอยตอ เชนเดยี วกบั เอสซีอารแตมีขาใชงาน 4 ขา คือ ขาอาโนด (Anode) แคโถด (Kathode) และขาเกต (Gate) จํานวน 2 ขา คือ เกตอาโนด(Anode Gate) หรือ GA และเกตแคโถด (Kathode Gate) หรอื Gk การทาํ งานของ เอสซเี อส เอสซีเอส จะนํากระแสไดน น้ั จะตอ งปอ นไฟเขา ทขี่ า GA หรอื GK ในลักษณะไบอสั ตรง คอื ทริกไฟบวกทขี่ า GK เหมอื นกับการทรกิ ใหก ับ เอสซอี าร หรือทรกิ ไฟลบที่ GA A LOAD GAGk POWER SUPPLY K A LOAD GAGk POWER SUPPLY K ภาพที่ 5-23 แสดงการทํางานของ เอสซเี อส การหยดุ นํากระแสของ เอสซเี อส เอสซีเอส สามารถหยดุ นาํ กระแส โดยการทริกสัญญาณไฟลบที่ขา GK หรอื ทรกิ สญั ญาณไฟบวกท่ีGAจที โี อ (GTO) จีทีโอ (GTO) มีชอ่ื เต็มวา เกต เทริ น ออฟ (Gate Turn Off) เปนอปุ กรณป ระเภทไทรสิ เตอร ทีใ่ ชง านดานกาํ ลงั ซงึ่ การใชงานจะคลายกับ เอสซีอาร

89 โครงสรางและสัญลกั ษณของ จที ีโอ จีทีโอ ประกอบดวยสารก่ึงตวั นาํ 4 ช้ัน เหมือนกบั การนาํ ทรานซติ เตอรตางชนดิ 2 ตวั มาตอกันคอื ทรานซิสเตอรชนิดพีเอน็ พกี ับชนิดเอ็นพีเอน็ มีขาใชง าน 3 ขา คอื ขาอาโนด (A) ขาแคโถด (K) และขาเกต (G) A A A PNN G GPP G KN K วงจรสมมูล K สัญลักษณ.โครงสราง ภาพท่ี 5-24 แสดงโครงสราง วงจรสมมลู และสญั ลกั ษณของ จีทีโอ การทํางานของ จีทีโอ การใหไ บอัสแก จที ีโอ จะมลี กั ษณะเหมอื นกบั เอสซีอาร คือ จะตองใหแรงดันบวกจา ยใหกบั ขาอาโนด (A) และจา ยแรงดนั ลบใหกบั ขาแคโถด (K) เมอื่ จายแรงดันแลว จีทีโอ จะยังไมส ามารถทาํ งานได จนกวาจะ มแี รงดนั บวกทีข่ าเกต ซึ่งมคี า สงูถงึ ระดบั จดุ ทริกของ จีทีโอ จึงจะสามารถทําให จีทโี อ นํากระแสได แตม ีสง่ิ ที่แตกตา งจาก เอสซีอาร คอื เมอ่ื ขาเกตไดรบั แรงดนั ทตี่ ํ่ากวาจุดคทั ออฟ จีทีโอ จะหยุดนํากระแส แตเ ม่ือไดรบั แรงดนั บวกมาท่ขี าเกต จีทีโอ จงึ จะสามารถนาํ กระแสไดอ กี คร้งั หนึ่ง A G K ภาพที่ 5-25 แสดงการทํางานของจที ีโอ

90 การทาํ งานลกั ษณะนี้ ทาํ ใหม ชี ่ือเรยี กอปุ กรณช นดิ น้ี อีกอยางหน่ึงวา จีซเี อส (GCS) มชี ่ือเต็มวา เกตคอนโทรล สวทิ ซ (Gate Control Switch)พยี ูที (PUT) พียทู ี (PUT) มชี อื่ เตม็ วา โปรแกรมเมเบ้ลิ ยูนจิ งั ช่ัน ทรานซสิ เตอร (Programmable UnijunctionTransistor) เปนอปุ กรณไ ทรสิ เตอรทป่ี ระกอบจากสารกง่ึ ตัวนาํ 4 ชน้ั เหมอื นกบั เอสยเู อส มขี อดี คือ มคี วามเร็วสงู มคี วามไวสูง ราคาถกู และสามารถโปรแกรมได โครงสรางและสญั ลกั ษณข อง พียทู ี สญั ลักษณของ พียทู ี จะเหมอื นกบั สัญลักษณของ เอสซีอาร แตต างกนั ที่ขาเกต จะอยูคนละดานกันซง่ึ ขาเกตจะอยูคอ นไปทางขาอาโนด แทนทจี่ ะใกลข าแคโถด ขาเกตของ พียทู ี จะเปนขาแบง แรงดัน เพ่ือไบอสั กลบัใหก บั ขาอาโนด เพอื่ ใหส ามารถหยุดการนาํ กระแส (Turn Off) ได แรงดนั ท่ขี าอาโนด ตองมีคาประมาณ 0.7V หรอืมากกวา ภาพท่ี 5-26 แสดงสญั ลกั ษณ โครงสรา งและวงจรสมมลู ของ พียทู ี การทาํ งานและกราฟคณุ สมบัติของ พียทู ี ภาพท่ี 5-27 แสดงวงจรการทํางานและกราฟคณุ สมบัตขิ อง พียทู ี วงจรทดสอบและกราฟคุณสมบัติของ พียทู ี คอื แรงดนั VS (Stand Off Ratio) เปนตวั กําหนด การแบง แรงดันภายนอกของ R1 และ R2 ซงึ่ สามารถเปลีย่ นไดตามตองการ ในวงจรทดสอบแรงดนั ที่ขาอาโนด (VA) จะเพมิ่ ขน้ึ ชา ๆ โดยการปรบั Potentiometer

91 เมอ่ื VA เขา ใกล Vg กระแสรว่ั ไหล Iga จากขาเกตไปยังขาอาโนดจะหยุด และ เม่อื VA เขาใกล Vp แลวVA จะลดลงสู Vv นานเทาท่ี Iak ยังมากกวา Iv ทําให พียทู ี นํากระแส ซึง่ VG = VS R1/(R1+R2) เปน Stand OffRatio ไทริสเตอร (Thyristors) เปน ช่ือที่เรียกอุปกรณอิเล็กทรอนกิ สกลุมท่ีมีชัน้ ของสารกึ่งตวั นํา 4 ชัน้ ข้นึ ไป(Four Semiconductor Layers : PNPN) นิยมนําไปใชงานควบคุมกําลังไฟฟา เชน ควบคุมแสงสวางของหลอดไฟฟา ควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร ระบบจุดระเบิดอิเล็กทรอนิกสฯ ลฯ อุปกรณเหลา น้ีถูกนาํ ไปใชประโยชนสําหรับการทําสวิตช่งิ ซ ,การควบคุมเฟสของไฟกระแสสลับเพื่อใชป รับความเขมของไฟสองสวา ง ,การปรบั ความเร็วของมอเตอร , การปรับลวดความรอ นและอื่นๆ เอสซีอาร (SCR) ยอมาจาก ซิลิกอน คอนโทรล เร็กติฟายเออร (Silicon Control Rectifier) เปนอปุ กรณไ ทริสเตอรชนดิ หน่ึงโครงสรางของเอสซีอาร ทาํ มาจากสารก่ึงตัวนํา 4 ตอน (P-N-P-N) ตอชนเรียงสลับกันมาขาตอใชงาน 3 ขา คือ ขาอาโนด (A : Anode) ขาแคโถด (K : Kathod) และขาเกต (G : Gate) ทําหนาที่แทนสวิทซหรือแมกเนติกรีเลย เพอ่ื ใหทํางานแทนระบบควบคมุ ที่ใชรีเลย ยังสามารถนําไปใชสําหรับวงจรหนว งเวลาวงจรจา ยไฟแบบเรก็ กูเลเตอร เปนสแตติคสวิทซ ใชในงานควบคุมมอเตอร วงจรชอปเปอร ไซโครคอนเวอรเ ตอรวงจรชารจแบตเตอรี่ วงจรปอ งกนั วงจรควบคุมความรอ น และวงจรควบคมุ เกี่ยวกับเรือ่ งของเฟส ไตรแอค ประกอบจากสารกึ่งตัวนําชนิดพีและชนิดเอ็น 5 ช้ัน เปรียบเสมือนกับการนํา เอส.ซี.อาร.2 ตัว มาตอ หัวชนกัน เพื่อใหสามารถนําไปใชในการควบคุมไฟฟากระแสสลบั ไตรแอค มีขาใชงาน 3 ขา คอื ขาอาโ น ด 1 (Anode1) : A1 ห รื อ MT1 (Main Terminal1) , ขา อ า โ น ด 2 (Anode2) : A2 ห รื อ MT2 (MainTerminal2) และขา เกต (Gate) : G ทาํ หนา ท่เี ปนสวิทซ มีคณุ สมบัตเิ ปน สวิทซด ีกวาสวทิ ซธ รรมดาหลายประกาย เอสซีเอส (SCS) มีชื่อเต็มวา ซิลกิ อน คอนโทรล สวทิ ซ (Silicon Control Switch) เปนอุปกรณสารก่ึงตัวนําท่ีมีลักษณะคลายกับ เอสซีอาร แตมีขอดอยกวา เอสซีอาร คือ ไมสามารถทนกําลังไฟฟาไดสูงนัก นิยมนําไปใชในวงจรสวทิ ช เชน วงจรตง้ั เวลา โครงสรางจะประกอบดว ยสารกึง่ ตวั นาํ ชนดิ และชนิดเอ็น (P-N-P-N) 4 ชนั้3 รอยตอ เชนเดียวกับ เอสซีอาร แตมีขาใชงาน 4 ขา คือ ขาอาโนด (Anode) แคโถด (Kathode) และขาเกต(Gate) จํานวน 2 ขา คือ เกตอาโนด (Anode Gate) หรอื GA และเกตแคโถด (Kathode Gate) หรือ Gk จที ีโอ (GTO) มีชื่อเต็มวา เกต เทิรน ออฟ (Gate Turn Off) เปน อุปกรณประเภทไทริสเตอรที่ใชงานดานกําลัง ซึ่งการใชงานจะคลายกับ เอสซีอาร โครงสรางจะประกอบดวยสารก่ึงตัวนํา 4 ชั้น เหมือนกับการนําทรานซติ เตอรตางชนดิ 2 ตัว มาตอกนั คือ ทรานซสิ เตอรชนิดพีเอ็นพีกับชนดิ เอ็นพีเอ็น มีขาใชง าน 3 ขา คือ ขาอาโนด (A) ขาแคโถด (K) และขาเกต (G) พียูที (PUT) มีช่ือเต็มวา โปรแกรมเมเบิ้ล ยูนิจังช่ัน ทรานซิสเตอร (Programmable UnijunctionTransistor) เปนอปุ กรณไ ทริสเตอรที่มีโครงสรางประกอบจากสารก่ึงตวั นาํ 4 ชั้น เหมือนกับ เอสยเู อส มีขอดี คอื มีความเร็วสูง มีความไวสูง ราคาถูก และสามารถโปรแกรมได มีขาตอใชงาน 3 ขา คือ ขาอาโนด (A : Anode) ขาแคโถด (K : Kathod) และขาเกต (G : Gate)

92ตอนที่ 1 จงทาํ เคร่ืองหมาย () ลงหนาขอ ท่ีถูกตอ ง 6. การจุดชนวน เอส.ซ.ี อาร. ตองปอ นศกั ยไ ฟอยา งไร ก. A และ K เปนลบ G เปน บวก1. อปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนิกสใดไมใ ชอปุ กรณไทรสิ เตอร ก. พี.ย.ู ท.ี ข. A และ G เปนลบ K เปน บวก ข. ไตรแอค ค. A และ G เปนบวก K เปนลบ ค. เอส.ซี.อาร. ง. A และ K เปนบวก G เปนลบ ง. ทรานซสิ เตอร 7. ขอ ใดคอื อปุ กรณไทรสิ เตอรท น่ี าํ กระแส 2 ทิศทาง2. กระแสทีส่ ามารถทําให เอส.ซ.ี อาร. นํากระแสได ก. ไดโอดตลอดไปเรียกวา อะไร ข. ไตรแอค ก. กระแสคา ง ค. เอส.ซี.อาร. ข. กระแสเกต ง. ทรานซิสเตอร ค. กระแสโหลด 8. ขอ ใดคอื หนาที่ของอุปกรณไ ทรสิ เตอร ง. กระแสโฮลดง้ิ3. การวัดคาความตา นทานของ เอส.ซ.ี อาร. ระหวา ง ก. วัดอณุ หภูมิขาใดใหคา ความตา นทานตาํ่ สุด ข. ขยายสัญญาณ ก. G-K ค. ออสซลิ เลเตอร ข. K-A ค. A-G ง. สวทิ ซอ เิ ล็กทรอนกิ ส ง. A-K 9. จี.ท.ี โอ. จะทํางานหรือหยดุ ทาํ งานขน้ึ อยูกบั สงิ่ ใด4. ขอใดไมใชคณุ สมบัตขิ อง เอส.ซี.อาร. ก. สามารถเรียงกระแสที่ควบคุมได ก. แรงดันท่ีขา A เทียบกบั ขา K ข. นาํ กระแสไดท ศิ ทางเดยี ว ค. ใชก ับไฟกระแสตรงได ข. แรงดนั ที่ขา G เทียบกบั ขา A ง. นํากระแสไดส องทาง ค. แรงดันท่ขี า G เทยี บกบั ขา K5. การท่ีจะทําให เอส.ซ.ี อาร. หยดุ นํากระแสได ง. แรงดันท่ขี า K เทยี บกบั ขา Aจะตอ งทาํ อยางไร ก. ลดคา กระแสอาโนดใหตํา่ กวากระแสโหลด 10. วงจรสมมลู ของ จ.ี ท.ี โอ. เหมอื นกบั วงจรสมมูล ข. ลดคา กระแสอาโนดใหต ํ่ากวากระแสคา ง ของอปุ กรณใด ค. ลดคา กระแสเกตใหต ่ํากวา กระแสแอโนด ง. ลดคา กระแสอาโนดใหต าํ่ กวากระแสยึด ก. ไดโอด ข. ไตรแอค ค. เอส.ซี.อาร. ง. ทรานซิสเตอร

93ตอนที่ 2 จงเติมคําลงในชองวา งใหสมบรู ณ1. เอสซอี าร เปนอุปกรณอเิ ล็กทรอนกิ สป ระเภท ………………………………………………………………….2. การวัดกระแสไฟรวั่ ไหลของ เอสซีอาร ควรอา นทโ่ี อหมมเิ ตอรส เกล ……………………………………………3. เม่ือ เอสซีอาร นํากระแส กระแสไฟฟา จะไหลจากขา ………..…….. ไปยงั ขา ………………4. การจุดชนวน เอสซีอาร ตอ งปอ นแรงดนั ไฟทีข่ า ……………….. ดวยแรงดันไฟ ……………………5. การวัดคา ความตานทานของ เอสซอี าร ระหวา งขา …………… กบั ขา ………………. ใหคาความตานทานต่ําสุด6. ไตรแอค มขี าใชงาน .............. ขา คอื ………….…………………………………………………………7. การวัดความตานทานระหวางขา ................. กับ ................... ของไตรแอค มีคาความตานทานต่ํา8. ไตรแอค นํากระแสได ................ ทิศทาง9. ไตรแอคจะนํากระแสหรอื ทํางาน ตอ งทาํ การจดุ ชนวนทข่ี า ......................10. จีทีโอ มขี าใชง าน ………………… ขา คือ ……………………………………………………………………11. เอสซเี อส (SCS) ยอมาจาก ……………………………………………………………………….12. พียทู ี (PUT) ยอ มาจาก ……………………………………………………………………….13. โครงสรา งของ จีทีโอ เหมอื นกบั …………………………………………14. เอสซเี อส มขี าใชงาน …………… ขา คือ …………………………………………………………………….15. การหยดุ นาํ กระแสของ เอสซีเอส สามารถทาํ ได โดยการปอ นไฟบวกทขี่ า ………… หรือปอนไฟลบที่ขา ……….ตอนท่ี 3 จงตอบคาํ ถามใหไ ดใ จความสมบรู ณ1. จงบอกวิธีการตรวจสอบ เอสซีอาร2. จงบอกโครงสรางของ เอสซีอาร3. การทจ่ี ะทาํ ให เอสซอี าร หยุดนาํ กระแสไดจะตองทําอยา งไร4. จงบอกการทาํ งานของ เอสซีอาร5. จงบอกโครงสรา งของไตรแอค6. จงบอกวธิ ีการวัดและทดสอบไตรแอค7. บอกการทาํ งานของ จีทีโอ8. บอกการทาํ งานของ เอสซีเอส9. บอกวธิ ีการหยุดนํากระแสของ เอสซเี อส10. จงบอกโครงสรา งของ พียทู ี

94“กราฟคณุ สมบตั ขิ องไตรแอค”. ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลง ทม่ี า http://www.oocities.org/supagorn_j/ new_page_6.htm. สืบคน เม่อื 14 กันยายน 2558.“การใชและอา นคมู อื อปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนิกส ECG”. ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลง ทมี่ า http://www.bspc. ac.th/files/1104271616302995_1104280882528.pdf สบื คน เม่ือ 14 กันยายน 2558.“โครงสรางไตรแอค”. ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน] . แหลงทม่ี า http://www.geocities.ws/dononline2000/ ta.html. สบื คน เมอ่ื 14 กนั ยายน 2558.เจน สงสมพนั ธ. 2536. เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส. กรงุ เทพฯ : สถาบนั อิเลก็ ทรอนกิ สกรุงเทพฯ.ธนกร ครี ีพทิ ักษ. 2537. สารกงึ่ ตวั นาํ และวงจร. ปทมุ ธานี : สกายบุค.ประพนั ธ พิพฒั นสุข และคณะ. ม.ป.ป.. ปฏบิ ตั อิ ปุ กรณอ ิเล็กทรอนกิ สและวงจร 2. กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพ ศนู ยส ง เสรมิ อาชวี ะ.พทุ ธารักษ แสงกง่ิ . ม.ป.ป.. อุปกรณอเิ ล็กทรอนกิ ส. กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพ ศูนยสง เสรมิ อาชีวะ.พนั ธศ ักด์ิ พุฒิมานิตพงศ. 2557. อปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนิกสและวงจร. กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพศนู ยสงเสรมิ วชิ าการ_______. ม.ป.ป.. อปุ กรณอิเลก็ ทรอนกิ สและวงจร. กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พศ นู ยสง เสรมิ วิชาการ._______. ม.ป.ป.. อปุ กรณอ ิเล็กทรอนกิ สแ ละวงจร. กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พศูนยส ง เสรมิ อาชวี ะ.โรงเรียนแสงทองโทรทัศน. 2543. การตรวจเช็คอปุ กรณอ เิ ล็กทรอนิกส. SANG THONG 2000 3, 14 : 61-66.ไวพจน ศรีธญั . 2546. อุปกรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส. กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พว งั อกั ษร.สถาบนั อิเล็กทรอนกิ สก รงุ เทพ. 2543. ดง่ิ ลกึ สูเน้ือในการใชง าน เอส.ซี.อาร. . อิเลก็ ทรอนกิ สแฮนดบคุ 8, 48 : 67- 74.________. 2544. การตรวจสอบอุปกรณส ารกึ่งตัวนํา. อเิ ล็กทรอนกิ สแฮนดบ คุ 9, 53 : 27-35.อดุลย กัลยาแกว . ม.ป.ป.. อุปกรณอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ ละวงจร (อปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส) . กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพ ศูนยสงเสรมิ อาชีวะ,________. 2556. อปุ กรณอ เิ ล็กทรอนิกสและวงจร. กรงุ เทพฯ : สํานักพมิ พศ ูนยส ง เสรมิ อาชีวะ.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook