Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนเครื่องมือวัด

แผนการสอนเครื่องมือวัด

Published by stp_1975, 2022-03-26 05:05:13

Description: แผนการสอนเครื่องมือวัด

Search

Read the Text Version

ก คำนำ แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าเครอ่ื งมอื วัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวชิ า 30105-1002 ฉบบั นี้ เป็น กระบวนการจัดการเรยี นรู้ของครูทจ่ี ัดทำขน้ึ มา เพอื่ พัฒนาผู้เรยี นให้มีทกั ษะดา้ นกระบวนการคดิ ทักษะการปฏบิ ตั งิ าน โดยใช้ส่ือเอกสารประกอบการสอนและใช้นวัตกรรมอนื่ ๆ ท่หี ลากหลาย รว่ มดว้ ย ซง่ึ เหมาะสมกบั เนื้อหาบทเรียนและ ผ้เู รยี น ทง้ั นี้ ภายในแผนการจัดการเรยี นร้นู ้ี ไดจ้ ดั หนว่ ยการเรยี นไว้ ท้ังหมด จำนวน 8 หน่วยการเรยี น ประกอบดว้ ย พ้ืนฐานของการวดั ทางไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ โวลท์มเิ ตอร์ แอมปม์ เิ ตอร์ โอห์มมเิ ตอร์ การตรวจซ่อมและบำรุงรักษา ออสซลิ โลสโคป การใช้ทรานสดวิ เซอรใ์ นงานอุตสาหกรรม และ การใชเ้ ครื่องมือวัดอเิ ลก็ ทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม โดยใชเ้ วลาตลอดภาคเรยี น 5 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ รวมทั้งหมด 90 ชัว่ โมง 3 หน่วยกิต และได้น้อมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกต์ในการจัดการเรยี นการสอนด้วย สันตภิ าพ มะสะ

สารบญั ข หน่วยท่ี พน้ื ฐานของการวดั ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน้า 1 โวลทม์ เิ ตอร์ 1-9 2 แอมป์มเิ ตอร์ 10-19 3 โอห์มมเิ ตอร์ 20-29 4 การตรวจซ่อมและบำรุงรักษา 30-38 5 ออสซลิ โลสโคป 39-47 6 การใชท้ รานสดวิ เซอร์ในงานอุตสาหกรรม 48-56 7 การใชเ้ ครื่องมือวัดอิเลก็ ทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม 57-65 8 66-74

ค หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้นั สูง พทุ ธศักราช 2563 ประเภทวิชาช่างอตุ สาหกรรม สาขาอิเลก็ ทรอนิกส์ จดุ ประสงคส์ าขาวชิ า 1. เพื่อใหส้ ามารถประยกุ ตใ์ ช้ความรแู้ ละทักษะดา้ นการสอ่ื สาร ทักษะการคิดและการแก้ปัญหา และทักษะทางสังคม และการดำรงชวี ติ ในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 2. เพื่อใหม้ ีความเข้าใจหลักการบริหารและจัดการวชิ าชพี การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและหลักการของงานอาชีพ ทสี่ มั พนั ธเ์ กีย่ วข้องกบั การพัฒนาวิชาชพี อเิ ล็กทรอนิกส์ ใหท้ นั ต่อการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหนา้ ของเศรษฐกจิ สังคมและเทคโนโลยี 3. เพือ่ ใหม้ ีความเข้าใจในหลักการและกระบวนการทำงานในกลุ่มงานพนื้ ฐานดา้ นอิเล็กทรอนกิ ส์ 4. เพอ่ื ให้สามารถ คดิ วเิ คราะห์ แกป้ ัญหา สรา้ งสรรค์ และนำเทคโนโลยมี าใช้ในการพัฒนางานอิเลก็ ทรอนิกส์ 5. เพื่อให้สามารถปฏิบตั ิงานในการวิเคราะห์ ออกแบบ ตรวจสอบ หาขอ้ บกพร่อง ซ่อมบำรุงรกั ษาอปุ กรณ์ อิเลก็ ทรอนกิ สด์ ว้ ยเคร่ืองมือวดั ทดสอบทางไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 6. เพื่อให้สามารถปฏิบัตงิ านอิเลก็ ทรอนิกส์ในสถานประกอบการและประกอบอาชพี อิสระ รวมทั้ง การใช้ความรแู้ ละ ทักษะ เปน็ พนื้ ฐานในการศกึ ษาตอ่ ในระดับสูงขนึ้ ได้ 7. เพือ่ ให้มีเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ มคี วามคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ ซอ่ื สัตยส์ ุจรติ มรี ะเบียบวินยั เป็นผูม้ ีความรบั ผดิ ชอบต่อ สงั คมและสิ่งแวดล้อม ต่อตา้ นความรนุ แรงและสารเสพตดิ

ง ลักษณะรายวิชา รหสั วชิ า 30105-1002 วิชา เคร่อื งมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ทฤษฎี-ปฏบิ ตั ิ-หน่วยกิต 2-3-3 เวลาเรียนตอ่ ภาค 90 ชวั่ โมง จดุ ประสงค์รายวิชา เพือ่ ให้ 1. เขา้ ใจหลกั การทำงานและการใชเ้ ครื่องมือวัดไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2. มที กั ษะในการใช้เครื่องมือวดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3. มีกจิ นสิ ยั ในการทำงานด้วยความประณีต รอบคอบและปลอดภัย ตระหนักถงึ คณุ ภาพของงาน และ มจี ริยธรรมในงานอาชพี สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั หลักการทำงานและการใช้เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 2. ออกแบบขยายยา่ นวัดเครอื่ งมือวัดไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ 3. แสดงทักษะการใชเ้ คร่อื งมือวดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 4. บำรงุ รกั ษาเครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ คำอธิบายรายวิชา ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับการวดั หนว่ ยของการวดั ทางไฟฟา้ ความเที่ยงตรง และความแมน่ ยำในการวัด หลกั การ ทำงาน โครงสร้าง การขยายย่านวดั การตรวจซอ่ มและการบำรุงรักษามลั ตมิ ิเตอร์ วตั ต์มิเตอร์ ฟรีเควนซีมิเตอร์ บริดจ์ มเิ ตอร์ อิเลก็ ทรอนกิ สม์ ลั ติมเิ ตอร์ ออสซิลโลสโคป การใช้ทรานสดวิ เซอร์และเครื่องมือวัดอเิ ลก็ ทรอนิกส์ในงาน อุตสาหกรรม

จ ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู ร รหสั วิชา 30105-1002 วชิ าเคร่ืองมอื วัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ จำนวน 3 หน่วยกติ ระดบั ช้นั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสงู (ปวส.) สาขาวชิ าอเิ ล็กทรอนิกส์ ระดบั พฤติกรรม พุทธพิ ิสยั หน่วยการเรยี นรู้ ความ ู้ร ความข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ ัสงเคราะห์ ประเ ิมน ่คา ทักษะ ิพ ัสย ิจตพิ ัสย จำนวนคาบ พืน้ ฐานของเคร่ืองมือและหนว่ ยวดั ทาง   - 5 ไฟฟ้า โวลท์มิเตอร์     20     15 แอมป์มเิ ตอร์     15    5 โอห์มมเิ ตอร์     10    5 การตรวจซ่อมและบำรงุ รักษา    5 ออสซลิ โลสโคป การใชท้ รานสดิวเซอร์ในงานอุตสาหกรรม การใชเ้ คร่ืองมือวัดอิเล็กทรอนิกสใ์ นงาน อุตสาหกรรม

ฉ กำหนดการสอน หน่วยที่ ช่ือหนว่ ย / รายการสอน สัปดาหท์ ่ี ชว่ั โมงที่ 1 1–5 1 พน้ื ฐานของเครื่องมือและหน่วยวดั ทางไฟฟ้า 2-5 6–25 6-8 26–40 2 โวลทม์ ิเตอร์ 9 41–45 3 แอมป์มเิ ตอร์ 10-12 46-60 13 61-65 สอบกลางภาค 14-15 66–75 16 76–80 4 โอหม์ มิเตอร์ 17 81-85 18 86–90 5 การตรวจซ่อมและบำรุงรักษา 6 ออสซิลโลสโคป 7 การใช้ทรานสดิวเซอร์ในงานอุตสาหกรรม 8 การใช้เครื่องมือวัดอิเลก็ ทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม สอบปลายภาค

ช เกณฑ์การประเมินผล การใหค้ ะแนน 40 % 10 % 1) ทดสอบ 20 % 2) ใบมอบหมายงาน / แบบฝึกหัด 10 % 3) สอบประมวลความรู้ (กลางภาค) 20 % 4) ประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 100 % 5) สอบประมวลความรู้ รวม การประเมินผล ประเมินตามเกณฑ์ ดงั น้ี 80 – 100 คะแนน มผี ลการเรยี น 4 75 – 79 คะแนน มีผลการเรียน 3.5 70 – 74 คะแนน มผี ลการเรียน 3 65 – 69 คะแนน มผี ลการเรียน 2.5 60 – 64 คะแนน มีผลการเรียน 2 55 – 59 คะแนน มีผลการเรียน 1.5 50 – 54 คะแนน มีผลการเรยี น 1 0 - 49 คะแนน มีผลการเรียน 0



1 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 1 รหสั วิชา 30105-1002 วชิ า เคร่ืองมือวดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ สอนครง้ั ที่ 1 ชอ่ื หน่วย พนื้ ฐานของเครื่องมือและหนว่ ยวดั ทางไฟฟ้า เวลารวม 5 ชั่วโมง ช่ือเร่ือง : พน้ื ฐานของเคร่อื งมอื และหน่วยวัดทางไฟฟา้ เวลา 5 ช่ัวโมง หวั ข้อเรอ่ื ง 1) มัลตมิ เิ ตอร์ (1) ชนดิ ของมัลติมเิ ตอร์ (2) ลักษณะของมลั ติมเิ ตอร์ (3) ส่วนประกอบของมลั ติมเิ ตอร์ 2) หน้าท่ีของมัลติมเิ ตอร์ได้ 3) หนว่ ยวัดทางไฟฟ้า 4) ความไวของเคร่ืองมือวัดทางไฟฟ้า 5) ความคลาดเคลือ่ นในการวดั 6) ความถกู ต้องและความเทย่ี งตรง 1. สาระสำคญั ชนดิ ของเครอ่ื งมอื วดั ไฟฟ้า สามารถจำแนกตามวธิ กี ารแสดงผลได้ 2 ชนิด คือ 1) เครื่องมือวดั แบบอนาลอ็ ก เปน็ เคร่ืองวดั ท่แี สดงผล โดยใชเ้ ขม็ ช้ีสเกลบนหน้าปัด 2) เครื่องมือวัดแบบดิจิตอล เป็นเคร่ืองวัดท่ีแสดงผลออกมาเป็นตัวเลขโดยใช้ LED 7 Segment หรือ จอ LCD หน้าท่ีของเครื่องมือวัด ซ่ึงเครื่องวัดแต่ละชนิดมีหน้าท่ีและการใช้งานแตกต่างกันออกไป ซ่ึงหน้าท่ี ของเครื่องวัดแต่ละชนิดจะข้ึนอยู่กับเป้าหมายการวัด เช่น การใช้วัตต์มิเตอร์วัดกำลังไฟฟ้า หน้าท่ีของวัตต์มิเตอร์ คือ แสดงผลคา่ กำลงั ไฟฟา้ ใหท้ ราบ หน้าทข่ี องเครอื่ งวัดสามารถแบง่ ออกได้ 3 ประเภท คอื 1) เพอื่ แสดงผล คือ การวดั ท่ีตอ้ งการเพยี งแค่ทราบคา่ หรืออ่านผลจากปัทมเ์ ท่านั้น 2) การวัดค่าเพ่ือบันทึก มักใช้ในงานวิเคราะห์ท่ีมีการเปล่ียนแปลง ตัวแปรท่ีวัดเม่ือเวลาเปล่ียนไป จึงต้องมีการสุ่มวัดและบันทึกผลในช่วงเวลาต่างๆ อาจใช้เคร่ืองวัดที่สามารถเขียนเป็นกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลง หรือพมิ พอ์ อกมาเปน็ ตัวเลข 3) การวัดเพื่อควบคุม ใช้มากในโรงงานอุตสาหกรรมเป็นการนำเอาสัญญาณที่วัดได้ไปใช้ควบคุม กระบวนการผลิต เพื่อให้ไดผ้ ลผลิตทต่ี ้องการ ความไวของเครื่องวัดไฟฟ้า (Sensitivity) หมายถึง อัตราส่วนของสัญญาณเอาท์พุตหรอื ผลตอบสนอง ของเคร่ืองมือวัดท่ีมีต่ออัตราการเปล่ียนแปลงของสัญญาณอินพุต โดยทั่วไปถือว่าเครื่องวัดที่มีความไวสูงจะมี ประสิทธิภาพดีกว่าเครื่องวัดท่ีมีความไวต่ำเครื่องวัดไฟฟ้าท่ีมีความไวในการวัดต่างกันจะมีผลในการวัดวงจรไม่ เท่ากัน ค่าความไวมีหน่วยเป็นโอห์มต่อโวลต์ หรือ K นอกจากนี้ ค่าความไวและย่านการวัด (Range) จะบอกให้ทราบถงึ คา่ ความตา้ นทานทางดา้ นอนิ พุต (Input Impedance) ของโวลตม์ ิเตอร์ดว้ ย

2 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 1 รหสั วิชา 30105-1002 วชิ า เครอื่ งมือวดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนคร้ังท่ี 1 ช่อื หน่วย พ้นื ฐานของเครื่องมือและหนว่ ยวัดทางไฟฟา้ เวลารวม 5 ช่ัวโมง ช่ือเรอ่ื ง : พ้ืนฐานของเครื่องมอื และหน่วยวัดทางไฟฟ้า เวลา 5 ชั่วโมง ความผิดพลาดในการวัด (Error in Measurement) ในกระบวนการวัดทีมีใช้กันอยู่ในปัจจุบันอาศัย หลักการเปรียบเทียบค่าท่ีต้องการวัดกับค่าอ้างอิง หรือ ค่าที่เป็นมาตรฐาน ซ่ึงในการวัดแต่ละคร้ังมักจะเกิดความ ผิดพลาด ซง่ึ ความผดิ พลาดทีเ่ กดิ ขึ้นสามารถแบ่งเป็นหัวข้อได้ ดงั น้ี (1) ความผดิ พลาดทเ่ี กดิ จากเครอื่ งมือวัด (2) ความผดิ พลาดท่เี กดิ จากผูใ้ ช้ (3) ความผดิ พลาดท่ีเกดิ จากการอ่านสเกล (4) ความผดิ พลาดจากสภาพแวดลอ้ ม (5) ความผดิ พลาดแบบสุ่มหรือแบบแรนดอม (Random Error) ความถูกต้อง (Accuracy) คือ ความใกล้เคียงระหว่างค่าที่แท้จริงกับค่าที่ได้จากการวัด ยิ่งค่าทั้งสองนี้ มคี วามใกล้เคียงกันมากเท่าไร คา่ ความถูกต้อง จะสงู ข้นึ เทา่ นนั้ และ คา่ ความถกู ต้องจะมคี ่าไมเ่ กนิ 1 ความเท่ียงตรง (Precision) คือ การวัดค่าตัวแปรเดียวกันหลายๆ คร้ัง แล้วได้ค่าใกล้เคียงกัน หากได้ ค่าใกลเ้ คยี งกันมากในทุกๆ ครัง้ แสดงว่า ความเทย่ี งตรงสงู 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ 1) แสดงความร้เู กี่ยวกับพนื้ ฐานของเครื่องมอื และหนว่ ยวัดทางไฟฟ้า 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 จุดประสงค์ท่ัวไป 1) เพอ่ื ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับพ้นื ฐานของเคร่ืองมอื และหน่วยวดั ทางไฟฟ้า 2) น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ในการศึกษาเกย่ี วกบั พน้ื ฐานของเครอื่ งมอื และ หนว่ ยวัดทางไฟฟ้า 3) เพื่อใหม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคต์ ามท่กี ำหนด 3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 1) บอกชนิดของมลั ตมิ เิ ตอร์ได้ 2) อธิบายลักษณะของมัลติมเิ ตอรไ์ ด้ 3) บอกสว่ นประกอบของมัลติมิเตอร์ได้ 4) บอกหนา้ ทขี่ องมลั ตมิ ิเตอร์ได้ 5) บอกหน่วยวัดทางไฟฟา้ ได้ 6) บอกความไวของเคร่ืองมือวัดทางไฟฟ้าได้ 7) คำนวณหาคา่ ความไวของเคร่ืองมือวัดทางไฟฟา้ ได้

3 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-1002 วิชา เคร่ืองมอื วดั ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนครง้ั ท่ี 1 ชื่อหน่วย พนื้ ฐานของเคร่ืองมือและหนว่ ยวัดทางไฟฟ้า เวลารวม 5 ชั่วโมง ชื่อเร่ือง : พ้ืนฐานของเครื่องมือและหน่วยวดั ทางไฟฟ้า เวลา 5 ช่ัวโมง 8) บอกความคลาดเคล่ือนในการวัดได้ 9) บอกความหมายของความถูกต้องและความเทย่ี งตรงในการวัดได้ 10) ประยุกตใ์ ช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการศึกษาเกี่ยวกับตวั ต้านทานได้ 11) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคต์ ามทกี่ ำหนด (1. การแต่งกาย 2. ตรงต่อเวลา 3. ความรับผิดชอบ 4. ความตง้ั ใจ 5. มีมนุษย์สัมพันธ์ 6. มคี วามซอ่ื สตั ย์ 7. ความประณตี 8. มีความสามคั คี) 4. กิจกรรมการเรยี นรู้ สอนครง้ั ที่ 1 4.1 ข้ันเตรียม/ขัน้ นำ 1) จดั เตรียมสื่อการสอน ตรวจสอบนักเรียนทเ่ี ขา้ เรยี น 2) ครใู ห้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยที่ 1 เรอื่ งพืน้ ฐานของเคร่ืองมือและหน่วยวดั ทางไฟฟ้า ใช้เวลาประมาณ 10 นาที 3) ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1 เร่ืองพนื้ ฐานของเคร่อื งมือและหนว่ ยวดั ทางไฟฟ้า 4) ครนู ำเขา้ สู่บทเรยี นดว้ ยวธิ กี ารตั้งคำถามใหน้ ักเรยี นร่วมกนั ตอบคำถาม ตัวอย่างคำถาม (1) เครอ่ื งมือของช่างกอ่ สร้างมีอะไรบ้าง (2) เครอ่ื งมอื ในการปรงุ อาหารมีอะไรบา้ ง (3) เครื่องมอื ทางไฟฟ้ามีอะไรบา้ ง 5) ครสู รปุ ประเดน็ เนอ้ื หา โดยใหน้ ักเรยี นรว่ มกันอภปิ ราย 4.2 ขัน้ การเรยี นการสอน 1) ครถู ่ายทอดความรู้ โดยใช้สือ่ เพาเวอร์พอยตป์ ระกอบการบรรยายในหัวข้อเรอ่ื ง ดังน้ี (1) มลั ติมเิ ตอร์ (2) หนา้ ท่ีของมัลติมเิ ตอร์ได้ (3) หน่วยวดั ทางไฟฟ้า (4) ความไวของเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า (5) ความคลาดเคลื่อนในการวดั (6) ความถกู ต้องและความเทีย่ งตรง 2) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยการ ถาม-ตอบ เป็นระยะ ๆ 3) ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ เน้อื หาบทเรยี น

4 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 1 รหัสวิชา 30105-1002 วิชา เคร่อื งมือวัดไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนครง้ั ที่ 1 ชือ่ หน่วย พื้นฐานของเคร่ืองมอื และหน่วยวดั ทางไฟฟ้า เวลารวม 5 ช่ัวโมง ช่อื เรื่อง : พื้นฐานของเครือ่ งมือและหน่วยวัดทางไฟฟา้ เวลา 5 ชั่วโมง 4) ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝึกหัดท่ี 1 เร่อื งพื้นฐานของเครอื่ งมือและหน่วยวัดทางไฟฟ้า ใชเ้ วลา ประมาณ 30 นาที 5) ครตู รวจแบบฝกึ หดั และบนั ทึกคะแนน 6) ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหัด 7) ครสู งั เกตและบันทึกพฤตกิ รรมการเรยี นร้ขู องนักเรยี นขณะปฏบิ ตั งิ าน 8) ครูใหน้ ักเรยี นทบทวนเนื้อหาในใบความรู้หน่วยที่ 1 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที 9) ครใู ห้นกั เรียนทำทดสอบหลังเรียน ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที 10) ครตู รวจแบบทดสอบและบันทึกคะแนน 5. การบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 ความพอประมาณ นกั ศึกษาปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1) ใชว้ สั ดุอปุ กรณ์ในการปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างเหมาะสมไมม่ ากเกนิ ไป 2) ใชเ้ วลาในการปฏิบัตงิ านเหมาะสมกับงาน 5.2 ความมีเหตุผล นักศกึ ษาปฏิบัติ ดังน้ี 1) ปฏบิ ตั งิ านตามข้นั ตอนอย่างถูกวิธี 2) เลอื กใช้อุปกรณถ์ ูกตอ้ ง 3) กลา้ แสดงออกในสง่ิ ที่ถูกต้อง 5.3 การมภี ูมคิ มุ้ กนั นกั ศึกษาปฏิบัติ ดังน้ี 1) ปฏิบตั งิ านดว้ ยความปลอดภัย 2) ปฏิบตั ติ ามขอ้ บังคับของห้องปฏบิ ัติการ 5.4 เงื่อนไขความรู้ นักศึกษาปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1) ปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความรับผิดชอบ 2) ปฏบิ ตั ิงานด้วยความตั้งใจ 3) ขยนั ศกึ ษาคน้ ควา้ และเรยี นรู้อย่างสม่ำเสมอ 5.5 เงือ่ นไขคุณธรรม นกั ศึกษาปฏิบัติ ดงั นี้ 1) เข้าหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตรงเวลา 2) มคี วามซื่อสัตย์สุจริต 3) มคี วามสามัคคีภายกลุ่ม/ห้อง

5 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 1 รหสั วิชา 30105-1002 วชิ า เครอ่ื งมอื วัดไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนคร้งั ที่ 1 ชื่อหน่วย พน้ื ฐานของเครื่องมือและหน่วยวัดทางไฟฟา้ เวลารวม 5 ชั่วโมง ช่อื เรอ่ื ง : พน้ื ฐานของเคร่ืองมอื และหน่วยวดั ทางไฟฟ้า เวลา 5 ช่ัวโมง 6. สอ่ื การเรยี นการสอน 1) ใบความรู้หนว่ ยที่ 1 เรื่องพน้ื ฐานของเคร่ืองมือและหนว่ ยวดั ทางไฟฟ้า 2) ส่ือคอมพิวเตอร์ (เพาเวอร์พอยต์) หนว่ ยท่ี 1 เร่ืองพืน้ ฐานของเครื่องมอื และหน่วยวัดทางไฟฟ้า 3) เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องฉายโปรเจคเตอร์พรอ้ มจอภาพ 4) แบบฝึกหัดท่ี 1 เรอ่ื งพน้ื ฐานของเคร่ืองมอื และหนว่ ยวดั ทางไฟฟ้า 5) แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เรอ่ื งพ้นื ฐานของเคร่ืองมือและหน่วยวัดทางไฟฟา้ 7. การวัดและประเมินผล 7.1 วธิ ีการวดั ผล 1) สงั เกตพฤติกรรมผเู้ รียน 2) ทดสอบก่อนและหลังเรียน 3) ตรวจแบบฝึกหัด 4) ประเมินผลการปฏิบัตงิ าน 7.2 เครือ่ งมือวดั ผล 1) แบบสงั เกตพฤติกรรมผู้เรยี น 2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 3) แบบฝึกหดั 4) ใบงานและแบบประเมินใบงาน 7.3 การประเมินผล 1) คะแนนจากแบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ 2) คะแนนจากทำแบบฝึกหัดและใบงาน 3) คะแนนการทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน 7.4 เกณฑก์ ารประเมินผล 1) คะแนนพฤตกิ รรมผู้เรียน ต้องผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 70 2) คะแนนใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 3) คะแนนทดสอบหลงั เรยี น ต้องผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 60

6 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1 รหสั วชิ า 30105-1002 วชิ า เครื่องมอื วัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนคร้งั ที่ 1 ชอ่ื หน่วย พ้ืนฐานของเครอ่ื งมอื และหนว่ ยวัดทางไฟฟา้ เวลารวม 5 ช่ัวโมง ชือ่ เรือ่ ง : พนื้ ฐานของเครื่องมือและหนว่ ยวัดทางไฟฟา้ เวลา 6 ชั่วโมง 8. เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ระดบั คุณภาพ ดมี าก 8.1 ด้านความรู้ : คะแนนทดสอบ 10 คะแนน ดี คะแนนที่ได้ พอใช้ 9-10 ปรับปรุง 7-8 5-6 0-4 8.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ : คะแนนแบบฝึกหดั 20 คะแนน คะแนนทไี่ ด้ ระดบั คุณภาพ 18-20 ดีมาก 15-17 ดี 11-14 พอใช้ 0-10 ปรบั ปรงุ 8.3 ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ : คะแนนใบงาน 20 คะแนน คะแนนที่ได้ ระดบั คุณภาพ 18-20 ดมี าก 15-17 ดี 11-14 พอใช้ 0-10 ปรบั ปรงุ 8.4 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ : คะแนนพฤตกิ รรม 10 คะแนน คะแนนทีไ่ ด้ ระดับคุณภาพ 9-10 ดีมาก 7-8 ดี 5-6 พอใช้ 0-4 ปรับปรงุ

7 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 1 รหสั วชิ า 30105-1002 วิชา เครอ่ื งมือวดั ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สอนคร้ังที่ 1 ช่อื หน่วย พ้ืนฐานของเคร่ืองมอื และหน่วยวดั ทางไฟฟ้า เวลารวม 5 ช่ัวโมง ช่ือเร่ือง : พ้ืนฐานของเคร่ืองมอื และหน่วยวดั ทางไฟฟ้า เวลา 5 ชั่วโมง บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการสอน ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ........................................................................................... . ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... 2. ผลการเรยี นของนักเรียน ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ........................................................................................... . ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ 3. ผลการสอนของครู ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ลงชื่อ…………………………ผ้สู อน (นายสนั ตภิ าพ มะสะ) ------/-------------/-----------

8 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 1 รหสั วชิ า 30105-1002 วชิ า เครอ่ื งมือวดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ สอนคร้งั ที่ 1 ชื่อหน่วย พื้นฐานของเครอ่ื งมอื และหนว่ ยวดั ทางไฟฟ้า เวลารวม 5 ช่ัวโมง ชอ่ื เรื่อง : พ้นื ฐานของเครือ่ งมือและหนว่ ยวดั ทางไฟฟา้ เวลา 5 ชั่วโมง แบบสงั เกตพฤตกิ รรมผูเ้ รียน (ดา้ นคณุ ธรรม-จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์) รายการท่ีประเมนิ ที่ ชื่อ-สกุล การแ ่ตงกายตามระเบียบ หมายเหตุ การตรงต่อเวลา ความ ัรบ ิผดชอบ ความข ัยน/ความ ัต้งใจ ีมมนุษ ์ย ัสมพันธ์ ความ ่ืซอสัตย์ ความประ ีณต ความสา ัมคคี คะแนนรวม คะแนน 2 1 1 2 1 1 1 1 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

9 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 1 รหสั วชิ า 30105-1002 วิชา เคร่อื งมอื วดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนครั้งท่ี 1 ชื่อหน่วย พน้ื ฐานของเคร่อื งมอื และหนว่ ยวัดทางไฟฟา้ เวลารวม 5 ชั่วโมง ชือ่ เร่อื ง : พืน้ ฐานของเครื่องมือและหนว่ ยวัดทางไฟฟ้า เวลา 5 ช่ัวโมง ตารางบนั ทึกคะแนนรายหนว่ ย หน่วยท่ี 1 คะแนนเก็บ ทดสอบ ่กอนเรียน คะแนนแบบ ึฝกหัด คะแนนใบงาน คะแนนพฤติกรรม ทดสอบห ัลงเรียน คะแนนรวม ที่ ชือ่ -สกุล 60 10 20 20 10 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมายเหตุ คะแนนทน่ี ำไปเป็นคะแนนระหว่างเรยี น E1 ประกอบดว้ ย 1. คะแนนแบบฝึกหัด 2. คะแนนใบงาน 3. คะแนนพฤติกรรม 4. คะแนนทดสอบหลงั เรยี น

10 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 2 รหัสวิชา 30105-1002 วชิ า เครือ่ งมอื วดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สอนครั้งท่ี 2-5 ชือ่ หน่วย โวลท์มเิ ตอร์ เวลารวม 20 ช่ัวโมง ชอ่ื เร่ือง : โวลท์มิเตอร์ เวลา 20 ชว่ั โมง หวั ข้อเรอ่ื ง 1) โครงสรา้ งของโวลทม์ ิเตอร์ 2) การอา่ นสเกลโวลทม์ เิ ตอร์ 3) หลักการขยายย่านวัดโวลทม์ เิ ตอร์ 4) การคำนวณวงจรขยายยา่ นของโวลท์มิเตอร์ 1. สาระสำคัญ โวลทม์ ิเตอร์ เปน็ มเิ ตอรท์ ี่เกิดจากการนำดาร์สนั วาลม์ เิ ตอร์มาต่ออนุกรมกบั ตัวตา้ นทานอันดับ สามารถ สร้างไดห้ ลายยา่ นวัด ขนึ้ อยู่กับคา่ ความตา้ นทาน ตัวตา้ นทานอนั ดับหรือตัวต้านทานที่ต่ออนกุ รมกับดารส์ ันวาล์มเิ ตอร์ จะทำหน้าท่ี จำกดั ปริมาณกระแส ไฟฟ้าที่ไหลผา่ นเข้าโวลทม์ ิเตอร์ ไมใ่ ห้เกนิ กวา่ ค่ากระแสเดิมทม่ี ิเตอร์ทนได้ ถา้ ค่าความต้านทาน มคี า่ นอ้ ย จะวัดคา่ แรงดนั ได้ต่ำในชว่ งมลิ ลิโวลท์ (มลิ ลิโวลท์มเิ ตอร์) และถ้าค่า ความต้านทาน มีค่ามาก จะวัดคา่ แรงดนั ไดส้ งู ในช่วงกิโลโวลท์ (กิโลโวลทม์ ิเตอร์) สเกลทใ่ี ช้ในการอา่ นค่าวัดแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง 1) สเกล 0-10 ขดี ละ 0.2 2) สเกล 0-50 ขีดละ 1 3) สเกล 0-250 ขดี ละ 5 ย่านวดั สเกลทอ่ี ่าน การอ่านค่า คา่ ท่ีวัดได้ 0.1V 0-10 - หารด้วย 100 กับค่าอา่ นได้ 0 - 0.1V - คูณด้วย 0.01 กับคา่ อา่ นได้ 0.5V 0-50 - หารด้วย 100 กับค่าอา่ นได้ 0 - 0.5V - คูณดว้ ย 0.01 กบั คา่ อ่านได้ 2.5V 0-250 - หารดว้ ย 100 กบั คา่ อา่ นได้ 0 - 2.5V - คณู ด้วย 0.01 กับค่าอา่ นได้ 10V 0-10 อา่ นคา่ โดยตรง 0 - 10V 50V 0-50 อา่ นค่าโดยตรง 0 - 50V 250V 0-250 อา่ นคา่ โดยตรง 0 - 250V 1000V 0-10 คณู ด้วย 100 กับคา่ อ่านได้ 0 - 1000V

11 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 2 รหัสวชิ า 30105-1002 วชิ า เครอ่ื งมอื วดั ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนครั้งท่ี 2-5 ชื่อหน่วย โวลท์มิเตอร์ เวลารวม 20 ช่วั โมง ชอื่ เร่ือง : โวลท์มเิ ตอร์ เวลา 20 ชวั่ โมง หลักการขยายย่านวดั โวลม์ เิ ตอร์ คอื การนำค่าความตา้ นทานไฟฟ้ามาตอ่ อนุกรมกับเครื่องวดั ไฟฟา้ แบบขดลวดเคลอ่ื นที่ การคำนวณของโวลม์ ิเตอร์ RM คือ ความตา้ นทานของขดลวดเคลอื่ นที่ หรือความต้านทานเดิมของมิเตอร์ RS คอื ความต้านทานของตัวตา้ นทานอนั ดบั ท่ีนำมาต่ออนกุ รม เพือ่ ขยายยา่ นการวัดของโวลท์ มิเตอร์ IM = IFS คือ กระแสเตม็ สเกลท่ีไหลผ่านมเิ ตอร์ EFS คอื แรงดันไฟฟา้ กระแสตรงทีโ่ วลทม์ ิเตอร์วดั ไดเ้ ต็มสเกล 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรียนรู้ 1) แสดงความรู้เกย่ี วกบั โวลทม์ ิเตอร์ 2) อ่านค่าแรงดนั ไฟฟา้ จากสเกลโวลท์มิเตอร์ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จุดประสงค์ทั่วไป 1) เพื่อให้มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั โวลท์มิเตอร์ 2) เพ่ือให้มีทักษะในการอา่ นค่าแรงดันไฟฟ้า 3) นอ้ มนำปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ้ นการศึกษาเก่ียวกบั โวลท์มเิ ตอร์ 4) เพ่อื ให้มีคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ตามท่ีกำหนด 3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1) บอกโครงสร้างของโวลทม์ เิ ตอร์ได้ 2) อา่ นคา่ แรงดันไฟฟา้ จากสเกลโวลท์มิเตอร์ได้ 3) คำนวณองค์ประกอบของวงจรขยายยา่ นวัดโวลทม์ ิเตอร์ได้ 4) ประยกุ ตใ์ ชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการศึกษาเก่ยี วกับโวลท์มเิ ตอร์ได้ 5) มคี ุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคต์ ามท่ีกำหนดได้ (1. การแต่งกาย 2. ตรงต่อเวลา 3. ความรับผิดชอบ 4. ความตัง้ ใจ 5. มมี นษุ ย์สมั พนั ธ์ 6. มีความซ่อื สัตย์ 7. ความประณีต 8. มคี วามสามคั คี)

12 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี 2 รหัสวิชา 30105-1002 วิชา เครอื่ งมอื วดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ สอนครัง้ ท่ี 2-5 ช่อื หน่วย โวลท์มิเตอร์ เวลารวม 20 ชัว่ โมง ชอื่ เรอื่ ง : โวลท์มเิ ตอร์ เวลา 20 ช่ัวโมง 4. กิจกรรมการเรียนรู้ สอนครัง้ ท่ี 2 4.1 ข้นั เตรียม/ขั้นนำ 1) จดั เตรียมส่ือการสอน ตรวจสอบนักศึกษาทีเ่ ข้าเรียน 2) ครูให้นกั ศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 2 เรอ่ื งโวลท์มิเตอร์ ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที 3) ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 2 เร่ืองโวลทม์ ิเตอร์ 4) ครนู ำเขา้ สู่บทเรียนด้วยวิธีการถามตอบ ตัวอย่างคำถาม (1) แรงดนั ของแหล่งจา่ ยไฟฟ้า มีค่าเท่ากันหรือไม่ (2) แหลง่ จา่ ยไฟฟา้ แตล่ ะตัว มคี า่ แรงดันไฟฟ้าเทา่ ไร (3) เครอื่ งมอื ใด ใช้ในการวดั แรงดันไฟฟา้ 5) ครูสรุปประเดน็ เนอื้ หา โดยให้นกั ศึกษาร่วมกันอภิปราย 4.2 ขัน้ การเรียนการสอน 1) ครูถ่ายทอดความรู้ โดยใช้สอ่ื เพาเวอร์พอยต์ประกอบการบรรยายในหัวข้อเรือ่ ง ดังน้ี (1) โครงสร้างของดีซีโวลท์มิเตอร์ (2) ยา่ นวัดของดีซีโวลท์มิเตอร์ (3) การอ่านแรงดนั บนสเกลของดซี โี วลทม์ ิเตอร์ 2) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั ศึกษาโดยการ ถาม-ตอบ เป็นระยะ ๆ 3) ครูและนักศึกษาร่วมกนั สรปุ เน้ือหาบทเรียน 4) ครูใหน้ กั ศึกษาทำแบบฝกึ หัดที่ 2.1 เรื่องดซี ีโวลทม์ ิเตอร์ ใช้เวลาประมาณ 30 นาที 5) ครตู รวจแบบฝกึ หดั และบันทกึ คะแนน 6) ครูและนกั ศึกษาร่วมกันเฉลยแบบฝกึ หัด 7) ครูใหน้ กั ศึกษาทำการทดสอบหลงั เรยี น ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที 8) ครตู รวจแบบทดสอบและบนั ทึกคะแนน สอนครง้ั ที่ 3 4.1 ขน้ั เตรียม/ข้นั นำ 1) จดั เตรยี มสือ่ การสอน ตรวจสอบนักศึกษาท่ีเข้าเรยี น

13 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 2 รหัสวชิ า 30105-1002 วิชา เครื่องมือวัดไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนคร้งั ที่ 2-5 ชือ่ หน่วย โวลท์มเิ ตอร์ เวลารวม 20 ชั่วโมง ชอ่ื เร่อื ง : โวลท์มเิ ตอร์ เวลา 20 ชั่วโมง 4.2 ข้นั การเรียนการสอน 1) ครูอธบิ ายขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ านตามใบงานที่ 1 เรอื่ งการวัดแรงดันไฟฟ้าดว้ ยโวลทม์ ิเตอร์ 2) ครใู หน้ ักศึกษาปฏิบัติงานตามใบงานท่ี 1 เรื่องการวดั แรงดันไฟฟา้ ดว้ ยโวลท์มเิ ตอร์ 3) ครสู ังเกตและบนั ทึกพฤตกิ รรมการเรียนรู้ของนักศกึ ษาขณะปฏิบตั ิงาน 4) ครตู รวจใบงานและบนั ทึกคะแนนทไ่ี ดล้ งในแบบประเมนิ ใบงานที่ 1 5) ครใู หน้ กั ศึกษาทบทวนเน้ือหาในใบงานหนว่ ยท่ี 1 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที 6) ครูใหน้ ักศึกษาทำการทดสอบภาคปฏิบัติ 7) ครตู รวจแบบทดสอบและบันทึกคะแนน สอนครั้งที่ 4 4.1 ขั้นเตรียม/ขน้ั นำ 1) จัดเตรียมสื่อการสอน ตรวจสอบนักศึกษาทเ่ี ขา้ เรียน 4.2 ขน้ั การเรยี นการสอน 1) ครถู ่ายทอดความรู้ โดยใช้สื่อเพาเวอร์พอยตป์ ระกอบการบรรยายในหวั ขอ้ เร่อื ง ดังนี้ (1) หลกั การขยายย่านวดั โวลท์มเิ ตอร์ (2) การคำนวณวงจรขยายยา่ นของโวลท์มิเตอร์ 2) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั ศกึ ษาโดยการ ถาม-ตอบ เปน็ ระยะ ๆ 3) ครแู ละนักศึกษาร่วมกนั สรปุ เน้ือหาบทเรยี น 4) ครใู หน้ กั ศึกษาทำแบบฝึกหดั ท่ี 2.2 เรื่องวงจรขยายย่านวัดโวลทม์ ิเตอร์ ใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที 5) ครตู รวจแบบฝึกหัดและบันทึกคะแนน 6) ครูและนกั ศึกษาร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด 7) ครูใหน้ ักศึกษาทำการทดสอบหลงั เรยี น ใช้เวลาประมาณ 20 นาที 8) ครูตรวจแบบทดสอบและบันทึกคะแนน สอนครง้ั ท่ี 5 4.1 ขน้ั เตรยี ม/ข้นั นำ 1) จัดเตรียมสอื่ การสอน ตรวจสอบนักศึกษาทีเ่ ขา้ เรียน

14 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 รหัสวิชา 30105-1002 วชิ า เครอ่ื งมอื วัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนคร้ังที่ 2-5 ช่ือหน่วย โวลท์มิเตอร์ เวลารวม 20 ชั่วโมง ชอ่ื เร่อื ง : โวลท์มิเตอร์ เวลา 20 ชั่วโมง 4.2 ข้ันการเรยี นการสอน 1) ครูถ่ายทอดความรู้ โดยใชส้ ่ือเพาเวอร์พอยต์ประกอบการบรรยายในหวั ขอ้ เรื่อง ดังน้ี (1) ยา่ นวัดของเอซโี วลท์มเิ ตอร์ (3) การอ่านแรงดนั บนสเกลของเอซโี วลทม์ ิเตอร์ 2) ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั ศึกษาโดยการ ถาม-ตอบ เปน็ ระยะ ๆ 3) ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั สรุปเนื้อหาบทเรยี น 4) ครใู ห้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดที่ 2.3 เรอื่ งเอซีโวลทม์ เิ ตอร์ ใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที 5) ครูตรวจแบบฝกึ หดั และบนั ทึกคะแนน 6) ครแู ละนักศกึ ษารว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหัด 7) ครูใหน้ กั ศึกษาทำการทดสอบหลังเรียน ใช้เวลาประมาณ 20 นาที 8) ครูตรวจแบบทดสอบและบนั ทึกคะแนน 5. การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 5.1 ความพอประมาณ นกั ศึกษาปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1) ใช้วสั ดุอปุ กรณ์ในการปฏิบัติงานไดอ้ ย่างเหมาะสมไมม่ ากเกินไป 2) ใชเ้ วลาในการปฏบิ ัตงิ านเหมาะสมกับงาน 5.2 ความมเี หตุผล นักศึกษาปฏบิ ัติ ดังนี้ 1) ปฏิบตั ิงานตามขนั้ ตอนอย่างถูกวิธี 2) เลอื กใชอ้ ุปกรณถ์ ูกต้อง 3) กล้าแสดงออกในสงิ่ ท่ีถกู ต้อง 5.3 การมภี ูมคิ ุ้มกนั นกั ศึกษาปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) ปฏิบัติงานด้วยความปลอดภยั 2) ปฏบิ ตั ติ ามข้อบังคับของห้องปฏบิ ัติการ 5.4 เงื่อนไขความรู้ นักศึกษาปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1) ปฏิบัตงิ านดว้ ยความรับผิดชอบ 2) ปฏิบัติงานด้วยความต้ังใจ 3) ขยันศกึ ษาคน้ คว้าและเรยี นรู้อยา่ งสม่ำเสมอ 5.5 เง่ือนไขคุณธรรม นักศึกษาปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) เขา้ ห้องปฏิบตั กิ ารตรงเวลา

15 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 2 รหสั วิชา 30105-1002 วชิ า เครื่องมอื วัดไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนคร้งั ท่ี 2-5 ช่ือหน่วย โวลท์มิเตอร์ เวลารวม 20 ช่วั โมง ชอ่ื เร่ือง : โวลท์มเิ ตอร์ เวลา 20 ชว่ั โมง 2) มีความซื่อสตั ยส์ ุจริต 3) มคี วามสามัคคีภายกลุ่ม/หอ้ ง 6. สอ่ื การเรยี นการสอน 1) ใบความรู้หนว่ ยที่ 2 เร่อื งโวลทม์ เิ ตอร์ 2) สอื่ คอมพิวเตอร์ (เพาเวอรพ์ อยต)์ หน่วยท่ี 2 เรื่องโวลท์มเิ ตอร์ 3) โปรเจคเตอร์พร้อมจอภาพ 4) แบบฝกึ หัดที่ 2 เรือ่ งโวลท์มเิ ตอร์ 5) ใบงานท่ี 1 เรอ่ื งการวัดแรงดันไฟฟา้ ด้วยโวลท์มเิ ตอร์ 6) แบบทดสอบหน่วยที่ 2 เร่ืองโวลท์มิเตอร์ 7. การวดั และประเมินผล 7.1 วธิ กี ารวดั ผล 1) สงั เกตพฤตกิ รรมผูเ้ รียน 2) ทดสอบก่อนและหลังเรยี น 3) ตรวจแบบฝกึ หัด 4) ประเมินผลการปฏิบัตงิ าน 7.2 เครอ่ื งมอื วดั ผล 1) แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรยี น 2) แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น 3) แบบฝึกหัด 4) ใบงานและแบบประเมนิ ใบงาน 7.3 การประเมนิ ผล 1) คะแนนจากแบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ 2) คะแนนจากทำแบบฝึกหัดและใบงาน 3) คะแนนการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 7.4 เกณฑ์การประเมินผล 1) คะแนนพฤตกิ รรมผ้เู รยี น ต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 2) คะแนนใบงาน ต้องผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 3) คะแนนทดสอบหลงั เรียน ต้องผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 60

16 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 2 รหสั วิชา 30105-1002 วชิ า เครือ่ งมือวัดไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนครงั้ ท่ี 2-5 ชื่อหน่วย โวลท์มเิ ตอร์ เวลารวม 20 ช่ัวโมง ชอ่ื เรือ่ ง : โวลท์มิเตอร์ เวลา 20 ชั่วโมง 8. เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8.1 ดา้ นความรู้ : คะแนนทดสอบ 10 คะแนน ดี คะแนนทไ่ี ด้ พอใช้ 9-10 ปรับปรุง 7-8 5-6 0-4 8.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : คะแนนแบบฝกึ หดั 20 คะแนน คะแนนทีไ่ ด้ ระดบั คุณภาพ 18-20 ดีมาก 15-17 ดี 11-14 พอใช้ 0-10 ปรบั ปรงุ 8.3 ดา้ นทักษะและกระบวนการ : คะแนนใบงาน 20 คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ ระดบั คุณภาพ 18-20 ดมี าก 15-17 ดี 11-14 พอใช้ 0-10 ปรับปรุง 8.4 ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ : คะแนนพฤติกรรม 10 คะแนน คะแนนท่ไี ด้ ระดบั คุณภาพ 9-10 ดมี าก 7-8 ดี 5-6 พอใช้ 0-4 ปรับปรงุ

17 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 2 รหสั วิชา 30105-1002 วิชา เครอื่ งมอื วดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนคร้ังท่ี 2-5 ชอ่ื หน่วย โวลท์มิเตอร์ เวลารวม 20 ช่วั โมง ชอ่ื เร่อื ง : โวลท์มิเตอร์ เวลา 20 ชว่ั โมง บันทึกหลงั การสอน 1. ผลการใช้แผนการสอน ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ 2. ผลการเรียนของนกั ศึกษา ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ 3. ผลการสอนของครู ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ลงชอื่ …………………………ผู้สอน (นายสันติภาพ มะสะ) ------/-------------/-----------

18 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 2 รหัสวชิ า 30105-1002 วชิ า เครอ่ื งมือวดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนครั้งท่ี 2-5 ชือ่ หน่วย โวลท์มเิ ตอร์ เวลารวม 20 ชัว่ โมง ชอ่ื เรื่อง : โวลท์มิเตอร์ เวลา 20 ชั่วโมง แบบสงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี น (ด้านคุณธรรม-จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์) รายการทป่ี ระเมิน ที่ ชื่อ-สกุล การแ ่ตงกายตามระเบียบ หมายเหตุ การตรงต่อเวลา ความ ัรบ ิผดชอบ ความข ัยน/ความ ัต้งใจ ีมมนุษ ์ย ัสมพันธ์ ความ ่ืซอสัตย์ ความประ ีณต ความสา ัมคคี คะแนนรวม คะแนน 2 1 1 2 1 1 1 1 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

19 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี 2 รหสั วชิ า 30105-1002 วิชา เครือ่ งมอื วดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนครัง้ ท่ี 2-5 ช่อื หน่วย โวลท์มิเตอร์ เวลารวม 20 ช่วั โมง ชอื่ เรือ่ ง : โวลท์มเิ ตอร์ เวลา 20 ช่ัวโมง ตารางบันทกึ คะแนนรายหนว่ ย หน่วยท่ี 2 คะแนนเก็บ ทดสอบ ่กอนเรียน คะแนนแบบ ึฝกหัด คะแนนใบงาน คะแนนพฤติกรรม ทดสอบห ัลงเรียน คะแนนรวม ที่ ช่อื -สกลุ 60 10 20 20 10 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมายเหตุ คะแนนที่นำไปเป็นคะแนนระหว่างเรยี น E1 ประกอบด้วย 1. คะแนนแบบฝึกหัด 2. คะแนนใบงาน 3. คะแนนพฤติกรรม 4. คะแนนทดสอบหลงั เรยี น

20

20 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 3 รหสั วิชา 30105-1002 วิชา เครอ่ื งมอื วดั ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนครั้งที่ 6-8 ช่ือหน่วย แอมป์มิเตอร์ เวลารวม 15 ชัว่ โมง ชอ่ื เรอื่ ง : แอมป์มเิ ตอร์ เวลา 15 ชวั่ โมง หัวข้อเรือ่ ง 1) โครงสร้างของแอมป์มิเตอร์ 2) การอ่านสเกลแอมป์มเิ ตอร์ 3) หลักการขยายยา่ นวัดแอมป์มเิ ตอร์ 4) การคำนวณวงจรขยายย่านของแอมป์มิเตอร์ 1. สาระสำคญั แอมปม์ เิ ตอร์ เป็นมิเตอร์ท่ีเกิดจากการนำดาร์สนั วาล์มิเตอร์มาตอ่ ขนานกบั ตัวต้านทาน สามารถสร้างได้ หลายย่านวัด ขึ้นอยู่กบั ค่าความต้านทาน ตัวต้านทาน จะทำหน้าที่ แบ่งกระแสไฟตรงท่ีเป็นส่วนเกินจากดาร์สันวาล์มิเตอร์ โดยถ้าตัวต้านทาน ขนาน มีค่าความต้านทานมาก จะวัดค่ากระแสไฟฟ้าได้ต่ำ และถ้าตัวต้านทาน มีค่าความต้านทานน้อย จะวัดค่า กระแสไฟฟ้าไดส้ ูง สเกลท่ใี ชใ้ นการอา่ นคา่ กระแสไฟตรง 1) ย่าน 50A อา่ นสเกล 0-50 (ขีดละ 1) 2) ยา่ น 2.5mA อา่ นสเกล 0-250 แลว้ หารดว้ ย 100 (ขดี ละ 5) 3) ย่าน 25mA อา่ นสเกล 0-250 แล้วหารดว้ ย 10 (ขดี ละ 5) 4) ยา่ น 250mA อา่ นสเกล 0-250 อา่ นได้เทา่ ไร ตอบเท่านน้ั หลกั การขยายย่านวดั แอมปม์ ิเตอร์ คือ การนำค่าความต้านทานไฟฟ้ามาต่อขนานกับเครอ่ื งวัดไฟฟ้า แบบขดลวดเคลอื่ นที่ การคำนวณของวงจรแอมป์มิเตอร์ RM คอื คา่ ความต้านทานของขดลวดเคลื่อนท่ี RSH คือ ค่าความตา้ นทานของตัวตา้ นทานที่นำมาต่อขนาน เพ่อื ขยายย่านการวดั ของแอมป์มิเตอร์ IM คือ ค่ากระแสเต็มสเกลท่ีไหลผา่ นดาร์สนั วาล์มเิ ตอร์ ISH คอื คา่ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตวั ตา้ นทานขนาน I คือ คา่ กระแสไฟฟ้าทงั้ หมดทไี่ หลผา่ นวงจร 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ 1) แสดงความรู้เก่ียวกับแอมป์มเิ ตอร์ 2) อา่ นค่ากระแสไฟฟ้าจากสเกลแอมป์มิเตอร์

21 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 3 รหสั วชิ า 30105-1002 วชิ า เครื่องมือวดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนครงั้ ท่ี 6-8 ช่ือหน่วย แอมป์มิเตอร์ เวลารวม 15 ชั่วโมง ชอื่ เรอ่ื ง : แอมป์มเิ ตอร์ เวลา 15 ชว่ั โมง 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 จดุ ประสงค์ทว่ั ไป 1) เพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับแอมป์มเิ ตอร์ 2) เพือ่ ใหม้ ีทักษะในการอ่านค่ากระแสไฟฟ้า 3) น้อมนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นการศึกษาเกีย่ วกบั แอมป์มเิ ตอร์ 4) เพื่อให้มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคต์ ามที่กำหนด 3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1) บอกโครงสร้างของแอมป์มิเตอร์ได้ 2) อ่านค่าแรงดันไฟฟ้าจากสเกลแอมป์มิเตอร์ได้ 3) คำนวณองค์ประกอบของวงจรขยายยา่ นวัดแอมปม์ ิเตอร์ได้ 4) ประยุกต์ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการศึกษาเกย่ี วกบั แอมป์มิเตอร์ได้ 5) มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ตามที่กำหนดได้ (1. การแต่งกาย 2. ตรงต่อเวลา 3. ความรบั ผดิ ชอบ 4. ความตั้งใจ 5. มมี นษุ ย์สมั พนั ธ์ 6. มคี วามซ่อื สตั ย์ 7. ความประณีต 8. มีความสามัคคี) 4. กจิ กรรมการเรียนรู้ สอนคร้ังที่ 6 4.1 ข้นั เตรียม/ขน้ั นำ 1) จดั เตรียมสอ่ื การสอน ตรวจสอบนักศึกษาทเี่ ขา้ เรยี น 2) ครูใหน้ กั ศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยที่ 3 เรื่องแอมป์มเิ ตอร์ ใช้เวลาประมาณ 20 นาที 3) ครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ หน่วยท่ี 3 เรื่องแอมป์มิเตอร์ 4) ครูนำเขา้ สบู่ ทเรยี นดว้ ยวธิ ีการถามตอบ ตวั อย่างคำถาม (1) ขนาดของทอ่ พีวซี แี ตกต่างกัน ปริมาณของนำ้ ท่ีไหลตา่ งกนั อย่างไร (2) ถา้ ค่าความตา้ นทานมคี ่าแตกต่างกัน ปรมิ าณของกระแสไฟฟ้าต่างกนั อย่างไร (3) เคร่อื งมอื ใด ใชใ้ นการวดั กระแสไฟฟา้ 5) ครสู รุปประเด็นเน้ือหา โดยใหน้ กั ศึกษารว่ มกนั อภิปราย

22 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 3 รหสั วชิ า 30105-1002 วชิ า เคร่ืองมอื วัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สอนครง้ั ที่ 6-8 ช่ือหน่วย แอมป์มเิ ตอร์ เวลารวม 15 ชว่ั โมง ชอ่ื เรื่อง : แอมป์มเิ ตอร์ เวลา 15 ช่ัวโมง 4.2 ขน้ั การเรียนการสอน 1) ครูถา่ ยทอดความรู้ โดยใชส้ ื่อเพาเวอร์พอยต์ประกอบการบรรยายในหวั ข้อเร่ือง ดังนี้ (1) โครงสรา้ งของแอมป์มิเตอร์ (2) ยา่ นวัดของแอมป์มิเตอร์ (3) การอ่านแรงดันบนสเกลของแอมป์มเิ ตอร์ 2) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนักศกึ ษาโดยการ ถาม-ตอบ เปน็ ระยะ ๆ 3) ครแู ละนักศึกษารว่ มกันสรุปเน้ือหาบทเรียน 4) ครใู หน้ ักศึกษาทำแบบฝึกหดั ท่ี 3.1 เร่อื งแอมป์มเิ ตอร์ ใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที 5) ครูตรวจแบบฝกึ หดั และบนั ทึกคะแนน 6) ครแู ละนักศกึ ษาร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหัด 7) ครูใหน้ ักศึกษาทำการทดสอบหลังเรยี น ใช้เวลาประมาณ 20 นาที 8) ครตู รวจแบบทดสอบและบนั ทึกคะแนน สอนคร้งั ที่ 7 4.1 ขน้ั เตรยี ม/ข้นั นำ 1) จัดเตรียมสอื่ การสอน ตรวจสอบนักศึกษาที่เขา้ เรยี น 4.2 ข้ันการเรียนการสอน 1) ครูอธิบายขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 2 เรื่องการวัดกระแสไฟฟ้าดว้ ยแอมป์มิเตอร์ 2) ครใู ห้นักศึกษาปฏบิ ตั ิงานตามใบงานที่ 2 เรื่องการวัดกระแสไฟฟา้ ดว้ ยแอมป์มิเตอร์ 3) ครสู ังเกตและบนั ทึกพฤติกรรมการเรยี นรขู้ องนักศึกษาขณะปฏิบัติงาน 4) ครตู รวจใบงานและบันทกึ คะแนนท่ไี ด้ลงในแบบประเมินใบงานท่ี 2 5) ครใู หน้ ักศึกษาทบทวนเนอ้ื หาในใบงานหนว่ ยท่ี 2 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที 6) ครูใหน้ กั ศึกษาทำการทดสอบภาคปฏบิ ัติ 7) ครูตรวจแบบทดสอบและบันทึกคะแนน สอนครัง้ ท่ี 8 4.1 ขั้นเตรียม/ขั้นนำ 1) จดั เตรียมสือ่ การสอน ตรวจสอบนักศึกษาทเ่ี ข้าเรียน

23 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 3 รหสั วชิ า 30105-1002 วิชา เคร่อื งมือวดั ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนครง้ั ที่ 6-8 ชื่อหน่วย แอมป์มเิ ตอร์ เวลารวม 15 ชัว่ โมง ชอื่ เรือ่ ง : แอมป์มเิ ตอร์ เวลา 15 ชัว่ โมง 4.2 ขนั้ การเรียนการสอน 1) ครูถ่ายทอดความรู้ โดยใชส้ ่ือเพาเวอร์พอยต์ประกอบการบรรยายในหัวข้อเรื่อง ดังนี้ (1) หลกั การขยายยา่ นวัดแอมป์มิเตอร์ (2) การคำนวณวงจรขยายย่านของแอมป์มเิ ตอร์ 2) ครทู ดสอบความเข้าใจของนักศึกษาโดยการ ถาม-ตอบ เปน็ ระยะ ๆ 3) ครแู ละนกั ศกึ ษารว่ มกันสรปุ เนื้อหาบทเรียน 4) ครใู หน้ กั ศึกษาทำแบบฝึกหดั ท่ี 3.2 เรื่องวงจรขยายยา่ นวัดแอมป์มเิ ตอร์ ใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที 5) ครตู รวจแบบฝึกหัดและบันทึกคะแนน 6) ครูและนักศึกษาร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด 7) ครูใหน้ กั ศึกษาทำการทดสอบหลังเรยี น ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที 8) ครตู รวจแบบทดสอบและบันทึกคะแนน 5. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 ความพอประมาณ นักศึกษาปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1) ใช้วัสดอุ ปุ กรณใ์ นการปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสมไม่มากเกนิ ไป 2) ใช้เวลาในการปฏิบัตงิ านเหมาะสมกับงาน 5.2 ความมเี หตุผล นกั ศกึ ษาปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) ปฏบิ ตั งิ านตามขัน้ ตอนอย่างถูกวิธี 2) เลือกใช้อุปกรณ์ถูกตอ้ ง 3) กล้าแสดงออกในสิง่ ที่ถกู ต้อง 5.3 การมีภมู คิ มุ้ กัน นกั ศึกษาปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) ปฏบิ ัติงานด้วยความปลอดภยั 2) ปฏบิ ัตติ ามข้อบังคับของห้องปฏิบัติการ 5.4 เง่ือนไขความรู้ นักศึกษาปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1) ปฏิบตั ิงานดว้ ยความรบั ผิดชอบ 2) ปฏิบัตงิ านดว้ ยความต้ังใจ 3) ขยนั ศึกษาคน้ ควา้ และเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ

24 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 3 รหัสวชิ า 30105-1002 วิชา เคร่ืองมอื วัดไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ สอนครงั้ ที่ 6-8 ชอื่ หน่วย แอมป์มเิ ตอร์ เวลารวม 15 ชวั่ โมง ชอ่ื เร่อื ง : แอมป์มเิ ตอร์ เวลา 15 ช่ัวโมง 5.5 เงื่อนไขคุณธรรม นักศึกษาปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1) เขา้ หอ้ งปฏบิ ัติการตรงเวลา 2) มีความซ่ือสตั ย์สจุ รติ 3) มคี วามสามคั คีภายกลุ่ม/ห้อง 6. สอ่ื การเรียนการสอน 1) ใบความรู้หนว่ ยท่ี 3 เรื่องแอมป์มิเตอร์ 2) ส่ือคอมพิวเตอร์ (เพาเวอร์พอยต์) หนว่ ยท่ี 3 เรื่องแอมป์มเิ ตอร์ 3) โปรเจคเตอร์พร้อมจอภาพ 4) แบบฝึกหดั ท่ี 3 เรอื่ งแอมป์มเิ ตอร์ 5) ใบงานที่ 2 เรือ่ งการวดั แรงดันไฟฟ้าดว้ ยแอมป์มเิ ตอร์ 6) แบบทดสอบหนว่ ยที่ 3 เรอ่ื งแอมป์มเิ ตอร์ 7. การวดั และประเมินผล 7.1 วธิ กี ารวดั ผล 1) สังเกตพฤติกรรมผูเ้ รียน 2) ทดสอบก่อนและหลังเรียน 3) ตรวจแบบฝึกหดั 4) ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน 7.2 เครอื่ งมือวดั ผล 1) แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน 3) แบบฝึกหัด 4) ใบงานและแบบประเมนิ ใบงาน 7.3 การประเมนิ ผล 1) คะแนนจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ 2) คะแนนจากทำแบบฝึกหดั และใบงาน 3) คะแนนการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน

25 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 3 รหสั วชิ า 30105-1002 วชิ า เคร่อื งมือวดั ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สอนคร้ังที่ 6-8 ช่อื หน่วย แอมป์มิเตอร์ เวลารวม 15 ช่วั โมง ชอ่ื เร่อื ง : แอมป์มเิ ตอร์ เวลา 15 ช่วั โมง 7.4 เกณฑ์การประเมินผล 1) คะแนนพฤตกิ รรมผ้เู รยี น ต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 2) คะแนนใบงาน ต้องผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 3) คะแนนทดสอบหลงั เรยี น ตอ้ งผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 8. เกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ดมี าก 8.1 ดา้ นความรู้ : คะแนนทดสอบ 10 คะแนน ดี คะแนนทไ่ี ด้ พอใช้ 9-10 ปรับปรุง 7-8 5-6 0-4 8.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : คะแนนแบบฝึกหัด 20 คะแนน คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 15-17 ดี 11-14 พอใช้ 0-10 ปรบั ปรุง 8.3 ด้านทักษะและกระบวนการ : คะแนนใบงาน 20 คะแนน คะแนนทีไ่ ด้ ระดับคุณภาพ 18-20 ดมี าก 15-17 ดี 11-14 พอใช้ 0-10 ปรับปรงุ

26 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 3 รหัสวิชา 30105-1002 วชิ า เครือ่ งมอื วดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนครั้งที่ 6-8 ชื่อหน่วย แอมป์มเิ ตอร์ เวลารวม 15 ช่วั โมง ชอ่ื เรื่อง : แอมป์มิเตอร์ เวลา 15 ชว่ั โมง 8.4 ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ : คะแนนพฤตกิ รรม 10 คะแนน คะแนนท่ไี ด้ ระดับคุณภาพ 9-10 ดมี าก 7-8 ดี 5-6 พอใช้ 0-4 ปรบั ปรงุ

27 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 รหสั วิชา 30105-1002 วชิ า เคร่ืองมอื วดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนคร้ังท่ี 6-8 ชอ่ื หน่วย แอมป์มเิ ตอร์ เวลารวม 15 ชัว่ โมง ชอ่ื เรอื่ ง : แอมป์มิเตอร์ เวลา 15 ชั่วโมง บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการสอน ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ 2. ผลการเรยี นของนักศกึ ษา ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... 3. ผลการสอนของครู .................................................................................. ................................................................................................... ......................................................................................... ................................................................... ......................... ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ลงชอ่ื …………………………ผู้สอน (นายสนั ติภาพ มะสะ) ------/-------------/-----------

28 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 3 รหสั วิชา 30105-1002 วชิ า เครอื่ งมอื วดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สอนครั้งที่ 6-8 ชื่อหน่วย แอมป์มเิ ตอร์ เวลารวม 15 ชัว่ โมง ชอ่ื เร่ือง : แอมป์มเิ ตอร์ เวลา 15 ชั่วโมง แบบสังเกตพฤติกรรมผูเ้ รยี น (ดา้ นคุณธรรม-จริยธรรม และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์) รายการท่ปี ระเมิน ที่ ช่ือ-สกุล การแ ่ตงกายตามระเบียบ หมายเหตุ การตรงต่อเวลา ความ ัรบ ิผดชอบ ความข ัยน/ความ ัต้งใจ ีมมนุษ ์ยสัมพันธ์ ความ ่ืซอสัตย์ ความประ ีณต ความสา ัมคคี คะแนนรวม คะแนน 2 1 1 2 1 1 1 1 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

29 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 3 รหสั วิชา 30105-1002 วิชา เคร่ืองมือวัดไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สอนครัง้ ท่ี 6-8 ช่อื หน่วย แอมป์มเิ ตอร์ เวลารวม 15 ช่วั โมง ชอ่ื เรอื่ ง : แอมป์มเิ ตอร์ เวลา 15 ช่ัวโมง ตารางบันทึกคะแนนรายหน่วย หน่วยที่ 3 คะแนนเก็บ ทดสอบ ่กอนเรียน คะแนนแบบ ึฝกหัด คะแนนใบงาน คะแนนพฤติกรรม ทดสอบห ัลงเรียน คะแนนรวม ที่ ชื่อ-สกุล 60 10 20 20 10 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมายเหตุ คะแนนทีน่ ำไปเป็นคะแนนระหวา่ งเรยี น E1 ประกอบดว้ ย 1. คะแนนแบบฝึกหัด 2. คะแนนใบงาน 3. คะแนนพฤติกรรม 4. คะแนนทดสอบหลังเรยี น

30

30 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 4 รหสั วิชา 30105-1002 วิชา เคร่อื งมอื วัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สอนคร้งั ท่ี 10-12 ชื่อหน่วย โอหม์ มิเตอร์ เวลารวม 15 ชัว่ โมง ชอ่ื เรอื่ ง : โอห์มมเิ ตอร์ เวลา 15 ช่ัวโมง หัวข้อเร่ือง 1) โครงสร้างของโอห์มมเิ ตอร์ 2) การอา่ นสเกลโอห์มมเิ ตอร์ 1. สาระสำคญั โอห์มมิเตอร์ เป็นมิเตอร์ท่ีดัดแปลงมาจากแอมป์มิเตอร์ โดยสามารถวัดค่าและแสดงค่าออกมา เป็นค่า ความต้านทานโดยตรง ตัวต้านทานจะทำหน้าท่ีต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้า โดยในสภาวะทกี่ ระแสไหลผ่านแอมป์มเิ ตอร์ แตกต่างกัน จะทำใหเ้ ข็มของแอมปม์ ิเตอรบ์ ่ายเบนแตกต่างกัน วงจรของโอห์มมิเตอร์ ประกอบด้วย แหล่งจ่ายแรงดันไฟตรงต่ออนุกรมมิลลิแอมป์มิเตอร์ วัดกระแส ไฟตรงได้เต็มสเกล 1 mA มีค่าความต้านทานภายใน 50 และต่ออนุกรมกับตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 1.45k โดยทำหน้าท่ีจำกัดกระแสไฟฟ้าไม่ให้ไหลมิลลิแอมป์มิเตอร์เกินกว่าค่าท่ีทนได้ นอกจากนี้ มีข้ัวต่อ X-Y เป็นขว้ั ตอ่ สำหรับวัดค่าความต้านทานที่ตอ้ งการ สเกลท่ีใชใ้ นการอา่ นคา่ ความตา้ นทาน จะมีค่าต้ังแต่ 0-2k ดังนัน้ ในการวัดค่าความตา้ นทานในแต่ ละยา่ น สามารถออกมาไดด้ ังนี้ 1) ย่าน Rx1 วัดค่าไดร้ ะหวา่ ง 0 - 2k 2) ยา่ น Rx10 วัดคา่ ไดร้ ะหว่าง 10 - 20k 3) ย่าน Rx100 วดั ค่าได้ระหว่าง 100 - 200k 4) ยา่ น Rx1k วัดคา่ ไดร้ ะหว่าง 1k - 2M 5) ยา่ น Rx10k วดั คา่ ไดร้ ะหวา่ ง 10k - 20M 6) ยา่ น Rx100k วดั ค่าได้ระหวา่ ง 100k - 200M 2. สมรรถนะประจำหน่วยการเรยี นรู้ 1) แสดงความร้เู กี่ยวกบั โอห์มมิเตอร์ 2) อา่ นคา่ ความต้านทานจากสเกลโอหม์ มิเตอร์ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 จดุ ประสงค์ทัว่ ไป 1) เพื่อใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับโอหม์ มเิ ตอร์

31 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 4 รหสั วชิ า 30105-1002 วิชา เครอ่ื งมือวดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนคร้งั ที่ 10-12 ชอื่ หน่วย โอห์มมเิ ตอร์ เวลารวม 15 ช่วั โมง ชอ่ื เรอ่ื ง : โอห์มมเิ ตอร์ เวลา 15 ชว่ั โมง 2) เพื่อให้มีทักษะในการอา่ นค่าความตา้ นทาน 3) น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นการศึกษาเกี่ยวกับโอห์มมเิ ตอร์ 4) เพอ่ื ให้มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ตามทก่ี ำหนด 3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1) บอกโครงสร้างของโอห์มมเิ ตอร์ได้ 2) อา่ นคา่ ความตา้ นทานจากสเกลโอหม์ มิเตอร์ได้ 3) ประยกุ ตใ์ ช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการศึกษาเกีย่ วกับโอห์มมิเตอร์ได้ 4) มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามท่ีกำหนดได้ (1. การแตง่ กาย 2. ตรงต่อเวลา 3. ความรับผดิ ชอบ 4. ความต้งั ใจ 5. มีมนุษยส์ มั พันธ์ 6. มคี วามซื่อสัตย์ 7. ความประณีต 8. มีความสามคั คี) 4. กจิ กรรมการเรียนรู้ สอนครั้งที่ 10 4.1 ข้นั เตรยี ม/ขัน้ นำ 1) จดั เตรียมสอ่ื การสอน ตรวจสอบนักศึกษาทเ่ี ข้าเรียน 2) ครใู ห้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 4 เรอ่ื งโอห์มมเิ ตอร์ ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที 3) ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ หน่วยที่ 4 เรือ่ งโอห์มมเิ ตอร์ 4) ครนู ำเขา้ สู่บทเรยี นดว้ ยวิธกี ารถามตอบ ตัวอยา่ งคำถาม (1) คนแตล่ ะคน มีแรงต้านทานเท่ากันหรือไม่ อย่างไร (2) คนท่ีมขี นาดเท่ากัน มีแรงตา้ นทานเทา่ กนั หรอื ไม่ อยา่ งไร (3) เคร่ืองมือใดทใ่ี ช้ในการวัดค่าความต้านทาน 5) ครูสรุปประเดน็ เนอื้ หา โดยใหน้ ักศึกษารว่ มกันอภปิ ราย 4.2 ข้นั การเรยี นการสอน 1) ครูถ่ายทอดความรู้ โดยใชส้ ื่อเพาเวอร์พอยต์ประกอบการบรรยายในหวั ขอ้ เรอ่ื ง ดังน้ี (1) โครงสรา้ งของโอห์มมิเตอร์ (2) ยา่ นวัดของโอหม์ มิเตอร์ (3) การอ่านค่าความต้านทานบนสเกลของโอห์มมเิ ตอร์ 2) ครทู ดสอบความเขา้ ใจของนกั ศึกษาโดยการ ถาม-ตอบ เป็นระยะ ๆ

32 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 4 รหัสวิชา 30105-1002 วชิ า เครือ่ งมือวดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนคร้ังที่ 10-12 ชื่อหน่วย โอหม์ มิเตอร์ เวลารวม 15 ชั่วโมง ชอื่ เรื่อง : โอห์มมิเตอร์ เวลา 15 ชั่วโมง 3) ครูและนักศกึ ษารว่ มกนั สรุปเน้ือหาบทเรียน 4) ครูใหน้ ักศึกษาทำแบบฝึกหดั ท่ี 4 เรอ่ื งโอหม์ มเิ ตอร์ ใช้เวลาประมาณ 30 นาที 5) ครตู รวจแบบฝึกหัดและบนั ทกึ คะแนน 6) ครูและนักศกึ ษาร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด 7) ครใู หน้ กั ศึกษาทำการทดสอบหลงั เรยี น ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที 8) ครตู รวจแบบทดสอบและบันทึกคะแนน สอนครงั้ ท่ี 11 4.1 ขัน้ เตรียม/ขน้ั นำ 1) จัดเตรยี มส่ือการสอน ตรวจสอบนักศึกษาท่ีเข้าเรียน 4.2 ขั้นการเรียนการสอน 1) ครูอธบิ ายขนั้ ตอนการปฏิบัติงานตามใบงานที่ 3 เรื่องการวัดค่าความต้านทานด้วยโอหม์ มเิ ตอร์ 2) ครใู ห้นกั ศึกษาปฏบิ ตั ิงานตามใบงานที่ 3 เรือ่ งการวดั คา่ ความตา้ นทานดว้ ยโอห์มมิเตอร์ 3) ครสู งั เกตและบันทึกพฤตกิ รรมการเรียนรู้ของนักศกึ ษาขณะปฏิบัตงิ าน 4) ครูตรวจใบงานและบนั ทกึ คะแนนที่ได้ลงในแบบประเมนิ ใบงานที่ 3 5) ครูใหน้ กั ศึกษาทบทวนเนอื้ หาในใบงานหน่วยที่ 3 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที สอนครงั้ ที่ 12 4.1 ขนั้ เตรยี ม/ข้ันนำ 1) จดั เตรียมสอื่ การสอน ตรวจสอบนักศึกษาท่ีเข้าเรยี น 4.2 ขน้ั การเรยี นการสอน 1) ครอู ธบิ ายขั้นตอนการทดสอบภาคปฏบิ ัติ เรื่องการอา่ นค่าความตา้ นทาน 2) ครใู หน้ กั ศึกษาทำความเข้าใจและเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ 3) ครูใหน้ ักศึกษาทำการทดสอบภาคปฏบิ ัติ 4) ครตู รวจแบบทดสอบและบนั ทึกคะแนน 5. การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.1 ความพอประมาณ นกั ศึกษาปฏิบตั ิ ดังน้ี 1) ใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ในการปฏบิ ัติงานไดอ้ ย่างเหมาะสมไมม่ ากเกนิ ไป 2) ใชเ้ วลาในการปฏบิ ตั ิงานเหมาะสมกบั งาน

33 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 4 รหสั วิชา 30105-1002 วชิ า เคร่ืองมอื วดั ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สอนครั้งท่ี 10-12 ชือ่ หน่วย โอหม์ มเิ ตอร์ เวลารวม 15 ช่วั โมง ชอ่ื เรอื่ ง : โอห์มมเิ ตอร์ เวลา 15 ชั่วโมง 5.2 ความมีเหตผุ ล นักศึกษาปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) ปฏบิ ัติงานตามขน้ั ตอนอย่างถูกวธิ ี 2) เลือกใชอ้ ุปกรณถ์ ูกตอ้ ง 3) กลา้ แสดงออกในสง่ิ ที่ถูกต้อง 5.3 การมภี ูมิคุม้ กัน นักศึกษาปฏิบัติ ดังน้ี 1) ปฏิบัติงานดว้ ยความปลอดภยั 2) ปฏบิ ัติตามขอ้ บังคบั ของห้องปฏบิ ตั ิการ 5.4 เงอื่ นไขความรู้ นกั ศึกษาปฏิบตั ิ ดังนี้ 1) ปฏิบัติงานดว้ ยความรับผิดชอบ 2) ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความตั้งใจ 3) ขยันศกึ ษาค้นควา้ และเรียนรู้อยา่ งสม่ำเสมอ 5.5 เงื่อนไขคุณธรรม นกั ศึกษาปฏิบัติ ดังนี้ 1) เข้าห้องปฏบิ ตั กิ ารตรงเวลา 2) มคี วามซื่อสตั ยส์ จุ รติ 3) มีความสามคั คีภายกลุ่ม/ห้อง 6. สอ่ื การเรียนการสอน 1) ใบความรู้หน่วยท่ี 4 เร่อื งโอห์มมิเตอร์ 2) สอ่ื คอมพิวเตอร์ (เพาเวอร์พอยต)์ หนว่ ยท่ี 4 เรือ่ งโอหม์ มเิ ตอร์ 3) โปรเจคเตอร์พร้อมจอภาพ 4) แบบฝกึ หดั ที่ 4 เร่อื งโอห์มมิเตอร์ 5) ใบงานที่ 3 เรอ่ื งการวัดค่าความต้านทานด้วยโอห์มมิเตอร์ 6) แบบทดสอบหนว่ ยท่ี 4 เร่ืองโอหม์ มเิ ตอร์ 7. การวัดและประเมนิ ผล 7.1 วธิ ีการวัดผล 1) สงั เกตพฤตกิ รรมผู้เรยี น 2) ทดสอบก่อนและหลงั เรยี น 3) ตรวจแบบฝึกหดั 4) ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน

34 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 4 รหัสวิชา 30105-1002 วิชา เครื่องมือวดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ สอนครั้งที่ 10-12 ช่อื หน่วย โอห์มมิเตอร์ เวลารวม 15 ชว่ั โมง ชอ่ื เรื่อง : โอห์มมเิ ตอร์ เวลา 15 ชว่ั โมง 7.2 เคร่อื งมือวดั ผล 1) แบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 2) แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน 3) แบบฝกึ หดั 4) ใบงานและแบบประเมนิ ใบงาน 7.3 การประเมนิ ผล 1) คะแนนจากแบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ 2) คะแนนจากทำแบบฝึกหดั และใบงาน 3) คะแนนการทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน 7.4 เกณฑ์การประเมินผล 1) คะแนนพฤตกิ รรมผเู้ รียน ต้องผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 70 2) คะแนนใบงาน ตอ้ งผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 3) คะแนนทดสอบหลังเรยี น ต้องผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 60 8. เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ระดบั คุณภาพ ดมี าก 8.1 ดา้ นความรู้ : คะแนนทดสอบ 10 คะแนน ดี คะแนนทไี่ ด้ พอใช้ 9-10 ปรับปรงุ 7-8 5-6 0-4 8.2 ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ : คะแนนแบบฝึกหัด 20 คะแนน คะแนนที่ได้ ระดบั คุณภาพ 18-20 ดีมาก 15-17 ดี 11-14 พอใช้ 0-10 ปรับปรงุ

35 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 4 รหัสวิชา 30105-1002 วิชา เครื่องมอื วดั ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สอนคร้ังท่ี 10-12 ช่ือหน่วย โอห์มมิเตอร์ เวลารวม 15 ชวั่ โมง ชอ่ื เรอื่ ง : โอห์มมเิ ตอร์ เวลา 15 ช่ัวโมง 8.3 ด้านทกั ษะและกระบวนการ : คะแนนใบงาน 20 คะแนน คะแนนท่ีได้ ระดบั คุณภาพ 18-20 ดมี าก 15-17 ดี 11-14 พอใช้ 0-10 ปรบั ปรงุ 8.4 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ : คะแนนพฤตกิ รรม 10 คะแนน คะแนนท่ไี ด้ ระดับคุณภาพ 9-10 ดีมาก 7-8 ดี 5-6 พอใช้ 0-4 ปรับปรุง

36 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 4 รหัสวิชา 30105-1002 วชิ า เครอื่ งมือวดั ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ สอนครงั้ ท่ี 10-12 ชอื่ หน่วย โอหม์ มิเตอร์ เวลารวม 15 ชั่วโมง ชอ่ื เร่ือง : โอห์มมเิ ตอร์ เวลา 15 ชั่วโมง บันทกึ หลงั การสอน 1. ผลการใชแ้ ผนการสอน ......................................................................................... ...................................................................................... ...... ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... 2. ผลการเรียนของนักศึกษา ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ 3. ผลการสอนของครู ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ......................................................................................... ............................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................ ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ …………………………ผู้สอน (นายสันตภิ าพ มะสะ) ------/-------------/-----------

37 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 4 รหสั วิชา 30105-1002 วชิ า เครือ่ งมอื วัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สอนครงั้ ที่ 10-12 ชอื่ หน่วย โอหม์ มิเตอร์ เวลารวม 15 ชั่วโมง ชอื่ เร่อื ง : โอห์มมเิ ตอร์ เวลา 15 ชั่วโมง แบบสังเกตพฤตกิ รรมผูเ้ รยี น (ด้านคุณธรรม-จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์) รายการที่ประเมนิ ท่ี ชื่อ-สกุล การแ ่ตงกายตามระเบียบ หมายเหตุ การตรงต่อเวลา ความ ัรบ ิผดชอบ ความข ัยน/ความ ัต้งใจ ีมมนุษ ์ย ัสมพันธ์ ความ ่ืซอสัตย์ ความประ ีณต ความสา ัมคคี คะแนนรวม คะแนน 2 1 1 2 1 1 1 1 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

38 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 4 รหสั วชิ า 30105-1002 วชิ า เคร่ืองมอื วัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนคร้ังที่ 10-12 ชอ่ื หน่วย โอหม์ มิเตอร์ เวลารวม 15 ช่ัวโมง ชอ่ื เรื่อง : โอห์มมิเตอร์ เวลา 15 ช่ัวโมง ตารางบนั ทึกคะแนนรายหนว่ ย หนว่ ยท่ี 4 คะแนนเก็บ ทดสอบ ่กอนเรียน คะแนนแบบ ึฝกหัด คะแนนใบงาน คะแนนพฤติกรรม ทดสอบห ัลงเรียน คะแนนรวม ท่ี ชื่อ-สกุล 60 10 20 20 10 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมายเหตุ คะแนนท่ีนำไปเป็นคะแนนระหว่างเรียน E1 ประกอบดว้ ย 1. คะแนนแบบฝึกหัด 2. คะแนนใบงาน 3. คะแนนพฤติกรรม 4. คะแนนทดสอบหลงั เรยี น

39


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook