Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2554

รายงานประจำปี 2554

Published by Pratoomporn Weerasuk, 2015-08-25 04:26:12

Description: aniversary2554

Keywords: รายงานประจำปี

Search

Read the Text Version

รายงานประจําปี 2554สํานักหอสมดุ มหาวทิ ยาลัยบรู พา

๒ คาํ นํา รายงานประจาํ ปี ๒๕๕4 สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ฉบับน้ี จดั ทาํ ขึ้นโดยรวบรวมผลการดาํ เนินงานในรอบปีงบประมาณ ๒๕๕4 (ตลุ าคม ๒๕๕3 - กันยายน ๒๕๕4) โดยสรปุ ขอ้ มูลประวตั ิความเปน็ มา การแบง่ ส่วนราชการ อัตรากําลงั งบประมาณ และสถิตติ า่ ง ๆ เกยี่ วกับการให้บริการรวมท้ังกิจกรรมทีไ่ ด้ดําเนินการในรอบปีทีผ่ า่ นมา เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ภาพรวมในการดําเนนิ งานของสํานักหอสมดุ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ขอขอบคณุ ผูเ้ กย่ี วข้องทุกฝา่ ยฯ ท่ีไดใ้ หค้ วามร่วมมอื ในการให้ข้อมลู ทําใหร้ ายงานประจําปีฉบบั น้ีสําเรจ็ ลลุ ่วงได้ด้วยดี และหากการจัดทาํ รายงานฉบบั นี้มขี อ้ บกพร่องในสว่ นใดกรณุ าให้ขอ้ เสนอแนะเพอื่ ปรับปรงุ แก้ไขในแนวทางท่ดี ีข้ึน อนั จะเปน็ ประโยชน์สาํ หรับในการจดั ทํารายงานประจําปขี องสํานกั หอสมดุ ตอ่ ไป สาํ นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั บูรพา พฤศจิกายน ๒๕๕4

๓ สารบญัเรอื่ ง หนา้ประวัติความเปน็ มา ....................................................................................................................... 1โครงสร้างองค์กร ............................................................................................................................ 3โครงสร้างการบริหารงานของสว่ นงาน ........................................................................................... 4บคุ ลากรของส่วนงาน ..................................................................................................................... 5งบประมาณ..................................................................................................................................... 6แผนทที่ างยทุ ธศาสตร์ ..................................................................................................................... 7กรรมบรหิ าร.................................................................................................................................... 8ทรัพยากรสารสนเทศ ...................................................................................................................... 9บุคลากรดีเดน่ .................................................................................................................................. 11การพัฒนาบคุ ลากร ......................................................................................................................... 12การประกันคณุ ภาพการศึกษา......................................................................................................... 25การบรกิ ารวิชาการแก่สังคม............................................................................................................ 41

๔สาํ นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลัยบรู พาประวตั ิความเป็นมา สํานักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยบูรพา เปน็ ส่วนงานสง่ เสริมวชิ าการของมหาวิทยาลยั ทาํ หน้าที่เปน็ ศูนยบ์ รกิ ารสารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษา คน้ ควา้ และวิจยั พฒั นามาจากห้องอา่ นหนังสอื ซ่ึงเปดิ บริการคร้ังแรกเมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ โดยใชห้ ้องเลขที่ ๒๐๓ ในอาคารเรียนของวิทยาลยั วิชาการศึกษาบางแสน ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ หอ้ งสมดุ ไดย้ า้ ยมาอยอู่ าคารอาํ นวยการ โดยใชห้ อ้ งช้ันลา่ งของอาคารเป็นทป่ี ฏิบตั งิ านจนถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ วิทยาลยั ไดส้ ร้างอาคารเรียนหลังใหมเ่ สรจ็ เรียบรอ้ ยห้องสมุดได้ย้ายอกี ครง้ั มาอยใู่ นห้องโถงชน้ั ล่างของอาคารเรียนด้านหน่ึง จนกระทง่ั ปี พ.ศ. ๒๕๑๖วทิ ยาลยั ได้งบประมาณก่อสร้างอาคารหอสมดุ เป็นเอกเทศ มีลักษณะเป็นอาคาร ๒ ชน้ั และเปิดใช้เมื่อวนั ที่ ๑๔ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ เม่อื วิทยาลยั วชิ าการศึกษาไดร้ บั การเปลีย่ นฐานะเปน็ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ วิทยาเขตบางแสนและมหาวทิ ยาลยั บูรพา ตามลาํ ดบั นนั้ ในปีงบประมาณ ๒๕๓๖-๒๕๓๙สาํ นกั หอสมุดได้รบังบประมาณการก่อสร้างอาคารสาํ นกั หอสมุดสูง 7 ช้นั มีพื้นทีใ่ ชส้ อย ๑๑,๕๐๐ ตารางเมตร และไดร้ บัพระกรุณาธิคณุ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี โปรดเกล้าฯ พระราชทานช่ือ“อาคารเทพรตั นราชสุดา” และเสดจ็ พระราชดาํ เนินทรงเปิดอาคาร เมื่อวนั ท่ี ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๘สาํ นกั หอสมุดหลงั น้ี เปดิ บริการตง้ั แตว่ ันที่ 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2538 เปน็ ตน้ มาจนถึงปจั จุบนั

๕ปรัชญา ห้องสมุดเปน็ แหล่งเรียนร้สู กู่ ารพัฒนาสงั คมปณธิ าน ก้าวสู่ความเปน็ เลิศทางการให้บริการสารสนเทศ พร้อมกบั มงุ่ มัน่ ใหบ้ ริการด้วยความสะดวกรวดเรว็ แมน่ ยาํ นา่ เชอื่ ถือ ด้วยความมีมติ รไมตรีวิสยั ทศั น์ มุ่งพฒั นาสู่ความเปน็ เลศิ ในการใหบ้ รกิ ารสารสนเทศ ดว้ ยบคุ ลากรทมี่ คี ณุ ภาพและเทคโนโลยีทีท่ ันสมัยเพื่อความเปน็ มาตรฐานสากลพนั ธกิจ 1. สนบั สนุนดา้ นวชิ าการของมหาวทิ ยาลัยใหบ้ รรลุตามภารกจิ หลกั 6 ด้าน คือ 1) ให้การศึกษา2) ดาํ เนนิ การและสง่ เสริมงานวิจัยเพอ่ื สร้างและพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี 3) ใหบ้ รกิ ารทางวิชาการ4) ทะนบุ ํารงุ ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม และการกฬี า 5) การสนบั สนุนกจิ กรรมของรฐั และทอ้ งถิ่น และ6) การมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาชุมชนและสิ่งแวดลอ้ ม 2. จดั หาและให้บรกิ ารทรัพยากรสารสนเทศทุกรปู แบบ ครอบคลุมทุกสาขาวชิ าที่เปิดสอนในมหาวทิ ยาลยั 3. จดั ระบบทรพั ยากรสารสนเทศใหผ้ ใู้ ช้เขา้ ถึงไดส้ ะดวก รวดเรว็ ถูกต้อง และตรงตามความตอ้ งการโดยใชเ้ ทคโนโลยีท่ีทนั สมัย 4. สนบั สนนุ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตของประชาคมในมหาวทิ ยาลยั และสังคมภารกิจหลกั ๑. จัดสาํ นักหอสมุดใหเ้ ปน็ ศนู ยร์ วมวิชาการในรูปแบบของศนู ย์บริการสารสนเทศในทกุ รปู แบบตลอดจนเป็นศูนย์บรกิ ารเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอื่ สนับสนนุ และพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน การศึกษาคน้ คว้า และการวจิ ัยของนสิ ติ อาจารย์ และบุคลากรอ่นื ๆ ของมหาวิทยาลยั ๒. พัฒนาสาํ นกั หอสมุดใหเ้ ปน็ ห้องสมดุ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และหอ้ งสมุดดิจิทัลทีส่ มบูรณแ์ บบ ๓. สง่ เสรมิ การใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันของหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย โดยพัฒนาเครือขา่ ยห้องสมุดของมหาวทิ ยาลัยบูรพา (Burapha University Library Network) ๔. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนใหบ้ ุคลากรสํานกั หอสมดุ ผลติ ผลงานวจิ ัยเพือ่ พฒั นาการดาํ เนินงานและการใหบ้ รกิ ารสารสนเทศ ๕. พัฒนากลไกการประกันคุณภาพการดาํ เนินงานและการใหบ้ รกิ ารของสาํ นกั หอสมุด

โครงสรา้ งองคก์ ร คณะกรรมการประจําสาํ นกั หอสมุด สาํ นักหอสมุดสํานักงานเลขานุการ ฝา่ ยบรกิ าร ฝ่ายพฒั นาทรัพยากร ฝ่ายวิเคราะห์ทรพั ยากร ฝ่ายโสตทศั นศึกษา ฝา่ ยเอกสารและวารสาร ฝา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศ สารสนเทศ สารสนเทศ งานการเงนิ งานบริการ งานบริการ งานวางแผนและ บัญชแี ละ งานบรกิ าร งานพัฒนา งานพฒั นา วารสารและ พัฒนาระบบ พัสดุ ผอู้ ่าน ทรพั ยากร ฐานข้อมลู หนงั สือพมิ พ์ เทคโนโลยี หนังสอื งานนโยบาย งานบรกิ าร งานบาํ รุง และแผน ยมื -คืน รักษา งานพัฒนา งานเทคนคิ งานจดั หา งานระบบ หนังสือ ฐานข้อมลู วารสารและ เครอื ข่าย งานบุคลากร งานส่งเสริม สือ่ โสตทศั น์และ หนังสือพมิ พ์ คอมพิวเตอร์ การใช้ สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ งานธรุ การ สารสนเทศ งานพฒั นา งานฐานข้อมลู งานอาคาร ฐานขอ้ มลู สถานทีแ่ ละ ดรรชนีวารสาร ยานพาหนะ

๗ โครงสร้างการบริหารงานของส่วนงาน ผอู้ าํ นวยการ รองผู้อํานวยการ ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝา่ ย ฝ่ายบรกิ ารสารนิเทศ วิชาการและประกันคณุ ภาพ ผู้ช่วยผ้อู ํานวยการ ฝ่ายบรกิ ารสารนเิ ทศหวั หน้าสาํ นักงาน หัวหน้าฝ่าย หวั หน้าฝ่าย หวั หนา้ ฝา่ ย หัวหนา้ ฝ่าย หัวหนา้ ฝ่าย หวั หนา้ ฝา่ ย เลขานุการ บริการ โสตทัศนศกึ ษา เอกสารและ พัฒนาทรัพยากร วเิ คราะห์ทรัพยากร เทคโนโลยี สารสนเทศ วารสาร สารสนเทศ สารสนเทศ สารสนเทศ

๘บคุ ลากรของสว่ นงานตาราง 1 อตั รากําลงั บุคลากร พนกั งาน ลูกจา้ ง พนกั งาน ตาํ แหน่ง ข้าราชการ มหาวทิ ยาลัย ประจาํ มหาวทิ ยาลยั รวม๑. บรรณารกั ษ์ (เงินแผ่นดนิ ) (เงนิ รายได)้๒. เจ้าหนา้ ท่บี รหิ ารงานทวั่ ไป๓. นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน ๖ ๙ - ๕ ๒๐๔. บุคลากร๕. นักวิชาการเงนิ และบญั ชี - ๑ - -๑๖. นักวิชาการโสตทัศนศึกษา๗. ผู้ปฏิบตั ิงานโสตทศั นศกึ ษา - 1 - -๑๘. ผปู้ ฏิบัติงานห้องสมดุ๙. ผปู้ ฏิบตั งิ านห้องสมดุ ชาํ นาญการ ๑ - - -๑๑๐. นกั วิชาการพสั ดุ๑๑. นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ ๑ - - ๑๒๑๒. พนกั งานเยบ็ เลม่๑๓. พนักงานขบั รถยนต์ - 2 - ๑๓๑๔. พนกั งานบรกิ ารเอกสารทว่ั ไป๑๕. ผปู้ ฏบิ ัตงิ านบริหาร ๑ - - -๑๑๖. นักวิชาการศึกษา๑๗. ช่างเทคนคิ - ๒ - ๒1 ๒3๑๘. ช่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ๑ - - -๑ รวม - ๑ - -๑ - ๑ - -๑ - - ๓ -๓ - - - ๑๑ - - ๑ -๑ - - - ๑๑ - - - ๑๑ - - - ๑๑ - - - ๑๑ ๑0 ๑7 ๔ ๓3 ๖4

๙งบประมาณของสว่ นงานตาราง 2 งบประมาณปี พ.ศ. ๒๕๕4 ตามหมวดรายจา่ ย (หนว่ ยนบั : บาท) หมวดรายจา่ ย / งบประมาณ งบประมาณ รวมเงิน ร้อยละ แหลง่ เงนิ แผน่ ดิน เงินรายได้๑ งบดําเนนิ การ๑.๑ เงินเดอื นและคา่ จ้างประจาํ 3,140,500 - 3,140,500 5.90๑.๒ เงนิ เดอื นค่าจา้ งช่ัวคราว - 4,019,500 4,019,500 7.55๑.๓ คา่ ตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ 3,484,200 30,576,300 34,060,500 63.97๑.๔ ค่าสาธารณูปโภค - 600,000 600,000 1.12๑.๕ เงนิ อดุ หนุน 291,300 3,544,000 3,835,300 7.20๑.๖ งบกลาง - 2,443,300 2,443,300 4.59๒. งบลงทุน๒.๑ คา่ ครุภณั ฑ์ท่ดี ินและสิ่งกอ่ สรา้ ง - 2,765,900 5,148,600 9.67รวมทง้ั สน้ิ 9,298,700 43,949,000 53,247,700 100ตาราง 3 สรปุ เปรยี บเทียบแหลง่ งบประมารทไี่ ดร้ บั จดั สรร ปงี บประมาณ พ.ศ.2552-2554 แหลง่ เงนิ ปี ๒๕๕2 ปี ๒๕๕3 ปี ๒๕๕4 7,800,100 9,298,700๑. เงินงบประมาณแผ่นดิน ๗,๗๕๔,๕๐๐ 35,589,300 43,949,000๒. เงินงบประมาณรายจ่ายจาก ๒๙,๖๘๓,๑๐๐ 43,389,400 53,247,700 +15.90 +22.72เงินรายได้ รวมท้ังสนิ้ ๓๗,๔๓๗,๖๐๐ เพิม่ ขน้ึ -ลดลงรอ้ ยละตาราง 4 สรปุ เปรียบเทียบงบดาํ เนนิ การของมหาวิทยาลัย และสํานักหอสมดุ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕4 แหลง่ เงนิ มหาวทิ ยาลยั บรู พา สาํ นักหอสมดุ ร้อยละ๑. เงนิ งบประมาณแผ่นดิน 124,679,600 3,484,200 2.79๒. เงนิ งบประมาณรายจ่าย 898,285,200 31,176,300 3.47 จากเงนิ รายได้ 1,022,964,800 34,660,500 3.39 รวมทง้ั สนิ้

วิสัยทศั น์ แผนทท่ี างยทุ ธศาสตร์สาํ นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั บูรพา (Strategy Map) พ.ศ. 2553 พันธกจิ มุ่งพฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ ในการให้บรกิ ารสารสนเทศ ด้วยบคุ ลากรที่มีคณุ ภาพและเทคโนโลยีทท่ี ันสมัย เพอ่ื ความเปน็ มาตรฐานสากล ประเด็น สนับสนนุ ด้านวิชาการของมหาวทิ ยาลัยให้บรรลุตามภารกิจหลกั 6 ด้าน คอื จัดหาและให้บรกิ ารทรพั ยากร จดั ระบบทรัพยากรสารสนเทศ ให้ผู้ใช้ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ตลอดชีวิต ยทุ ธศาสตร์ ใหก้ ารศกึ ษา ดําเนินการและส่งเสรมิ งานวจิ ยั เพื่อสรา้ งและพัฒนาองคค์ วามรู้ สารสนเทศทุกรปู แบบ ครอบคลุม เข้าถึงไดส้ ะดวก รวดเร็ว ถกู ตอ้ ง และ ของประชาคมในมหาวทิ ยาลยั และเทคโนโลยี ใหบ้ รกิ ารทางวิชาการ ทะนบุ าํ รงุ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมเป้าประสงค์ และการกฬี า รวมทั้งการสนับสนุนกิจกรรมของรฐั และทอ้ งถ่ิน และการมี ทกุ สาขาวิชาท่ี เปดิ สอนใน ตรงตามความตอ้ งการ โดยใช้ และสังคม●ด้านผลสมั ฤทธิ์ ส่วนรว่ มในการพัฒนาชมุ ชนและสิ่งแวดลอ้ ม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีทท่ี ันสมัยสงู สดุ บรกิ ารสารสนเทศเพอื่ การเรยี นการสอน การวจิ ัย การบริการ สร้างศนู ยร์ วมทรัพยากรสารสนเทศทส่ี มบรู ณ์ พฒั นาระบบการจัดการทรัพยากร เสริมสรา้ งสงั คม●เปา้ ประสงค์ วิชาการแก่ชมุ ชน และการสง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมท่ีสมบูรณ์ ครอบคลุมทุกสาขาวิชาทเ่ี ปดิ สอนใน สารสนเทศที่ทันสมยั และมปี ระสิทธิภาพ แหง่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติด้านผรู้ ับบริการ มหาวทิ ยาลัย ครบถ้วนและมปี ระสทิ ธิภาพ●เป้าประสงค์ด้านการบริหาร เปน็ องคก์ รใหบ้ ริการสารสนเทศทม่ี บี ุคลากรซึ่งมคี วามเชี่ยวชาญ เป็นศนู ย์รวมทรัพยากรสารสนเทศทส่ี มบรู ณ์ครบถว้ นพร้อมท้ังระบบ เป็นศนู ยก์ ลางการเรยี นร้ขู องภมู ภิ าคและจัดการภายใน และมีจิตสํานึกในการให้บริการ การจดั การและการบรกิ ารด้วยเทคโนโลยีท่ที ันสมยั ชุมชนภาคตะวันออก●เปา้ ประสงค์ เปน็ องค์กรที่เปน็ แบบอยา่ งในการให้บริการสารสนเทศ ระบบทรพั ยากรสารสนเทศเขา้ ถงึ ได้สะดวก รวดเรว็ ผู้รับบรกิ ารให้การยอมรบั และเชื่อมัน่ ในคณุ ภาพของด้านการพฒั นา ที่มมี าตรฐานระดับสากล ถูกต้องครบถว้ นตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ การบริการสารสนเทศองค์กร เป็นหอ้ งสมดุ ดจิ ิทัลและเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้วยตนเอง เปน็ องค์กรช้ันนาํ ดา้ นการบริการสารสนเทศที่ไดร้ ับการยอมรับ ที่มมี าตรฐานระดบั สากล ในระดับประเทศและระดับภูมิภาค ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทันสมัยมปี ระสิทธิภาพ บุคลากรเปน็ ผมู้ คี วามรู้ความสามารถดา้ นการจดั การและการบรกิ ารสารสนเทศ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พรอ้ มท้ังมีจิตสาํ นึกในการให้บรกิ าร

๑๑กรรมการบริหาร๑. กรรมการประจําสาํ นัก ประกอบดว้ ยรายชอื่ กรรมการ ดงั ต่อไปนี้๑.๑ รองศาสตราจารย์ ดร.เสรี ชัดแช้ม ประธานกรรมการ๑.๒ รองศาสตราจารย์ ดร.ศรวี รรณ ยอดนลิ รองประธานกรรมการ๑.๓ รองศาสตราจารยเ์ ฉลียว พันธส์ุ ดี า กรรมการ๑.๔ รองศาสตราจารย์ปราณี เชยี งทอง กรรมการ๑.๕ รองศาสตราจารยว์ าณี ฐาปนวงศ์ศานติ กรรมการ๑.๖ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุรางคนา ธรรมลขิ ิต กรรมการ๑.7 นายชวลติ ฮะกีมี กรรมการ๑.8 นายเกษตรพนั ธุ์ ชอบทํากิจ กรรมการ๑.9 นางสายสุณี ฤทธริ งค์ กรรมการและเลขานุการ๒. ผบู้ รหิ ารสาํ นักหอสมดุ ประกอบดว้ ยรายชอ่ื ดงั ตอ่ ไปน้ี๒.๑ รองศาสตราจารย์ ดร.ศรีวรรณ ยอดนลิ ผู้อํานวยการสาํ นกั หอสมุด๒.๒ นางสายสุณี ฤทธิรงค์ รองผ้อู ํานวยการฝา่ ยบรกิ ารสารนิเทศ๒.3 นางสาวจรัญญา ศุภวิฑติ พัฒนา ผู้ช่วยผู้อํานวยการฝ่ายบรกิ ารสารนิเทศ๒.4 นางนิตยา ปานเพชร ผชู้ ่วยผอู้ าํ นวยการฝ่ายวชิ าการ และประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา๒.๕ นางวนั ทนา กิตศิ รวี รพันธ์ุ หัวหนา้ ฝา่ ยพัฒนาทรพั ยากรสารสนเทศ๒.๖ นางรัศมี ปานดษิ ฐ์ หัวหน้าฝา่ ยวเิ คราะหท์ รัพยากรสารสนเทศ๒.๗ นางสายสณุ ี ฤทธิรงค์ หวั หน้าฝา่ ยบรกิ ารสารสนเทศ๒.๘ นางสาวจรญั ญา ศภุ วฑิ ิตพฒั นา หวั หน้าฝา่ ยเอกสารและวารสาร๒.๙ นายชวลิต ฮะกีมี หัวหนา้ ฝ่ายโสตทัศนศึกษา๒.๑๐ นายเฉลิมเกยี รติ ดสี ม หวั หนา้ ฝา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ๒.๑๑ นายเกษตรพันธุ์ ชอบทาํ กิจ หวั หนา้ สาํ นกั งานเลขานกุ าร

๑๒ทรพั ยากรสารสนเทศตาราง 5 รายละเอยี ดทรพั ยากรสารสนเทศท่มี ใี หบ้ รกิ ารในห้องสมุด รายการ หนว่ ยนบั จํานวน๑. หนงั สือ เลม่ 294,133 ๑.๑ ภาษาไทย เลม่ 81,634 ๑.๒ ภาษาตา่ งประเทศ๒. วารสาร/ หนงั สอื พมิ พ์ ชื่อ 1,728 ๒.๑ วารสาร ช่ือ 933 ๒.๑.๑ ภาษาไทย ช่อื ๒0 ๒.๑.๒ ภาษาตา่ งประเทศ ช่อื 4 ๒.๒ หนงั สือพิมพ์ ๒.๒.๑ ภาษาไทย ชื่อเรือ่ ง ๓,๔๕๖ ๒.๒.๒ ภาษาต่างประเทศ ชอื่ เรอื่ ง ๑,๕๑๒๓. สอื่ โสตทศั นแ์ ละสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ แผน่ ๓.๑ เทปวีดทิ ศั น์ ม้วน ๖๘ ๓.๒ เทปเสยี ง เรอ่ื ง ๑๘ ๓.๓ ไมโครฟิช ชอื่ เร่ือง ๔๘๖ ๓.๔ ไมโครฟลิ ม์ 7,951 ๓.๕ สไลด์ ลกู 4 ๓.๖ วซี ีด/ี ดีวีดี ชุด ๕๐ ๓.๗ ลูกโลก ชื่อเร่ือง 4,312 ๓.๘ แผนท่ี ชอ่ื เรอ่ื ง 1,572 ๓.๙ ซดี รี อม - มลั ตมิ ีเดยี ช่ือเรอ่ื ง ๑,๐๑๙ ๓.๑๐ ซีดีเสยี ง ช่ือเรอื่ ง 631 ๓.๑๑ ซีดีรอมประกอบหนงั สือ ชอ่ื เรอื่ ง ๒๔๘ ๓.๑๒ ซดี ีรอมประกอบคู่มอื ฐาน 14 ๓.๑๓ เทปเสยี งประกอบคู่มือ ช่อื เรื่อง 14 ๓.๑๔ ฐานข้อมลู อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ๓.๑5 สือ่ ประสม ชื่อเรื่อง ๒๙๖๔. หนังสืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-book) ชื่อเรือ่ ง 3,338 ๔.๑ ภาษาไทย ๔.๒ ภาษาต่างประเทศ

๑๓ตาราง 6 ขอ้ มูลดา้ นการใหบ้ รกิ าร หนว่ ยนบั ปริมาณ คน 1,137,769 รายการ๑. ผใู้ ชบ้ รกิ าร รายการ 1,042,457/ 721,845๒. การบรกิ ารยมื -คืน รายการ 112,630/112,377 ๒.๑ บริการยืม/ คืนหนงั สอื รายการ 214 ๒.๒ บริการยมื / คนื ส่ือโสตทศั น์, สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ รายการ 266 ๒.๓ บริการยมื ระหว่างหอ้ งสมุด ทน่ี ั่ง ๑,074 เคร่ือง ๕8 ๑) ขอยืม ๒) ให้ยืม เครอ่ื ง 218๓. บริการทนี่ ่ังอา่ น๔. บรกิ ารเครือ่ งคอมพิวเตอรเ์ พ่อื สบื คน้ ฐานขอ้ มูล ชดุ ๙ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมดุ (OPAC) ชุด ๑9๕. บริการเครือ่ งคอมพิวเตอรเ์ พอ่ื สืบคน้ สารสนเทศจาก ชุด ๔๐อนิ เทอรเ์ น็ต และมลั ตมิ เี ดยี - ซดี รี อม ชุด ๔๐๖. ชดุ ศกึ ษาเทปเสียง คน/ คร้งั ๑,181/36 คน/ ครัง้ 449/17๗. ชดุ ศึกษาเทปวีดทิ ัศน์ คน/ สถาบัน 27/4๘. ชดุ ศึกษาวีซดี ี/ ดวี ีดี ครัง้ 6,342 คร้งั ๑8,340๙. ชดุ ศกึ ษารายการโทรทัศน์ผา่ นดาวเทยี ม ครงั้ 481,626๑๐. การฝึกอบรมการสบื คน้ สารสนเทศ๑๑. การให้การศึกษาดงู านแกห่ น่วยงานอน่ื๑๒. ให้การฝกึ งานแกน่ สิ ิตสาขาบรรณารักษศาสตร์ และสารนเิ ทศศาสตร์ และสาขาอน่ื ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง๑๓. บริการตอบคําถามและชว่ ยค้นควา้๑๔. บริการศูนย์การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง๑๕. บริการอนิ เทอรเ์ น็ต

๑๔ บคุ ลากรดเี ดน่ สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา มบี คุ ลากรได้รบั รางวัล “รตั นบรู พา” สาขาการบรกิ ารสายสนบั สนนุ และช่วยวิชาการ ไดแ้ ก่ นางนติ ยา ปานเพชร

๑๕ การพฒั นาบุคลากร สํานักหอสมุดตระหนักถงึ ความสําคญั ของบคุ ลากรว่าเป็นปัจจัยสําคัญอยา่ งหน่งึ ในการพฒั นาหอ้ งสมุดให้ก้าวสเู่ ป็นเลิศทางการบริการหอ้ งสมดุ จงึ ม่งุ พัฒนาใหบ้ ุคลากรเป็นผ้มู ีความรูค้ วามสามารถในทางวชิ าชีพ มีคณุ ธรรม และโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การมจี ติ สํานกึ ในการให้บรกิ าร ดงั นน้ั สาํ นกั หอสมดุจึงสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้บคุ ลากรทุกระดบั ได้รับการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ ทั้งจากการพฒั นาความรคู้ วามสามารถตามตําแหน่งหน้าทีท่ รี่ ับผดิ ชอบ หรอื การพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมทางศาสนาเพอ่ื สร้างเสริมความสมัครสมานในการประสานประโยชน์ร่วมกนั จากการทาํ งานเป็นทมี และในบรรยากาศการทาํ งานท่ีสงบร่มเยน็ การพัฒนาบคุ ลากรด้านต่าง ๆ เหล่าน้ี ดําเนินการโดยการสนบั สนนุ ใหม้ ีการศึกษา ดูงานสถาบันอ่นื ๆ การจดั การฝกึ อบรม สัมมนา และการไดร้ บั เชญิ เปน็ วิทยากรบรรยายพเิ ศษ ตามรายละเอยี ดดังน้ีตาราง 7 รายละเอียดบคุ ลากรศกึ ษาดูงาน ณ ตา่ งประเทศลาํ ดับ ชอ่ื -สกุล สถานที่ วันเดือนปี หัวขอ้ เรื่อง 1 ผอู้ ํานวยการสํานกั หอสมุด พร้อมบุคลากรสาํ นกั หอสมุด - ห้องสมุด 23-26 ศึกษาดงู านการบรหิ ารจดั การและ จาํ นวน 39 คน มหาวทิ ยาลยั มี.ค.54 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาลายา หอ้ งสมุด 2 ผ้อู าํ นวยการสาํ นกั หอสมดุ (Universiti of พร้อมบุคลากรสาํ นักหอสมดุ Malaya Library) 8-12 ศกึ ษาดงู านการบรหิ ารจัดการและ จํานวน 17 คน ประเทศมาเลเซียและ พ.ค.54 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งวัฒนธรรมและ หอ้ งสมุด ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน - ห้องสมดุ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีนานยาง (Nanyang Technological University Library) ประเทศสาธารณรฐั สงิ คโปร์ระเทศ มาเลเซียและประเทศ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ห้องสมุด Kanda University ประเทศญปี่ ุ่น และ แหลง่ วฒั นธรรม และภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ประเทศญ่ีปุ่น

๑๖ตาราง 8 รายละเอยี ดการประชุม/สัมมนาบคุ ลากรในประเทศลําดับ ชือ่ -สกลุ สถานที่ วนั เดอื นปี หัวขอ้ เรื่อง 1 นส.นิสาชล กาญจนพิชติ Pullman Bangk King 6 ต.ค.53 นส.เกษร จันทร Power 8-9 ต.ค.53 สมั มนา Bangkok Nttllitrarg 2 รศ.ดร.ศรวี รรณ มคี ณุ สํานักหอสมุด Siminar นางวันทนา กิติศรวี รพนั ธ์ุ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ 1 ต.ค.53 ประชุมคณะกรรมการอาํ นวยการ 3 รศ.ดร.ศรีวรรณ มคี ุณ ณ ห้องประชมุ ใหญ่ ขา่ ยงานหอ้ งสมุดมหาวทิ ยาลยั นางวนั ทนา กติ ิศรีวรพนั ธุ์ ชน้ั 2 อาคารหอศลิ ปะ สว่ นภูมิภาค(PULINET) นางสายสุณี ฤทธริ งค์ และวัฒนธรรม นส.จรัญญา ศภุ วิฑติ พฒั นา ภาคตะวันออก ประชมุ เรอ่ื ง การเตรียมความ นายเกษตรพนั ธ์ุ ชอบทํากิจ พร้อมสาํ หรบั การประเมินคุณภาพ นางอรญั ญา บาํ เพญ็ แพทย์ การศึกษาภายใน ๙ องคป์ ระกอบ นางนิตยา ปานเพชร ๒๓ ตวั บง่ ช้ี ประจําปีการศกึ ษา นางสมหมาย ลม้ิ ปติ ิพานิชย์ ๒๕๕๓ นส.อฬุ าริน เฉยศริ ิ นางเพชรมณี โชตสิ ุภาพ ณ ห้องประชมุ ใหญ่ 7 ต.ค.53 ประชุม เร่อื ง การเตรียมความ นส.เกษร จนั ทร ช้ัน 2 อาคารหอศิลปะ พรอ้ มสําหรบั การประเมนิ คณุ ภาพ นส.นิลุบล โรจน์สตั ตรตั น์ และวฒั นธรรม การศึกษาภายใน ๙ องคป์ ระกอบ ภาคตะวนั ออก ๒๓ ตวั บ่งช้ี ประจาํ ปีการศกึ ษา 4 นางวนั ทนา กติ ิศรวี รพนั ธุ์ ๒๕๕๓ นางสายสุณี ฤทธิรงค์ นส.จรญั ญา ศุภวิฑติ พฒั นา นายเกษตรพนั ธ์ุ ชอบทํากจิ นายชวลิต ฮะกีมี นางรัศมี ปานดิษฐ์ นายเฉลิมเกียรติ ดสี ม นางอรญั ญา บาํ เพญ็ แพทย์ นางนิตยา ปานเพชร นางสมหมาย ล้ิมปติ พิ านิชย์5 นางรศั มี ปานดิษฐ์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละ 15 ต.ค.53 สัมมนา เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ นางวัชรยี พ์ ร คุณสนอง นางสิรกิ ร งามสาํ เร็จ สงั คมศาสตร์ เพื่อการบรกิ ารห้องสมุดเชงิ รุก นางฐติ ชิ ญาน์ ทวนดิลก นายชยั ยศ ปานเพชร มหาวทิ ยาลยั บรู พา นส.นิลุบล โรจน์สตั ตรตั น์ ศูนยว์ ิทยทรพั ยากร 20-22 ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ เรือ่ ง6 นางธิดาพร สายทะโชติ เทคนิคการพฒั นาฐานขอ้ มลู นางฐติ ิชญาน์ ทวนดลิ ก จุฬาลงกรณ์ ต.ค.53 หัวเรื่อง ภาษาไทยออนไลน์7 นส.เกษร จันทร ศนู ยป์ ระชมุ แห่งชาติ 21-22 ประชมุ คณะทํางานฝ่ายพัฒนา นางวันทนา กติ ิศรวี รพันธ์ุ สริ กิ ิต์ ต.ค.53 ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมดุ สถาบนั อุดมศึกษา

๑๗ตาราง 8 (ต่อ) สถานที่ วันเดือนปี หวั ขอ้ เรอื่ ง ประชุมการจัดทาํ แผนยกระดับลําดบั ชือ่ -สกุล โรงแรมลองบีช 1-2 พ.ย.53 มหาวทิ ยาลยั บรู พาตามผลการ 8 นางนิตยา ปานเพชร ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน นางสมหมาย ล้มิ ปติ พานชิ ย์ การเดน้ โฮเต็ลแอนด์ ประชมุ คณะกรรมการบริหาร มหาวทิ ยาลัยและคณะกรรมการ 9 รศ.ดร.ศรวี รรณ มคี ณุ ห้องประชุม 903 2 พ.ย.53 สวัสดกิ ารมหาวิทยาลัย ช้นั 9 อาคาร ภปร. ประชมุ สัมมนา เร่อื ง 10 นางสิริกร งามสาํ เรจ็ Online Information and นางสมหญงิ เจียสารมั ย์ หอ้ งประชุม 11-12 Confereence 2010 นส.ธญั ลักษณ์ รกั ตะกนิษฐ พ.ย.53 ธนประสทิ ธ์ิพัฒนา มหาวทิ ยาลัย สัมมนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร “The ราชภัฎสวนดสุ ิต 21-26 AUNILO Workshop” 11 นางนติ ยา ปานเพชร พ.ย.53 นส.นิสาชล กาญจนพชิ ิต University Brunei 22 พ.ย.53 ประชุมคณะทํางานวารสาร Darussalam ข่ายงานหอ้ งสมุด มหาวิทยาลัย 12 นส.จรัญญา ศภุ วฑิ ติ พฒั นา ประเทศบรู ไน 29-30 สว่ นภมู ภิ าค (PULINET) นส.นิลุบล โรจน์สัตตรัตน์ พ.ย.53 สมั มนากลุ่มการใช้โปรแกรม มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั 25-26 หอ้ งสมุดอตั โนมัติ เมจกิ ไลบราร่ี 13 นางสิรกิ ร งามสาํ เร็จ ธรรมาธริ าช พ.ย.53 ประชุมคณะทาํ งานฝ่ายบริการ นางวิจติ รา วิไลเลิศ จงั หวัดนนทบุรี 30 พ.ย.53 สารนเทศห้องสมุดสถาบันอดุ ม ศึกษา 14 นางวงเดือน เจริญ อาํ เภอปากช่อง 1-2 ธ.ค.53 สมั มนาเชิงปฏิบตั ิการหลักสูตร นายไสว ไชยศรี จงั หวดั นครราชสมี า “ผูป้ ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษา นางวิจติ รา วิไลเลศิ 16 ธ.ค.53 ภายใน” หลักสตู ร 1 สํานกั หอสมดุ ประชมุ คณะทํางานขอ้ มลู ท้องถ่นิ 15 นางนติ ยา ปานเพชร มหาวิทยาลยั ขา่ ยงานห้องสมุดมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ ส่วนภูมภิ าค 16 นางอาภากร ธาตุโลหะ ประชุมสรุปผลการจัดงานพธิ ี อาคารวิทยาลัย 17 นางนติ ยา ปานเพชร พาณชิ ยศาสตร์ วันเฉลมิ พระชนมพรรษา มหาวทิ ยาลยั บุรพา 18 รศ.ดร.ศรีวรรณ มคี ุณ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั นส.นงลักษณ์ คณุ สนอง อาคารวิทยาลยั “5 ธนั วามหาราช” นางนิตยา ปานเพชร พาณิชยศาสตร์ ประชุมชแี้ จง เรอ่ื ง การปรับระบบ นส.เกษร จนั ทร มหาวทิ ยาลัยบรู พา บรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการ นางวงเดือน เจริญ พลเรอื นในสถาบันศึกษา นางธดิ าพร สายทะโชติ หอ้ งประชุม 805 นส.อฬุ ารนิ เฉยศิริ อาคาร ภปร. ช้ัน 8 นางกมลเนตร รัตนอัมพรโสภณ หอ้ งประชมุ 202 14 ม.ค.54 หอประชมุ ธํารง บัวศรี มหาวิทยาลยั บูรพา

๑๘ตาราง 8 (ต่อ) สถานที่ วันเดอื นปี หวั ข้อเรือ่ งลําดับ ชือ่ -สกุล ศนู ยวื ิทยทรพั ยากร 12-14 ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรอ่ื ง เทคนิค นางอัจฉรา บรบิ รู ณ์ จฬุ าลงกรณ์ ม.ค.54 การพฒั นาฐานข้อมลู หัวเรอื่ ง นายปวเรศ นวลแกว้ มหาวิทยาลยั ภาษาไทยออนไลนด์ ้วยเทคนิควธิ ี นางสายสณุ ี ฤทธริ งค์ 13-14 การปรบั ปรงุ แก้ไข ตรวจสอบฯ นส.จรัญญา ศภุ วฑิ ิตพัฒนา สาํ นกั หอสมดุ กลาง ม.ค.54 ประชมุ คณะทํางานฝา่ ยเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัย ทางการศึกษา หอ้ งสมุดสถาบนั 19 นางรศั มี ปานดิษฐ์ เทคโนโลยี 20-21 อุดมศกึ ษา นายชัยยศ ปานเพชร พระจอมเกล้า ม.ค.54 พระนครเหนอื 27 ม.ค.54 ประชมุ คณะทํางานบรกิ าร 20 นายชวลติ ฮะกีมี สํานักหอสมดุ 27-28 ข่ายงานหอ้ งสมุดมหาวิทยาลยั มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ ม.ค.54 สว่ นภูมภิ าค 21 นางวงเดือน เจริญ จังหวดั เชยี งใหม่ ฝึกอบรมการใช้งานฐานข้อมลู มหาวิทยาลยั มหิดล 16-17 อิเลก็ ทรอนิกส์ 22 นส.นิสาชล กาญจนพิชิต ศาลายา ก.พ.54 ประชุมคณะกรรมการอํานวยการ 23 รศ.ดร.ศรวี รรณ มคี ุณ มหาวิทยาลัย 25, 27 ขา่ ยงานหอ้ งสมุด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ก.พ.54 และ ส่วนภูมิภาค (PULINET) 24 นางอาภากร ธาตโุ ลหะ วทิ ยาเขตศรรี าชา 3 ม.ี ค.54 จังหวดั ชลบุรี ประชมุ คณะกรรมการดําเนิน 25 นายชวลติ ฮะกีมี สาํ นักงาน 28 ก.พ.54 โครงการพฒั นาระบบหอ้ งสมุด นางวัชรีย์พร คุณสนอง คณะกรรมการ สถาบนั อุดมศกึ ษา อุดมศกึ ษา ประชมุ คณะทาํ งานฝ่ายเทคโนโลยี 26 นางสายสุณี ฤทธิรงค์ สํานกั หอสมุดกลาง ทางการศกึ ษาหอ้ งสมดุ สถาบัน นส.จรัญญา ศุภวฑิ ิตพัฒนา มหาวทิ ยาลัย อุดมศึกษา และศึกษาดูงาน นางนติ ยา ปานเพชร เทคโนโลยี ห้องสมุด และแหลง่ การเรยี นรู้ นายเกษตรพันธ์ุ ชอบทาํ กจิ พระจอมเกล้า ดา้ นเทคโนโลยีทางการศกึ ษา นางวนั ทนา กิติศรวี รพันธ์ุ พระนครเหนอื บรกิ ารสอื่ การศึกษา ณ ประเทศ นส.นิลบุ ล โรจน์สตั ตรตั น์ สาธารณรฐั เกาหลี นางรัศมี ปานดษิ ฐ์ ห้องประชุม 202 ประชุมสมั มนาเชิงปฏบิ ัตกิ าร นายเฉลมิ เกียรติ ดสี ม หอประชุมธํารง บัวศรี เรอ่ื ง การเตรียมความพรอ้ มเพือ่ มหาวทิ ยาลัยบรู พา รองรบั การประเมนิ คณุ ภาพ ภายนอกรอบสาม

๑๙ตาราง 8 (ตอ่ ) สถานท่ี วนั เดือนปี หัวข้อเรื่องลําดับ ชือ่ -สกลุ สาํ นักหอสมุดกลาง 25 ก.พ.54 ประชุมคณะทํางานฝา่ ยวารสารและ นางอรัญญา บําเพญ็ แพทย์ มหาวทิ ยาลยั เอกสารหอ้ งสมดุ สถาบันอดุ มศกึ ษา นส.นสิ าชล กาญจนพชิ ติ ศรีนครนิ ทรวิโรฒ 25 ก.พ.54 นางสมหมาย ลิม้ ปิติพานชิ ย์ 1 มี.ค.54 เข้าร่วมการฟงั บรรยายหวั ขอ้ โรงแรมโนโวเทล Research Excellence forum 27 นส.จรัญญา ศุภวิฑิตพัฒนา กรงุ เทพฯ ประชุมคณะกรรมการบริหาร นส.นิลบุ ล โรจน์สัตตรตั น์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา หอ้ งประชมุ 903 ประชุมคณะกรรมการบริหารทนุ 28 นางนติ ยา ปานเพชร อาคาร ภปร. ชนั้ 9 อุดหนุนการศึกษา นส.นสิ าชล กาญจนพชิ ติ ประชมุ คณะกรรมการสวัสดิการฯ โรงแรมพูลแมน 11 มี.ค.54 สมั มนา เร่อื ง The Terminology 29 รศ.ดร.ศรีวรรณ ยอดนลิ บางกอกคิงพาวเวอร์ 24-25 Of Single Search กรุงเทพฯ ม.ี ค.54 30 นางนติ ยา ปานเพชร 31 ม.ี ค.54 ประชมุ คณะทาํ งานฝา่ ยบริการ นายเฉลมิ เกียรติ ดสี ม หอ้ ง 1009 ช้นั 10 สารนิเทศ นส.อฬุ ารนิ เฉยศริ ิ อคารบุญชนะ อตั ถากร 18-19 สถาบนั บัณฑติ เม.ย.54 ประชุมคณะทาํ งานฝ่ายพฒั นา 31 นางวงเดอื น เจริญ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ 24 เม.ย.54 ทรพั ยากรสารนิเทศ ห้องสมดุ สถาบนั อุดมศกึ ษา 32 นส.เกษร จันทร ศนู ยว์ ทิ ยทรัพยากร 9 พ.ค.54 สถาบนั วิทยบริการ ประชุมคณะกรรมการดาํ เนินงาน 33 นางอาภากร ธาตุโลหะ จฬุ าลงกรณ์ โครงการพัฒนาระบบห้องสมดุ มหาวทิ ยาลัย อตั โนมตั ิ สําหรบั สถาบันอดุ มศึกษา 34 รศ.ดร.ศรวี รรณ ยอดนลิ ประชมุ คณะกรรมการอํานวยการ นางนติ ยา ปานเพชร สํานักงาน ขา่ ยงานหอ้ งสมุด มหาวิทยาลัย คณะกรรมการการ สว่ นภมู ภิ าค (PULINET) 35 นางนติ ยา ปานเพชร อดุ มศกึ ษา นส.จรญั ญา ศภุ วิฑิตพัฒนา สัมมนาเชิงวชิ าการ เรอื่ ง ระบบ นางรัศมี ปานดิษฐ์ สาํ นักวิทยบริการ หอ้ งสมุดอตั โนมัติ ALIST” ครั้งที่ 4 นส.อุฬาริน เฉยศริ ิ มหาวิทยาลัย นส.สภุ าวดี เพชรชนื่ สกุล สงขลานครนิ ทร์ นส.ธญั ลกั ษณ์ วทิ ยาเขตภูเกต็ ธนประสิทธิพัฒนา จงั หวัดภเู กต็ นางสายสุณี ฤทธริ งค์ โรงแรมจอมเทียน การเ์ ด้นท์รสี อร์ท อาํ เภอบางละมุง จงั หวดั ชลบุรี

๒๐ตาราง 8 (ต่อ) สถานท่ี วนั เดือนปี หวั ข้อเร่อื ง หอ้ งประชุม 903 ช้นั 11 พ.ค.54 ประชุมสัมมนาระหวา่ งสภาลําดับ ช่อื -สกลุ 9 อาคาร ภปร. 23-25 มหาวทิ ยาลัยกบั ผบู้ รหิ าร 36 รศ.ดร.ศรีวรรณ ยอดนลิ พ.ค.54 มหาวทิ ยาลัย สํานกั วทิ ยบริการ ประชุมคณะทาํ งานกลุ่มมาตรฐาน 37 นายชวลติ ฮะกีมี มหาวิทยาลัย 18 พ.ค.54 การลงรายการสอ่ื โสตทัศนแ์ ละสื่อ นางวัชรยี พ์ ร คุณสนอง เกษตรศาสตร์ 27 พ.ค.54 อเิ ล็กทรอนิกส์ ของคณะทํางานฝา่ ย วิทยาเขตศรรี าชา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา หอ้ งสมุด 38 รศ.ดร.ศรีวรรณ ยอดนลิ และสาํ นกั หอสมุด 2-3 ม.ิ ย.54 สถาบันอุดมศกึ ษา มหาวิทยาลัยบรู พา 6 มิ.ย.54 39 นายชวลิต ฮะกีมี หอ้ งประชุม 903 ชน้ั ประชุมสมั มนาระหวา่ งสภา 9 อาคาร ภปร. 9 ม.ิ ย.54 มหาวิทยาลยั กบั ผบู้ ริหาร 40 นส.นสิ าชล กาญจนพชิ ิต 10 มิ.ย.54 มหาวทิ ยาลัย นส.สุภาวดี เพชรชื่นสกลุ หอ้ งประชมุ สธุ รรม 15-17 สมั มนา หัวข้อ “กา้ วส่ธู ุรกรรม อารกี ลุ อาคาร มิ.ย.54 อิเล็กทรอนิกส์สาํ หรบั ภาค 41 รศ.ดร.ศรีวรรณ ยอดนิล สารนิเทศ 50 ปี 23-24 การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ม.ิ ย.54 42 นางวันทนา กิติศรวี รพนั ธ์ุ เกษตรศาสตร์ สมั มนาวชิ าการ เร่อื ง ห้องสมุด มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพฯ กบั วาระเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ 43 นางรัศมี ปานดิษฐ์ ประชุมคณะกรรมการบริหาร หอ้ งประชุม 903 ชัน้ มหาวทิ ยาลยั บรู พา 44 นางอาภากร ธาตุโลหะ 9 อาคาร ภปร. ประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ มหาวิทยาลัยบุรพา 45 นางวงเดอื น เจริญ หอสมดุ แหง่ ชาติชลบรุ ี ประชุมคณะกรรมการบริหาร นส.นสิ าชล กาญจนพชิ ติ ทุนอุดหนุนการศกึ ษา นางสริ กิ ร งามสาํ เรจ็ ศูนยว์ ิทยทรพั ยากร ร่วมกิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น นส.สุภาวดี เพชรชน่ื สกลุ จฬุ าลงกรณ์ “ประกวดเล่านทิ านสาํ หรบั นกั เรียน มหาวิทยาลัย ระดับประถมศึกษา” อาคารสํานกั งาน ประชมุ คณะทํางานกลุม่ วิเคราะห์ คณะกรรมการ ทรพั ยากรสารสนเทศ ห้องสมุด อดุ มศกึ ษา สถาบนั อดุ มศกึ ษา ศูนยว์ ทิ ยทรัพยากร ประชุมคณะกรรมการดาํ เนินงาน จฬุ าลงกรณ์ โครงการพฒั นาระบบห้องสมุด มหาวทิ ยาลยั อตั โนมัติ สําหรบั สถาบันอุดมศกึ ษา ประชมุ คณะทํางานฝ่ายบริการ สารนิเทศ และแลกเปลยี่ นเรียนรู้ รว่ มกับคณะทาํ งานฝา่ ยวารสาร

๒๑ตาราง 8 (ต่อ)ลาํ ดับ ชอ่ื -สกลุ สถานท่ี วันเดอื นปี หัวข้อเรอื่ ง 46 นส.นิลบุ ล โรจนส์ ัตตรตั น์ ศนู ยว์ ทิ ยทรพั ยากร 23-24 ประชุมคณะทาํ งานวารสารและ 47 รศ.ดร.ศรีวรรณ ยอดนิล จฬุ าลงกรณ์ มิ.ย.54 เอกสารห้องสมุดสถาบนั อดุ มศึกษา มหาวิทยาลยั 5 ก.ค.54 48 นางอาภากร ธาตโุ ลหะ หอ้ งประชุม 903 ชั้น ประชมุ คณะกรรมการบริหาร 49 นส.จรญั ญา ศุภาวิฑิตพฒั นา 9 อาคาร ภปร. 12-13 มหาวิทยาลัยบรู พา ก.ค.54 ประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ 50 นางสายสุณี ฤทธิรงค์ สํานักงานคณะกรรม 13 ก.ค.54 มหาวิทยาลัยบุรพา นส.นสิ าชล กาญจนพิชิต การการอุดมศกึ ษา ประชุมคณะกรรมการบรหิ าร 22-23 ทุนอดุ หนนุ การศึกษา 51 นางนิตยา ปานเพชร ห้องประชมุ หน่วย ก.ค.54 ประชมุ คณะกรรมการดําเนินงาน นส.นิสาชล กาญจนพชิ ติ ประสานงาน 19 ก.ค.54 โครงการพฒั นาระบบหอ้ งสมดุ มหาวิทยาลยั 29 ก.ค.54 อัตโนมตั ิ สาํ หรับสถาบนั อุดมศึกษา 52 นางวันทนา กติ ิศรีวรพันธ์ุ เทคโนโลยสี ุรนารี ประชุมคณะทาํ งานขา่ ยงาน อาคารพญาไทพลาซ่า 5-6 ส.ค.54 ห้องสมุดมหาวทิ ยาลยั สว่ นภมู ิภาค 53 นางนติ ยา ปานเพชร กรงุ เทพฯ อิมแพ็ค เมอื งทองธานี 5 ส.ค.54 ประชมุ สมั มนาโครงการเครอื ขา่ ย 54 นางรัศมี ปานดษิ ฐ์ หอ้ งสมุดศูนยค์ ุณธรรม ประจาํ ปี นางอาภากร ธาตุโลหะ ห้อง 204 อาคาร 5-6 ส.ค.54 งบประมาณ 2554 สาํ นักคอมพวิ เตอร์ ร่วมฟงั การชแ้ี จงกรอกขอ้ มูลระบบ 55 นางนิตยา ปานเพชร ช้นั 2 สารสนเทศโครงการบรกิ าร นส.นสิ าชล กาญจนพิชิต ศูนยว์ ทิ ยทรพั ยากร วิชาการ มหาวทิ ยาลัยบรู พา สถาบันวิทยบริการ ประชุมคณะทํางานฝ่ายพัฒนา จุฬาลงกรณ์ ทรัพยากรสารนเิ ทศหอ้ งสมดุ มหาวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย วลัยลกั ษณ์ ประชุมคณะทํางานพัฒนาคณุ ภาพ กรงุ เทพฯ มาตรฐานดําเนินงานห้องสมุด ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลยั อาคารศนู ย์ สว่ นภมู ิภาค (PULINET) วิทยทรัพยากร ประชมุ ทํางานด้านระบบ จุฬาลงกรณ์ สหบรรณานกุ รม (Union Catalog) มหาวทิ ยาลัย หน่วยประสานงาน ประชมุ คณะทํางานพัฒนาคณุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั มาตรฐานการดาํ เนินงานหอ้ งสมุด วลัยลกั ษณ์

๒๒ตาราง 8 (ตอ่ ) สถานที่ วันเดอื นปี หัวขอ้ เร่อื ง ศนู ยศ์ ึกษาบางแสน 6 ส.ค.54ลาํ ดับ ชือ่ -สกุล มหาวทิ ยาลัยบรู พา 8-9 ส.ค.54 สัมมนา เรอ่ื ง การจดั การ 56 นายเกษตรพันธ์ุ ชอบทํากจิ จฬุ าลงกรณ์ 8-9 ส.ค.54 ยทุ ธศาสตร์ มหาวิทยาลยั 8-9 ส.ค.54 นส.จรัญญา ศุภวิฑติ พัฒนา สมั มนา “หนังสอื หายากทรงคุณค่า 57 นางวงเดือน เจริญ อาคารสํานกั งาน 11 ส.ค.54 หอ้ งสมดุ ดจิ ิทลั กับการให้บรกิ าร คณะกรรมการ อย่างยัง่ ยืน” 58 นางอาภากร ธาตโุ ลหะ การอุดมศกึ ษา ห้องประชมุ 903 ประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน 59 รศ.ดร.ศรวี รรณ ยอดนิล ช้นั 9 อาคาร ภปร. โครงการพัฒนาระบบหอ้ งสมุด อัตโนมัติ สําหรับสถาบนั อุดมศึกษา 60 นางวงเดอื น เจริญ สํานักหอสมดุ นส.นิลาชล กาญจนพชิ ติ มหาวทิ ยาลัย ประชุมเพือ่ รบั ฟังผลการดาํ เนินงาน เกษตรศาสตร์ ในรอบปกี ารศึกษา 2553 และรับ 61 นางกมลเนตร อาคารวทิ ยาลัย ฟงั รายงานผลการประเมินคณุ ภาพ รตั นอัมพรโสภณ พาณชิ ยศาสตร์ การศึกษาภายในมหาวิทยาลยั บรู พาประจาํ ปีการศกึ ษา 2553 นส.รัชนี สงิ หท์ อง 62 รศ.ดร.ศรวี รรณ ยอดนิล เขา้ ร่วมงานฝกึ อบรม IEEE Xplore 63 นายเฉลิมเกียรติ ดสี ม 11 ส.ค.54 เขา้ รว่ มสัมมนาวิธกี ารคํานวณ จุดคุม้ ทนุ 64 นางวงเดือน เจริญ นายปวเรศ นวลแกว้ โรงแรมเดอะไทด์ 18 ส.ค.54 ประชุมสมั มนาวิชาการนานาชาติ รีสอร์ทบางแสน คร้งั ท่ี 1 เรอ่ื ง การศกึ ษาและ 65 นางรศั มี ปานดษิ ฐ์ ชลบุรี การบริหารจัดการการข้าม นายชัยยศ ปานเพชร วฒั นธรรมในเอเชียตะวนั ออก อาคารสํานกั หอสมดุ 18-19 ประชมุ คณะทํางานเทคโนโลยี 66 นางอาภากร ธาตโุ ลหะ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ส.ค. 54 สารสนเทศข่ายงานห้องสมุด มหาวทิ ยาลัยสว่ นภูมิภาค 67 นางอาภากร ธาตุโลหะ สาํ นักหอสมดุ 22-27 เขา้ ร่วมโครงการอบรมหลกั สตู ร “การพฒั นาผู้บรหิ ารอดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลยั บูรพา ส.ค.54 ระดับกลาง” ห้องสมดุ สถาบัน อดุ มศึกษา ศนู ย์วทิ ยทรัพยากร 26 ส.ค.54 ประชมุ คณะทาํ งานกลุม่ วิเคราะห์ จฬุ าลงกรณ์ 29 ส.ค.54 ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมดุ มหาวิทยาลัย 2 ก.ย.54 สถาบันอุดมศึกษา ประชุม เร่ือง แนวทางการพัฒนา วทิ ยาลัย ตําแหน่งทางวิชาการ พาณชิ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา อบรม เร่ือง กรอบแนวทางการ ประเมินข้อเสนอโครงการวจิ ยั โรงแรมเทา-ทอง เพ่อื การจดั สรรงบประมาณ มหาวิทยาลัยบูรพา สนบั สนนุ วิจัย

๒๓ตาราง 8 (ตอ่ ) สถานท่ี วันเดอื นปี หัวข้อเรอื่ ง โรงแรมการเ์ ด้นซีววิ 4-5 ก.ย.54ลาํ ดับ ชอ่ื -สกลุ พทั ยา 5 ก.ย.54 ประชมุ การจดั ทําแผนการบรหิ าร 68 นางอาภากร ธาตโุ ลหะ อาคารสาํ นกั งาน จัดการของสภาพนักงาน 69 รศ.ดร.ศรีวรรณ ยอดนลิ คณะกรรมการ 7 ก.ย.54 การอุดมศกึ ษา ประชมุ ผูบ้ รหิ ารหอ้ งสมุดสถาบนั 70 นางวันทนา กติ ิศรีวรพนั ธ์ุ สํานกั งาน การศกึ ษาโครงการพฒั นาเครือขา่ ย คณะกรรมการ ห้องสมดุ ในประเทศไทย 71 นางนติ ยา ปานเพชร การเลอื กตง้ั ประจํา จังหวัดชลบรุ ี ประชมุ คณะอนุกรรมอํานวยการ 72 รศ.ดร.ศรีวรรณ ยอดนิล หอ้ งประชมุ 805 โครงการจัดตั้งหอ้ งสมดุ และ ช้นั 8 อาคาร ภปร. นิทรรศการประชาธิปไตย 73 นางนติ ยา ปานเพชร ห้องประชุม 903 12 ก.ย.54 ประชุมคณะกรรมการเตรียมความ ชัน้ 9 อาคาร ภปร. 19 ก.ย.54 พร้อมรบั การประเมินคุณภาพ 6-7 ต.ค.54 ภายนอกรอบสาม ศนู ย์การประชมุ แหง่ ชาติสิริกติ ์ิ เข้าร่วมต้อนรับคณะกรรมการ การประเมนิ คุณภาพภายนอก รอบสาม ประชมุ คณะทํางานฝา่ ยพฒั นา ทรัพยากรสารนิเทศห้องสมุด สถาบนั อุดมศึกษาตาราง 9 รายละเอียดการอบรมของบุคลากรในประเทศลําดับ ชื่อ-สกลุ สถานที่ วันเดือนปี หัวข้อเร่ือง 1 นส.รัชนี สิงหท์ อง บ้านไร่คุณนาย 13-15 อ.วังน้าํ เขียว ต.ค.53 อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร เรอื่ ง 2 นส.รสสคุ นธ์ บุญมาก จ.นครราชสีมา 18-20 การบรหิ ารการเงินและระเบียบ มนั ตรา รสี อร์ท ต.ค.53 การเบิกจ่ายเงนิ 3 นส.อุฬาริน เฉยศริ ิ เขาตะเกียบ นางสมหมาย ลิม้ ปติ พิ านิชย์ จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ 8 พ.ย.53 อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร เร่อื ง การปฏบิ ตั ิงานพัสดุ และการจัด 4 นส.จรัญญา ศุภวิฑิตพฒั นา อาคารสาํ นกั 23 พ.ย. 53 คู่มือการปฏบิ ตั งิ านตามระเบยี บ นส.ธัญลักษณ์ คอมพวิ เตอร์ มหาวิทยาลยั บูรพาวา่ ดว้ ยการพัสดุ ธนประสทิ ธ์ิพัฒนา มหาวทิ ยาลยั บรู พา พ.ศ.2552 และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เติม สาํ นกั หอสมุด (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2553 มหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร์ อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร เร่อื ง ระบบ สารสนเทศเพอื่ การจดั อนั ดบั มหาวทิ ยาลยั โลก อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร เรือ่ ง IEEE Xplore

๒๔ตาราง 9 (ต่อ) สถานที่ วันเดอื นปี หัวขอ้ เร่ือง 29 พ.ย.- อบรมผปู้ ระเมินคุณภาพการศกึ ษาลําดับ ชอื่ -สกุล คณะมนษุ ยศาสตร์และ 1 ธ.ค.53 ภายในสถาบันการศกึ ษาเพ่อื การ 5 นางสายสณุ ี ฤทธริ งค์ สงั คมศาสตร์ ย้ายผล นางรศั มี ปานดิษฐ์ มหาวิทยาลยั 23-24 มหาสารคาม ธ.ค.53 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ เร่ือง หลักสูตร 6 นางอาภากร ธาตุโลหะ “ผู้ประเมนิ คุณภาพการศึกษา นส.จรัญญา ศภุ วฑิ ติ พัฒนา ห้องประชมุ 101- 24-25 ในมหาวิทยาลยั บรู พา” หลักสูตร นางสายสุณี ฤทธริ งค์ 102 หอประชมุ ม.ค.54 พเิ ศษ 2 วัน ธาํ รงบวั ศรี 27 ม.ค.54 อบรมการใช้ระบบงาน Business 7 นส.จรัญญา ศภุ วฑิ ติ พัฒนา มหาวทิ ยาลยั บรู พา Intelligence ด้านการเงิน 9 ก.พ.54 อบรมการใชง้ านฐานข้อมูล 8 นส.นสิ าชล กาญจนพิชิต สาํ นกั คอมพิวเตอร์ อิเลก็ ทรอนิกส์เพื่อการสบื ค้น มหาวทิ ยาลยั บรู พา อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารสําหรบั ครู 9 นางวันทนา กติ ิศรวี รพนั ธ์ุ ระดับประถมศึกษา เรือ่ ง เลา่ นิทาน มหาวิทยาลยั มหิดล อย่างไรให้เด็กรกั การอ่าน 10 รศ.ดร.ศรวี รรณ ยอดนิล ศาลายา อบรมหลักสตู รผู้ประเมินคณุ ภาพ การศกึ ษา ภายในชน้ั สงู 11 นางกมลเนตร หอสมดุ แห่งชาติชลบรุ ี (advanced course) รุ่นท่ี 1-9 รัตนอมั พรโสภณ จงั หวดั ชลบรุ ี โครงการฝกึ อบรมหลักสตู ร “ระบบ สวสั ดกิ าร โรงแรมเรติสัน 11 ก.พ.54 กรุงเทพฯ กองคลงั และทรพั ย์สนิ 22 ก.พ.54 งานการเงนิ งบประมาณ มหาวทิ ยาลยั บรู พา12 นายเฉลมิ เกียรติ ดีสม บรษิ ทั เลคเิ ซ่ ไลทต์ งิ้ 9-10 มี.ค. อบรมโครงการ Lekise ลดใช้ นายภาคภูมิ มาตรทอง จํากัด จงั หวัด 54 พลังงานประสานช่วยเหลอื สังคม นายจักรพันธ์ุ ช่ืนภริ มย์ สมทุ รสาคร (ร่นุ ที่ 3) นายศักด์สิ ิงห์ งามสงา่ ห้องฝึกอบรมช้ัน 2 29 ม.ี ค.54 อบรมการใช้งานฐานข้อมลู13 นส.นิลบุ ล โรจนส์ ัตตรัตน์ อาคารเทพรัตน์ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสบื ค้น นส.ธัญลกั ษณ์ วิทยาโชติ ประจาํ ปงี บประมาณ 2554 ธนประสทิ ธ์ิพัฒนา สํานักหอสมุด จํานวน 4 ฐานข้อมูล นางสริ ิกร งามสาํ เร็จ มหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร์ 18-22 อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร เรื่อง การผลติ14 นายวทิ ยา อินทรอ์ ดุ ม (บางเขน) เม.ย.54 รายการวดี ีทศั น์ สํานักวทิ ยบรกิ าร มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี

๒๕ตาราง 9 (ตอ่ ) สถานที่ วันเดือนปี หวั ขอ้ เรื่อง ห้องประชุม 101/ 9 พ.ค.54 อบรมการใช้งานและตรวจสอบลําดับ ชือ่ -สกุล 102 หอประชมุ รายงานจากระบบบญั ชี 3 มติ ิ 15 นางกมลเนตร ธํารงบวั ศรี 10 พ.ค.54 26 พ.ค.54 อบรมการตรวจรูปแบบฯ ของภาค รตั นอัมพรโสภณ สาํ นักหอสมดุ 27 พ.ค.54 นพิ นธ์/วิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์ นส.รสสุคนธ์ บุญมาก มหาวทิ ยาลัยบรู พา อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเรอื่ ง การเขียน นส.รชั นี สิงหท์ อง หอ้ งประชมุ PH117 1 ม.ิ ย.54 รายงานการประเมินตนเอง 16 คณาจารยแ์ ละบคุ ลากร คณะสาธารณสขุ ประจาํ ปีการศกึ ษา 2553 จํานวน 21 คน ศาสตร์ 21-22 อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการเรอ่ื ง การใช้ 17 นางนิตยา ปานเพชร หอ้ งศนู ย์เทคโนโลยี ม.ิ ย.54 โปรแกรมระบบฐานขอ้ มูลด้านการ นส.นิสาชล กาญจนพชิ ติ การศกึ ษา ชน้ั 2 19 ก.ค.54 ประกนั คณุ ภาพการศึกษา (CHE นางสมหมาย ลม้ิ ปิติพานิชย์ คณะศกึ ษาศาสตร์ 4-5 ส.ค.54 QA ONLINE SYSTEM) 18 นางนติ ยา ปานเพชร 14 ก.ย.54 อบรมการตรวจสอบ บํารงุ รักษา นส.นสิ าชล กาญจนพชิ ิต คณะวศิ วกรรมศาสตร์ และแนวทางแกไ้ ขความเสยี หาย นางสมหมาย ลมิ้ ปิติพานิชย์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ของอาคารเบ้อื งตน้ สําหรับผู้ดูแล อาคาร 19 นายเกษตรพนั ธุ์ ชอบทาํ กิจ โรงแรม The Twin อบรมวทิ ยากรแกนนาํ Tower เขตปทมุ วัน 20 นายเฉลิมเกียรติ ดสี ม กรงุ เทพฯ ร่วมฟงั การกรอกข้อมูลระบบ สํานกั คอมพิวเตอร์ สารสนเทศโครงการบริการวิชาการ 21 นางนติ ยา ปานเพชร มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยบรู พา นส.นสิ าชล กาญจนพชิ ติ อบรมจัดทาํ โครงการบันทึกขอ้ มูล ห้อง 204 ระบบสารสนเทศโครงการบรกิ าร 22 นางนิตยา ปานเพชร สาํ นักคอมพิวเตอร์ วชิ าการ มหาวทิ ยาลยั บรู พา นางอรัญญา บําเพ็ญแพทย์ ชนั้ 2 ฟงั การบรรยายพิเศษ ICT DAY นางสมหมาย ลมิ้ ปิตพิ านชิ ย์ อาคารสาํ นกั 2011 “นวัตกิ รรมไอทกี ับการ คอมพวิ เตอร์ ก้าวสเู่ ปน็ องคก์ รอัจฉรยิ ะ” 23 นายเฉลมิ เกียรติ ดีสม นายจักรพันธ์ุ ชื่นภิรมย์

๒๖ตาราง 10 รายละเอียดการเป็นวทิ ยากรและการบรรยายพเิ ศษลําดับ องค์กร/หนว่ ยงานที่จัด เรือ่ ง สถานที่ ชื่อผ้ไู ด้รบั เชิญ 1 คณะวทิ ยาการจัดการ เปน็ วทิ ยากร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรรี าชา The Use of Library ห้อง 1411 นางอาภากร 2 ภาควิชานวัตกรรมและ เทคโนโลยกี ารศึกษา Resources อ า ค า ร บ ริ ก า ร ธาตโุ ลหะ คณะศึกษาศาสตร์ 3 คณะมนุษยศาสตร์และ วทิ ยาการ สงั คมศาสตร์ ภาควิชาสารสนเทศศกึ ษา ความรเู้ บื้องตน้ เกย่ี ว อาคาร 60 นายจกั รพันธ์ุ 4 มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราํ ไพพรรณี กบั (ICT) พรรษามหาราชินี ชืน่ ภริ มย์ 5 งานห้องสมุด วทิ ยาเขต 1 ห้อง 109 สระแก้ว การอนุรกั ษ์และ ห้อง QS2-109 นางวนั ทนา 6 สาํ นกั งานคณะกรรมการ การเลอื กตัง้ ประจาํ บ ริ ก า ร ส่ื อ ส า ร ส น เ ท ศ : กติ ิศรวี รพนั ธ์ุ จังหวัดระยอง จากหนงั สือสูe่ -Book 7 สาํ นักวิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ การพัฒนาและการ หอ้ งประชุม นางวันทนา วทิ ยาเขตศรีราชา อนรุ ักษส์ อ่ื สารสนเทศ: อาคารเฉลมิ กติ ศิ รวี รพันธุ์ 8 สาํ นกั วทิ ยบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั นครพนม จากหนังสอื สูe่ -Book พระเกียรติฯ 9 สาํ นักงานคณบดี (35201) คณะการแพทย์แผนไทย อภัยภูเบศร ชนั้ 2 แนะนาํ การใช้หอ้ งสมดุ หอ้ งปฏิบัติการ นส.นสิ าชล และฐานขอ้ มูลออนไลน์ คอมพิวเตอร1์ กาญจนพชิ ิต มหาวิทยาลยั บรู พา วิทยาเขต สระแกว้ สํานกั งานก้าวหน้า หอ้ งประชุม นางวนั ทนา ด้วยการพฒั นา 5ส สาํ นกั งาน กติ ิศรีวรพันธ์ คณะกรรมการ นางวัชรียพ์ ร การเลือกตัง้ คุณสนอง ประจําจงั หวัด ระยอง โปรแกรมห้องสมุด อาคาร 14 นายเฉลิมเกียรติ อัตโนมตั ิ อาคารหอสมดุ ดีสม อนสุ รณ์ 10 ปี นส.อุฬาริน เฉยศิริ ความรูเ้ ก่ียวกับการ หอ้ ง 201 สํานัก นางวันทนา บรหิ ารคุณภาพ วทิ ย กิติศรวี รพนั ธุ์ หอ้ งสมุดแบบมี บรกิ าร สว่ นรว่ ม มหาวิทยาลยั บรู พา อนรุ กั ษใ์ บลาน หอ้ ง PH301 นางวนั ทนา คณะสาธารณสขุ กติ ศิ รวี รพันธ์ุ ศาสตร์

๒๗ตาราง 10 (ต่อ) เรื่อง สถานท่ี ชอื่ ผไู้ ดร้ บั เชิญเปน็ วิทยากรลําดับ องคก์ ร/หน่วยงานท่จี ัด การจดั การความรู้ หอ้ ง BU 101 10 สาํ นกั งานเลขานกุ าร จากทฤษฎสี ู่การ อาคารบริการ นางรัศมี ปานดิษฐ์ ปฏบิ ัติ และ วชิ าการ 2 นส.นิตยา ปานเพชร สํานักบริการวิชาการ เทคนิคการแลก นส.นสิ าชล เปลีย่ นเรียนรู้ร่วมกัน 11 สาํ นกั หอสมุดกลาง กาญจนพชิ ิต มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทร การจัดการความรู้ หอ้ งประชุม นางวชั รยี ์พร วโิ รฒ (Knowledge 8102 ชั้น8 Management) สาํ นักหอสมุด คณุ สนอง กลาง นางรศั มี ปานดิษฐ์12 วิทยาลัยการอาชีพ ระบบห้องสมดุ ห้องประชมุ วทิ ยาลัย นส.นติ ยา ปานเพชร นานายอาม อตั โนมตั ิ นส.นิสาชล กาญจนพิชติ นางวัชรียพ์ ร คณุ สนอง นายเฉลิมเกียรติ ดสี ม

๒๘ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา สํานักหอสมุด รบั การตรวจประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายใน ประจาํ ปกี ารศึกษา 2553เม่ือวนั ท่ี 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลยั บูรพา จาํ นวน 4 ทา่ น ประกอบดว้ ยรองศาสตราจารย์ ดร.ชนศักด์ิ บ่ายเที่ยง เป็นประธานและผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นรงค์ ฉมิ พาล,ี ดร.เกรยี งศกั ด์ิ เขยี วม่งั และคณุ เวธกา กลน่ิ วิชิตเปน็ กรรมการ ผลการตรวจประเมินพบว่าการประกนั คุณภาพตาม 9 องค์ประกอบ ของสกอ. มีคะแนนเฉลีย่รวม อยใู่ น “ระดบั ดี” (4.00) และผลการประเมินคณุ ภาพรวมกับตัวบ่งชีพ้ เิ ศษ มคี ณุ ภาพอย่ใู น“ระดับด”ี (4.30) โดยพจิ ารณาแยกตามประเภท ดงั นี้ ๑. พจิ ารณาตามองคป์ ระกอบคุณภาพ ๙ ดา้ น พบว่า องค์ประกอบที่อยใู่ นระดับดีมาก ได้แก่องค์ประกอบที่ 1 และองค์ประกอบที่ 9 (5.00) องคป์ ระกอบทอ่ี ย่ใู นระดับดี ได้แก่ องคป์ ระกอบท่ี 5(4.00) และองคป์ ระกอบทอี่ ยใู่ นระดบั พอใช้ ได้แก่ องค์ประกอบท่ี 7 (3.50) และองค์ประกอบท่ี 8(3.00) ๒. พจิ ารณาตามมาตรฐานการอดุ มศกึ ษา พบว่า มาตรฐานที่ 2ก และ 2ข อยใู่ นระดบั ดี (4.00) ๓. พิจารณาตามมุมมองด้านบรหิ ารจดั การ พบว่า มมุ มองด้านการบรหิ ารจดั การทอี่ ย่ใู นระดบั ดีได้แก่ มมุ มองดา้ นนกั ศึกษาและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย (4.00) มมุ มองด้านกระบวนการภายใน (4.25)มุมมองท่ีอยูใ่ นระดับพอใช้ คือ มุมมองด้านการเงนิ (3.00) ๔. พิจารณาตามมาตรฐานสถาบนั อุดมศึกษา พบวา่ มาตรฐานท่ี 1 และ 2 อยู่ในระดับดี (4.00) จดุ เดน่ ๑. ผูบ้ รหิ าร บุคลากร ทุกระดบั เห็นถงึ ความสําคญั ของการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ๒. มีการนาํ กลไกในระบบอ่ืนๆ เขา้ มาส่งเสริมงานประกนั คุณภาพ เชน่ 5ส การจัดการส่งิ แวดล้อมISO ๑๔๐๐๑ ระบบการจดั การความรู้ KM เป็นต้น 3. บุคลากรมศี ักยภาพในการใหบ้ รกิ ารวชิ าการแกส่ ังคม และมเี ครอื ข่ายความร่วมมือในระดบั ประเทศ Pulinet 4. มที รพั ยากร ทําเล ทต่ี ง้ั มศี ักยภาพเพยี งพอ เหมาะแก่การเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ของภาคตะวนั ออก 5. มีการประเมินความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของผบู้ รหิ ารของหนว่ ยงาน ตั้งแตร่ ะดบั สาํ นัก ลงไปถึงระดบั ฝา่ ย 6. มีระบบบญั ชี 3 มติ ิ ซง่ึ เป็นฐานขอ้ มลู ท่ชี ่วยในการจัดการดา้ นการเงนิ และบัญชี จดุ ทคี่ วรพฒั นา ๑. ควรจัดทาํ รายงานทางการเงนิ เสนอตอ่ คณะกรรมการประจาํ สํานกั หอสมดุ ให้เปน็ ไปตามเกณฑ์ทีก่ าํ หนด ๒. ควรจัดให้มตี ารางการประชุมคณะกรรมการวิชาการ และนาํ เรือ่ ง ผลการประเมนิ ของการบริการวชิ าการ เขา้ ที่ประชุม เพอ่ื พจิ ารณาตามโจทย์ของ ตวั บ่งชท้ี ี่ ๕.๑ ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการเกณฑ์มาตรฐาน : ข้อท่ี ๕

๒๙ ประเดน็ เรง่ ด่วนในการพฒั นา ๑. ควรเรง่ ดําเนนิ การประเมินผู้บรหิ ารสว่ นงานตามข้อบังคบั ของมหาวิทยาลยั ๒. ดาํ เนินการบรหิ ารจดั การความเสย่ี งใหค้ รบตามข้นั ตอน ๓. รายงานการเงนิ และงบประมาณต่อคณะกรรมการประจาํ สาํ นักหอสมดุ อยา่ งน้อยปลี ะ 2 ครง้ั สาํ หรบั ผลการตรวจประเมินตามตวั บง่ ชค้ี ุณภาพห้องสมดุ สถาบันอุดมศกึ ษา ขา่ ยงานหอ้ งสมดุมหาวทิ ยาลยั สว่ นภมู ิภาค (PULINET) มีคะแนนเฉลย่ี รวมอยู่ใน “ระดบั ดี” (4.22)

๓๐ กิจกรรม “วันประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยบรู พา ปกี ารศกึ ษา 2553” สาํ นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยบรู พา และส่วนงานต่างๆ รว่ มกันจัดนิทรรศการในงานกิจกรรม “วนัประกนั คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศกึ ษา 2553” เมอ่ื วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2554ณ หอ้ งโถงช้ัน 1 และช้นั 2 หอประชุม ธํารง บัวศรี เพื่อแสดงผลงานกจิ กรรมดา้ นการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของทุกสว่ นงาน ในรอบปกี ารศกึ ษา 2553 โดยผลการจดั นทิ รรศการ สาํ นักหอสมุดไดร้ บั รางวัลดเี ดน่ อนั ดบั 1 ประเภทส่วนงานสนับสนนุ การเรยี นการสอน (Non-teaching Unit)

๓๑กิจกรรม 5 ส กิจกรรม 5 ส เป็นปัจจยั พน้ื ฐานการบริหารคุณภาพ ทีจ่ ะชว่ ยสร้างสภาพแวดล้อมทีด่ ีในท่ที าํ งานใหเ้ กิดบรรยากาศท่ีน่าทํางาน เกดิ ความสะอาดเรียบร้อยในสํานักงาน ถูกสขุ ลกั ษณะ ทาํ ใหพ้ นกั งานหรือเจา้ หนา้ ที่ สามารถใช้ศกั ยภาพของตนเองได้อยา่ งเตม็ ความสามารถ สรา้ งทัศนคติทดี่ ขี องพนักงานต่อหน่วยงาน กจิ กรรม 5 ส เป็นกลยทุ ธ์อกี วธิ ีหนงึ่ ท่เี ปดิ โอกาสให้บุคลากรมีส่วนรว่ มในการพัฒนาคณุ ภาพเปน็ กิจกรรมท่ีทาํ แล้วเหน็ ผลเรว็ และชดั เจน นอกจากนัน้ กิจกรรม 5 ส จะเป็นพื้นฐานในการนาํ วธิ กี ารบรหิ ารใหมๆ่ เขา้ มาใชใ้ นอนาคตตอ่ผลการดําเนนิ งาน ปี 25541. การตรวจประเมนิ กจิ กรรม 5 ระยะเวลาดําเนินงาน: วันที่ 20-21 กรกฎาคม 2554 ผลการตรวจประเมิน: ทกุ พ้นื ทม่ี ีผลการดาํ เนินงานอย่ใู นระดับดมี าก

๓๒2. กิจกรรม Big Cleaning Dayระยะเวลาดําเนินงาน: วันที่ 20 พฤษภาคม 2554 สถานท:ี่ บรเิ วณระเบียงตึกสาํ นกั หอสมุด ต้งั แต่ชน้ั 2-7 กจิ กรรม: 1. สํารวจและคดั แยกต้นไมอ้ ืน่ ๆ ทไี่ มใ่ ช่เฟื่องฟ้าออกจากระเบยี ง 2. เปล่ียนดนิ ตัดราก และใส่ปยุ๋ ในกระถางเฟอ่ื งฟา้ 3. จัดระยะกระถางเฟ่ืองฟ้า ใหม้ ีระยะหา่ งเทา่ ๆ กัน

๓๓ภาพหลงั จดั กจิ กรรม Big Cleaning Day 3.กจิ กรรม Mini Cleaning Dayระยะเวลาดําเนนิ การ: วนั ท่ี 26-27 ตุลาคม 2554สถานท:ี่ ห้องจัดเกบ็ อปุ กรณ์จัดนทิ รรศการ ห้อง 101กจิ กรรม: 1. สะสาง และคดั แยกอุปกรณ์ทีใ่ ชไ้ ด้และใช้ไม่ได้ 2. จัดหมวดหม่คู รุภณั ฑ์ และอุปกรณน์ ิทรรศการ เพอื่ ความสะดวกรวดเรว็ ในการหยบิ ใช้ 3. คัดแยกหนงั สอื เกา่ ท่ีรอจาํ หนา่ ย และทรี่ อตรวจสอบ

๓๔ภาพกอ่ นทํา Mini Cleaning Dayภาพหลงั ทํา Mini Cleaning Day

๓๕

๓๖การจดั การสง่ิ แวดล้อมตาม ISO 14001 : 2004การพฒั นาระบบคณุ ภาพสู่ ISO 14001 : 2004สํานักหอสมุดพัฒนาระบบการจดั การสิง่ แวดล้อม ตาม ISO 14001 จากโครงการรวมพลังหารสองของมหาวิทยาลัยบรู พา ในปพี ุทธศกั ราช 2547 และมกี ารดาํ เนนิ งานต่างๆ ตามลําดับ ดังน้ีได้รับใบรบั รองระบบการจัดการส่งิ แวดล้อม (Certification) :จากบริษัท ทยี ูวี ไรน์แลนด์ (ประเทศไทย) จํากดั สงิ หาคม 2548ตรวจประเมนิ เพื่อรักษาใบรับรองระบบ คร้ังที่ 1 (1st Surveillance Audit) : 16 ตลุ าคม 2549ตรวจประเมินเพอ่ื รกั ษาใบรบั รองระบบ ครง้ั ที่ 2 (2nd Surveillance Audit) : 18 กันยายน 2550ตรวจประเมินเพอ่ื รบั รองระบบการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม (Re-Certification Audit) : 1 สงิ หาคม 2551ตรวจประเมินเพอ่ื รกั ษาใบรบั รองระบบ ครัง้ ท่ี 1 (1st Surveillance Audit) : 8 กนั ยายน 2552ตรวจประเมินเพื่อรักษาใบรบั รองระบบ ครั้งท่ี 2 (2nd Surveillance Audit) : 6 กนั ยายน 2553ในปีพุทธศกั ราช 2554 ใบรบั รองระบบการจดั การส่งิ แวดล้อมตาม ISO 14001 : 2004ของสํานักหอสมดุ หมดอายใุ นวนั ท่ี 14 กันยายน พ.ศ. 2554 ตามมติทีป่ ระชุมคณะกรรมการประจําสํานักหอสมดุ ครง้ั ท่ี 4/2553 วนั พุธท่ี 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2553 เหน็ ชอบใหย้ ตุ ิการต่ออายุใบรบั รองระบบ แตใ่ ห้ดาํ เนินการระบบการจัดการสิ่งแวดลอ้ มต่อไปกิจกรรมการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม1. ดาํ เนนิ งานโครงการการจัดการส่ิงแวดลอ้ ม 3 โครงการ ดังน้ี 1.1 โครงการประหยัดพลังงานไฟฟ้า 1.2 โครงการประหยดั น้ําประปา 1.3 โครงการการจัดการขยะ2. ตรวจติดตามภายในระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001 : 20043. การตรวจวดั แสงสวา่ ง4. การตรวจคณุ ภาพน้าํ ทง้ิ5. ฝกึ อบรมการระงบั อัคคีภยั เบ้ืองต้นและซอ้ มอพยพหนีไฟ6. ประชุมบคุ ลากรการจัดการสิง่ แวดล้อม7. ดาํ เนนิ งานฝกึ อบรมการสรา้ งพลังทมี งานเพอื่ ความเป็นหนง่ึ และกิจกรรมสานสมั พันธ์

๓๗ผลทเ่ี กดิ จากความสําเรจ็ ของโครงการ 1. ผลการดาํ เนนิ งานโครงการการจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม 3 โครงการ โครงการ เป้าหมาย ระยะเวลา ผลการดาํ เนนิ การ บรรลุประหยัด มีการใชก้ ระแสไฟฟา้ เฉลีย่ 3พลังงานไฟฟ้า ประหยดั การใช้พลังงานไฟฟ้า ตุลาคม 2553 ตอ่ เดือน รอ้ ยละ 2.75 3ประหยดั ให้มปี รมิ าณลดลงรอ้ ยละ 85 – กรกฎาคม มีปรมิ าณการใชน้ ้าํ ประปาเฉล่ยี 3นา้ํ ประปา 7.22 ลิตร/คน/วัน โดยคํานวณจากปริมาณ 2554 ลดลงรอ้ ยละ 48.43การจัดการขยะ กระแสไฟฟา้ เตม็ อัตรา จาก มีปรมิ าณขยะรีไซเคลิ รอ้ ยละ 32 และ อปุ กรณ์ไฟฟา้ ทัง้ หมดใน สามารถนาํ ขยะรไี ซเคิล กจิ กรรมการให้บริการ กลบั มาใชใ้ หมไ่ ดร้ ้อยละ 9 หอ้ งสมุด ประหยัดการใช้น้ําประปา ให้ ตลุ าคม 2553 มีปรมิ าณเฉล่ยี ลดลงรอ้ ยละ 5 – สิงหาคม จากการใชน้ ้าํ ประปาเฉลย่ี 2554 14 ลิตร/คน/วนั สามารถคัดแยกขยะรไี ซเคลิ ได้ มิถนุ ายน – รอ้ ยละ 30 และสามารถนํา สงิ หาคม ขยะรีไซเคิลกลบั มาใช้ใหมไ่ ด้ 2554 รอ้ ยละ 5 โดยคดิ จากปรมิ าณ ขยะรวมของหน่วยงาน 2. ผลการตรวจตดิ ตามภายในระบบการจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม ISO 14001 : 2004 เมอื่ วันท่ี 14 -15 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2554 โดยคณะกรรมการตรวจตดิ ตามภายในระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14001 ประกอบดว้ ย นางสายสณุ ี ฤทธริ งค์, นางรัศมี ปานดษิ ฐ์ และนางสาวนิสาชล กาญจนพิชติ พบวา่สํานกั หอสมุด ได้มีการดําเนนิ งานจัดการระบบการจดั การสิ่งแวดล้อม ISO 14001 อยา่ งต่อเนื่องด้วยความรว่ มมือร่วมใจของผ้บู รหิ าร บคุ ลากร และผรู้ ับเหมาจา้ งช่วง ตลอดจนผู้ใช้บรกิ ารของสว่ นงานเปน็อยา่ งดี พรอ้ มกนั นีไ้ ดใ้ ห้ข้อสงั เกตและข้อเสนอแนะในการดาํ เนินงานการจัดการส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นประโยชนต์ ่อหน่วยงาน 3. ผลการตรวจวัดแสงสวา่ ง เมือ่ วันท่ี 17 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2554 โดยอาจารยแ์ ละนักศกึ ษาจากวิทยาลยั เทคนิคชลบุรี พบว่าพ้นื ทก่ี ารใหบ้ รกิ ารของสํานักหอสมดุ มีค่าการส่องสวา่ งไม่ตํา่ กว่าเกณฑ์มาตรฐานมากนัก สาํ หรับการตรวจวัดแสงสวา่ งในคร้ังต่อไปใหเ้ ปดิ ผา้ ม่าน เพ่ือให้ค่าการส่องสว่างเพ่ิมมากขนึ้ 4. ผลการตรวจคุณภาพนํา้ ทงิ้ เมือ่ วันท่ี 9 กมุ ภาพันธ์ และวนั ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พบวา่ค่าพารามเิ ตอร์บางคา่ ยงั เกนิ มาตรฐานอยู่ จงึ ดําเนนิ การตรวจสอบท่อระบายนํา้ ทง้ิ และดําเนินการว่าจ้างบรษิ ทั มาดาํ เนินการลอกทอ่ ระบายนํา้ ทง้ิ ในวันท่ี 14 กนั ยายน พ.ศ. 2544

๓๘ 5. สาํ นกั หอสมดุ จัดการประชุมบุคลากรและผู้ประกอบการ เพื่อฝกึ อบรมการระงับอคั คภี ยัเบื้องต้น พรอ้ มกนั นี้ไดซ้ อ้ มอพยพหนไี ฟออกจากอาคารสาํ นกั หอสมุด เมอ่ื วนั ที่ 21 ตลุ าคม พ.ศ. 2553โดยวทิ ยากรจากบริษทั นปิ ปอน เคมิคอล จาํ กัด ท้งั น้ี บุคลากร, ผู้ประกอบการและผู้ใชบ้ รกิ าร ให้ความร่วมมอื ในการซ้อมอพยพหนไี ฟเปน็ อยา่ งดี 6. บุคลากรและผปู้ ระกอบการของสํานกั หอสมุด เข้าร่วมประชุมบุคลากรเกย่ี วกับการจัดการสงิ่ แวดล้อม ISO ๑๔๐๐๑ เพือ่ สร้างเสรมิ ความรู้ ความเขา้ ใจด้านระบบการจดั การสงิ่ แวดล้อมของสํานักหอสมดุ ในวนั ท่ี ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ผลการประชมุ คร้ังนีไ้ ด้แนวคิดการจัดโครงการสง่ิ แวดลอ้ มจํานวน ๖ โครงการ คือ 1) โครงการแยกให้ถูกท่ี ท้งิ ใหถ้ ูกทาง 2) โครงการทางเดยี วกันไปด้วยกนั 3) โครงการเคร่อื งออกกาํ ลงั กาย รกั ษาน้ํา สร้างนาํ้ ตก 4) โครงการปรับแตง่ วัสดุเหลือใช้ 5) โครงการสวนหย่อมมุมสบาย 6) โครงการสวนผกั ลอยฟ้า 7. สํานักหอสมุดจดั โครงการการสร้างพลังทมี งานเพ่ือความเป็นหนึ่ง และกจิ กรรมสานสมั พนั ธ์ใหก้ บั บุคลากรของสํานักหอสมดุ จํานวน 54 คน ณ สวนไทรโยครีสอร์ท จงั หวดั กาญจนบรุ ี เมื่อวนั ท่ี 4-5พฤษภาคม พ.ศ. 2554 โดยจดั กิจกรรม Walk Rally จากทีมวทิ ยากรที่มีประสบการณ์, กจิ กรรมลอ่ งแพลูกบวบ, กิจกรรมกลุ่มสมั พนั ธ์ และกิจกรรมแคมปไ์ ฟเสรมิ สรา้ งความสามคั คีและมนษุ ยสัมพันธ์ที่ดตี อ่ กนั ในหมคู่ ณะ เพอ่ื สรา้ งทมี งานและปลูกจิตสาํ นกึ ใหบ้ คุ ลากรรกั งาน รักองค์กร สามารถปรบั พฤติกรรมการทาํ งาน เชิงรุก สร้างทัศนคตทิ ดี่ ใี นการทาํ งาน และปลกู ฝังแนวคิดการทาํ งานรว่ มกนั

๓๙ภาพประกอบการตรวจตดิ ตามภายในระบบการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม ISO 14001 : 2004คณะกรรมการตรวจติดตามฯ รว่ มเปิดประชุม สมั ภาษณ์ผ้แู ทนฝา่ ยบรหิ ารการจัดการสิ่งแวดลอ้ มสัมภาษณผ์ ู้อํานวยการสํานักหอสมดุ สัมภาษณค์ ณะอนุกรรมการดาํ เนินงาน สิ่งแวดล้อม และตรวจสอบเอกสารสมั ภาษณ์ผปู้ ระกอบการ และผูใ้ ช้บริการ

๔๐ฝกึ อบรมการระงบั อัคคภี ัยเบอื้ งตน้ และซ้อมอพยพหนไี ฟ ภาพจาํ ลองเหตุการณ์การเกิดเพลิงไหม้ ณ หอ้ งเก็บพัสดุ ชนั้ 1และการอพยพหนไี ฟ ไปยังจดุ รวมพล (ลานท่จี อดรถอาคารวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์)

๔๑ประชุมบคุ ลากรการจดั การสง่ิ แวดล้อมบคุ ลากรและผปู้ ระกอบการร่วมกิจกรรมนันทนาการ พร้อมเสนอโครงการส่ิงแวดลอ้ มในฝนั

๔๒ดําเนินงานฝกึ อบรมการสร้างพลงั ทีมงานเพอื่ ความเป็นหนงึ่ และกิจกรรมสานสัมพันธ์

๔๓การจดั การความรู้ การจดั การความรู้สํานักหอสมดุ เริม่ ดาํ เนินการมาตั้งแต่ ปี 2549-ปัจจุบัน มีการพัฒนาเปน็ ลาํ ดับตามขั้นตอน ตลอดจนมีการดําเนนิ การอยา่ งต่อเนอื่ ง จนสามารถแลกเปลยี่ นเรียนรู้จากประสบการณ์ทาํ งานจรงิ ให้เป็นองคค์ วามร้ไู ด้อยา่ งชัดเจน ซ่ึงแตล่ ะปีมีเป้าหมายในการสร้างองคค์ วามรเู้ พมิ่ เตมิ เพ่อื เก็บไว้ในคลงั ความรสู้ าํ หรับใหบ้ คุ ลากรได้ศึกษาตลอดเวลา ในปที ่ผี า่ นมาไดส้ ร้างองคค์ วามรู้ทส่ี อดคล้องกบันโยบายมหาวิทยาลัยที่ม่งุ ไปสูม่ หาวทิ ยาลัยวิจัย โดยมงุ่ เนน้ บุคลากรสาํ นกั หอสมุดทุกคนได้มโี อกาสเท่าเทียมกนั การดาํ เนินงาน 1. มีการจดั เวทีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้จากประสบการณ์ของแตล่ ะบคุ คล 2. บนั ทึกจากเรอ่ื งเลา่ ของบคุ ลากรที่มปี ระสบการณ์ในเรอ่ื งน้ัน ๆ 3. เผยแพรใ่ ห้บุคลากรทกุ คนทราบและนําไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและหน่วยงาน 4. จดั เกบ็ ไวใ้ นคลังความร้ขู องสาํ นักหอสมุด ในรูปของ web Library KM และเปน็ ช่องทาง สาํ หรบั การแลกเปล่ยี นเรยี นรเู้ พิ่มเติม และตอ่ เนือ่ ง ตลอดเวลา ผลงานการสรา้ งองคค์ วามรู้ มีทงั้ หมด 5 เรอื่ ง ดงั นี้ 1. องค์ความรู้ เรอื่ ง \"เทคนิคการทํางานอย่างมคี วามสุข\" 2. องค์ความรู้ เร่อื ง “การบรกิ ารท่ีเหนือความคาดหวงั ” 3. องค์ความรู้ เร่ือง “การบรกิ ารยมื -คนื วัสดุห้องสมุดอย่างมปี ระสิทธภิ าพ” 4. องคค์ วามรู้ เรื่อง “กระบวนการวเิ คราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ” 5. องค์ความรู้ เรื่อง “เทคนคิ การวจิ ัยภายในหน่วยงาน”

๔๔ การบรกิ ารวชิ าการแกส่ งั คม 1. โครงการพฒั นาหอหนงั สอื พทุ ธวงศน์ สุ รณ์ 1.1 ความเปน็ มาของโครงการ พืน้ ฐานทางวัฒนธรรมของไทยมคี วามสัมพันธก์ ับพระพุทธศาสนา โดยมีวดั เปน็ ศูนยร์ วมความรู้และถา่ ยทอดมรดกทางวัฒนธรรม วัดเขาพุทธโคดม จังหวดั ชลบุรี เป็นหนงึ่ ในบรรดาวดั ทง้ั หลายท่มี ีบทบาทสําคัญจากการดําเนินงานของพระศุภคณชิ ย์ สุภจติ โต โดยการจดั ตัง้ หอหนังสอื พุทธวงศน์ สุ รณ์เพ่ือให้เป็นศูนยร์ วมการเรยี นร้แู ละสง่ เสรมิ ในการพัฒนาคนในสังคม การดําเนนิ งานของห้องสมดุ พุทธวงศ์นสุ รณ์ได้รับบริจาคหนังสอื และสอ่ื การเรยี นร้ซู ง่ึ มีเนือ้ หาเกย่ี วกับธรรมะและสาขาอนื่ ๆ จากหนว่ ยงานต่างๆ ท้ังในจงั หวดั ชลบรุ ี และกรงุ เทพมหานคร เพื่อสง่ เสริมการรักการอา่ นและการศกึ ษาเรียนรแู้ ก่พระภกิ ษุสามเณร เยาวชนและประชาชนผูส้ นใจท่ัวไปในชุมชน ท้ังน้ีหากวดั ไดม้ กี ารพฒั นาห้องสมุดอย่างเป็นระบบมาตรฐานแลว้ จะชว่ ยใหพ้ ระภิกษุ สามเณร เยาวชนและประชาชนท่ัวไปไดร้ บั ประโยชนใ์ นการศกึ ษาคน้ คว้าและพฒั นาตนเองเป็นอยา่ งมาก 1.2 ผู้รบั ผดิ ขอบโครงการ ฝ่ายพฒั นาทรัพยากรสารสนเทศ สาํ นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั บรู พา 1.3 ระยะเวลาดําเนนิ โครงการ วันที่ 16 กนั ยายน พ.ศ. 2554 รวมเวลา 1 วัน 1.4 กิจกรรมโครงการ บุคลากรงานบาํ รุงรักษาหนังสอื ฝ่ายพัฒนาทรพั ยากรสารสนเทศ สํานกั หอสมุดมหาวทิ ยาลัยบูรพา ดําเนนิ การคดั เลอื กและแยกหนังสอื ออกเปน็ หมวดต่าง ๆ และตดิ แถบสีตามหมวดของหนงั สือ นําหนังสือที่แยกตามแถบสีจัดเกบ็ บนชน้ั หนงั สอื คัดเลอื กและแยกหนงั สอื ทม่ี สี ภาพชํารดุ ออกเพ่อื จดั การซ่อมดว้ ยวธิ กี ารซ่อมแบบก่ึงสมบูรณ์ แบบสมบูรณ์ และแบบบางสว่ น เสร็จแล้วนําหนงั สอืท่ไี ด้รบั การบํารงุ รกั ษาและซอ่ มเรียบรอ้ ยแล้วนาํ ขน้ึ ชน้ั ตามหมวดของหนงั สือ 1.5 ผลท่เี กิดจากความสําเร็จของโครงการ หนงั สือในหอหนังสอื พทุ ธวงศ์นสุ รณ์ ได้รับการดําเนินกาจดั ทาํ สัญลกั ษณต์ ิดแถบสีตามหมวดหมขู่ องหนงั สอื และนาํ หนังสือจดั เกบ็ บนชนั้ หนังสือ จํานวน 386 เลม่ และไดร้ บั การบํารงุ รักษาและซ่อมแซมให้อยใู่ นสภาพทแ่ี ขง็ แรง เหมาะสมกับการใหบ้ รกิ ารในหอ้ งสมดุ จาํ นวน 72 เลม่

๔๕1.6 ภาพประกอบโครงการ

๔๖ 2. โครงการหนังสือหมนุ เวียนแลกเปลยี่ นกันอา่ น 2.1 ความเป็นมาของโครงการ การอ่านหนังสอื เปน็ การพฒั นาตนเอง และใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ ซ่ึงเปน็ ส่งิ จําเป็นมากในการพฒั นาคนและพัฒนาสงั คม นอกจากนกี้ ารอ่านหนงั สือของคนไทยเป็นกิจกรรมท่ีไมแ่ พรห่ ลายแม้ในหมผู่ ทู้ ่รี ้หู นังสอื ก็ตาม โดยเฉพาะการอ่านหนงั สือทีด่ ีและมีสาระย่งิ มนี อ้ ยขน้ึ ไปอกี สาเหตุมอี ยหู่ ลายประการนบั ตัง้ แตก่ ารขาดแคลนหนังสอื ทดี่ ีและตรงกับความตอ้ งการของผ้อู า่ น รวมถึงการขาดแคลนแหลง่หนังสอื ทีจ่ ะยมื อา่ นได้ สํานักหอสมดุ มหาวิทยาลัยบรู พาจึงได้จัดโครงการหนังสอื หมนุ เวียนแลกเปล่ยี นกันอ่านตามโรงเรยี นต่าง ๆ ท่ีเข้าร่วมโครงการ เพือ่ เปน็ การปลูกฝงั นิสัยรกั การอา่ นของเดก็ และใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ทั้งต่อตนเอง ครอบครวั และสงั คมต่อไป 2.2 ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ ฝ่ายบริการสารสนเทศ สํานกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยบูรพา 2.3 ระยะเวลา และวนั เวลาในการจดั ทาํ โครงการ ครงั้ ท่ี ๑ เดอื นมกราคม ๒๕๕4 ครั้งท่ี ๒ เดือนมถิ นุ ายน ๒๕๕4 2.4 กจิ กรรมของโครงการ มีการดาํ เนินการสาํ รวจความตอ้ งการสารสนเทศของนักเรียนในโรงเรยี นทเ่ี ข้ารว่ มโครงการคัดเลอื กหนังสือจํานวน ๒๐๐ เล่มทจ่ี ะนาํ ไปไวใ้ นห้องสมุดของโรงเรยี นท่เี ข้าร่วมโครงการ และจดักิจกรรมส่งเสรมิ อาทิ ประกวดแนะนาํ หนังสือนา่ อา่ น บิงโกคาํ ศัพท์ เกมเปดิ ปา้ ยทายภาพ เกมทายสาํ นวนสุภาษติ และสมดุ บันทกึ การอา่ น เปน็ ต้น และในกิจกรรมยังมกี ารมอบที่คั่นหนังสอื และของรางวลั กับเดก็ ท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรมอีกด้วยโดยการดาํ เนนิ กิจกรรมดงั กลา่ ว สาํ นักหอสมุดได้แบง่ ระยะเวลาดาํ เนนิ การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านสาํ หรบั เดก็ ออกเปน็ 2 ครัง้ 2.5 ผลทเ่ี กิดจากความสาํ เร็จของโครงการ นกั เรยี นทเ่ี ข้ารว่ มโครงการได้รบั ความรจู้ ากกิจกรรมทจี่ ัด และยงั เป็นการปลกู ฝังนิสัยรกัการอา่ นของนักเรยี นและใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชนท์ ้ังต่อตนเอง ครอบครัวและสงั คมในอนาคตตอ่ ไป

๔๗2.6 ภาพประกอบ ครัง้ ท่ี 1 วนั ที่ 9 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2554 ณ โรงเรยี นวดั เตาปนู ต. เสมด็ อ. เมอื ง จ. ชลบุรี

๔๘ครั้งที่ 2 วันที่ 20 มิถนุ ายน พ.ศ.2554ณ โรงเรียนวดั บางเปง้ อ. เมือง จ. ชลบรุ ี

๔๙ 3. โครงการเปดิ โลกใบใหมด่ ้วยการอา่ น 3.1 ความเปน็ มาของโครงการโดยสรปุ หอ้ งสมุดเปน็ แหลง่ บริการวิชาการให้แกผ่ ู้ใฝ่ศกึ ษาหาความรู้ สร้างเสรมิ นิสยั รักการอา่ นและสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนได้เรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวิต การจดั กจิ กรรมเพ่อื สง่ เสริมการอ่านและการเรยี นรู้ นับเปน็ ภารกิจสาํ คัญของหอ้ งสมดุ ท่พี ึงมตี ่อชมุ ชนทกุ ระดับในทอ้ งถน่ิ สํานกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยบรู พา ตระหนักถึงความสาํ คญั ดังกล่าวจงึ ประสงค์จะจดั โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรยี นรูแ้ ก่ผตู้ ้องขังในทณั ฑสถานหญิง จังหวดั ชลบุรี เพอ่ื เปน็ การให้บริการวชิ าการแก่ ผ้ตู ้องขงั หญงิ โดยมงุ่ หวงั ใหผ้ ูต้ อ้ งขงัดงั กลา่ ว ตระหนกั ถงึ ความสําคัญของการอา่ นและการเรยี นรูผ้ า่ นส่ือสารสนเทศในรปู แบบตา่ ง ๆ สามารถนําความร้ทู ่ไี ด้จากการอ่านมาประยุกต์ใชใ้ นการดาํ เนินชีวติ ได้อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสมกบั ตนเอง อกี ท้งั ยังเปน็ การจุดประกายนิสัยรักการอ่าน เพ่อื ให้เกิดความคดิ ในทางสรา้ งสรรคจ์ รรโลงใจใหก้ ับผูต้ ้องขังทีแ่ มจ้ ะเปน็ ผู้ขาดโอกาสในการมาใชบ้ ริการหอ้ งสมดุ ภายนอก แตก่ ลุ่มบุคคลดงั กล่าวกย็ งั มพี ละกาํ ลัง ความรู้ความสามารถท่จี ะทาํ ประโยชนใ์ ห้กับครอบครวั สงั คม และประเทศชาติไดใ้ นโอกาสตอ่ ไป 3.2 ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ นางวงเดือน เจรญิ และบคุ ลากรสํานักหอสมดุ 3.3 ระยะเวลา และวันเวลา วนั ท่ี 26 กรกฎาคม 2554 3.4 กิจกรรมของโครงการ ดาํ เนนิ กจิ กรรมโดยการจดั ซอ้ื หนงั สือและสื่อสารสนเทศ เพือ่ มอบให้หอ้ งสมุดทัณฑสถานหญงิ ชลบรุ ี จัดนทิ รรศการสง่ เสรมิ การอ่าน และจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ อาทิ ตอบปัญหาชงิ รางวัลจากการอา่ น แนะนําหนงั สือน่าอา่ น (Books Supermodel 2011) เกมสุภาษิต คาํ พงั เพย และการแสดงละครบนเวที 3.5 ผลทีเ่ กิดจากความสําเร็จของโครงการ ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมมีความสนใจต่อกจิ กรรมทส่ี ํานกั หอสมดุ จัดข้นึ มที ศั นคติท่ีดีมคี วามสุขจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรม มคี วามพึงพอใจโดยรวมอยใู่ นระดับมาก

๕๐3.6 ภาพประกอบโครงการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook