Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การตรวจท้องที่

การตรวจท้องที่

Published by thanatphat2606, 2021-02-22 12:54:50

Description: การตรวจท้องที่

Search

Read the Text Version

1 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เล่ือนไหลเปน็ ชั้นสญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- บทที่ 1 อานาจหนา้ ท่ีของตารวจสายตรวจ อำนำจหน้ำท่ขี องตำรวจสำยตรวจ ตำมพระรำชบัญญัติตำรวจแหง่ ชำติ พ.ศ.2547 กำหนดให้สำนักงำนตำรวจแหง่ ชำติ มอี ำนำจหน้ำที่ รกั ษำควำมปลอดภยั สำหรับองค์ พระมหำกษัตริย์พระรำชนิ ี พระรัชทำยำท ผู้สำเรจ็ รำชกำรแทนพระองค์ พระบรมวงศำนุวงศ์ ผแู้ ทนพระองค์ และพระรำชอำคันตุกะ ป้องกันและปรำบปรำมกำรกระทำควำมผดิ ทำงอำญำ รักษำควำมสงบเรียบร้อย ควำมปลอดภยั ของประชำชน และควำมมนั่ คงของรำชอำณำจักร และ ปฏบิ ตั ติ ำมท่กี ฎหมำยกำหนดใหเ้ ป็นอำนำจหน้ำทข่ี องตำรวจ กล่ำวโดยสรปุ สำมำรถให้คำนิยำมได้ ดังนี้ ตำรวจ หมำยถงึ “เจ้ำหน้ำทีข่ องรัฐ ทีม่ หี น้ำท่ี ตรวจตรำรกั ษำควำมสงบ จบั กุม และปรำบปรำม ผู้กระทำผิดกฎหมำย” ตำรวจสำยตรวจ หมำยถงึ “ขำ้ รำชกำรตำรวจทไ่ี ด้รับคำสงั่ จำกทำงรำชกำร ใหท้ ำหนำ้ ที่ ออกตรวจตรำ เพ่อื ปอ้ งกันปรำบปรำมอำชญำกรรม ดแู ลควำมสงบเรยี บรอ้ ยของประชำชน” กำรปฏิบัตหิ น้ำทีข่ องตำรวจสำยตรวจ ในกำรรกั ษำควำมสงบเรยี บรอ้ ย หรือกำรบังคบั ใช้ กฎหมำย โดยหลกั ตำรวจจะกระทำกำรอันเป็นกำรละเมดิ สิทธแิ ละเสรีภำพของประชำชนไมไ่ ด้ เวน้ แตว่ ำ่ จะมีกฎหมำย บัญญัติ และตำรวจจะตอ้ งกระทำกำรไปตำมเงือ่ นไขตำมกฎหมำยท่ี กำหนด ซึ่งกำรปฏิบัติหนำ้ ท่ีของตำรวจ สำยตรวจ มีควำมเก่ียวพนั กับงำนด้ำนตำ่ ง ๆ ดังนี้ สายตรวจกับการสืบสวน กำรสบื สวน หมำยถงึ กำรแสวงหำข้อเท็จจริงและหลกั ฐำน ซง่ึ พนักงำนฝ่ำย ปกครองหรือตำรวจ ได้ปฏิบตั ิไปตำมอำนำจหนำ้ ที่ เพอื่ รกั ษำควำมสงบเรียบร้อยของประชำชน และเพื่อทรำบรำยละเอียด แห่งควำมผดิ (ป.วอิ ำญำ มำตรำ 2(10)) ตำรวจสำยตรวจ มีอำนำจในกำรสืบสวนทั่วรำชอำณำจกั ร โดยเฉพำะในขณะ ปฏิบัติหน้ำทีอ่ อก ตรวจตรำปอ้ งกนั เหตใุ นพื้นทเ่ี ขตตรวจที่ไดร้ ับมอบหมำย สำมำรถแสวงหำ ข้อเท็จจริงและหลักฐำน สำหรับ กำรรกั ษำควำมสงบเรียบรอ้ ยของประชำชน ในส่วนน้ีเรยี กว่ำกำร สบื สวนก่อนเกดิ เหตุ ในขณะเดียวกนั เม่อื มีเหตุ เกดิ ข้นึ สำยตรวจจะต้องรบี เดินทำงไปยงั สถำนที่ เกิดเหตุ เพอื่ หำรำยละเอียดของเหตทุ เ่ี กดิ ข้อเท็จจริงและ หลักฐำน เพือ่ ทรำบรำยละเอียดแหง่ กำรกระทำผิด ในส่วนนี้เรียกวำ่ กำรสบื สวนหลังเกิดเหตุ

2 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เล่อื นไหลเป็นช้นั สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สายตรวจกับการสอบสวน กำรสอบสวน หมำยถึง กำรรวบรวมพยำนหลักฐำนและกำรดำเนนิ กำรทั้งหลำยอื่น ตำมบทบัญญัติ แหง่ ประมวลกฎหมำยนี้ ซงึ่ พนกั งำนสอบสวนไดท้ ำไปเกีย่ วกับควำมผดิ ท่กี ลำ่ วหำ เพื่อท่ีจะทรำบขอ้ เทจ็ จริงหรอื พสิ จู นค์ วำมผดิ และเพ่อื จะเอำตัวผ้กู ระทำผิดมำฟอ้ งลงโทษ (ป.วิ อำญำ ม.2(11)) หนำ้ ท่ีของสำยตรวจ มคี วำมเกี่ยวข้องกับกำรสอบสวนอยำ่ งย่งิ คอื เมอ่ื สำยตรวจ ไดร้ ับแจ้งเหตุ แลว้ สำยตรวจจะต้องรบี ไปยงั สถำนท่ีเกดิ เหตุ และหำรำยละเอยี ดของเหตุกำรณ์ที่ เกิดขึน้ รวมทงั้ รักษำสถำนท่ี เกิดเหตุ ตดิ ตำมหำพยำนบุคคลที่รู้เหน็ เหตุกำรณ์ เก็บรกั ษำวัตถุ พยำนในทีเ่ กิดเหตเุ พื่อส่งมอบใหก้ บั พนกั งำน สอบสวน และต้องทำหนำ้ ทต่ี ดิ ตำมพยำน ส่ง หมำยเรียกพยำน ให้ควำมค้มุ ครองพยำน และร่วมกับเจ้ำหน้ำที่ ในกำรตรวจค้นหำพยำนหลกั ฐำน และหรือจบั กมุ ผู้กระทำผดิ สายตรวจกบั การป้องกนั อาชญากรรม หลักกำรของกำรปอ้ งกนั คือ 1. ปอ้ งกนั มิใหม้ อี ำชญำกรรมเกิดขึ้นในท้องท่ีท่รี ับผดิ ชอบ โดยมวี ธิ ีกำรป้องกนั เชน่ กำรแสดงตวั กำรปรำกฏตัว กำรตรวจค้น กำรแสวงหำควำมร่วมมือจำกประชำชน กำรสรำ้ ง แหล่งข้อมลู กำรน ำขอ้ มลู มำใช้ กำรวำงแผน เปน็ ต้น 2. หำกมีเหตเุ กดิ ข้นึ จะตอ้ งรีบไปทเี่ กดิ เหตุ ใชย้ ุทธวิธี ระงบั ยับย้ังไม่ให้เหตมุ คี วำม รุนแรง เกดิ ควำมเสียหำยต่อชีวติ และทรัพยส์ นิ ของประชำชนนอ้ ยท่ีสดุ และใหส้ ถำนกำรณ์ กลบั คืนส่ภู ำวะปกตโิ ดยเรว็ ทส่ี ุด สายตรวจกบั การปราบปราม เม่ือมีอำชญำกรรมหรอื มีเหตุเกดิ ข้ึน ตำรวจสำยตรวจจะต้องรีบเดนิ ทำงไปที่เกิด เหตุ ใช้อำนำจ หน้ำท่ีในกำรรกั ษำควำมสงบเรียบร้อยตำมกฎหมำย ไมว่ ำ่ จะเป็นกำรค้นตวั บุคคล ยำนพำหนะ กำรจบั กมุ กำรควบคมุ ตัวผู้ถูกจบั และส่งไปยังที่ทำกำรของพนกั งำนสอบสวน กำรยดึ ไวซ้ งึ่ ทรพั ยท์ ่ีมีไว้ ได้ใชห้ รือได้มำจำก กำรกระทำผิดหรอื สิง่ ของตำ่ ง ๆ ทอี่ ำจใชเ้ ปน็ พยำนหลักฐำน ได้ กำรรบั แจ้งเหตุ กำรรบั คำร้องทุกข์

3 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เล่อื นไหลเป็นชัน้ สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สายตรวจกบั การใหบ้ รกิ าร กำรให้บริกำรกบั ประชำชนเป็นส่วนหนึ่งของกำรรกั ษำควำมสงบเรียบรอ้ ย สำย ตรวจจึงมหี น้ำที่ ในกำรให้บริกำรประชำชนด้วย แต่กำรใหบ้ รกิ ำรกบั ประชำชนนัน้ จะตอ้ งไม่ กระทบตอ่ กำรปฏบิ ตั ิหนำ้ ที่รักษำ ควำมสงบเรยี บรอ้ ยอันเป็นภำรกิจหลกั สายตรวจกบั ศูนยร์ บั แจ้งเหตุฉุกเฉนิ 191 สำนกั งำนตำรวจแห่งชำติ ไดจ้ ัดใหม้ ีโทรศพั ทห์ มำยเลข 191 เปน็ หมำยเลขสำหรบั กำรรบั แจ้งเหตุ ฉุกเฉนิ จำกประชำชน หมำยเลขเดยี วกนั ทวั่ ทั้งประเทศ ซง่ึ หลงั จำกทศ่ี นู ย์ 191 ได้รับแจง้ แลว้ จะประสำน สั่งกำรไปยงั สำยตรวจท่ีอยู่ใกล้ หรอื รบั ผิดชอบพ้ืนที่ทเ่ี กิดเหตุ สำย ตรวจจึงมีหน้ำทไ่ี ประงบั เหตุตำมท่ีไดร้ บั แจง้ จำกศูนย์รบั แจง้ เหตุฉุกเฉนิ 191

4 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสตู ร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เลือ่ นไหลเปน็ ช้นั สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การกาหนดหนา้ ที่ของตาแหนง่ ในงานปอ้ งกันปราบปรามสถานตี ารวจ ตำมคำส่ังสำนกั งำนตำรวจแห่งชำตทิ ี่ 537/2555 ลง 27 กนั ยำยน 2555 ได้ กำหนดหน้ำท่ีของตำแหน่ง ในงำนปอ้ งกันปรำบปรำมอำชญำกรรมสถำนีตำรวจ เฉพำะในส่วนของ ผูป้ ฏบิ ัติงำนสำยตรวจ ดงั นี้ 1. หนา้ ทกี่ ารงานของรองสารวัตรปอ้ งกนั ปราบปราม 1.1 ปฏิบัติงำนตำมท่หี ัวหน้ำงำนปอ้ งกันปรำบปรำม หรอื สำรวัตรปอ้ งกนั ปรำบ ปรำบมอบหมำย 1.2 ปฏบิ ตั งิ ำนทีก่ ำหนดไวใ้ นหน้ำทกี่ ำรงำนของหัวหนำ้ งำนป้องกนั ปรำบปรำมและ ของสำรวตั ร ปอ้ งกันปรำบปรำม ได้แก่ 1) งำนกำรข่ำว 2) งำนจดั ทำแผนท่ี ระบบข้อมลู อำชญำกรรม รวมทั้งกำรจัดระบบข้อมูลเป้ำหมำย ท่ีอำจ เกดิ อำชญำกรรม และระบบขอ้ มลู ทำงสงั คมที่เป็นประโยชนต์ ่อกำรป้องกัน ระงับ ปรำบปรำมอำชญำกรรม 3) งำนควบคมุ ผู้ต้องหำและผ้ถู กู กักขัง 4) งำนควบคมุ ศนู ย์วิทยุหรอื กำรรับ-สง่ วิทยุของสถำนีตำรวจ 5) งำนจัดตง้ั จุดรับแจ้งเหตุ จุดตรวจ จดุ สกัด และกำหนดมำตรกำรตำ่ ง ๆ ในกำร ปอ้ งกัน และปรำบปรำมมิให้อำชญำกรรมเกิดขึ้น 6) งำนจัดสำยตรวจทกุ ประเภท 7) งำนควบคมุ แหลง่ อบำยมขุ และกำรจัดระเบียบสังคม 8) งำนปรำบปรำมกำรกระทำควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ และ พระรำชบัญญตั ิ ต่ำง ๆ ท่ีมีโทษทำงอำญำทุกฉบบั 9) งำนปรำบปรำมผูม้ ีอทิ ธิพลและมอื ปืนรบั จำ้ ง 10) งำนพทิ ักษ์เดก็ เยำวชน และสตรี 11) งำนปรำบปรำมผมู้ ีอิทธิพลเกยี่ วกับบอ่ นกำรพนนั สถำนบรกิ ำร และแหลง่ อบำยมุข

5 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสตู ร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชั้นประทวน เล่ือนไหลเป็นช้นั สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 12) งำนปรำบปรำมผ้มู อี ิทธิพลในกำรฮ้วั ประมลู และขดั ขวำงกำรเสนอแขง่ ขนั รำคำ ใน กำรประมลู 13) งำนทป่ี ฏิบัตติ ำมประมวลกฎหมำยวธิ ีพจิ ำรณำควำมอำญำ 14) งำนตำมกฎหมำยวำ่ ด้วยกำรจำหนำ่ ยสุรำ สถำนบริกำร โรงแรม ภำพยนตร์ โรงรับ จำนำ อำวุธปนื กำรพนัน ค้ำของเก่ำ กำรเรี่ยไร รวมท้ังงำนอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องตำมที่ กฎหมำยบัญญัติใหอ้ ำนำจไว้ 15) กำรฝกึ อบรมประชำชน อำสำสมัคร เดก็ เยำวชน นักเรียน นิสติ นักศึกษำ พนกั งำน รักษำควำมปลอดภัย ลกู เสือชำวบำ้ น สมำชิกไทยอำสำป้องกนั ชำติ ฯลฯ ท่ีเกี่ยวกับกำร ป้องกันอำชญำกรรม และรักษำควำมปลอดภยั เพือ่ ช่วยเหลอื กิจกำรตำรวจ 16) งำนคณะกรรมกำรตรวจสอบและตดิ ตำมกำรบรหิ ำรงำนตำรวจ (กต.ตร.) ระดบั สถำนี ตำรวจ 17) งำนประชำสัมพนั ธช์ ุมชนสมั พนั ธ์ เพอ่ื แสวงหำควำมร่วมมอื จำกหน่วยงำน ภำครฐั เอกชน ประชำชน ตลอดจนสร้ำงเครอื ขำ่ ยกำรปอ้ งกนั อำชญำกรรมในชุมชนและทุกภำค สว่ นของสังคมในเขต พน้ื ท่ีของสถำนตี ำรวจ 18) งำนพัฒนำกำลังพล งบประมำณ วสั ดอุ ุปกรณ์ เทคโนโลยี เพ่ือใช้ในกำร ปอ้ งกนั ปรำบปรำมอำชญำกรรม 19) งำนระบบงบประมำณทีเ่ ก่ยี วกบั งำนปอ้ งกันปรำบปรำม 20) ตรวจสอบและประเมินผลวจิ ัย และพฒั นำกำรปฏบิ ัตติ ำมนโยบำยยทุ ธศำสตร์ แผนงำน และโครงกำรตำ่ ง ๆ ในกำรปอ้ งกันปรำบปรำมอำชญำกรรม 21) กรณีกำรกระทำควำมผิดให้พจิ ำรณำส่ังกำรให้ผู้ปฏิบัตงิ ำนปอ้ งกนั ปรำบปรำม ดำเนินกำรจับกุมหรอื ดำเนินกำรจบั กุมดว้ ยตนเอง 22) งำนกำรจัดกำลังร่วมในกำรถวำยควำมปลอดภยั แด่องคพ์ ระมหำกษัตริย์ พระ รำชนิ ี และพระบรมวงศำนุวงศ์ ที่เสด็จพระรำชดำเนินเข้ำมำในพ้นื ท่ีของสถำนีตำรวจ 23) กำรควบคุมควำมสงบเรยี บร้อยกรณีมีเหตุพิเศษต่ำง ๆ เชน่ กำรจดั งำนตำม ประเพณี กำรชมุ นุมประชมุ และอ่ืน ๆ

6 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสตู ร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชั้นประทวน เลือ่ นไหลเปน็ ชัน้ สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1.3 กรณมี กี ำรกระทำควำมผิดเกดิ ขึน้ ใหด้ ำเนนิ กำรจับกุม โดยพิจำรณำใชก้ ำลัง ตำม ควำมเหมำะสม แลว้ รำยงำนหัวหนำ้ งำนป้องกันปรำบปรำม หรือสำรวัตรป้องกันปรำบปรำม ทรำบ 1.4 ปฏบิ ตั ิหนำ้ ทน่ี ำยร้อยตำรวจเวร 1.5 ปฏบิ ัตหิ นำ้ ทห่ี วั หน้ำสำยตรวจ 1.6 ขณะปฏบิ ตั หิ น้ำทน่ี ำยร้อยตำรวจเวร และหัวหนำ้ สำยตรวจในครำวเดยี วกัน ให้ปฏิบตั หิ นำ้ ที่ ในดำ้ นกำรป้องกนั เป็นหลัก สว่ นกำรปฏิบัติหนำ้ ทใ่ี นดำ้ นระงบั ปรำบปรำม ให้ เปน็ ไปตำมแผนทก่ี ำหนดไว้หรือ ตำมควำมเหมำะสม 1.7 ควบคุม ตรวจสอบกำรปฏบิ ตั ิงำนของข้ำรำชกำรตำรวจ ทั้งในด้ำนกำร ปฏบิ ตั ิงำน ควำมประพฤตแิ ละระเบียบวนิ ัย 1.8 กำรปฏิบตั หิ น้ำทหี่ ำกมเี หตจุ ำเป็นเรง่ ด่วน ให้มีอำนำจมอบหมำยให้ ผใู้ ต้บงั คับบัญชำปฏบิ ัติ หนำ้ ที่อื่นไดต้ ำมควำมเหมำะสม แตท่ งั้ น้ีตอ้ งไม่เสียหำยต่อหนำ้ ท่ี 1.9 ปฏบิ ตั งิ ำนอ่นื ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับงำนปอ้ งกนั ปรำบปรำม 1.10 ปฏิบตั งิ ำนอ่ืน ๆ ตำมทีผ่ ู้บงั คับบัญชำมอบหมำย

7 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เลือ่ นไหลเปน็ ชน้ั สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. หนา้ ทีก่ ารงานของรองสารวตั ร (ตาแหน่งควบผบู้ ังคับหมถู่ งึ รองสารวัตร) ปอ้ งกนั ปราบปราม 2.1 ปฏบิ ตั ิงำนในหนำ้ ทแ่ี ละควำมรบั ผดิ ชอบของตำแหน่งระดับผบู้ งั คับหมู่ทีป่ ฏิบตั ิ อยู่เดมิ โดยปฏิบัตหิ น้ำที่ในสำยงำนปอ้ งกันปรำบปรำมภำยใต้กำรกำกับตรวจสอบโดยทั่วไป และ อำจไดร้ บั มอบหมำย ใหค้ วบคมุ ตรวจสอบกำรปฏิบตั ิงำนของข้ำรำชกำรตำรวจจำนวนหนง่ึ 2.2 ตัดสนิ ใจ วินจิ ฉัยสง่ั กำร แกไ้ ขปญั หำในงำนท่ีรบั ผดิ ชอบให้เสร็จส้นิ ณ จดุ เดยี ว 2.3 ปฏิบตั ิหน้ำท่ีรอ้ ยเวรบริกำรบนสถำนตี ำรวจ หัวหนำ้ สำยตรวจ หวั หน้ำชดุ มวลชนสมั พนั ธ์ หัวหน้ำชุดปฏิบตั กิ ำรชำยแดน หัวหน้ำชดุ ขำ่ ว หวั หน้ำชดุ ปรำบปรำมยำเสพติด เป็นตน้ 2.4 ปฏบิ ตั ิงำนด้วยตนเองในลกั ษณะของผู้มปี ระสบกำรณใ์ นงำนด้ำนป้องกนั ปรำบปรำมของ หน่วยงำนน้ัน ๆ เป็นตน้ 2.5 ช่วยเหลืองำนของข้ำรำชกำรตำรวจระดับตำแหน่งสำรวัตรหรือเทียบเท่ำ 2.6 ปฏิบัตหิ นำ้ ท่ีอ่ืนทเี่ กยี่ วข้องหรือตำมที่ไดร้ ับมอบหมำยจำกผู้บังคบั บัญชำ

8 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสตู ร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เลื่อนไหลเปน็ ชน้ั สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3. หนา้ ทก่ี ารงานของผู้บังคบั หมปู่ อ้ งกนั ปราบปราม เฉพำะผทู้ ่ที ำหนำ้ ทปี่ ฏบิ ัตกิ ำร ป้องกัน ปรำบปรำม มหี น้ำที่ดังน้ี 3.1 เกบ็ รวบรวมสถติ ขิ ้อมูลเกยี่ วกบั กำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมตำมที่ ผบู้ ังคับบญั ชำมอบหมำย และส่งั กำรเกย่ี วกบั คดอี ำญำทกุ ประเภท และคดตี ำมพระรำชบญั ญตั ิตำ่ ง ๆ ที่มโี ทษทำงอำญำทกุ ฉบับ โดยให้ เก็บและรำยงำนตำมทส่ี ำนกั งำนตำรวจแห่งชำติกำหนด 3.2 ป้องกนั เหตุ โดยกำรตรวจตรำทั่วไป หำกตอ้ งใช้กำลังตำรวจไปทำกำรระงับ ปรำบปรำม เม่อื พบเหตทุ ่ีต้องระงับ ปรำบปรำม ต้องดำเนินกำรดว้ ยตนเอง หรือแจง้ ส่ังให้ใช้กำลัง ตำรวจตำมควำมเหมำะสม หรือตำมแผนทก่ี ำหนดไว้ 3.3 กำรปฏิบัตติ ำมประมวลกฎหมำยวิธีพจิ ำรณำควำมอำญำ 3.4 ปฏบิ ัติหน้ำทถี่ วำยควำมปลอดภัยแด่องค์พระมหำกษัตรยิ ์ พระรำชินี และพระ บรมวงศำนวุ งศ์ ที่เสดจ็ พระรำชดำเนินเขำ้ มำในพนื้ ที่ของสถำนีตำรวจ 3.5 ควบคุมควำมสงบเรียบรอ้ ยกรณีมีเหตพุ เิ ศษต่ำง ๆ เชน่ กำรจัดงำนตำม ประเพณี กำรชุมนมุ ประท้วง และอื่น ๆ 3.6 ปฏบิ ตั ิหน้ำทสี่ บิ เวรประจำสถำนีตำรวจ ควบคุมกำรปฏิบตั หิ นำ้ ท่ขี องยำม สถำนตี ำรวจ ประชำสัมพันธ์ ควบคุมผู้ตอ้ งหำ พมิ พ์ลำยน้วิ มือ 3.7 ปฏิบตั หิ นำ้ ทยี่ ำมสถำนตี ำรวจ รักษำกำรณ์ รกั ษำควำมสงบเรียบรอ้ ย ควำม สะอำด พัสดุ ของหลวง ส่ิงของที่ยึดมำประกอบคดี ตลอดจนช่วยเหลือควบคุมดูแลผูต้ ้องหำและ ผูต้ อ้ งขัง 3.8 ปฏบิ ตั ิงำนชมุ ชนสมั พันธ์ เพื่อแสวงหำควำมร่วมมือจำกหน่วยงำนภำครัฐ เอกชน ประชำชน ตลอดจนสร้ำงเครอื ขำ่ ยกำรปอ้ งกันอำชญำกรรมในชมุ ชนและทุกภำคส่วนของ สงั คมในเขตพน้ื ทีข่ องสถำนีตำรวจ 3.9 ปฏบิ ัติงำนอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับงำนป้องกนั ปรำบปรำม 3.10 ปฏิบัติงำนอื่น ๆ ตำมทีผ่ ู้บังคบั บัญชำมอบหมำย

9 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สตู ร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจช้ันประทวน เลื่อนไหลเป็นชัน้ สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คุณลกั ษณะของตารวจสายตรวจท่ดี ี ได้แก่ 1. มอี ำยรุ ะหว่ำง 18 - 45 ปี 2. มสี มรรถภำพทำงร่ำงกำยอยใู่ นเกณฑ์ดี 3. มีควำมซื่อสตั ยส์ จุ รติ และมจี ิตอำสำ 4. มีมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ดี เขำ้ กับประชำชนในท้องท่ไี ด้ 5. ตอ้ งเปน็ ผ้มู คี วำมรใู้ นตัวบทกฎหมำยและยทุ ธวธิ ีตำรวจสำหรบั กำรปฏบิ ตั ิหนำ้ ท่ี 6. ตอ้ งเป็นผ้มู รี ะเบยี บวินัย และมคี วำมเสยี สละเพอ่ื สว่ นรวม 7. ผำ่ นกำรฝกึ อบรมหลักสูตรกำรปฏิบัติหน้ำทส่ี ำยตรวจ 8. มีคณุ สมบตั คิ รบตำมคุณสมบตั ิเฉพำะตำแหนง่ สำยตรวจที่ ก.ตร. กำหนดไว้ 9. เปน็ ผมู้ ปี ฏิภำณไหวพริบและมวี ุฒภิ ำวะทำงอำรมณ์ 10. มีทกั ษะในกำรใชอ้ ำวุธปนื ทำงยุทธวิธี 11. มคี วำมรคู้ วำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี

10 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เลอ่ื นไหลเปน็ ชั้นสญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- บทท่ี 2 การควบคมุ และการปฏิบตั ิงานสายตรวจ 1. สายตรวจในสถานีตารวจนครบาล และ สายตรวจเขตเทศบาลหลักในสถานี ตารวจภูธร 1.1 การเตรยี มการกอ่ นออกตรวจ (INPUT) กอ่ นออกตรวจ หวั หนำ้ งำนปอ้ งกนั ปรำบปรำบ, สวป., และ รอง สวป. (ที่ ทำหน้ำทห่ี ัวหน้ำ สำยตรวจ) และตัวสำยตรวจ จะตอ้ งเตรยี มกำร และดำเนินกำรใน เรอื่ งต่ำง ๆ ดังน้ี 1.1.1 จดั เตรยี มอำวุธและอุปกรณ์ ยำนพำหนะ สำหรับกำรปฏิบตั หิ น้ำท่ี สำยตรวจ ได้แก่ 1) อปุ กรณป์ ระจำตวั สำยตรวจ เช่น อำวธุ ปนื เคร่อื งกระสนุ ปนื วทิ ยุสือ่ สำรประจำตวั กญุ แจมือ ไฟฉำย แบบรำยงำน สมดุ พกประจำตัว หมวกตดิ กลอ้ ง CCTV เป็นต้น 2) อปุ กรณ์ประจำรถสำยตรวจ เชน่ วิทยุสื่อสำรประจำรถ สมุด บนั ทกึ ของรอ้ ยเวร 20 สำยพว่ งแบตเตอร่ี สำยลำกจูง เปน็ ต้น 3) รถสำยตรวจท่มี คี วำมสะอำด เรยี บรอ้ ย สภำพพร้อมใชง้ ำน 4) ผูป้ ฏิบตั หิ น้ำท่ีสำยตรวจต้องแตง่ เครื่องแบบกำกี ตดิ สำยนกหวดี (สีแดง) 1.1.2 หัวหน้ำสำยตรวจ เรียกสำยตรวจประชุมตรวจควำมพรอ้ ม ชแ้ี จง ภำรกจิ กอ่ นออกปฏบิ ัติ หน้ำที่อย่ำงนอ้ ย 15 นำที โดยปฏิบตั ไิ ดใ้ น 2 ลกั ษณะ คอื 1) กำรเรยี กแถวประชมุ นอกห้องปฏบิ ัตกิ ำรสำยตรวจ โดยเน้นใน เรอ่ื ง (1) กำรฝกึ ควำมมรี ะเบียบวนิ ัย กำรเข้ำแถว (2) กำรตรวจสอบจำนวนตำรวจสำยตรวจทม่ี ีหน้ำท่ีปฏบิ ตั ิ ในผลดั นั้น ๆ และลงชอื่ ใน สมุดควบคมุ กำรปฏิบัตหิ น้ำท่ขี องสำยตรวจ (3) กำรตรวจสอบเครอ่ื งแต่งกำย อำวุธ อปุ กรณ์ และ เอกสำรต่ำง ๆ ทง้ั แบบประจำตัว และประจำรถ (4) กำรตรวจสอบควำมพร้อมของรถสำยตรวจ (5) กำรฝึกทบทวนยุทธวธิ ี เชน่ กำรใช้อำวุธปืน กำรป้องกัน ตวั กำรเข้ำจับกุมคนรำ้ ย

11 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เลื่อนไหลเปน็ ชัน้ สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- (6) กำรชแ้ี จงแผนกำรตรวจ และข้อรำชกำรตำ่ ง ๆ 2) กำรประชมุ ในห้องปฏิบัตกิ ำรสำยตรวจ โดยเนน้ ในเรอ่ื ง (1) กำรตรวจสอบจำนวนตำรวจสำยตรวจทมี่ หี น้ำที่ปฏิบัติ ในผลัดนั้น ๆ และลงช่อื ใน สมุดควบคมุ กำรปฏบิ ตั หิ น้ำทขี่ องสำยตรวจ (2) กำรชแี้ จงแผนกำรตรวจ สถำนภำพอำชญำกรรม และ ข้อรำชกำรท่ีมรี ำยละเอียด ท่ีควรใชเ้ อกสำร หรอื แผนภมู ิประกอบ (3) กำรหำรือแกไ้ ขปัญหำอุปสรรค ขอ้ ขดั ขอ้ งตำ่ ง ๆ ทส่ี ำย ตรวจไดพ้ บมำ (4) กำรฝึกอบรมทบทวน เพม่ิ เตมิ ควำมรู้ในเรื่องกฎหมำย ระเบยี บ ที่เก่ียวขอ้ ง (5) กำรฝึกอบรมกำรใช้เทคโนโลยี เชน่ เทคนคิ กำร ถำ่ ยภำพ กำรใช้ QR Code เมือ่ เสร็จส้นิ กำรประชุม หวั หนำ้ สำยตรวจ, สวป., หรือ หัวหนำ้ งำนป้องกันปรำบปรำม ผู้ท่ี ประชุมปล่อยแถวสำยตรวจ จะตอ้ งบนั ทึกข้อ รำชกำรท่ชี ี้แจงในสมดุ ปล่อยแถวสำยตรวจด้วยลำยมือของตนเอง

12 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เลอ่ื นไหลเปน็ ชั้นสัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1.2 การปฏบิ ตั ิหนา้ ทขี่ ณะออกตรวจ (PROCESS) 1.2.1 กำรปฏบิ ตั ิหนำ้ ที่ขณะออกตรวจของเจำ้ หน้ำทีต่ ำรวจสำยตรวจ รถยนต์ และสำยตรวจ รถจักรยำนยนต์ มีดังตอ่ ไปนี้ 1) กำรออกตรวจ สำยตรวจรถยนต์ตอ้ งประกอบกำลงั อยำ่ งนอ้ ย 2 นำย สำยตรวจ รถจักรยำนยนต์ต้องประกอบกำลัง 2 นำย และไมอ่ อกตรวจเพียงลำพัง 2) ตรวจตำมแผนปฏิบตั ิ และแผนกำรตรวจของสำยตรวจ เพ่ือ ปอ้ งกันมิให้มีอำชญำกรรม เกดิ ขึ้นในพน้ื ท่รี ับผดิ ชอบ ดังนี้ (1) กำรตรวจต้แู ดง - กำรลงช่ือในสมดุ ตู้แดงของสำยตรวจต้องเขียนดว้ ย ลำยมือของตนเองท้ัง 2 นำย - ในทกุ 4 ชั่วโมง สำยตรวจรถจกั รยำนยนต์ จะต้องตรวจดู ตู้แดงทุกตใู้ นเขตตรวจท่ี รับผดิ ชอบ - กรณีสำยตรวจติดภำรกิจ ไม่สำมำรถตรวจตแู้ ดงตำม จำนวนทีก่ ำหนดได้ เชน่ ไประงับเหตุ ต้งั จดุ ตรวจ ให้แจง้ หัวหนำ้ สำยตรวจทรำบ และ ใหศ้ นู ย์วิทยุของ สน./สภ. จดบนั ทึกไว้ - ใหส้ ำยตรวจรถจักรยำนยนต์ ผลัดท่เี ข้ำเวร 00.01-08.00 น. เปน็ ผูเ้ ก็บและวำง สมุดตแู้ ดง สำหรบั สมดุ ต้แู ดงท่เี ก็บมำให้ส่งมอบให้หวั หน้ำสำย ตรวจ หรือ ร้อยเวร 20 ผลัดท่ีกำลังเข้ำเวรตรวจ - กรณีท่ี สน./สภ.ใด น ำเทคโนโลยีทเี่ ช่ือถอื ได้ มำใช้ในกำร ควบคมุ สำยตรวจ เช่น กำรใช้ QR Code หรอื กำรสแกนนวิ้ มือ ให้สำมำรถใช้แทนกำร จดั ทำและกำรลงชอื่ ในสมุดตูแ้ ดงแบบปกตไิ ด้ (2) ตรวจสัมพนั ธ์กบั สำยตรวจอื่น ๆ และหัวหน้ำสำยตรวจ (3) หยดุ รถสังเกตกำรณ์ (ว.10) ปอ้ งกนั เหตตุ ำมจดุ ล่อแหลม จดุ เสี่ยง หรอื จดุ หลบฝน ท่กี ำหนด (อย่ำงน้อย 3 จดุ ต่อผลัด) โดยเฉพำะ อย่ำงย่ิงกำร ว.10 กอ่ นออกเวร 3) ตรวจเยี่ยมเยียนประชำชน และบนั ทกึ ตำมแบบรำยงำน 2 บำ้ น ตอ่ ผลัด 4) ตั้งจดุ ตรวจคน้ หรือตรวจค้นบุคคล ยำนพำหนะ ที่ตอ้ งสงสยั 5) สืบสวนหำข่ำวอำชญำกรรม รับคำร้องเรยี นเรือ่ งต่ำง ๆ และ รำยงำนหวั หน้ำสำยตรวจ เพอ่ื น ำเสนอสำรวัตรปอ้ งกันปรำบปรำม หัวหนำ้ งำน ปอ้ งกนั ปรำบปรำม และหัวหนำ้ สถำนีตำรวจตอ่ ไป

13 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจช้ันประทวน เล่อื นไหลเป็นช้นั สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 6) ระงับเหตุ ตำมที่ได้รบั แจ้งจำกศนู ยร์ ับแจ้งเหตฉุ กุ เฉิน 191, ศนู ย์ วทิ ยุ สน./สภ. หรือ รับแจ้ง หรอื พบเหตุดว้ ยตนเอง และจับกุมผู้กระทำผดิ ตำมอำนำจ หนำ้ ท่ี โดยกำรไปถึงทเ่ี กดิ เหตุควรใชเ้ วลำไม่ เกนิ 5 นำที กรณีมีเหตุซ้ำซ้อน หรอื ติด ภำรกจิ ใหแ้ จ้งศนู ย์วิทยุ สน./สภ. เพอ่ื แจง้ ใหห้ ัวหน้ำ สำยตรวจส่ังกำรใหผ้ อู้ ืน่ ไปปฏบิ ตั ิ หน้ำทแ่ี ทน กรณีเป็นเหตทุ ีต่ ้องใหพ้ นกั งำนสอบสวนตรวจทเ่ี กดิ เหตุ ให้รักษำสถำนท่ี เกดิ เหตุไว้ 7) สกดั จับกุมคนรำ้ ย ตำมแผนกำ้ วสกดั จับ 8) บริกำรประชำชน 1.2.2 กำรปฏบิ ตั หิ นำ้ ที่ของหัวหน้ำสำยตรวจ (รอ้ ยเวร 20) ขณะออกตรวจ มีดงั นี้ 1) กำรออกตรวจ สำยตรวจรถยนต์ต้องประกอบกำลังอยำ่ งนอ้ ย 2 นำย และไม่ออกตรวจ เพียงลำพงั 2) ตรวจสอบกำรปฏิบัติของสำยตรวจตำ่ ง ๆ ใหต้ รวจตำมแผนท่ี กำหนด 3) ตรวจสัมพันธก์ บั สำยตรวจต่ำง ๆ 4) ตรวจจุดตรวจตแู้ ดง โดยใน 1 ผลดั (8 ชั่วโมง) สำยตรวจรถยนต์ ใหต้ รวจตู้แดง ตยู้ ำม และสำยตรวจต่ำง ๆ ในเขตชุมชนอยำ่ งนอ้ ย 1 รอบ 5) ส่ังกำรควบคุมกำรปฏิบัตกิ รณีมเี หตฉุ ุกเฉิน และแก้ไขปญั หำ กรณสี ำยตรวจที่รับผิดชอบ ติดภำรกจิ จนกวำ่ ผบู้ งั คับบญั ชำระดับเหนือช้ันไปท่ีจะเขำ้ มำควบคมุ กำรดำเนินกำรแทน 6) ระงับเหตุ รกั ษำสถำนท่ีเกิดเหตุ สบื สวนและจับกุมผู้กระทำผิด 7) ตรวจสอบกำรเขำ้ ประจำจุดสกัดของสำยตรวจตำ่ ง ๆ 8) ควบคุมกำรต้งั จุดตรวจ 9) เย่ียมเยียนประชำชน และบันทกึ ตำมแบบรำยงำน 2 บำ้ นตอ่ ผลดั 10) ใหค้ วำมชว่ ยเหลอื ประชำชนเรอ่ื งตำ่ ง ๆ เชน่ รถเสยี น้ำทว่ ม ฯลฯ

14 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจช้ันประทวน เลอ่ื นไหลเป็นชน้ั สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1.3 การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่หี ลงั เสรจ็ ส้ินการตรวจ(OUTPUT) 1.3.1 กำรปฏบิ ัติของตำรวจสำยตรวจหลงั ออกตรวจ มีดงั นี้ 1) กลบั มำพรอ้ มทส่ี ถำนีตำรวจหรอื ห้องปฏบิ ตั กิ ำรสำยตรวจเมื่อ สิ้นสุดระยะเวลำปฏิบตั ิ หน้ำท่ี และลงช่อื ในสมุดควบคมุ กำรปฏิบตั ิหนำ้ ท่ีสำยตรวจ 2) จัดทำและส่งรำยงำนตำ่ ง ๆ ให้เรียบร้อย 3) ตรวจสอบ และสง่ มอบอุปกรณ์เครื่องใช้สว่ นรวม เชน่ อำวุธปนื ของทำงรำชกำร วิทยสุ ่อื สำร ยำนพำหนะ ฯลฯ ให้เรยี บรอ้ ย 4) รำยงำนปัญหำขอ้ ขัดข้องตำ่ ง ๆ ตอ่ หวั หน้ำสำยตรวจ 5) ตรวจสอบภำรกิจตำ่ ง ๆ ท่ีจะตอ้ งปฏบิ ตั ิในช่วงเวลำตอ่ ไป หรือ ภำรกจิ พเิ ศษตำมคำสงั่ ของผ้บู งั คบั บญั ชำ เช่น กำรรับเสดจ็ ฯ กำรถูกระดมไปชว่ ย สถำนตี ำรวจอ่ืน ๆ เป็นตน้ 1.3.2 กำรปฏบิ ัติของหวั หนำ้ สำยตรวจ (ร้อยเวร 20) หลังออกตรวจ มดี ังน้ี 1) กลับมำท่ีสถำนตี ำรวจหรือหอ้ งปฏบิ ัตกิ ำรสำยตรวจ เพือ่ ตรวจสอบยอดกำลงั พล สำยตรวจ ตรวจสอบสำยตรวจในกำรส่งมอบอปุ กรณ์เครอ่ื งใช้ ของทำงรำชกำร 2) หวั หนำ้ สำยตรวจ ซึ่งเข้ำเวรผลัด 00.01 – 08.00 น. ให้ตรวจ สมุดตูแ้ ดงท่ีเกบ็ มำแล้ว เสนอ สวป. ภำยใน 09.00 น. เปน็ ประจำทุกวนั 3) รวบรวมรำยงำนตำ่ ง ๆ ที่เกีย่ วกบั งำนสำยตรวจ เช่น ผลกำร จับกมุ ผลกำรตรวจ สัมพันธ์ ผลกำรเยี่ยมเยียนประชำชน ฯลฯ เสนอ สวป.ตรวจตำม วงรอบ 4) ประเมินผลกำรปฏบิ ัตหิ นำ้ ที่ และรับทรำบปญั หำอุปสรรคใน กำรปฏบิ ัติหนำ้ ท่ี ของตำรวจสำยตรวจในผลัดนน้ั ๆ เพื่อนำมำเปน็ แนวทำงแกไ้ ข ปรบั ปรงุ ในกำรปฏิบัติหน้ำท่ีต่อไป

15 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สตู ร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชั้นประทวน เล่ือนไหลเปน็ ช้นั สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. สายตรวจตาบล 2.1 สายตรวจตาบลแต่ละแหง่ 2.1.1 สำยตรวจตำบลตอ้ งพกั แรมอยู่ที่พกั สำยตรวจในพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบ หำกพ้ืนท่ีใดไมม่ ที พ่ี กั สำยตรวจให้พักในสถำนทที่ ี่เหมำะสมในตำบลนน้ั 2.1.2 สำยตรวจตำบลควรมีกำลังพลอยำ่ งนอ้ ย 3 นำย และตอ้ งจัดเวรกำร ปฏบิ ตั หิ น้ำที่โดยใหม้ ี กำลังพลประจำที่พักสำยตรวจและออกตรวจท้องที่ และจัดใหม้ ี รำษฎรอำสำสมัครปฏิบัตหิ น้ำทรี่ ่วมก็ได้ 2.1.3 สำยตรวจตำบลต้องจัดทำข้อมูลท้องถ่นิ ไว้ ณ ท่ีพักสำยตรวจน้ัน ๆ และให้สง่ เกบ็ รวบรวม ที่ห้องปฏบิ ัตกิ ำรสำยตรวจด้วย 2.1.4 สำยตรวจตำบลต้องออกตรวจทกุ วนั และจัดทำขอ้ มูลครวั เรือนท่ไี ป ตรวจอย่ำงน้อยวนั ละ 3 หมู่บ้ำน หมบู่ ้ำนละ 1 หลังคำเรอื น และควรตรวจให้ครบทกุ หมู่บำ้ นในเขตรับผดิ ชอบ ภำยใน 15 วัน เพอ่ื ประสิทธิภำพในกำรปอ้ งกัน อำชญำกรรม หำกสำยตรวจตำบลใดมกี ำลังพลนอ้ ยกว่ำ 3 นำย สำมำรถลด กำรตรวจ และกำรจดั ทำข้อมูลครัวเรือนไดต้ ำมสว่ น (3 นำย/3 หลังคำเรือนตอ่ วนั เท่ำกับ 100 เปอร์เซ็นต์) 2.1.5 สำยตรวจตำบลทุกสำยทอี่ อกปฏิบตั ิหนำ้ ที่ ตอ้ งบนั ทกึ ผลกำรตรวจ เย่ยี มชุมชน/ประชำชน ไว้ในสมดุ ตรวจและ/หรือเคร่ืองอิเลก็ ทรอนกิ ส์ของสำยตรวจ ตำบลท่ที ำงสถำนีตำรวจจัดทำไว้ 2.1.6 ผูอ้ ยู่ทีพ่ กั สำยตรวจให้มหี น้ำท่ีรับแจ้งเหตแุ ละบรกิ ำรประชำชน โดย ต้องแตง่ เครอื่ งแบบ ให้เรียบร้อย 2.1.7 สืบสวนหำข่ำวอำชญำกรรม รับคำรอ้ งเรียน 2.1.8 ระงับเหตุ ตำมที่ไดร้ ับแจ้งจำกศูนย์รบั แจ้งเหตุฉกุ เฉิน 191, ศูนยว์ ทิ ยุ สน./สภ. หรือ รับแจง้ หรือพบเหตดุ ว้ ยตนเอง และจับกุมผู้กระทำผดิ ตำมอำนำจหน้ำท่ี โดยกำรไปถึงทีเ่ กิดเหตุควรใช้เวลำ ไมเ่ กนิ 12 นำที กรณีมีเหตุซำ้ ซอ้ น หรอื ติดภำรกิจ ให้แจ้งศูนยว์ ิทยุ สน./สภ. เพอ่ื แจง้ ใหห้ วั หน้ำสำยตรวจ สง่ั กำรใหผ้ ู้อื่นไปปฏบิ ตั ิหนำ้ ท่ี แทน กรณีเป็นเหตุทต่ี ้องให้พนักงำนสอบสวนตรวจท่เี กดิ เหตุ ให้รักษำสถำนท่ีเกดิ เหตไุ ว้ 2.1.9 สกดั จบั กุมคนรำ้ ย ตำมแผนก้ำวสกดั จับ 2.1.10 บริกำรประชำชน 2.1.11 ให้หัวหน้ำสำยตรวจตำบล รวบรวมสมุดบันทึก และแฟม้ ข้อมูลต่ำง ๆ ได้แก่ แฟม้ ข้อมลู ครัวเรือน สมุดบันทกึ ผลกำรตรวจเยยี่ มชุมชน/ประชำชน สมุดรับ แจง้ เหตุ สมุดบนั ทกึ กำรตรวจเยี่ยม ของผู้บงั คบั บัญชำ แฟม้ กำรจดั เวรปฏบิ ตั ิหนำ้ ท่ี

16 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สตู ร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชั้นประทวน เลอื่ นไหลเป็นช้นั สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เสนอ สวป., หัวหน้ำงำนป้องกันปรำบปรำม และ หน.สภ. ตรวจทกุ วนั ท่ี 1 และ 16 ของเดือน 2.2 ผูค้ วบคุม หรือหัวหน้าของสายตรวจตาบล ในกรณที ี่ สภ.ใด มีกำรจดั รอง สวป. ทำหน้ำทเี่ ปน็ ผู้ควบคมุ หรือเปน็ หวั หน้ำของสำยตรวจตำบล ให้ปฏิบัตดิ ังนี้ 2.2.1 ผู้ควบคมุ สำยตรวจตำบล ตอ้ งออกตรวจกำรปฏิบตั ิหนำ้ ท่ีของสำย ตรวจตำบลทกุ วัน และ บันทกึ ผลกำรตรวจไวใ้ นสมุดตรวจ โดยควรตรวจให้ครอบคลมุ ทุกตำบลภำยใน 7 วนั และหมนุ เวยี นสุ่มตรวจ หมู่บ้ำนให้มำกทีส่ ดุ 2.2.2 ให้ผคู้ วบคมุ สำยตรวจตำบล หรอื หัวหน้ำสำยตรวจ หรอื ร้อยเวร 20 กรณีทไ่ี มม่ ีผคู้ วบคมุ สำยตรวจตำบล รวบรวมและตรวจสอบควำมถูกต้องของข้อมูล ครัวเรือนของสำยตรวจตำบล และเอกสำรอนื่ ๆ สง่ ให้ สวป., หวั หน้ำงำนปอ้ งกัน ปรำบปรำม และ หัวหน้ำสถำนตี ำรวจ ตรวจตำมข้อ 2.1.11 3. สายตรวจชมุ ชนประจาตาบล 3.1 สำยตรวจชมุ ชนประจำตำบล เป็นสำยตรวจท่ีจัดขึ้นเพ่ือดูแลรกั ษำควำม ปลอดภัยในชวี ติ และ ทรัพยข์ องประชำชนในพื้นที่ท่ีเปน็ ชมุ ชนของแตล่ ะตำบล โดย หัวหนำ้ สถำนีตำรวจ หรือ หัวหน้ำงำนป้องกนั ปรำบปรำมอำชญำกรรม พจิ ำรณำ กำหนดเขตตรวจ และคดั เลือกขำ้ รำชกำรตำรวจท่ีมีควำมเหมำะสม อยำ่ งน้อย 2 นำย ปฏิบัตหิ นำ้ ทเ่ี ป็นสำยตรวจชุมชนประจำตำบล และจัดให้มีรำษฎร อำสำสมัครสำหรับปฏบิ ตั ิ หน้ำที่ร่วมกนั 3.2 สำยตรวจชุมชนประจำตำบล ตอ้ งออกตรวจทอ้ งทภี่ ำยในเขตชุมชนประจำ ตำบลทร่ี บั ผดิ ชอบ รว่ มกับรำษฎรอำสำสมคั ร 2-5 นำย โดยเน้นงำนด้ำนกำรข่ำว กำร ให้ควำมชว่ ยเหลือและบริกำรแก่ประชำชน กำรสรำ้ งควำมสัมพันธอ์ นั ดีระหว่ำง เจ้ำหน้ำทต่ี ำรวจกบั ประชำชนในพืน้ ท่ี และแสวงหำควำมร่วมมือใน กำรปอ้ งกัน ปรำบปรำมอำชญำกรรม 3.3 กำรจัดทำแผนกำรตรวจ กำรปฏิบัติ และกำรรำยงำนผลกำรปฏิบัติของสำย ตรวจชุมชนประจำตำบล ให้นำแนวทำงกำรปฏบิ ัตขิ องสำยตรวจรถจกั รยำนยนต์มำใช้ โดยอนุโลม 3.4 สำยตรวจชุมชนประจำตำบลใดท่ีมีที่ทำกำรลกั ษณะเดยี วกับสำยตรวจตำบล ต้องจัดทำขอ้ มลู ทอ้ งถ่ินไว้ ณ ทพ่ี ักสำยตรวจชุมชนประจำตำบลนน้ั ๆ และให้ส่งเกบ็ รวบรวมทห่ี ้องปฏบิ ัตกิ ำรสำยตรวจ เชน่ เดยี วกับสำยตรวจตำบลด้วย

17 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สตู ร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจช้ันประทวน เลอ่ื นไหลเปน็ ช้ันสัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 4. สายตรวจเดินเท้า 4.1 สำยตรวจเดนิ เท้ำมีควำมสำคัญในกำรปอ้ งกันอำชญำกรรม โดยมุง่ เน้นกำร ปอ้ งกันเหตุ ในพ้ืนท่ี ชมุ ชนหนำแนน่ ทไี่ มเ่ หมำะแกก่ ำรน ำยำนพำหนะเข้ำไป เชน่ ศูนย์กำรค้ำ ตลำด แหล่งท่องเท่ียวทม่ี ปี ระชำชน พลุกพลำ่ น 4.2 หัวหน้ำสถำนตี ำรวจ หรอื หัวหน้ำงำนปอ้ งกันปรำบปรำมอำชญำกรรม กำหนด พน้ื ที่เขตตรวจ ของสำยตรวจเดินเท้ำ และจัดกำลังเจ้ำหน้ำที่ตำรวจปฏิบตั ิหนำ้ ที่เปน็ สำยตรวจเดนิ เท้ำ โดยสำยตรวจเดนิ เท้ำ 1 สำย ประกอบด้วย เจ้ำหน้ำท่ีตำรวจสำย ตรวจอย่ำงนอ้ ย 2 นำย 4.3 กำรจดั ทำแผนกำรตรวจ กำรปฏิบตั ิ และกำรรำยงำนผลกำรปฏิบตั ิของสำย ตรวจเดินเท้ำ ให้นำแนวทำงกำรปฏิบัตขิ องสำยตรวจรถจกั รยำนยนตม์ ำใช้โดยอนโุ ลม 5. สายตรวจทางเรือ 5.1 สำยตรวจทำงเรือ เป็นสำยตรวจทจ่ี ัดขึน้ เพือ่ ป้องกันปรำบปรำมอำชญำกรรม ในพื้นท่ีท่ีเป็นแม่นำ้ ลำคลอง อำ่ งเก็บนำ้ ทะเลสำบ หรือทะเล โดยหัวหน้ำสถำนี ตำรวจ หรอื หวั หน้ำงำนป้องกันปรำบปรำม อำชญำกรรม จดั กำลังเจ้ำหน้ำทต่ี ำรวจ อยำ่ งน้อย 2 นำย ใช้เรือขนำดที่เหมำะสมกบั พื้นท่ที ำงน้ำในเขต รับผดิ ชอบเป็น ยำนพำหนะ 5.2 กำรตรวจของสำยตรวจทำงเรือ เน้นทัง้ ด้ำนกำรป้องกันเหตุ สร้ำงควำมอบอนุ่ ใจให้กับประชำชน ทอ่ี ยู่บนเรอื แพ หรอื มที ี่พักอำศัยอยูร่ ิมน้ำ และด้ำนกำรปรำบปรำม ผกู้ ระทำผดิ ทก่ี อ่ เหตุบนเรือ แพ หรือใช้เรือ แพ เปน็ พำหนะในกำรกระทำผิด 5.3 กำรแตง่ กำยของสำยตรวจทำงเรือ อำจปรับให้เข้ำกบั สภำพกำรปฏิบัตงิ ำน แต่ ตอ้ งมีสัญลกั ษณท์ ่ี แสดงถงึ ควำมเปน็ ตำรวจ แตง่ กำยให้เหมอื นกนั ทกุ นำย และมี อุปกรณ์เครอ่ื งมือเครอื่ งใช้ที่จำเปน็ ในกำรปฏบิ ตั ิ หน้ำทใี่ หค้ รบถว้ น 5.4 กำรจดั ทำแผนกำรตรวจ กำรปฏิบัติ และกำรรำยงำนผลกำรปฏิบตั ขิ องสำย ตรวจทำงเรอื ใหน้ ำแนวทำงกำรปฏบิ ตั ิของสำยตรวจรถจักรยำนยนตม์ ำใช้โดยอนโุ ลม

18 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สตู ร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เลอื่ นไหลเป็นชัน้ สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 6. สายตรวจจกั รยานสองล้อ 6.1 สำยตรวจรถจกั รยำนสองลอ้ เป็นสำยตรวจทีจ่ ดั ขนึ้ เพ่ือเน้นกำรป้องกัน อำชญำกรรม ในพื้นทท่ี ไี่ ม่ เหมำะแก่กำรใชส้ ำยตรวจรถยนตแ์ ละรถจักรยำนยนต์ แตม่ ี พนื้ ทีท่ ่ีตอ้ งออกตรวจมำกกวำ่ ทีส่ ำยตรวจเดนิ เท้ำ จะกระทำได้ 6.2 หัวหน้ำสถำนีตำรวจ หรือ หวั หน้ำงำนป้องกนั ปรำบปรำมอำชญำกรรม กำหนดพ้นื ทเี่ ปน็ เขตตรวจ ของสำยตรวจจักรยำนสองลอ้ และจัดกำลงั เจำ้ หน้ำท่ี ตำรวจสำยตรวจ 1 นำย ต่อรถจกั รยำนสองลอ้ 1 คนั โดยสำยตรวจจักรยำนสองลอ้ 1 สำย ประกอบดว้ ย เจำ้ หน้ำทต่ี ำรวจสำยตรวจอยำ่ งน้อย 2นำย/2 คัน ขึ้นไป 6.3 กำรแตง่ กำยของสำยตรวจจักรยำนสองลอ้ อำจปรับใหเ้ ข้ำกับสภำพกำร ปฏบิ ัติงำน แต่ต้องมี สัญลักษณท์ ีแ่ สดงถึงควำมเปน็ ตำรวจ แต่งกำยให้เหมือนกันทุก นำย และมอี ุปกรณ์เคร่อื งมือเครื่องใช้ทจ่ี ำเปน็ ใน กำรปฏบิ ัตหิ นำ้ ทใ่ี ห้ครบถ้วน 6.4 กำรจัดทำแผนกำรตรวจ กำรปฏิบตั ิ และกำรรำยงำนผลกำรปฏบิ ัติของสำย ตรวจจกั รยำนสองล้อ ใหน้ ำแนวทำงกำรปฏบิ ัตขิ องสำยตรวจรถจักรยำนยนต์มำใช้โดย อนุโลม 7. สายตรวจประเภทอื่น ๆ กำรจัดสำยตรวจประเภทอื่น ๆ เชน่ สำยตรวจมำ้ สำยตรวจสนุ ัข สำยตรวจทำง อำกำศ เปน็ ไปตำม ควำมเหมำะสม และศักยภำพของแตล่ ะสถำนตี ำรวจ โดยเมอ่ื มี กำรจัด จะตอ้ งมีแผนกำรตรวจ มีรำยละเอยี ด ของกำรปฏบิ ตั ิ และกำรรำยงำนผลกำร ปฏบิ ัติดว้ ย

19 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สตู ร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เล่อื นไหลเป็นชั้นสญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เวรยาม สายตรวจ กองรักษาการณ์ บทที่ 3 หนา้ ท่คี วามรับผิดชอบของสายตรวจ ขอ้ 1 หน้ำที่และควำมรบั ผดิ ชอบของหวั หน้ำสำยตรวจ 1.1 ควบคุมตรวจสอบกำรเตรยี มกำรกอ่ นออกปฏิบตั ิของตำรวจสำยตรวจเปน็ ประจำทกุ วัน และทุกผลัดของกำรสำยตรวจ 1.2 ควบคุมตรวจตรำและสนบั สนุนกำรปฏิบตั ิหนำ้ ท่ีของสำยตรวจในผลดั นัน้ ๆ 1.3 รวบรวมผลกำรปฏิบัตงิ ำนของสำยตรวจในผลัดน้ัน ๆ เพ่ือส่งตอ่ ให้ผลัดใหม่ที่ จะมำปฏิบตั ิ หนำ้ ทแ่ี ทน และรำยงำนผู้บงั คบั บัญชำทรำบ ขอ้ 2 หนำ้ ทแี่ ละควำมรับผิดชอบของสำยตรวจ 2.1 กำรปฏิบัติก่อนกำรออกตรวจ 2.1.1 รว่ มประชมุ ปลอ่ ยแถวสำยตรวจทุกครั้ง เพือ่ จะได้ทรำบขอ้ มลู ขำ่ วสำรท่ีหวั หนำ้ สถำนตี ำรวจหรอื หัวหน้ำงำนสำยตรวจจะแจ้งใหท้ รำบ รวมท้ังรับทรำบ ภำรกจิ ทำควำมเข้ำใจกบั ภำรกจิ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมำย 2.1.2 ตรวจสอบอปุ กรณ์ประจำกำย เคร่อื งมือ และยำนพำหนะท่ีจำเป็นใน กำร ปฏิบตั ิหนำ้ ทส่ี ำยตรวจ แตง่ กำยใหถ้ ูกตอ้ งตำมระเบยี บสำนักงำนตำรวจแห่งชำติว่ำ ด้วยกำรแต่งเครอื่ งแบบ และตอ้ งมีสมุดสำหรับบันทกึ เหตุกำรณแ์ ละขอ้ มลู ทีต่ รวจพบ 2.2 สำยตรวจต้องปฏบิ ตั ิในกำรตรวจ ดังนี้ 2.2.1 ตรวจภำยในเขตตรวจตำมภำรกจิ ทไี่ ด้รบั มอบหมำย เช่น สอดสอ่ ง ตรวจตรำ เก็บขอ้ มลู ท้องถิ่นเกย่ี วกับร้ำนรับซอ้ื และจำหนำ่ ยของเก่ำ (สำยตรวจกลำงวัน) รำ้ นอำหำรท่จี ำหน่ำยสุรำ (สำยตรวจกลำงคนื ) 2.2.2 สำยตรวจโดยเฉพำะในซอย ถำ้ พบกล่มุ ประชำชนต้องหยดุ เข้ำไป ทักทำย ประชำชนแสดงตนว่ำเป็นสำยตรวจ สอบถำมเหตกุ ำรณ์โจรผู้ร้ำย ควำมเดอื ดร้อน และควำมต้องกำรของ ประชำชน 2.2.3 สรำ้ งควำมสัมพันธ์กับประชำชน แสวงหำควำมรว่ มมอื เพ่อื ให้เปน็ ผ้ใู หข้ ำ่ วเปน็ แหล่งขำ่ วเกย่ี วกบั บุคคลและสถำนทีท่ ่ีกระทำผดิ กฎหมำย บุคคลกล่มุ น้ี ได้แก่ ผู้ขับข่รี ถจกั รยำนยนต์รับจ้ำง ผขู้ บั ข่รี ถยนต์รบั จ้ำง ผู้ขบั ข่ีรถยนต์โดยสำร พนกั งำนรักษำควำมปลอดภัยของหม่บู ำ้ น อำคำรชดุ อพำรท์ เมน้ ท์ โรงงำน ผู้จำหนำ่ ยสินค้ำอำหำรขนำดเลก็ ในซอย

20 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสตู ร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจช้นั ประทวน เลื่อนไหลเปน็ ช้ันสญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2.2.4 ถ้ำพบบคุ คลหรือรถต้องสงสยั ต้องดำเนนิ กำรตรวจค้นให้เป็นไปตำม กฎหมำย ถำ้ พจิ ำรณำเห็นว่ำเกินขดี ควำมสำมำรถต้องแจ้งหัวหนำ้ สถำนีตำรวจ หัวหนำ้ งำน สำยตรวจ สำยตรวจท่ีอยู่ ใกล้เคียงมำรว่ มดำเนนิ กำร 2.2.5 จดจำตัวคน ยำนพำหนะ ที่มีพฤตกิ รรมเก่ียวข้องกับกำรกระทำผดิ ใน ประเภท ต่ำง ๆ ในพ้นื ที่ให้ได้ เชน่ บุคคล ยำนพำนะทเ่ี ก่ียวข้องกับยำเสพติด เก่ยี วขอ้ งกับ กำรประทษุ ร้ำยตอ่ ทรัพย์สิน ถ้ำพบในระหว่ำงตรวจต้องติดตำมตรวจค้น 2.2.6 สังเกตบคุ คลทีอ่ ยู่ในวัย ลกั ษณะท่ำทำงทจี่ ะเป็นผูก้ ระทำผิดได้ ถ้ำ เหน็ วำ่ มี ทำ่ ทำงพริ ธุ ตอ้ งใหค้ วำมสนใจทนั ที เชน่ เดินเขำ้ ไปหำแล้วขอตรวจค้น ระหวำ่ งที่ เดินเข้ำไปหำบุคคลทม่ี ีท่ำทำง พิรุธอำจจะโยนของผดิ กฎหมำยท้ิงได้ 2.2.7 ระหว่ำงตรวจหรอื หยุดพบประชำชน ถำ้ เหน็ ผู้ขับขีย่ ำนพำหนะมุ่ง หน้ำเข้ำมำ ทำงสำยตรวจ แตพ่ อเห็นสำยตรวจผขู้ บั ข่ีเลีย้ วรถกลับไปทำงเดิมทันที ใหพ้ ึง สงสัยวำ่ อำจจะเปน็ ผู้กระทำผดิ หรือ มีของผดิ กฎหมำยไว้ในครอบครอง สำยตรวจต้อง ปฏบิ ตั ิตำม 2.2.4 2.2.8 เม่ือพบบคุ คล กลุ่มบคุ คล หรือยำนพำหนะอยู่ในสถำนที่เปลย่ี ว สถำนทไี่ ม่ควร อยู่ รวมทงั้ เป็นเวลำทไ่ี ม่เหมำะสมด้วย สำยตรวจตอ้ งพึงสงสัยไว้ก่อนและใช้ ควำมระมดั ระวงั ในกำรเข้ำ ตรวจสอบ 2.2.9 สงั เกตและแยกให้ไดว้ ่ำเสยี งระเบดิ ทีเ่ กิดขน้ึ เปน็ เสียงท่ีเกดิ จำกอะไร เชน่ เสยี งเกดิ จำกกำรจดุ ประทดั จำกกำรยงิ ปนื ยำงรถยนตร์ ะเบิด ถ้ำเชือ่ ว่ำเป็นเสยี งจำก กำรยิงปืนตอ้ งเข้ำไป ตรวจสอบด้วยควำมระมัดระวงั 2.2.10 เม่ือพบกำรน ำทรัพย์สินหรอื สัตว์เคล่ือนทใ่ี นเส้นทำง หรอื เวลำท่ี บคุ คล โดยทัว่ ไปไม่พงึ กระทำ เชน่ บคุ คลแบกโทรทศั นเ์ ดนิ มำในเวลำค่ำคนื จูงสตั วเ์ ดินใน เสน้ ทำงทมี่ ใิ ช่ทำงเดนิ ในเวลำ ค่ำคนื ใหส้ งสัยไวก้ อ่ น แล้วใช้ควำมระมัดระวังเข้ำตรวจสอบ 2.2.11 ในกำรออกตรวจถ้ำมอี ำสำสมคั รมำรว่ มตรวจ ตำรวจตอ้ งเปน็ ผ้นู ำ ในกำร ปฏิบตั ิ อำสำสมัครเป็นผ้ชู ว่ ยเจ้ำพนักงำนคอยสนบั สนุน 2.2.12 กำรปฏบิ ตั ถิ ำ้ ไดข้ ้อมูลใด เหตกุ ำรณ์ใด หรือขำ่ วสำรใดทีจ่ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ กำรสบื สวนสอบสวนคดหี รือปอ้ งกนั ปรำบปรำม ต้องบนั ทึกลงในสมดุ บันทกึ ประจำตัวของสำยตรวจทันทีเพื่อทำ รำยงำนผลกำรตรวจ 2.2.13 เมอื่ เสรจ็ สน้ิ ภำรกิจตอ้ งส่งรถยนต์ จกั รยำนยนต์ เครอื่ งมือ เครอ่ื งใช้ ใหจ้ ดั ทำ รำยงำนผลกำรปฏิบตั ิส่งหวั หน้ำงำนสำยตรวจ 2.3 กำรปฏิบตั ิเม่อื ได้รับแจง้ เหตุตำ่ ง ๆ ให้สำยตรวจดำเนินกำร ดงั นี้

21 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสตู ร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เลอ่ื นไหลเป็นชั้นสญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2.3.1 กำรประทษุ ร้ำยต่อชีวิต รำ่ งกำย และทรัพย์สินให้ปฏิบตั ใิ นสว่ นท่ี เกีย่ วข้อง ก่อนท่พี นักงำนสอบสวนเวรหรอื หัวหน้ำสำยตรวจไปถงึ ท่ีเกดิ เหตุ ดงั น้ี 2.3.1.1 รบี ไปยงั ทเ่ี กิดเหตุโดยเร็วท่ีสดุ และแจง้ ศนู ยว์ ิทยุ ขณะ เดินทำงไปยัง ท่ีเกดิ เหตุให้สงั เกตยำนพำหนะ บคุ คลต้องสงสัยที่มงุ่ ออกมำจำกที่เกดิ เหตุ เพรำะอำจเป็นคนร้ำยท่จี ะหลบหนี ถ้ำพบใหร้ บี แจง้ ศูนย์วิทยุทรำบ 2.3.1.2 เมอื่ ถึงท่ีเกดิ เหตุใหต้ รวจสอบว่ำคนร้ำยยงั อยู่ในบริเวณที่ เกดิ เหตุ หรือไม่ ถ้ำไมแ่ น่ใจก็ให้ใช้ควำมระมดั ระวงั เป็นพิเศษ ถำ้ คนร้ำยอย่ใู นเหตใุ หแ้ จง้ ศนู ย์วิทยขุ อกำลังพลสนบั สนุน ปิดล้อม แลว้ จับกุมคนรำ้ ยต่อไป 2.3.1.3 ถำ้ คนรำ้ ยไม่อยู่ในทเี่ กิดเหตุให้ตรวจสอบวำ่ ผู้เสียหำยถกู ทำ ร้ำย หรือไม่ ถำ้ ถูกทำร้ำยและได้รับบำดเจบ็ ให้ทำกำรปฐมพยำบำลเบื้องตน้ ตำมควำม เหมำะสม แล้วรีบนำส่ง โรงพยำบำลใกล้เคียงโดยเร็วท่ีสดุ ถ้ำเสียชีวติ ห้ำมเคล่อื นยำ้ ยศพ ดูแลรกั ษำทรัพยส์ ินท่ีอยู่กับศพอยำ่ ให้ใครเอำ ไป แนะนำประชำชนทไ่ี มม่ ีส่วนเก่ียวขอ้ ง ออกไปจำกที่เกดิ เหตุ แล้วใช้วสั ดอุ ปุ กรณก์ ัน้ ท่ีเกิดเหตุไว้ ปิดประตูห้อง หรือปดิ ประตรู ว้ั อยำ่ ให้ผู้ใดแตะตอ้ งเคลื่อนย้ำยวัตถุ อำวธุ ทรัพย์สินอ่ืนใดรวมทงั้ วตั ถทุ ่มี ผี ิวเรียบ โลหะ แก้ว กระจก เฟอรน์ ิเจอร์ในที่เกดิ เหตุ 2.3.1.4 รักษำสถำนทเ่ี กดิ เหตุจนกวำ่ พนักงำนสอบสวนเวรสั่งกำร ใหย้ กเลิก กำรรักษำสถำนทีเ่ กดิ เหตุ 2.3.1.5 ถ้ำเจ้ำของบำ้ นไม่อย่ใู นบ้ำนที่เกิดเหตุ ใหช้ ่วยเหลอื พนกั งำน สอบสวนเวรโดยสอบถำมบำ้ นข้ำงเคียงขอทรำบช่อื ตวั ช่อื สกลุ ทที่ ำงำน หมำยเลขโทรศัพท์ของเจ้ำของบำ้ น แล้วโทรศัพทแ์ จง้ ให้เจำ้ ของบ้ำนทรำบ 2.3.1.6 สอบถำมหำผรู้ ้เู ห็นเหตุกำรณ์เกี่ยวกับคนร้ำย เชน่ ตำหนิ รูปพรรณ อำวุธที่ใช้ จำนวนคนรำ้ ย ยำนพำหนะ เสน้ ทำงหลบหนี และทรพั ยส์ ินทค่ี นรำ้ ย ได้ไป จดชอื่ ตัว ชื่อสกลุ ท่ีอยู่ หมำยเลขโทรศพั ทข์ องผ้รู ้เู ห็นเหตกุ ำรณไ์ ว้ให้พนักงำน สอบสวนเวร 2.3.1.7 แจง้ รำยละเอียดข้อมลู ของคนร้ำยให้ศูนยว์ ิทยทุ รำบเพ่ือ แจง้ สกัดจับ คนรำ้ ย พรอ้ มทงั้ แจ้งสถำนท่ีเกิดเหตุ เส้นทำงที่สะดวก ให้ผ้บู งั คบั บัญชำทรำบ 2.3.1.8 จดบนั ทึกวิธีกำรของคนรำ้ ยเพอ่ื ใช้เป็นขอ้ มลู ในกำรสืบสวน จับกุม วำงแผน ตรวจตรำ ป้องกนั และใหค้ ำแนะนำประชำชนเพื่อให้ระมดั ระวังป้องกัน ตนเอง 2.3.2 อุบัติเหตรุ ถชนกนั ใหป้ ฏบิ ตั ิตำม 2.3.1 ในส่วนท่เี ก่ยี วขอ้ ง และปฏบิ ตั ิ เพมิ่ เตมิ ดงั นี้

22 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เลอ่ื นไหลเปน็ ชั้นสญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2.3.2.1 สำยตรวจ 1 คน รีบจดั กำรจรำจรทต่ี ดิ ขดั ใหเ้ กดิ ควำม คล่องตัว 2.3.2.2 น ำคู่กรณีไปตกลงพูดคุยกันบนทำงเท้ำก่อนออกจำกจุด เกดิ เหตุ ถำ้ แยกรถออกไมไ่ ด้ใหท้ ำเคร่อื งหมำยสญั ญำณเทำ่ ที่จะทำได้ เพ่อื ให้ผู้ขับขีร่ ถคัน อน่ื มองเหน็ ไดใ้ นระยะไกล ถ้ำเป็นกรณแี ยกคู่กรณไี ดใ้ หจ้ ดั ทำเคร่ืองหมำยตำแหน่งของรถ ค่กู รณแี ละวัตถุพยำนไวใ้ ห้ชัดเจน จัดทำแผนท่ี โดยสังเขปไว้ ถ้ำมกี ลอ้ งให้ถ่ำยรูปไว้ 2.3.2.3 ถ้ำเปน็ กรณีชนแล้วหลบหนใี ห้สอบถำมพยำนบรเิ วณท่ีเกดิ เหตุ จดช่ือตวั ชือ่ สกุล ที่อยู่ หมำยเลขโทรศัพท์ของพยำนไว้ใหพ้ นกั งำนสอบสวน แลว้ แจ้ง ข้อมลู รำยละเอยี ดรถท่ี หลบหนใี ห้ศูนยว์ ิทยุเพอื่ สกัดจบั โดยเรว็ 2.3.2.4 ถ้ำรถที่เกิดอุบตั ิเหตอุ ยใู่ นสภำพทีไ่ มส่ ำมำรถเคล่อื นย้ำยรถ ได้ ใหแ้ จ้งศูนยว์ ิทยุเพ่อื แจง้ รถยกใหร้ บี มำดำเนินกำร 2.3.3 เหตเุ พลิงไหมใ้ หป้ ฏิบัตติ ำม 2.3.1 ในส่วนท่ีเกี่ยวขอ้ ง และปฏบิ ัติ เพิม่ เตมิ ดงั นี้ 2.3.3.1 สงั เกตกล่มุ ควัน คำดคะเนควำมรนุ แรงของเพลงิ ไหม้ ตรวจสอบ เส้นทำงท่ีจะเข้ำไปยังที่เกิดเหตุวำ่ เส้นทำงใดท่ีสะดวกแก่กำรดบั เพลิง ปิด กำรจรำจรเพ่อื ให้รถดับเพลงิ เข้ำไปได้ สะดวก และแจง้ ให้ศูนยว์ ทิ ยุทรำบเพอ่ื ประสำน หนว่ ยงำนดบั เพลงิ 2.3.3.2 ตรวจสอบว่ำมผี ู้ติดอยู่ในบริเวณท่ีเกิดเหตเุ พลงิ ไหมบ้ ้ำง หรอื ไม่ เพ่อื จะได้รีบหำทำงช่วยเหลอื ออกมำได้โดยปลอดภัย 2.3.3.3 สอบถำมหำเจ้ำของบำ้ น หรอื ผูด้ แู ลบ้ำนตน้ เพลงิ รวมทัง้ พยำนใน บำ้ นตน้ เพลงิ หรือพยำนท่ีเหน็ ต้นเพลิงเบ้ืองต้น จดช่อื ตัว ชื่อสกลุ ท่ีอยู่ หมำยเลข โทรศัพทไ์ ว้และนำตวั ไปมอบ ใหพ้ นักงำนสอบสวน 2.3.3.4 แนะนำประชำชน เจ้ำของ หรือผู้ดแู ลบำ้ นในกำรช่วยกัน ดบั เพลงิ 2.3.3.5 จดั กำรจรำจรอำนวยควำมสะดวก 2.3.3.6 ชว่ ยดูแลทรัพยส์ นิ ของประชำชนเพ่อื ป้องกนั มิใหผ้ อู้ ่นื ลัก ไป 2.3.3.7 เมือ่ เพลิงสงบให้อำนวยควำมสะดวกแก่รถดบั เพลิง กรณีท่ี จะถอน กำลงั ออกจำกที่เกิดเหตุ 2.3.4 พบวตั ถตุ อ้ งสงสยั หรือวัตถรุ ะเบดิ ใหป้ ฏบิ ตั ิตำม 2.3.1 ในส่วนท่ี เกยี่ วข้อง และ ปฏบิ ัตเิ พิม่ เตมิ ดงั นี้

23 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชั้นประทวน เลอื่ นไหลเปน็ ชัน้ สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2.3.4.1 แจง้ ศูนยว์ ทิ ยุเพ่ือใหแ้ จง้ ผู้ชำนำญเร่ืองกำรเกบ็ กู้วตั ถรุ ะเบิด มำ ดำเนินกำรโดยเรว็ ท้งั น้ี ควรแจง้ ขอ้ มูลที่สำคัญ เช่น ชนิดของระเบดิ เวลำทีค่ ำดว่ำ น่ำจะระเบดิ ควำมรนุ แรง ที่คำดวำ่ จะเกดิ ส่วนประกอบของวตั ถรุ ะเบดิ หรอื วตั ถตุ อ้ ง สงสัยท่ีเหน็ ได้จำกภำยนอก 2.3.4.2 อย่ำใชเ้ ครือ่ งมอื ส่ือสำรใกล้วตั ถุระเบิดหรือวัตถตุ ้องสงสัย เพรำะ วตั ถุระเบิดบำงชนิดจุดระเบดิ ดว้ ยคลน่ื ไฟฟำ้ 2.3.4.3 ถ้ำอยู่ในทอี่ บั เชน่ ในบ้ำนหรอื อำคำร ใหเ้ ปิดประตู หนำ้ ต่ำงเพอ่ื ลด ควำมรุนแรงหำกมีกำรระเบิด 2.3.4.4 อย่ำแตะต้องวัตถรุ ะเบดิ หรือวัตถุต้องสงสัย และหำ้ ม เคลอื่ นยำ้ ย โดยเด็ดขำด 2.3.4.5 จดั หำยำงรถยนต์มำวำงครอบไว้รอบวตั ถรุ ะเบดิ หรอื วัตถุ ตอ้ งสงสัย 3 – 4 ชนั้ เพอื่ เปน็ กำรลดควำมรนุ แรงเม่ือระเบิด 2.3.4.6 กันประชำชนใหอ้ อกห่ำงจำกวัตถรุ ะเบดิ หรือวตั ถุต้องสงสัย ให้มำก ท่สี ดุ 2.3.5 เหตุระเบิดให้ปฏบิ ัติตำม 2.3.1 ในสว่ นทเี่ กีย่ วข้อง และปฏิบัติ เพมิ่ เติม ดังน้ี 2.3.5.1 จดั พน้ื ท่ใี หน้ กั ข่ำว สื่อมวลชน ช่ำงภำพอยู่ในบรเิ วณที่ ปลอดภยั 2.3.5.2 สดับตรับฟังขำ่ วสำรจำกประชำชนที่มำดูเหตุกำรณ์วำ่ ผู้ใดรู้ เหน็ เหตกุ ำรณ์ทีจ่ ะเปน็ ประโยชน์ในกำรสบื สวนจบั กุม กใ็ หจ้ ดช่อื ตวั ชือ่ สกุล ที่อยู่ หมำยเลขโทรศัพทไ์ วส้ ง่ ให้ พนกั งำนสอบสวนเวร 2.3.5.3 กรณสี ถำนที่เกิดเหตุระเบิดเป็นสถำนทสี่ ำคัญหรอื บ้ำน บุคคลสำคญั และกำรระเบิดมไิ ด้เป็นอันตรำยต่อบคุ คลสำคญั ให้รีบเข้ำทำกำรรักษำควำม ปลอดภยั บุคคลสำคญั โดยขอกำลงั สนับสนนุ จำกหัวหน้ำสำยตรวจโดยเร็ว 2.3.6 เหตุพยำยำมฆ่ำตวั ตำยให้ปฏบิ ตั ติ ำม 2.3.1 ในสว่ นท่ีเกี่ยวขอ้ ง และ ปฏิบตั ิ เพมิ่ เตมิ ดงั น้ี 2.3.6.1 ระหว่ำงรอผู้บงั คับบญั ชำใหพ้ ยำยำมประวงิ เวลำผู้ทจ่ี ะฆำ่ ตวั ตำย หำข้อมูลเบอื้ งตน้ และสำเหตุทีจ่ ะฆ่ำตัวตำยเพื่อให้ผบู้ งั คบั บญั ชำไดท้ รำบ ห้ำมใช้ กริ ยิ ำวำจำอันเป็นกำรยวั่ ยุให้ รบี ตัดสนิ ใจฆ่ำตัวตำย 2.3.6.2 ไมค่ วรเข้ำช่วยเหลือผ้พู ยำยำมฆ่ำตวั ตำยโดยพลกำรอย่ำง เด็ดขำด

24 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจช้นั ประทวน เล่อื นไหลเปน็ ชัน้ สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2.3.6.3 กรณที ีผ่ ู้พยำยำมฆ่ำตวั ตำยกำลังลงมอื ทำร้ำยตัวเอง ให้ พจิ ำรณำเข้ำ ชว่ ยเหลือหรือขัดขวำง แตห่ ำกพิจำรณำแลว้ เห็นว่ำมอี ันตรำยต่อตำรวจและผู้ ที่จะฆำ่ ตวั ตำยดว้ ย ก็ให้รอ ผู้บงั คับบัญชำ 2.3.7 เหตจุ บั ตัวประกนั ให้ปฏบิ ตั ิตำม 2.3.1 ในส่วนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง และปฏบิ ัติ เพ่ิมเตมิ ดังนี้ 2.3.7.1 หำขอ้ มูลเบอื้ งตน้ จำกพยำนในที่เกิดเหตุว่ำตัวประกันเป็น ใคร จำนวนเทำ่ ใด อยู่ในสภำพอยำ่ งไร คนรำ้ ยเป็นใคร จำนวนเท่ำใด ควำมตอ้ งกำร อำวุธ ท่ีใช้ สถำนทีเ่ กิดเหตุเปน็ อย่ำงไร 2.3.7.2 หำ้ มใชก้ ริ ิยำวำจำอันเป็นกำรย่ัวยคุ นร้ำย 2.3.7.3 ไม่ควรตัดสินใจเขำ้ ชว่ ยตัวประกนั ด้วยตนเอง เว้นแตเ่ ห็น วำ่ ภยันตรำยนน้ั ใกล้จะถงึ ตัวประกนั ผอู้ ่ืนหรือเจ้ำหน้ำท่ีตำรวจ 2.3.7.4 ระหว่ำงท่ีรอผู้บังคบั บญั ชำใหเ้ จรจำพูดคยุ กับคนร้ำยและ พยำยำม ให้คนร้ำยและตวั ประกนั อยู่ในพน้ื ทจี่ ำกัดและห้ำมเคล่อื นที่ 2.3.7.5 กรณคี นร้ำยย่ืนขอ้ เสนอเรียกร้องขออำวุธและยำนพำหนะ หำ้ มสนบั สนุนโดยเด็ดขำด 2.3.7.6 ควบคมุ สถำนกำรณจ์ นกวำ่ ผู้บังคับบญั ชำจะเขำ้ มำสงั่ กำร แทน 2.3.7.7 กรณคี นรำ้ ยนำตัวประกนั เคลอ่ื นทีไ่ ป ให้ตดิ ตำม สังเกตกำรณ์และ รำยงำนศูนย์วิทยุทรำบเปน็ ระยะ 2.3.8 เหตุชมุ นุมประท้วงใหป้ ฏิบตั ิตำม 2.3.1 ในส่วนทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และ ปฏบิ ัติตำม เพ่ิมเติม ดงั น้ี 2.3.8.1 ขอให้ผู้ชุมนมุ อยใู่ นบรเิ วณที่เหมำะสม ไม่สร้ำงปัญหำด้ำน กำรจรำจร และควำมเดอื ดร้อนต่อผอู้ น่ื 2.3.8.2 หำกผูช้ ุมนุมมจี ำนวนมำกหรือมแี นวโนม้ จะกอ่ ควำมวุ่นวำย ให้รำยงำนผ้บู งั คบั บญั ชำเพือ่ ขอกำลงั สนับสนุน 2.3.8.3 ประสำนผดู้ ูแลหรอื เจ้ำของสถำนท่ที อ่ี ยู่ในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง สถำนท่ี ชุมนมุ ให้ดูแลสถำนทขี่ องตนเอง 2.3.8.4 ควบคุมสถำนกำรณจ์ นกวำ่ ผู้บังคบั บญั ชำจะเข้ำมำสงั่ กำร แทน

25 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เลอ่ื นไหลเปน็ ชัน้ สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวอยา่ งแบบรายงานต่าง ๆ เพอ่ื ให้กำรปฏิบตั งิ ำนสำยตรวจมรี ปู แบบท่ีสำมำรถจะควบคมุ ตรวจสอบ และประเมินผล กำรปฏบิ ตั ิ งำนใหเ้ ป็นไปในรปู แบบเดียวกนั มีกำหนดให้มแี บบกำรรำยงำนดังน้ี 1. แบบสรุปรำยงำนผลกำรปฏบิ ตั ขิ องสำยตรวจ 2. แบบรำยงำนผลกำรปฏิบัตขิ องสำยตรวจ 3. แบบบันทกึ ขอ้ มลู กำรตรวจเยี่ยมชุมชน 4. แผนกำรตรวจประจำวันของสำยตรวจ 5. แผนกำรตรวจของสำยตรวจ 6. แผนกำรตั้งจดุ ตรวจ 7. แบบสมุดพกประจำตวั ของสำยตรวจ 8. แบบสมดุ บันทกึ ประจำรถสำยตรวจ 9. แบบสมุดตรวจตูแ้ ดง 10. แบบบันทกึ กำรตรวจตู้แดง 11. แบบบันทึกกำรปฏิบัตขิ องสำยตรวจตำบล

26 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สตู ร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เลอ่ื นไหลเป็นชั้นสัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แบบสรปุ รายงานผลการปฏิบัตขิ องสายตรวจ สน./สภ. .............................. วนั ที่ ......... เดอื น ................ พ.ศ. 25....... เรียน รอง ผกก.ป. / สวป. สน./สภ. ................ กระผมไดอ้ อกปฏบิ ตั ิหน้ำท่ี ระหว่ำงเวลำ ........................... น. ถงึ เวลำ .......................................... น. ของวันที่ (.....................................) ขอสรปุ รำยงำนผลกำรปฏิบตั ขิ องสำยตรวจ เพื่อโปรดทรำบ ดงั น้ี 1. สำยตรวจปกติ นำยตำรวจ ................... นำย ช้นั ประทวน ......................... นำย จัดเป็นสำยตรวจรถยนต์ ...................... สำย สำยตรวจรถจักรยำนยนต์ ........................... สำย 2. สำยตรวจเสรมิ ระหว่ำงเวลำ ................... น. ถึงเวลำ ................... น. จำนวน ...................... นำย จดั เป็น สำยตรวจรถจกั รยำนยนต์ .................................. สำย 3. อำสำสมัคร ................. จำนวน ............... นำย ต้งั แต่เวลำ ................ น. ถงึ เวลำ .................... น. 4. จดั สำยตรวจประจำเขตตรวจ ดังนี้ 4.1 รถจกั รยำนยนต์ ........................................ ประจำเขตตรวจที่ ................................................. 4.2 รถจกั รยำนยนต์ ........................................ ประจำเขตตรวจที่ ................................................. 4.3 รถจักรยำนยนต์ ........................................ ประจำเขตตรวจที่ ................................................. 4.4 รถจักรยำนยนต์ ........................................ ประจำเขตตรวจท่ี ................................................. 4.5 รถจกั รยำนยนต์ ........................................ ประจำเขตตรวจท่ี ................................................. 5. รกั ษำควำมปลอดภัย 5.1 ขบวน .................................................................................. เวลำ ...................................... น. 5.2 ขบวน .................................................................................. เวลำ ...................................... น. 5.3 ขบวน .................................................................................. เวลำ ...................................... น. 6. รกั ษำควำมสงบเรียบร้อยกำรชมุ นุม 6.1 กลมุ่ .......................................... ณ บรเิ วณ .................................. เวลำ ............................ น. 6.2 กลุม่ .......................................... ณ บรเิ วณ .................................. เวลำ ............................ น. 6.3 กลุ่ม .......................................... ณ บรเิ วณ .................................. เวลำ ............................ น.

27 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เลอ่ื นไหลเปน็ ช้ันสญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 7. เยีย่ มเยยี นประชำชน ลำดับ ผรู้ ับกำรเย่ียมเยียน ทอ่ี ยู่ หมำยเลขโทรศัพท์ ข้อมลู ท่ไี ดร้ บั 1. 2. 3. 8. กำรตรวจสัมพนั ธ์ มดี งั นี้ สถำนที่ เวลำ ลงช่ือผู้ที่ได้รับกำรตรวจสัมพนั ธ์ ลำดบั ตรวจสัมพันธ์กบั ผใู้ ด 1. 2. 3. 9. กำรระงบั เหตุ-จับกุม สถำนทเ่ี กิดเหตุ ผลกำรปฏบิ ัติ ลำดบั ขอ้ หำ 1. 2. 3. 10. ตั้งจดุ ตรวจค้น ดังนี้ เวลำ/สถำนท่ี ผลกำรปฏบิ ัติ ลำดบั กำลังพล/ว.43 10.00-10.30 ซอยรำชวิถี 16 1. 2. 3. 5 นำย/เคลอื่ นท่ี ขอรับรองว่ำเป็นควำมจริง (ลงช่อื ) ร.ต.ต. (...................................................) รอง สวป.สภ. ............... / หวั หน้ำสำยตรวจ

28 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สตู ร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เล่ือนไหลเป็นชั้นสัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แบบรายงานผลการปฏบิ ตั ิของสายตรวจ สน./สภ. ......................................... วนั ท่ี ................... เดอื น .................... พ.ศ. 25......... เรียน สวป.สภ. ......................................... (ผ่ำน หน.ชุดสำยตรวจ) กระผมผู้มรี ำยช่ือท้ำยบันทึกน้ีไดร้ ว่ มกันออกตรวจท้องท่ี ในเขตตรวจท่ี ………..ระหว่ำงเวลำ ........... น. ถงึ เวลำ ............... น. ของวันน้ี (................) ตำมคำสง่ั แลว้ ขอรำยงำนผลกำรปฏบิ ตั ิเพื่อโปรดทรำบ ดังนี้ 1.กำรรบั แจง้ เหตุ-จับกุม ลำดบั ขอ้ หำ สถำนทีเ่ กดิ เหตุ ผลกำรปฏบิ ัติ 1. 2. 2.กำรประชำสัมพันธ์ พบปะเย่ยี มเยยี นประชำชน ดังน้ี ลำดบั ผู้รับกำรเย่ียมเยยี น ท่ีอยู่ หมำยเลขโทรศัพท์ ข้อมูลท่ีได้รับ 1. 2. 3. กำรตรวจคน้ บุคคล และยำนพำหนะต้องสงสัย ดงั นี้ ลำดบั ชื่อผถู้ กู ตรวจค้น ท่อี ยู่/หมำยเลขทะเบยี น จุดทต่ี รวจคน้ ผลกำรตรวจค้น 1. 2. 4. กำรตรวจสมั พันธก์ ับสำยตรวจอนื่ ดังน้ี ลำดบั ตรวจสัมพันธก์ บั ผ้ใู ด สถำนท่ี เวลำ ลงชอื่ ผูท้ ไ่ี ดร้ ับกำรตรวจ 1. 2. 5. ข้อมลู ท่ีควรทรำบ ลำดบั รำยละเอยี ด หมำยเหตุ 1. 2. ขอรบั รองวำ่ เป็นควำมจริง (ลงชอ่ื ) ส.ต.ท. (ลงช่ือ) จ.ส.ต. (............................................) ผบ.หมู่ (ปป) สภ. ................... (............................................) ผบ.หมู่ (ปป) สภ. ................... สำยตรวจ นำมเรยี กขำน .......................

29 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เลือ่ นไหลเปน็ ช้ันสัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แบบบันทกึ ขอ้ มลู การตรวจเย่ยี มชมุ ชน ชุมชน/หมบู่ ้ำน .................................................................................. สน./สภ. .............................................. 1. ช่ือผตู้ รวจเย่ียม ยศ-ช่ือ - ชอื่ สกลุ ............................................... ตำแหนง่ .......................................... 2. สถำนท่ีตรวจเย่ยี ม เลขท่ี ............. หม่ทู ่ี .............. ตรอก/ซอย ...................... ถนน ............................ ตำบล ................... อำเภอ ........................ จงั หวัด ................................... โทร. ................................. ชมุ ชนจดทะเบยี น ยังไมไ่ ด้จดทะเบียน มีกรรมกำรชมุ ชน ยงั ไมม่ กี รรมกำรชุมชน 3. ข้อมลู ผรู้ ับกำรตรวจเยย่ี ม 3.1 พบ เจำ้ ของบำ้ น บคุ คลในครอบครัว ผดู้ แู ลชือ่ ................................................... อำยุ .............. ปี อำชพี ......................... สถำนที่ทำงำน .................................... โทร. .......................................... 3.2 ผอู้ ำศัยอยู่ในบริเวณบ้ำน จำนวน ............ คน เปน็ ชำย ............... คน เป็นหญงิ ..................... คน เก่ยี วข้องเป็น บดิ ำ มำรดำ ปู่ ย่ำ ตำ ยำย ลุง ปำ้ น้ำ อำ บตุ ร.............คน หลำน............คน ผู้อำศยั ................คน คนรับใช้...............คน พนักงำน..............คน อ่นื ๆ....................คน 4. พ้นื ท่ชี มุ ชนเปน็ พ้ืนท่พี กั อำศยั พนื้ ทีเ่ กษตรกรรม พื้นท่เี ขตอุตสำหกรรม กึ่งทพี่ ัก/เกษตรกรรม พืน้ ทีเ่ ขตย่ำนกำรคำ้ ศูนยร์ ำชกำร อนื่ ๆ (ระบุ) ............................................ 5. ประเภทของยำเสพติดที่แพรร่ ะบำดในชุมชน ไมม่ ียำเสพตดิ มียำเสพตดิ ยำบ้ำ เฮโรอนี ยำอี กัญชำ อน่ื ๆ (ระบ)ุ ......................... 6. ระดับควำมรุนแรงของปัญหำกำรแพร่ระบำดของยำเสพตดิ ในชมุ ชน รุนแรง ปำนกลำง เบำบำง ไมม่ ี 7. หน่วยงำนสำคญั ทต่ี ัง้ อยใู่ นพ้ืนท่ี โรงเรียน ......................... แห่ง วดั .............................. แห่ง ครสิ ตจักร ....................... แหง่ สุเหรำ่ ......................... แหง่ หนว่ ยรำชกำร ................ แห่ง รัฐวิสำหกจิ ................. แหง่ 8. กำรประชุมรบั ฟงั ควำมคิดเหน็ /กำรแก้ปญั หำชมุ ชนในปปี จั จบุ ัน มีกำรประชมุ ............... ครั้ง ไมม่ กี ำรประชมุ 9. ระดับควำมพงึ พอใจกำรปฏิบตั งิ ำนของสถำนีตำรวจในกำรแกป้ ญั หำกำรแพรร่ ะบำดของยำเสพตดิ ใน ชุมชน มำก ปำนกลำง น้อย ไมพ่ อใจ 10. ท่ำนเคยร่วมกจิ กรรมกบั สถำนีตำรวจหรอื ไม่ ไม่เคย เคย ................ ครงั้ อบรมสมำชิกแจง้ ขำ่ วอำชญำกรรม .........................ครั้ง อบรมตำรวจบ้ำน ....................................................คร้งั อบรมกำรป้องกันแก้ไขปญั หำยำเสพตดิ ในชมุ ชน ....ครัง้ อบรมโครงกำร 3 ประสำนตำ้ นภัยอำชญำกรรม .....ครั้ง เป็น กต.ตร. ของสถำนีต ำรวจ ................................ครง้ั อบรมอื่น ๆ (ระบ)ุ ...................................................ครั้ง 11. สถำนีตำรวจเคยรำยงำนหรือแจง้ ผลเกยี่ วกบั กำรปฏบิ ตั ิงำนแตล่ ะเดอื นให้ชมุ ชนทรำบ หรือไม่ ไมเ่ คย เคย ................ คร้ัง โดยกำรติดประกำศในชมุ ชน แจกแผ่นปลวิ – แผน่ ผับ แจง้ ในท่ปี ระชมุ ประจำเดือน ของสำนักงำนเขต อ่ืน ๆ (ระบุ) ............................................................คร้งั

30 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจช้ันประทวน เลือ่ นไหลเปน็ ช้ันสญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 12. ในกำรไปตรวจเยย่ี มเจำ้ หนำ้ ทต่ี ำรวจ ไดแ้ จกเอกสำรเกยี่ วกบั ไมไ่ ด้แจก แจก คำแนะนำในกำรป้องกนั ปรำบปรำมอำชญำกรรม คำแนะนำในกำรป้องกันปรำบปรำมยำเสพติด คำแนะนำในกำรแจ้งข้อมลู ขำ่ วสำรเกย่ี วกับอำชญำกรรม อำชญำกรรม อบำยมุข ยำเสพตดิ ผูม้ อี ทิ ธิพล เด็ก-เยำวชนกระทำผดิ คำแนะนำในกำรตดิ ตอ่ รำชกำร อ่นื ๆ (ระบุ)............................................................ 13. ระดับควำมพึงพอใจกำรปฏิบตั ิงำนของสถำนตี ำรวจในกำรแก้ไขปญั หำอำชญำกรรมในชุมชน มำก ปำนกลำง นอ้ ย ไมพ่ อใจ 14. ประเภทของอำชญำกรรมท่เี กดิ ข้ึนเปน็ ประจำในชมุ ชน ประทษุ ร้ำยตอ่ ทรัพย์ (ลัก วิง่ ชงิ ปล้น) ทะเลำะวิวำท ก่อควำมเดอื ดร้อนรำคำญ ทำร้ำยรำ่ งกำย อ่ืน ๆ (ระบ)ุ 15. ปญั หำสำคญั ของชมุ ชนที่ต้องกำรใหต้ ำรวจดำเนนิ กำร........................................................................ 16. ขอ้ เสนอแนะ ...................................................................................................................................... ข้อมลู ณ วันท่ี ............... เดอื น ............................ พ.ศ. 25............ (ลงชอื่ ) ........................................................ ผูร้ ับกำรตรวจเยยี่ ม

31 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชั้นประทวน เลอ่ื นไหลเปน็ ชน้ั สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แผนการตรวจประจาวนั ของสายตรวจ สน./สภ. ........................... ผลดั ตรวจท่ี .................... ระหว่ำงเวลำ ....................... ของวันที่ .......................................................... ประเภทของสายตรวจ ............................... นำมเรียกขำน .................................. /เขตตรวจท่ี .......... การปฏิบตั ิ สถานท่ี เวลา หมายเหตุ ว.10 1............................................................................ 2............................................................................ 3............................................................................ 4............................................................................ ว.43 1............................................................................ 2............................................................................ กำรตรวจสมั พนั ธ์ 1............................................................................ กับ..................... 2............................................................................ กบั ..................... กบั ..................... จดุ กำ้ วสกัด (ลงช่ือ) พ.ต.ท. (...................................................) สวป.สภ. ........................................

32 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เลอ่ื นไหลเป็นชั้นสัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แผนการตรวจของสายตรวจ สน./สภ. ................................... ผลัดตรวจที่ 1 เวลำ 00.01-08.00 น. ระหวำ่ งวนั ที่ ............ เดอื น ...................... พ.ศ. 25 ............... สำยตรวจ กำรประกอบกำลงั ชว่ งเวลำ กำรปฏบิ ตั ิ หมำยเหตุ 23.30-24.00 20 ตรวจอุปกรณ์ เครือ่ งแตง่ กำย ยำนพำหนะ ตรวจทั่วไป 00.01-01.20 อบรม ปล่อยแถวสำยตรวจและบนั ทกึ ตำ่ งๆ จยย. 2 นำย 03.00-04.00 ตรวจสอบหอ้ งควบคุม/เจำ้ หนำ้ ทบี่ น สภ. เขตรวจที่ 1 04.01-05.00 ยำมตู้และจดุ รับแจง้ 05.01-08.00 ว.4 ตรวจสอบสถำนบรกิ ำร จยย. 08.00-08.30 ต้งั จดุ ว.43 เขตตรวจท่ี 2 ว.10 ปอ้ งกันเหตุ ตำมควำมเหมำะสม ว.4 จยย. 00.01-01.20 สุม่ ตรวจสอบและร่วมปฏบิ ตั กิ บั สำย ตรวจ เขตตรวจที่ 3 01.20-01.30 เกบ็ รวบรวมผลกำรตรวจและบันทกึ ในสมุด 01.40-02.30 อำชญำกรรม 03.00-04.00 04.45-04.55 เปลย่ี นสมุดตแู้ ดงในเขต 06.50-07.00 ว.10 จดุ ตรวจ 02 น.1 07.45-08.15 ว.4 สถำนบริกำร ต้ังจดุ ว.43 ถนน ................................. ว.10 ปัม๊ น้ำมัน ปตท. ถนน ................. ว.10 รำ้ นเซเว่น-อเี ลฟเว่น ถนน ......... ว.10 หน้ำตลำด ตรวจแลว้ ถูกต้อง พ.ต.ท. (...................................) รอง ผกก.ป.สภ. .................... ......... เดือน .............. พ.ศ. 25.......

33 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชัน้ ประทวน เล่ือนไหลเป็นชัน้ สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวอยา่ ง แผนการตรวจของสายตรวจ สน./สภ. ................. วนั ท่ี ............ เดือน ............. พ.ศ.2557 ประเภทสายตรวจ ................. เขตตรวจท่ี ...................... ผลดั ท่ี ................... เวลา .................... น. ถึงเวลา ...................... น. ประเภทสำยตรวจ กำรประกอบกำลงั ช่วงเวลำ เส้นทำงหรอื ท่ีตง้ั จุด หมำยเหตุ ตรวจ (ลงชอ่ื )........................ สภ. ........................... ........../.........../........... ส่ิงทีค่ วรปฏบิ ัติในกำรกำหนดแผนตรวจ 1. เปล่ียนแผนกำรตรวจทกุ 7 วนั ให้ตรงกบั สภำพของอำชญำกรรมท่เี กิดขึ้นในท้องท่ี 2. ต้องกำหนดใหส้ ำยตรวจทกุ คนั ปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1) ใน 1 ผลดั ต้องกำหนดใหส้ ำยตรวจแต่ละคัน ว.10 ในจดุ มีกำหนดไม่นอ้ ยกวำ่ 3 คร้งั ๆ ละ 20-30 นำที แสดงให้ ปรำกฏแก่ประชำชนโดยมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อเปน็ จดุ ตรวจค้นกำรตรวจสอบ ของผบู้ ังคับบัญชำ 2) ใหก้ ำหนดจุดกำ้ วสกัดไว้ในแผนกำรตรวจของสำยตรวจแตล่ ะคันหำข่ำวด้วย เพอ่ื ให้ ทรำบว่ำ เม่ือมีค ำสง่ั กำ้ วสกดั จับ 3) ใหก้ ำหนดถนนทใ่ี หส้ ำยตรวจแต่ละคนั หำขำ่ ว เพอ่ื ใหท้ รำบว่ำ ในผลดั ท่ีออกตรวจนั้น มีหนำ้ ทต่ี ้องหำข่ำว อำชญำกรรม และเย่ียมเยียนประชำชนในถนนใดบำ้ ง เพอ่ื นำผลไปลงไว้ในรำยงำนผล กำรตรวจหลักฐำนเสรจ็ สิน้ กำรตรวจใน ผลดั นั้นแล้ว (ควรกำหนดถนนท่ีหำขำ่ วเยยี่ มเยยี นเรยี งตำมลำดบั ควำมสำคญั แลว้ กำหนดให้สำยตรวจปฏิบตั เิ รียงกนั ไปจนครบ ทุกถนนจะทำใหไ้ ดข้ ้อมลู ท่ัวท้องทอ่ี ย่ำงตอ่ เนือ่ ง) 4) ใหก้ ำหนดจุดทีจ่ ะใหส้ ำยตรวจแตล่ ะสำย ว.10 ในกรณฝี นตกหรอื เหตุอ่ืนทไี่ มอ่ ำจ ตรวจตรำตำมปกตไิ ด้ ไวใ้ น แผนกำรตรวจด้วย 5) แผนกำรตรวจใหจ้ ดั ทำเป็น 4 ชุด ชดุ ที่ 1 เข้ำแฟม้ วำงไวก้ ับแฟม้ ภำรกิจหัวหนำ้ สำยตรวจ/ชุดท่ี 2 มอบให้หวั หนำ้ สำยตรวจเพอ่ื น ำตดิ ตัวไวเ้ ป็นเครอื่ งมอื ตรวจสอบ/ชุดท่ี 3 มอบให้สำยตรวจ ถอื ไวเ้ พอ่ื ทรำบภำรกจิ ของตน ชุดที่ 4 เกบ็ ไวส้ มดุ ตรวจนำยตำรวจชนั้ ผ้ใู หญท่ ี่ สภ. เพ่อื ใช้ตรวจสอบ

34 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เลื่อนไหลเป็นชัน้ สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวอยา่ ง แผนการต้งั จดุ ตรวจ ของสายตรวจ สน./สภ ................... วนั ที่ ............ เดือน ............. พ.ศ.2561 เขตตรวจที่ .................... ผลดั ท่ี .................... เวลา ..................... น. ถึงเวลา ....................... น. วนั เดอื น ปี เวลา สถานที่ กาลงั ทใ่ี ช/้ สัญญาณเรียก ผู้ควบคุม พ.ต.ท. ........................ สวป.สภ. ...................... ....../............... ส่ิงท่คี วรปฏบิ ัตใิ นกำรกำหนดแผนต้ังจุดตรวจคน้ 1. ควรยดึ หลักในกำรกำหนดแผน ดงั นี้ (1) ใหก้ ำหนดแผนคร้งั ละ 10-15 วนั ตดิ ต่อกนั (2) สถำนท่ี-เวลำ ต้ังจดุ ตรวจค้นแตล่ ะวนั ไมซ่ ้ำกนั (3) ชว่ งเวลำ-สถำนที่ ตำมขอ้ (2) ตอ้ งเลง็ เห็นอย่ำงถ่องแท้แลว้ วำ่ เปน็ ผลตอ่ กำรป้องกนั ปรำบปรำม อำชญำกรรมและไม่จำเปน็ ตอ้ งเปน็ ถนนใหญ่เสมอไป (4) กำรตั้งจดุ ตรวจคน้ ไมค่ วรใชเ้ วลำเกนิ 1 ชว่ั โมง 2. แผนกำรต้งั จดุ ตรวจค้น ให้ทำเป็น 4 ชดุ (1) ชดุ ท่ี 1 ใหใ้ ส่รวมไว้ในแฟม้ แผนกำรตรวจประจำวันของสำยตรวจ (2) ชุดที่ 2 ใหห้ ัวหน้ำสำยตรวจถอื ไว้เพือ่ ทรำบภำรกจิ (3) ชดุ ที่ 3 มอบให้สำยตรวจทมี่ ีหนำ้ ท่ีตั้งจดุ ตรวจค้นเพ่อื ทรำบภำรกิจ (4) ชดุ ที่ 4 เก็บไว้ในสมดุ ตรวจนำยตำรวจชนั้ ผูใ้ หญท่ ี่ สภ. 3. พิจำรณำใชก้ ำลงั ใหเ้ หมำะกับลกั ษณะของสถำนที่ 4. ควรกำหนดถนนทีต่ ้ังจุดตรวจคน้ ไวเ้ รยี งตำมลำดับ ควำมสำคญั ของถนนแลว้ เวยี นต้งั จุดตรวจคน้ ให้ ทวั่ ทุกถนน เพอื่ ให้ปฏิบัติทวั่ ท้องที่ เวน้ กำรกำหนดแผนต้งั จดุ ตรวจคน้ เฉพำะกจิ เพอื่ ป้องกนั เหตเุ ฉพำะเรือ่ งใน ชว่ งเวลำใดเวลำหนง่ึ

35 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจช้นั ประทวน เล่อื นไหลเป็นช้นั สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวอย่าง สมุดพกประจาตัวสายตรวจ (ขนำด 8.5X10.5 ซม.) (ปกหนำ้ ) สมุดพกประจำตัวสำยตรวจ สถำนตี ำรวจ..................... ตำรวจภูธรจงั หวัด............. ยศ ช่ือ นำมสกลุ .................................... รหัสวทิ ย.ุ ............................................... (รำยละเอยี ดด้ำนใน) วนั เดือน ปี รำยงำนกำรปฏิบัต,ิ ขอ้ มูล หมำยเหตุ วัน เดอื น ปี รำยงำนกำรปฏบิ ตั ,ิ ขอ้ มูล หมำยเหตุ

36 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สตู ร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชั้นประทวน เล่ือนไหลเปน็ ช้ันสัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวอยา่ ง สมุดบนั ทกึ ประจารถสายตรวจ (ขนำด30X21 ซม./A4) (ปกหน้ำ) สมดุ ประจำรถสำยตรวจ คนั ................. สถำนีตำรวจ..................... ตำรวจภูธรจงั หวดั ............. รหสั ................................... วัน เดือน ปี เหตทุ เ่ี กิด/ ผ ล ก ำ ร (รำยละเอยี ดดำ้ นใน) หมำยเหตุ เวลำ สถำนกำรณ์ ปฏบิ ัติ หมำยเหตุ วนั เดอื น ปี เหตทุ ีเ่ กิด/ ผ ล ก ำ ร เวลำ สถำนกำรณ์ ปฏิบตั ิ

37 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสตู ร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชั้นประทวน เล่อื นไหลเปน็ ช้นั สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตวั อย่าง สมดุ บนั ทึกประจารถสายตรวจ (ปกหลังดำ้ นใน) คาอธิบาย 1. ใหผ้ ู้ทีป่ ฏิบตั หิ นำ้ ที่ประจำรถสำยตรวจเปน็ ผ้บู นั ทกึ ข้อมลู ของเหตุทีเ่ กิดระหวำ่ งปฏบิ ัตหิ นำ้ ท่ี ทุกผลดั 2. ใหบ้ ันทึกทุกรำยละเอียดของเหตุท่ีเกิดขนึ้ ในพ้ืนทีร่ บั ผิดชอบและพ้ืนท่ีรบั ผดิ ชอบและพนื้ ที่ ขำ้ งเคยี งท่สี ำคัญ รวมทั้งข้อมูลที่ไดร้ บั ทรำบจำกบคุ คลหรอื เครื่องมือสื่อสำรทุกประเภท 3. ชอ่ งหมำยเหตุ (1) สำหรบั บนั ทกึ ข้อมูลเพ่ิมเติมทผ่ี ู้บังคบั บัญชำและเจำ้ หน้ำที่ผลัดตอ่ ไปควรทรำบ (2) สำหรบั ผู้บงั คับบญั ชำบนั ทึกข้อสั่งกำรต่ำง ๆ 4. ใหม้ ีกำรส่งมอบสมุดบนั ทึกประจำรถสำยตรวจทุกครัง้ ท่เี ปล่ียนผลดั และหำกพบควำม

38 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชั้นประทวน เลอ่ื นไหลเปน็ ชัน้ สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตวั อย่าง (ปกสมดุ ตรวจตแู้ ดง) เลขท.่ี ..... จดุ ตรวจท่ี ............................. เขตตรวจที่ ........................... สถานีตารวจ ......................... กองบังคบั การ ....................... เหตุด่วนเหตรุ ้าย หมายเหตุ 1. ขนาดสมดุ ตรวจตูแ้ ดงให้ใชข้ นาด “7X5 1/2” 2. ปกของสมุดตรวจตู้แดงใหใ้ ช้สีนา้ ตาล ตวั หนังสอื ดา 3. สมดุ ตรวจตแู้ ดง 1 เล่ม ใหม้ จี านวน 100 หน้า (50แผ่น) 4. ใบบันทกึ การตรวจให้พิมพด์ ว้ ยกระดาษขาว ตัวหนังสือและเสน้ สีดา

39 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เลื่อนไหลเปน็ ช้ันสัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวอย่าง (ปกหลงั สมดุ ตรวจตู้แดง) คาอธิบาย 1. เหตุด่วน – เหตรุ ้ำย โทร ............. ให้ระบุโทรศพั ท์ของศูนยว์ ทิ ยปุ ระจำ สน/สภ. ที่สำมำรถตดิ ต่อได้ อยำ่ งรวดเรว็ และมีเจ้ำหนำ้ ท่ีเวรรับโทรศัพทต์ ลอด 24 ชว่ั โมง 2. ช่อื ผตู้ รวจใหเ้ ขยี น ยศ ช่อื สกลุ ในชอ่ งผูต้ รวจดว้ ยตัวบรรจงและตอ้ งเขยี นด้วยลำยมือชือ่ ของ ตนเอง ทุกคร้งั 3. “ช่องหมำยเหตุ” 3.1 สำหรับแจ้งเหตุขัดข้องท่ีสำยตรวจไม่สำมำรถไปตรวจตู้แดงไดต้ ำมวงรอบของกำรตรวจ 3.2 สำหรบั ผบู้ งั คบั บัญชำทตี่ รวจพบเหตุพเิ ศษหรอื ข้อบกพรอ่ ง 4. “ชอ่ งรหัส” ให้ใส่นำมเรียกขำนทำงวิทยุหรือรหัสประจำตวั รถสำยตรวจ 5. เมือ่ เรม่ิ ผลัดใหม่ให้เขยี นเวลำของผลดั ใหมน่ ัน้ ไวก้ ลำงหน้ำกระดำษทุกครั้ง 6. กำรบันทึกใหเ้ รียงลำดับจำก 1 และเม่ือเริ่มผลดั ใหม่ให้เริ่มลำดับที่ 1 ใหม่ทุกผลัด

40 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝกึ อบรมขา้ ราชตารวจชนั้ ประทวน เลอ่ื นไหลเปน็ ชัน้ สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตวั อย่าง บนั ทกึ การตรวจตูแ้ ดง ลำดบั วัน เดือน ปี/เวลำ ยศ ชอ่ื สกุล ลำยมือชอื่ รหัส หมำยเหตุ ผ้ตู รวจ

41 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจช้นั ประทวน เลอ่ื นไหลเปน็ ช้นั สญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวอย่าง สมุดบันทกึ การปฏบิ ตั ิของสายตรวจตาบล (ขนาดสมดุ เบอร์ 2 (สีนา้ เงนิ )) (ปกหนา้ ) เลขที.่ ............ สมุดบนั ทึกกำรปฏิบตั ิของสำยตรวจตำบล สถำนท่ี ....................................................... เล่มที่ .......................................................... ต้งั แตว่ ันที่ ............. เดอื น ............. พ.ศ. ...... ถึงวันท่ี ................. เดือน ............. พ.ศ. ...... หมำยเหตุ 1. ขนำดสมุดเบอร์ 2 (สีน้ำเงิน) 2. ปกให้ใช้กระดำษแขง็ สนี ้ำตำล ตวั หนังสอื และเส้นสดี ำ 3. สมดุ 1 เลม่ มีจำนวน 160 หน้ำ (80แผ่น) ปกหลังดำ้ นใน สมดุ บันทึกกำรปฏิบตั ขิ องสำยตรวจตำบล คาแนะนา 1. กำรบนั ทึกให้เร่ิมเลขลำดับท่ี 1 ตั้งแต่ 00.01 น. ของแต่ละวัน และเม่ือขนึ้ วนั ใหมใ่ ห้เร่ิม เลขลำดบั ที่ 1 ใหม่ 2. ใหเ้ ขียน ยศ ชือ่ สกุล ด้วยตัวบรรจงชัดเจน 3. หำ้ มเขยี นเวน้ บรรทัด คำอธิบำย (1) เจำ้ หนำ้ ทส่ี ำยตรวจตำบลในผลัดทีร่ ่วมตรวจดว้ ยทุกนำย (2) เหตกุ ำรณ์ท่ีพบหรือรำยละเอียดโดยสงั เขปเกย่ี วกบั กำรประชุมในหมู่บำ้ น/ตำบล ท่ีไปตรวจ หำกไม่ มเี หตุกำรณ์พิเศษให้ใส “ปกต”ิ (3) ลำยมือชื่อผใู้ หญ่บำ้ นในหมู่บำ้ นท่ไี ปตรวจ (4) ลำยมือชื่อกำนันในตำบลทไ่ี ปตรวจ (5) ลำยมอื ชื่อลูกบำ้ นในหม่บู ้ำนหรอื ตำบลน้นั ๆ หำกมตี ำแหนง่ อ่นื ให้ระบใุ หช้ ดั เจนดว้ ย (6) ลำยมือช่ือเจ้ำหน้ำทีส่ ำยตรวจตำบลในผลดั ท่รี ว่ มตรวจทุกนำย

42 เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชัน้ ประทวน เลื่อนไหลเป็นชั้นสญั ญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวอยา่ ง สานักงานตารวจแหง่ ชาติ บันทกึ การปฏบิ ัติของสายตรวจตาบล สภ. ....................................... ภ.จว. ..................................................... ภ.2 เลข วนั เดือน ปี เวลำ กำรปฏบิ ตั ิ หมำยเหตุ ลำดบั ข้ำฯ ............................ ตำแหน่ง..................... สงั กัด ......................... พรอ้ มด้วย ................. ....................................................................... ....................................................................... ได้มำตรวจที่ .............. หมู่ ........... ตำบล ........ อำเภอ ......................... จังหวัด ...................... พบเหตุกำรณ์ .................................................. ........................................................................ ........................................................................ จงึ ได้ร่วมกันลงลำยมือชื่อไวเ้ ป็นหลกั ฐำน ลงชื่อ ........... ผใู้ หญ่บ้ำน หมู่ ....................... ลงชื่อ ............ กำนัน ตำบล ........................ ลงชอื่ ..................... สำยตรวจตำบล/บนั ทึก .............................................สำยตรวจตำบล .............................................สำยตรวจตำบล

43 เอกสารประกอบการบรรยาย หลกั สูตร การฝึกอบรมขา้ ราชตารวจชน้ั ประทวน เลื่อนไหลเป็นชนั้ สัญญาบตั รฯ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- บรรณานุกรม สำนกั งำนตำรวจแหง่ ชำติ. (2553). คู่มอื การปฏิบตั งิ านของตารวจสายตรวจ. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พต์ ำรวจ. สำนกั งำนตำรวจแหง่ ชำติ. (2556). คูม่ อื การบริหารงานป้องกันปราบปราม อาชญากรรม. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ ตำรวจ. สำนกั งำนตำรวจแหง่ ชำต.ิ (2557). คูม่ ือการฝึกอบรมข้าราชการตารวจท่ปี ฏิบตั ิ หน้าท่งี านปอ้ งกัน ปราบปรามในสถานีตารวจ. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ตำรวจ. สำนกั งำนตำรวจแหง่ ชำติ. (2559). คู่มือการปฏบิ ัติมาตรฐานสาหรับเจา้ หน้าท่ตี ารวจ สายตรวจและ เจ้าหนา้ ที่ตารวจผูป้ ระสบเหตุ 2559. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพต์ ำรวจ.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook