แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 จัดทาโดย นางสาวลลิตภ์ ทั ร คงเรอื ง เลขที่ 25 เสนอ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พัชรภี รณ์ บางเขียว แผนการจัดการเรยี นรู้เล่มน้ีเป็นส่วนหน่งึ ของรายวชิ า การจัดการเรยี นรแู้ ละการจัดการชั้นเรียน (1100301) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา
คานา แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางการ จดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วยเน้ือหาสาระดังต่อไปนี้ แผนการจัดการเรียนรู้รายปีประกอบด้วย มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยจานวน 3 แผนการจัดการ เรียนรู้ ประกอบด้วย หน่วยคิดเก่งเขียนได้ หน่วยก้าวทันหลักภาษา และหน่วยรู้คุณค่าวรรณคดี ซึ่งแต่ละ แผนการจัดการเรียนรู้ได้ระบุมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบ การจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย อันได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ5 Steps (GOCQF) รูปแบบการจัดการ เรียนรู้แบบแฮรบ์ าร์ต และรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบชุดการสอน ซง่ึ แตล่ ะรปู แบบมวี ธิ กี ารจัดการเรยี นการสอน ที่แตกต่างกัน แต่ทั้งหมดนามาซ่ึงบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีใบงานและเกณฑ์การวัดและ ประเมินผล เพ่ือใช้ในการประเมินผลการเรียนร้ขู องผู้เรียนแต่ละคนวา่ หลกั จากเสร็จสิ้นการเรียน นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจมากน้อยเพียงใด ผา่ นเกณฑ์ประเมนิ หรอื ไม่ ผู้จัดทาขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.พัชรีภรณ์ บางเขียว เป็นอย่างย่ิง ท่ีให้คาปรึกษาและ คาแนะนาตลอดระยะเวลาการจัดทาแผนการเรียนรู้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการเรียนรเู้ ลม่ น้ีเป็นประโยชน์กับ การจดั การเรยี นการสอนในชั้นเรยี น เพ่อื พฒั นาการเรยี นร้ไู ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากยิ่งขึ้น นางสาวลลติ ์ภัทร คงเรือง ผู้จัดทา
สารบญั เร่ือง หน้า แผนการจดั การเรียนรูร้ ายปี 1 ตารางโครงสร้างรายวิชา 9 แผนการจดั การเรยี นรูห้ น่วยที่ 1 13 30 ใบงาน 37 แผนการจดั การเรยี นรู้หน่วยท่ี 2 54 59 ใบงาน 74 แผนการจดั การเรียนรู้หน่วยท่ี 3 ใบงาน
แผนการจดั การเรียนรู้ ๑ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ครูผ้สู อน นางสาวลลติ ภ์ ทั ร คงเรอื ง เวลา ๑20 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพ่อื นาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปัญหาในการ ดาเนนิ ชีวติ และมนี สิ ัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี น เขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเรื่องราวใน รูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟงั และดูอย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรคู้ วามคิดความรู้สึกใน โอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์ มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่าและ นามาประยุกต์ใช้ในชวี ติ จริง ตัวชวี้ ดั ท 1.1 ม.2/1 อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง ท 1.1 ม.2/2 จับใจความสาคญั สรปุ ความและอธบิ ายรายละเอยี ดจากเรอ่ื งท่อี า่ น ท 1.1 ม.2/3 เขียนผังความคดิ เพือ่ แสดงความเขา้ ใจในบทเรียนตา่ ง ๆ ท่ีอ่าน ท 1.1 ม.2/4 อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ และขอ้ โต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่าน ท 1.1 ม.2/5 วิเคราะหแ์ ละจาแนกขอ้ เท็จจริง ขอ้ มลู สนับสนนุ และข้อคิดเหน็ จากบทความที่อ่าน ท 1.1 ม.2/6 ระบุขอ้ สังเกตการชวนเชอ่ื การโนม้ นา้ วหรอื ความสมเหตสุ มผลของงานเขยี น ท 1.1 ม.2/7 อ่านหนงั สือบทความหรือคาประพนั ธ์อย่างหลากหลายและประเมนิ คุณค่าหรือ แนวคิดที่ไดจ้ ากการอา่ นเพือ่ นาไปใชแ้ ก้ปญั หาในชีวติ ท 1.1 ม.2/8 มีมารยาทในการอ่าน
๒ ท 2.1 ม.2/1 คดั ลายมอื ตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั ท 2.1 ม.2/2 เขยี นบรรยายและพรรณนา ท 2.1 ม.2/3 เขยี นเรียงความ ท 2.1 ม.2/4 เขียนย่อความ ท 2.1 ม.2/5 เขยี นรายงานการศกึ ษาค้นควา้ ท 2.1 ม.2/6 เขียนจดหมายกจิ ธุระ ท 2.1 ม.2/7 เขียนวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความรคู้ วามคดิ เหน็ หรือโต้แยง้ ในในเร่ืองท่ีอา่ น อย่างมเี หตุผล ท 2.1 ม.2/8 มีมารยาทในการเขียน ท 3.1 ม.2/1 พดู สรุปใจความสาคญั ของเรอื่ งท่ฟี งั และดู ท 3.1 ม.2/2 วเิ คราะห์ข้อเทจ็ จริงข้อคดิ เห็นและความนา่ เชือ่ ถอื จากสอื่ ตา่ ง ๆ ท 3.1 ม.2/3 วเิ คราะห์และวิจารณเ์ ร่อื งท่ีฟังและดูอยา่ งมีเหตผุ ลเพอื่ นาข้อคดิ มาประยุกตใ์ ช้ ในการดาเนนิ ชีวติ ท 3.1 ม.2/4 พูดในโอกาสต่าง ๆ ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ ท 3.1 ม.2/5 พดู รายงานเรอื่ งหรือประเด็นที่ศกึ ษาค้นควา้ จากการฟงั การดแู ละการสนทนา ท 3.1 ม.2/6 มมี ารยาทในการฟงั การดูและการพูด ท 4.1 ม.2/1 สรา้ งคาในภาษาไทย ท 4.1 ม.2/2 วิเคราะห์โครงสรา้ งประโยคสามญั ประโยครวมและประโยคซ้อน ท 4.1 ม.2/3 แต่งบทรอ้ ยกรอง ท 4.1 ม.2/4 ใชค้ าราชาศัพท์ ท 4.1 ม.2/5 รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคาภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ท 5.1 ม.2/1 สรปุ เนื้อหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่านในระดบั ท่ียากข้ึน ท 5.1 ม.2/2 วิเคราะห์และวจิ ารณ์วรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมทอ้ งถิน่ ท่อี า่ นพรอ้ ม ยกเหตุผลประกอบ ท 5.1 ม.2/3 อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น ท 5.1 ม.2/4 สรุปความร้แู ละขอ้ คดิ จากการอ่านไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง ท 5.1 ม.2/5 ท่องจาบทอาขยานตามทีก่ าหนดละบทร้อยกรองที่มีคุณคา่ ตามความสนใจ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ ความรู้ (K) ๑. อธบิ ายหลกั การอา่ นบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ ๒. จบั ใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอยี ดจากเรือ่ งที่อ่านได้ ๓. อธบิ ายหลกั การเขยี นผงั ความคิดเพอ่ื แสดงความเข้าใจในบทเรยี นจากเรอื่ งท่อี ่านได้ ๔. อธิบายหลักการอภิปรายแสดงความคิดเหน็ และ ขอ้ โต้แยง้ เกยี่ วกบั เรอ่ื งท่อี ่าน ๕. วิเคราะหข์ ้อเท็จจริง ข้อมูลสนบั สนนุ และขอ้ คิดเหน็ จากบทความท่ีอา่ นได้
๓ ๖. จาแนกข้อเทจ็ จริง ข้อมูลสนับสนุน และขอ้ คดิ เหน็ จากบทความท่ีอา่ นได้ ๗. อธบิ ายหลกั การสังเกตการณก์ ารชวนเชอ่ื การโนม้ น้าวหรือความสมเหตสุ มผลของงานเขียนได้ ๘. ระบขุ ้อสังเกตการชวนเชอ่ื การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขยี นได้ ๙. อธบิ ายวธิ กี ารเลอื กอา่ นหนงั สอื บทความ หรอื คาประพนั ธอ์ ย่างหลากหลายได้ ๑๐. ประเมนิ คณุ ค่าหรอื แนวคิด จากเรอ่ื งทอี่ า่ นได้ ๑๑. อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของการเขยี นบรรยายและพรรณนาได้ ๑๒. อธิบายหลักการเขียน จุดประสงคข์ องการเขียนบรรยายและพรรณนาได้ ๑๓. อธิบายหลักการของการเขยี นเรยี งความท่ดี ีได้ ๑๔. อธิบายหลกั การเขียนย่อความได้ ๑๕. อธบิ ายลักษณะและวธิ ีการเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะได้ ๑๖. บอกหลักการเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้ง ในเร่ืองท่ีอ่าน อย่างมเี หตุผลได้ ๑๗. อธิบายความสาคญั ของการพดู สรปุ ใจความสาคัญของเรอ่ื งที่ฟังและดไู ด้ ๑๘. อธบิ ายหลักเกณฑ์การพดู สรุปใจความสาคญั ของเร่ืองท่ีฟงั และดไู ด้ ๑๙. วิเคราะหข์ ้อเท็จจริง ข้อคิดเหน็ และความนา่ เช่ือถอื ของขา่ วสารจากสอ่ื ต่าง ๆ ได้ ๒๐. วิเคราะห์และวิจารณ์เรอื่ งท่ีฟงั และดูอย่างมีเหตุผลเพ่ือนาขอ้ คิดมาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ ๒๑. บอกหลักการพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ ๒๒. สรปุ เรื่องหรือประเด็นทจี่ ะพดู รายงานจากศกึ ษาคน้ คว้าได้ ๒๓. อธิบายลกั ษณะของคาสมาสและวิธีการสร้างคาสมาสได้ ๒๔. วิเคราะหโ์ ครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อนได้ ๒๕. อธิบายลกั ษณะของบทร้อยกรองได้ ๒๖. อธบิ ายความหมายและจดั หมวดหมขู่ องคาราชาศพั ทส์ าหรบั พระมหากษตั รยิ ์ได้ ๒๗. อธิบายความหมายและจัดหมวดหม่ขู องคาราชาศัพทท์ ่ีใชส้ าหรบั พระสงฆไ์ ด้ ๒๘. อธบิ ายความหมายและจัดหมวดหมขู่ องคาสุภาพได้ ๒๙. รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาตา่ งประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทยได้ ๓๐. สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดีและวรรณกรรมได้ ๓๑. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดวี รรณกรรม และวรรณกรรมท้องถน่ิ ที่อ่าน พรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบได้ ๓๒. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น ๓๓. สรุปความรแู้ ละข้อคดิ จากการอา่ นไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จริงได้ ๓๔. ท่องจาบทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณคา่ ตามความสนใจได้ ๒.๒ ทกั ษะ (P) ๑. ฝกึ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้ ๒. นาเสนอการอ่านจับใจความสาคัญ สรปุ ความ และอธิบายรายละเอียดจากเรอื่ งท่ีอา่ น ๓. เขยี นผังความคดิ เพื่อแสดงความเขา้ ใจในบทเรยี นได้ ๔. อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ และ ข้อโต้แยง้ เกีย่ วกบั เร่ืองทอ่ี า่ นเกย่ี วกบั เรอ่ื งที่อา่ นได้
๔ ๕. เขียนผลการวเิ คราะห์และจาแนกขอ้ เทจ็ จริง ขอ้ มูลสนับสนุน และขอ้ คดิ เห็นจากบทความท่อี ่านได้ ๖. นาหลักการสังเกตการชวนเช่ือ การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขียนไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั ได้ ๗. อา่ นหนงั สือ บทความ หรอื คาประพันธ์ได้อย่างหลากหลาย ๘. นาความรทู้ ไ่ี ด้จากการอ่านไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ๙. แสดงออกในการมมี ารยาทในอ่านได้อย่างเหมาะสม ๑๐. คัดลายมือตัวบรรจงครึง่ บรรทดั ได้ถูกตอ้ งตามรูปแบบตัวอักษรไทย ๑๑. เขียนบรรยายและพรรณนาได้ ๑๒. เขยี นเรียงความได้ถกู ต้องตามรูปแบบและสร้างสรรค์ ๑๓. เขยี นย่อความไดถ้ ูกต้องตามรปู แบบ ๑๔. เขียนรายงานการศกึ ษาค้นควา้ ได้ ๑๕. นาเสนอรายงานไดอ้ ยา่ งถูกต้องตามหลักการ ๑๖. เขยี นจดหมายกจิ ธุระไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและสรา้ งสรรค์ ๑๗. เขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ เหน็ หรอื โต้แยง้ ในเรอ่ื งท่ีอ่านไดถ้ ูกต้องเหมาะสม กับรูปแบบ ๑๘. พดู สรุปใจความสาคัญของเร่ืองทีฟ่ ังและดูได้ ๑๙. นาเสนอจากการวิเคราะห์ข้อเทจ็ จรงิ ข้อคิดเห็น และความน่าเช่อื ถอื ของขา่ วสารจากสื่อต่าง ๆ ได้ ๒๐. นาความรู้ที่ไดจ้ ากเร่ืองท่ีฟงั และดูไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวันได้ ๒๑. พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ๒๒. พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีศกึ ษาคน้ คว้าได้ ๒๓. ฝกึ สร้างคาสมาสพร้อมยกตัวอยา่ งได้ ๒๔. นาคาสมาสไปใช้ได้อย่างถกู ตอ้ งตามความหมาย ๒๕. ยกตวั อย่างประโยคสามัญประโยครวม และประโยคซ้อนไดถ้ กู ต้อง ๒๖. แตง่ บทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง ๒๗. ใชค้ าราชาศัพท์ไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั ระดับบุคคล ๒๘. นาเสนอการรวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย ๒๙. นาเสนอเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมได้ครบถว้ น ๓๐. ฝกึ วิเคราะห์คุณคา่ ของวรรณคดไี ทยและวรรณกรรมท้องถ่นิ ๓๑. นาคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ ๓๒. นาเสนอความรู้และข้อคิดจากการอา่ นไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ ๓๓. สาธิตการอ่านบทอาขยานท่ีกาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณคา่ ตามความสนใจได้ ๒.๓ ทัศนคติ (A) 1. เหน็ คณุ คา่ ในการอ่านออกเสยี งคาและข้อความในบทรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองได้ถกู ตอ้ ง 2. มมี ารยาทในการอ่าน
๕ 3. ตระหนักถึงความสาคัญของการอ่านจับใจความสาคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่อง ทอ่ี า่ น 4. เห็นประโยชน์ของการเขียนผังความคดิ เพ่ือแสดงความเขา้ ใจในบทเรียน 5. ยอมรับขอ้ แสดงความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกต่างจากผู้อนื่ 6. มคี วามตง้ั ใจวเิ คราะห์และจาแนกข้อเทจ็ จริง ข้อมลู สนับสนุน และขอ้ คดิ เห็นจากบทความทีอ่ า่ น 7. มีความต้ังใจในการระบุข้อสังเกตการชวนเช่ือ การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของ งานเขยี น 8. ต้งั ใจคดั ลายมอื 9. มคี วามรับผิดชอบในการเขียนบรรยายและพรรณนา 10. มคี วามรับผิดชอบในการเขยี นเรยี งความ 11. ให้ความร่วมมือในการทากจิ กรรมการเขยี นย่อความ 12. ให้ความร่วมมอื ในการเขียนจดหมายกจิ ธุระ 13. มีความสนใจในการเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้ง ในเรื่อง ท่อี ่าน 14. มมี ารยาทในการเขียน 15. มสี ว่ นรว่ มในการพูดสรุปใจความสาคญั ของเรอ่ื งที่ฟังและดู 16. ตั้งใจวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ ได้ อย่างมวี ิจารณญาณ 17. ตระหนกั ถงึ มารยาทในการฟังและการดู 18. เห็นความสาคญั ของการพูดในโอกาสต่าง ๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ 19. มมี ารยาทในการพูดรายงานเรื่องหรือประเดน็ ท่ีศึกษาคน้ ควา้ 20. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของการใชภ้ าษาไทยที่ถกู ต้อง 21. ให้ความร่วมมือในการวเิ คราะห์โครงสรา้ งประโยคสามญั ประโยครวม และประโยคซ้อน 22. เหน็ ความสาคญั ของฉนั ทลักษณ์ของบทรอ้ ยกรอง 23. ตระหนกั ถึงการใช้คาราชาศพั ทอ์ ย่างเหมาะสม 24. มีความตั้งใจในการรวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย 25. เห็นคุณคา่ และซาบซ้ึงในวรรณคดีและวรรณกรรม 26. เห็นประโยชนจ์ ากเร่อื งท่อี า่ นไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจรงิ 27. เห็นคณุ ค่าและซาบซึง้ ในบทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมคี ุณค่าได้ สาระสาคัญ การอ่าน การอ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแกว้ คาประพันธ์ชนดิ ตา่ ง ๆ การอ่านในใจ เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจ และการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิง่ ท่ีอ่าน เพ่อื นาไป ปรับใช้ในชวี ิตประจาวัน
๖ การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนส่ือสาร โดยใช้ถ้อยคาและรูปแบบต่าง ๆ ของการเขียน ซ่ึงรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่าง ๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และ เขียนเชงิ สร้างสรรค์ การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พดู ลาดบั เรอื่ งราวต่าง ๆ อยา่ งเปน็ เหตุเป็นผล การพดู ในโอกาสต่าง ๆ ทง้ั เปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ และ การพดู เพื่อโนม้ นา้ วใจ หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาใหถ้ ูกต้องเหมาะสมกับโอกาส และบุคคล การแต่งบทประพันธ์ประเภทตา่ ง ๆ และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศึกษาข้อมูล แนวความคิด คุณค่าของงาน ประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทาความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้านท่ีเป็น ภูมปิ ญั ญาท่มี ีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรสู้ ึกนึกคิด คา่ นิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของสังคม ในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซ้ึงและภูมิใจในบรรพบุรุษท่ีได้สั่งสมสืบทอดมาจนถึง ปจั จุบัน สาระการเรยี นรู้ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้ว บทรอ้ ยกรอง จบั ใจความสาคัญ สรุปความและอธิบายรายละเอียดจากเร่ือง ที่อ่านพร้อมทั้งเขียนผังความคิด จาแนกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น เขียนบรรยาย เขียนพรรณนา เขียนเรียงความ เขยี นย่อความ การพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ดว้ ยภาษาท่ถี กู ตอ้ งเหมาะสม อธบิ ายธรรมชาติของ ภาษา หลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา การสร้างคา ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน การใช้คาราชาศัพท์ แสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรมไทย ท่องจาบทร้อยกรองที่มีคุณค่า โดย ปลูกฝังการมีมารยาทการฟัง การดู การพูดการอ่านและการเขียนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ ปฏิบัติ กระบวรการสร้างความคิดรวบยอด กระบวรการสร้างความตระหนัก กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสรา้ งเจตคติ กระบวนการเรียนรแู้ ละความเข้าใจ สามารถนาเสนอสง่ิ ที่เรยี นรู้ เห็นคณุ คา่ ของการนา ความรูไ้ ปใช้ในชวี ติ ประจาวัน มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมท่เี หมาะสม
รายวิชา ภาษาไทย คาอธิบายรายวชิ า ๗ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่วั โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรอง จับใจความสาคัญ สรุปความ อธิบายรายละเอียดจากการอ่าน แสดงความคดิ เหน็ จากการอ่าน เรยี นรโู้ ครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซอ้ น รวบรวมและอธิบาย ความหมายของคาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย อธิบายคุณค่าวรรณคดีท่ีอ่าน ท่องจาบทอาขยานท่ีกาหนด พูด สรุปความจากเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือข่าวสารจากส่ือต่าง ๆ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน คัด ลายมือตัวบรรจง เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรียนต่าง ๆ ที่อ่านวิเคราะห์ และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมท้องถิ่นพร้อมยกเหตุผลประกอบ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า พูดรายงาน เร่ืองท่ีฟงั ดูและพดู เขยี นบรรยาย พรรณนา เขยี นย่อความ เขยี นเรียงความ โดยการรวบรวมข้อมูล ตอบคาถาม สรุปแนวคิด และแสดงความคิดเห็น ใช้กระบวนการสร้าง ความ ตระหนัก กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการกลุ่ม ทักษะในการทางานแบบร่วมมือ กระบวนการ วจิ ารณ์ กระบวนการทางภาษา กระบวนการปฏบิ ัติ และทักษะการอา่ น การเขยี น การฟัง ดแู ละพูด เพื่อใหม้ มี ารยาทและมีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองทฟ่ี งั ดแู ละพูด มนี ิสยั รักการอ่าน การเขียน ใฝ่-เรยี นรู้ เห็นคุณค่าของบทอาขยานและร้อยกรองในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติ ของชาติ ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๒ ท ๑.๑ ม.๒/๓ ท ๑.๑ ม.๒/๘ ท ๒.๑ ม.๒/๑ ท ๒.๑ ม.๒/๒ ท ๒.๑ ม.๒/๓ ท ๒.๑ ม.๒/๔ ท ๒.๑ ม.๒/๘ ท ๒.๑ ม.๒/๕ ท ๒.๑ ม.๒/๖ ท ๓.๑ ม.๒/๑ ท ๓.๑ ม.๒/๒ ท ๓.๑ ม.๒/๓ ท ๓.๑ ม.๒/๕ ท ๓.๑ ม.๒/๖ ท ๔.๑ ม.๒/๑ ท ๔.๑ ม.๒/๒ ท ๔.๑ ม.๒/๕ ท ๕.๑ ม.๒/๒ ท ๕.๑ ม.๒/๓ ท ๕.๑ ม.๒/๔ ท ๕.๑ ม.๒/๕ รวม ๒๒ ตวั ช้ีวดั
รายวชิ า ภาษาไทย คาอธิบายรายวชิ า ๘ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๒ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง ภาคเรยี นที่ ๒ ๑.๕ หน่วยกติ อ่านหนังสอื หรือคาประพันธ์ท่ีหลากหลายและประเมินคุณค่าเพ่ือนาไปใช้แกป้ ัญหาในชีวิต เขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ในเรือ่ งท่ีอ่านอย่างมเี หตผุ ล เรยี นรคู้ าราชาศัพทแ์ ละคาสุภาพ สรุปเนอ้ื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมในระดับ ที่ยากขึ้น อ่านออกเสียงร้อยแกว้ และรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง อภิปรายแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเร่ืองที่อ่าน วิเคราะห์ ข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่าน ระบุข้อสังเกตชวนเช่ือ การโน้มน้าวหรือสมเหตุสมผล ของงานเขยี น พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ แต่งบทรอ้ ยกรอง โดยการรวบรวมข้อมูล ตอบคาถาม สรุปแนวคิด และแสดงความคิดเห็น ใช้กระบวนการสร้าง ความ ตระหนัก กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการกลุ่ม ทักษะในการทางานแบบร่วมมือ กระบวนการ วิจารณ์ กระบวนการทางภาษา กระบวนการปฏบิ ัติ และทกั ษะการอ่าน การเขยี น การฟงั ดแู ละพดู เพ่ือใหม้ ีมารยาทและมีวิจารณญาณในการเลือกเร่ืองที่ฟงั ดูและพดู มนี ิสยั รักการอา่ น การเขียน ใฝ่-เรยี นรู้ เห็นคุณค่าของบทอาขยานและร้อยกรองในฐานะท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ รักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติ ของชาติ ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม.๒/๑ ท ๑.๑ ม.๒/๔ ท ๑.๑ ม.๒/๕ ท ๑.๑ ม.๒/๖ ท ๑.๑ ม.๒/๗ ท ๒.๑ ม.๒/๗ ท ๓.๑ ม.๒/๔ ท ๔.๑ ม.๒/๓ ท ๔.๑ ม.๒/๔ ท ๕.๑ ม.๒/๑ รวม ๑๐ ตัวชว้ี ัด
๙ โครงสร้างรายวชิ า รายวิชาภาษาไทย1 รหัสวิชา ท 23101 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 60 ช่ัวโมง/ 1.5 หนว่ ยกติ หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา (ช่วั โมง) การเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั 1 อ่านคลอ่ งทอ่ งจา 14 1.1 การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว ท 1.1 ม. 2/1 4 -วรรณคดีเรื่องศลิ าจารึกหลกั ที่ 1 1.2 การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรอง 3 -วรรณคดีเรื่องบทเสภาสามคั คเี สวกตอนวิศวกรรมา 1.3 การทอ่ งจาบทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง ท 5.1 ม. 2/5 3 -วรรณคดีเรอ่ื งบทเสภาสามัคคเี สวกตอนวิศวกรรมา 1.4 การอ่านจับใจความสาคัญสรปุ ความ และอธบิ ายรายละเอยี ดจากเรอื่ งครู ท1.1ม.2/2 2 ไหวใจรา้ ยตอนผบู้ อกเวลา 1.5 การเขียนแผนผงั ความคดิ จากเร่ืองครูไหวใจร้ายตอนผบู้ อกเวลา ท 1.1 ม. 2/3 1 1.6 มารยาทในการอา่ น ท 1.1 ม. 2/8 1 2 คดิ เกง่ เขยี นได้ 10 2.1 การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตวั อักษรไทย ท 2.1 ม. 2/1 1 2.2 การเขียนบรรยายและพรรณนา ท 2.1 ม. 2/2 4 2.3 การเขยี นเรยี งความ ท 2.1 ม. 2/3 2 2.4 การเขยี นย่อความ ท 2.1 ม. 2/4 2 2.5 มารยาทในการเขียน ท 2.1 ม. 2/8 1 3 ฟงั ดู เลา่ ขาน 9 3.1 การพูดสรปุ ความจากเรื่องทีฟ่ ังและดู ท 3.1 ม. 2/1 3 3 3.2 การวเิ คราะหข์ อ้ เทจ็ จรงิ ข้อคิดเหน็ และความน่าเชื่อถือของขา่ วสารจากสอื่ ท3.1ม.2/2 3 ต่าง ๆ 3.3 วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณเ์ รอื่ งท่ฟี ังและดอู ยา่ งมีเหตผุ ลเพ่ือนาขอ้ คดิ มา ท 3.1 ม. 2/3 ประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชวี ติ 4 ประจักษ์หลักภาษา ท 4.1 ม. 2/1 10 ท 4.1 ม. 2/2 2 4.1 การสร้างคาในภาษาไทย -คาสมาส 8 4.2 การวิเคราะหโ์ ครงสร้างประโยค
๑๐ หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา (ชั่วโมง) การเรยี นร้/ู ตัวชวี้ ัด - ประโยคสามญั - ประโยครวม -ประโยคซอ้ น 5 สืบสานวรรณคดี 15 5.1 สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน ท 5.1 ม. 2/1 5 -วรรณคดเี รือ่ งกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง 5.2 การวเิ คราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดวี รรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิน่ ท 5.1 ม. 2/2 5 -วรรณคดีเร่อื งกลอนดอกสรอ้ ยราพงึ ในป่าช้า 5.3 การสรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอ่านไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ ท 5.1 ม. 2/4 5 -วรรณคดเี รอื่ งโคลงสภุ าษิตพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั สอบกลางภาค 1 สอบปลายภาค 1 รวม 60
๑๑ รายวชิ าภาษาไทย2 รหสั วิชา ท 23102 กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 จานวน 60 ชั่วโมง/ 1.5 หน่วยกติ หนว่ ยท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา (ชั่วโมง) การเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด 6 อ่านเขยี นชวนคิด 14 6.1 การอภิปรายจากเรอ่ื งท่ีอ่าน ท 1.1 ม. 2/4 4 -วรรณคดีเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร 6.2 การวเิ คราะห์และจาแนกข้อเท็จจรงิ ข้อมลู สนับสนนุ และขอ้ คดิ เห็น ท 1.1 ม. 2/5 2 -งานเขยี นหรอื บทความแสดงขอ้ เทจ็ จริง 6.3 การระบขุ ้อสงั เกตการชวนเชอ่ื การโนม้ นา้ วหรอื ความสมเหตสุ มผลของงาน ท1.1ม.2/6 2 เขียน เชน่ 2 - บทโฆษณา 3 -งานเขยี นประเภทโน้มน้าวใจ 10 4 6.4 วิธีการเลือกอ่านหนงั สือ บทความหรอื คาประพันธ์อยา่ งหลากหลาย ท 1.1 ม. 2/7 2 4 -หนงั สอื อา่ นนอกเวลา -หนงั สือทีน่ ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วยั -หนงั สืออ่านที่ครูและนักเรยี นกาหนดรว่ มกนั 6.5 การประเมนิ คุณคา่ หรอื แนวคิดจากเรอื่ งทอ่ี ่าน -หนงั สืออา่ นนอกเวลา -หนังสอื ทน่ี กั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั -หนังสืออา่ นทค่ี รแู ละนักเรยี นกาหนดรว่ มกนั 7 พชิ ิตการเขียน 7.1 การเขยี นรายงานจากการศึกษาค้นคว้า ท 2.1 ม. 2/5 7.2 การเขียนจดหมายกิจธุระ ท 2.1 ม. 2/6 7.3 การเขยี นวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเหน็ หรอื โตแ้ ย้งจาก ท2.1ม.2/7 สอ่ื ต่างๆ -บทโฆษณา -บทความทางวชิ าการ
๑๒ หนว่ ยท่ี ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา (ชั่วโมง) การเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด 8 เรียนพดู สรา้ งสรรค์ 16 8.1 การพูดในโอกาสต่างๆ -การพูดอวยพร ท 3.1 ม. 2/4 9 -การพดู โนม้ นา้ ว -การพูดโฆษณา ท 3.1 ม. 2/5 6 ท 3.1 ม. 2/6 1 8.2 การพูดรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ จากแหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ 10 8.3 มารยาทในการฟงั การดู และการพดู ท 4.1 ม. 2/4 9 ก้าวทนั หลกั ภาษา ท 4.1 ม. 2/5 4 9.1 การใช้คาราชาศพั ท์ 6 9.2 คาทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ ท 4.1 ม. 2/3 8 - สาเหตกุ ารยืมคาภาษาต่างประเทศมาใช้ในไทย 4 - คาทม่ี าจากภาษาบาลี –สนั สกฤต - คาทม่ี าจากภาษาจีน ท 5.1 ม. 2/3 4 - คาทมี่ าจากภาษาเขมร - คาทม่ี าจากภาษาญปี่ ุน่ 1 - คาทม่ี าจากภาษาชวา–มลายู 1 - คาที่มาจากภาษาอังกฤษ 60 10 รู้คุณคา่ วรรณคดี 10.1 การแต่งบทร้อยกรอง -การแตง่ บทร้อยกรองประเภทกลอนสภุ าพ -วรรณคดเี รื่องรามเกียรติ ตอนนารายณ์ปราบนนทก 10.2 การอธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน -วรรณคดเี รื่องนริ าศเมืองแกลง 10.3 สอบกลางภาค 10..4 สอบปลายภาค รวม
๑๓ แผนการเรียนรู้รายหน่วย ภาคเรยี นท่ี ๒ หนว่ ยที่ 4 กา้ วทันหลกั ภาษา
๑๔ แผนการจัดการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑๐ ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ เร่ือง ก้าวทันหลกั ภาษา ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ ตัวชว้ี ัด ท ๔.๑ ม. ๒/๔ ใชค้ าราชาศัพท์ ท ๔.๑ ม. ๒/๕ รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๒.๑ ความรู้ (K) ๑. อธิบายความหมายและจัดหมวดหมขู่ องคาราชาศัพทส์ าหรบั พระมหากษัตรยิ ไ์ ด้ ๒. อธิบายความหมายและจัดหมวดหมู่ของคาราชาศัพท์ที่ใชส้ าหรับพระสงฆ์ได้ ๓. อธบิ ายความหมายและจดั หมวดหมู่ของคาสุภาพได้ ๔. รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทยได้ ๒.๒ ทกั ษะ (P) ๑. ใช้คาราชาศัพท์ไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกบั ระดับบุคคล ๒. นาเสนอการรวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาตา่ งประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย ๒.๓ ทัศนคติ (A) ๑. ตระหนักถึงการใช้คาราชาศัพท์อยา่ งเหมาะสม ๒. มีความตง้ั ใจในการรวบรวมและอธบิ ายความหมายของคาภาษาต่างประเทศทีใ่ ช้ในภาษาไทย สาระสาคญั คาราชาศัพท์ คือ คาสุภาพที่ใช้ให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคลต่างๆ คาราชาศัพท์เป็นการ กาหนดคาและภาษาที่สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมอันดีงามของไทย แม้คาราชาศัพท์จะมีโอกาสใช้ในชีวิต
๑๕ น้อย แต่เป็นลักษณะพเิ ศษของภาษาไทยโดยเฉพาะ ท่มี คี าหลายรูปหลายเสยี งในความหมายเดียวกนั ซง่ึ มี หลกั การใช้ท่ีแตกต่างออกไปตามชนชั้น ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับต่างประเทศทาให้มีการยืมคาภาษาต่างประเทศมาใช้ เช่น ภาษาบาลี-สันสกฤต จีน เขมร ชวา-มลายู อังกฤษ ซ่ึงแต่ละภาษามีลักษณะท่ีแตกต่างกัน การยมื คาเหล่านี้ทาให้ไทยมีคาใช้เพิ่มข้ึนมลี ักษณะหลากหลายมากขึ้น และยังสะท้อนใหเ้ ห็นความสัมพันธ์ ทดี่ ีระหว่างประเทศไทยกบั ประเทศอื่น ๆ อกี ด้วย สาระการเรียนรู้ ๑. การใช้คาราชาศพั ท์ ๑.๑ ความหมายและจดั หมวดหมู่คาราชาศัพท์สาหรับพระมหากษัตรยิ ์ พระสงฆ์ และคาสุภาพ ๒. คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ ๒.๑ รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคาภาษาตา่ งประเทศทใี่ ชใ้ นภาษาไทย ๒.๒ การนาเสนอการรวบรวมและอธบิ ายความหมายของ คาภาษาต่างประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทย สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น (เฉพาะที่เกดิ ในหนว่ ยการเรียนรู้นี้) ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 1. ทักษะของผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 (3R 8C + 2L) (จดุ เน้นสู่การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน) ทักษะการอ่าน (Reading) ทักษะการ เขยี น (Writing) ทักษะการ คดิ คานวณ (Arithmetic) ทักษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking and problem solving) ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and innovation) ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผูน้ า (Collaboration , teamwork and leadership) ทกั ษะดา้ นความเข้าใจตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural understanding) ทกั ษะด้าน การส่ือสาร สารสนเทศ และร้เู ท่าทนั สอ่ื (Communication information and media literacy)
๑๖ ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing) ทักษะอาชีพและทกั ษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทักษะการเปลีย่ นแปลง (Change) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Skills) ภาวะผ้นู า (Leadership) ๗. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ( หลกั ฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ) 7.1 ใบงานท่ี 1 เร่ืองคาราชาศัพท์สาหรบั พระมหากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศานวุ งศ์ 7.2 ใบงานท่ี ๒ เรอื่ งคาราชาศัพทส์ าหรับพระสงฆ์ ๗.๓ แผน่ พับเรื่องการใช้คาราชาศพั ท์ ๗.๔ ใบงานท่ี ๓ เรอ่ื งซชู คิ ายืม ๗.๕ แผนผังเรอื่ งคาภาษาตา่ งประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย ๘. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน : ๕ steps GOCQF หน่วยยอ่ ยที่ ๑ เรอื่ งคาราชาศพั ท์ (ชั่วโมงท่ี ๑ - ๒) ข้ันท่ี ๑ ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรียนทักทาย -Greeting ๑. นักเรียนและครูทักทายผา่ นแอพ Zoom ๒. นักเรียนและครูร่วมสนทนาว่าเราสามารถพบคาราชาศัพท์ได้จากท่ีใด และคาราชาศัพท์ ใชก้ ับใครบา้ ง ขนั้ ท่ี ๒ ขั้นสอนออนไลน์ใหค้ วามรู้ – Online Learning ๓. นกั เรียนศึกษาคลิปวิดิโอการสอน ๔. นักเรียนฟังครูอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับประโยชน์ของคาราชาศัพท์ และข้อสังเกตสาหรับ พระมหากษตั ริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ผา่ น powerpoint ข้นั ที่ ๓ ขน้ั ตรวจสอบผลการเรยี นรู้ – Checking ๕. ครูทบทวนความรู้ ๖. ครมู อบหมายงานใหน้ ักเรยี นทาใบงาน พรอ้ มกบั กาหนดเวลาส่ง ขัน้ ท่ี ๔ ขน้ั ตอบขอ้ ซกั ถามสะท้อนผลการเรียนรู้ – Q&A Meeting ๗. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนถามข้อสงสัยเกี่ยวกับคาราชาศัพท์ที่ใช้สาหรับพระมหากษัตริย์ และ พระบรมวงศานุวงศ์
๑๗ ๘. นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุปความรู้เก่ยี วกบั คาราชาศัพท์ที่ใชส้ าหรับพระมหากษัตริย์ และ พระบรมวงศานวุ งศ์ ขั้นท่ี ๕ ขน้ั ติดตามประเมนิ ผล – Following Up ๙. ให้นักเรียนทบทวนความรู้ และทาใบงานท่ี 1 เรื่องคาราชาศัพท์สาหรับพระมหากษัตริย์ และ พระบรมวงศานุวงศ์ (ชั่วโมงที่ ๓) ขน้ั ที่ ๑ ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรยี นทกั ทาย - Greeting ๑. นกั เรียนและครูทกั ทายผ่านแอพ Zoom ๒. นักเรียนและครูร่วมสนทนาเก่ียวกับคาที่ใช้สาหรับพระสงฆ์ เช่น นักเรียนคิดว่าการใช้ภาษากับ พระสงฆค์ วรเปน็ อย่างไร ขน้ั ท่ี ๒ ขน้ั สอนออนไลน์ใหค้ วามรู้ – Online Learning ๓. นักเรยี นศกึ ษาคลปิ วิดโิ อการสอน ๔. นกั เรียนฟังครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ เก่ยี วกับคาท่ีใช้สาหรับพระสงฆ์ ผ่าน powerpoint ขน้ั ท่ี ๓ ขั้นตรวจสอบผลการเรียนรู้ – Checking ๕. ครูมอบหมายงานให้นักเรยี นทาใบงาน พร้อมกับกาหนดเวลาส่ง ขั้นที่ ๔ ข้นั ตอบขอ้ ซกั ถามสะท้อนผลการเรยี นรู้ – Q&A Meeting ๖. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นถามข้อสงสัยเกย่ี วกับคาราชาศัพทท์ ี่ใชส้ าหรับพระสงฆ์ ๗. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรปุ ความรู้เกี่ยวกบั คาราชาศัพทท์ ี่ใชส้ าหรบั พระสงฆ์ ขั้นที่ ๕ ข้นั ตดิ ตามประเมนิ ผล – Following Up ๘. ให้นกั เรยี นทบทวนความรโู้ ดยใช้เกมไตเ่ ขาแสนสนุก ๙. ครูติดตามผลงานนักเรียนจากครั้งก่อน และกล่าวชมเชยแก่นักเรียนที่ส่งตรงตามเวลาที่กาหนดและ ถามปญั หาถึงนกั เรียนทีส่ ่งงานลา่ ช้า (ชั่วโมงที่ ๔) ขั้นท่ี ๑ ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรียนทักทาย - Greeting ๑. นกั เรยี นและครูทักทายผา่ นแอพ Zoom ๒. นักเรียนและครูร่วมสนทนาเก่ียวกับคาสุภาพ นักเรียนคิดว่ามีลักษณะอย่างไร และสามารถนาไปใช้ ในโอกาสใด ขน้ั ที่ ๒ ข้ันสอนออนไลนใ์ ห้ความรู้ – Online Learning ๓. นกั เรียนศกึ ษาคลปิ วดิ ิโอการสอน ๔. นักเรยี นฟังครูอธิบายเพมิ่ เติมเกย่ี วกับคาสุภาพผา่ น powerpoint ข้นั ท่ี ๓ ข้ันตรวจสอบผลการเรยี นรู้ – Checking ๕. นักเรยี นรว่ มกันตอบคาถามจากรปู ภาพท่ีกาหนด
๑๘ ๖. สุม่ นักเรียนยกตวั อยา่ งคาสุภาพพร้อมบอกคาสามญั ขัน้ ท่ี ๔ ขน้ั ตอบขอ้ ซกั ถามสะทอ้ นผลการเรยี นรู้ – Q&A Meeting ๗. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนถามขอ้ สงสยั เกี่ยวกบั คาสภุ าพ ๘. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ ความร้เู กย่ี วกบั คาสุภาพ ข้นั ท่ี ๕ ขน้ั ติดตามประเมนิ ผล – Following Up ๙. ครมู อบหมายงานให้นักเรยี นทาแผนพบั เรื่องการใช้คาราชาศพั ท์ และนัดหมายกาหนดส่ง หน่วยยอ่ ยที่ ๒ เรอ่ื งคาท่มี าจากภาษาตา่ งประเทศ รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน : แบบใช้ชดุ การสอน (ชว่ั โมงท่ี ๑ - ๒) คาท่ีมาจากภาษาบาลี – สนั สกฤต ขัน้ ท่ี ๑ ขัน้ ทดสอบกอ่ นเรียน ๑. นักเรียนและครทู กั ทายกนั ๒. นกั เรียนและครูร่วมกันสนทนาเก่ยี วกบั คาทม่ี าจากภาษาบาลี – สันสกฤต ๓. ครสู ุ่มถามนักเรยี นวา่ นกั เรยี นว่าเพราะเหตใุ ดประเทศไทยจงึ ต้องมีการยมื คาจากภาษาอื่น ขั้นที่ ๒ ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน ๔. นักเรียนฟังครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับสาเหตุการยืมคาภาษาต่างประเทศมาใช้ในไทย และ ขอ้ สังเกตคาทม่ี าจากภาษาบาลี – สนั สกฤตผ่าน powerpoint ข้นั ที่ ๓ ขั้นประกอบกจิ กรรมการเรยี น ๕. ครทู บทวนส่มุ ถามนักเรยี นจากคาบเรยี นก่อนวา่ ข้อสังเกตของคาทมี่ าจากภาษาบาลีเป็นอยา่ งไร ๖. นักเรียนฟงั ครอู ธิบายเพิม่ เติมเก่ียวกบั คาท่ีมาจากภาษาสันสกฤต ขั้นท่ี ๔ ขน้ั สรปุ และทดสอบหลงั เรียน ๗. ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรยี นถามข้อสงสยั เกี่ยวกบั คาท่มี าจากภาษาบาลี – สันสกฤต ๘. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรปุ ความรูเ้ กีย่ วกับคาทม่ี าจากภาษาบาลี – สันสกฤต ๙. นกั เรยี นทบทวนความรจู้ ากคลิปวดิ ีโอการสอน ขน้ั ที่ ๕ ขน้ั ประเมินผลการเรยี น ๑๐.ใหน้ กั เรียนทบทวนความรู้ และทาแบบทดสอบผ่าน Kahoot (ช่ัวโมงท่ี ๓ – ๔) เรอ่ื งคาที่มาจากภาษาจีน ภาษาญปี่ ุ่น และภาษาชวา-มลายู ขน้ั ท่ี ๑ ขน้ั ทดสอบกอ่ นเรยี น ๑. นักเรียนและครทู กั ทายกัน ๒. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเก่ยี วกบั คาท่ีมาจากภาษาจีน ภาษาญป่ี ุ่น และภาษาชวา-มลายู จากการดูภาพใน powerpoint
๑๙ ๓. ให้นักเรียนร่วมกันยกตวั อย่างของคาทม่ี าจากภาษาจีน ภาษาญป่ี ุ่น และภาษาชวา-มลายู ข้นั ที่ ๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๔. นักเรียนฟังครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อสังเกตคาที่มาจากภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น และภาษาชวา- มลายู ขัน้ ท่ี ๓ ขน้ั ประกอบกิจกรรมการเรยี น ๕. ครูทบทวนสุ่มถามนักเรียนจากคาบเรียนก่อนว่าข้อสังเกตของคาที่มาจากภาษาจีน ภาษาญ่ีปุ่น และภาษาชวา-มลายูเป็นอย่างไร ๖. ให้นกั เรียนหยิบฉลากวา่ จะได้ศึกษาข้อสงั เกตของคาที่มาจากภาษาจนี ภาษาญี่ป่นุ และภาษาชวา- มลายู ซง่ึ แตล่ ะคนจะไดเ้ พยี งหนง่ึ ภาษาเทา่ นน้ั ขน้ั ท่ี ๔ ขั้นสรุปและทดสอบหลังเรียน ๗. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนถามข้อสงสัยเก่ียวกับคาท่ีมาจากภาษาจีน ภาษาญ่ีปุ่น และภาษาชวา- มลายู ๘. นักเรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้เกยี่ วกบั คาทม่ี าจากภาษาจนี ภาษาญป่ี นุ่ และภาษาชวา-มลายู ขนั้ ท่ี ๕ ข้ันประเมินผลการเรยี น ๙. ให้นักเรียนทบทวนความรู้ โดยการทาใบงานที่๓ เรื่องซูชิคายืม จากการหยิบฉลากตามหัวข้อ ทีต่ นเองไดร้ บั ชัว่ โมงที่ ๕ เรอ่ื งคาท่ีมาจากภาษาอังกฤษ ขั้นที่ ๑ ข้ันทดสอบกอ่ นเรยี น ๑. นักเรยี นและครทู กั ทายกนั ๒. นกั เรียนและครรู ว่ มกันสนทนาเกย่ี วกับคาทม่ี าจากภาษาองั กฤษ โดยใหน้ ักเรียนยกตัวอย่างคาท่ีมา จากภาษาองั กฤษในชีวิตประจาวัน ข้นั ที่ ๒ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น ๓. นักเรียนศกึ ษาคลิปวิดิโอการสอน ขน้ั ที่ ๓ ขั้นประกอบกิจกรรมการเรยี น ๔. นักเรียนฟังครูอธบิ ายข้อสังเกตคาทีม่ าจากภาษาอังกฤษ ผา่ น powerpoint ๕. นกั เรียนรว่ มกนั ตอบวา่ คาทม่ี าจากภาษาองั กฤษคาใดเขยี นถูกหรอื ผดิ ขน้ั ที่ ๔ ขั้นสรปุ และทดสอบหลงั เรียน ๖. ครเู ปิดโอกาสใหน้ กั เรียนถามขอ้ สงสัยเกย่ี วกับคาทม่ี าจากภาษาอังกฤษ ๗. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปความรเู้ กี่ยวกับคาทีม่ าจากภาษาอังกฤษ ขนั้ ท่ี ๕ ขน้ั ประเมนิ ผลการเรียน ๘. ให้นกั เรยี นทบทวนความรู้ และนัดแนะการทากิจกรรมในครง้ั ต่อไป
๒๐ ชว่ั โมงท่ี ๖ เรอ่ื งคาทีม่ าจากภาษาต่างประเทศ ข้นั ที่ ๑ ขนั้ ทดสอบก่อนเรียน ๑. นกั เรียนและครทู ักทายกัน ๒. ครยู กตัวอยา่ งบตั รคาและสมุ่ ถามนกั เรียนวา่ เป็นยมื คาจากภาษาใด ขั้นท่ี ๒ ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรียน ๓. ครทู บทวนขอ้ สงั เกตของคาท่มี าจากภาษาต่างประเทศให้นักเรยี นอกี ครงั้ ขัน้ ท่ี ๓ ขัน้ ประกอบกิจกรรมการเรยี น ๔. ครแู บ่งกลุ่มนักเรยี น กลุ่มละ 8 คน โดยวิธีการทีน่ กั เรียนแบ่งกนั เอง ๕. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ สรุปข้อสงั เกต และยกตวั อยา่ งคา ของคาทมี่ าจากภาษาต่างประเทศ พร้อมท้งั ตกแต่งใหส้ วยงาม ในกระดาษปรู๊ฟ ขนั้ ที่ ๔ ขน้ั สรปุ และทดสอบหลังเรยี น ๖. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอหนา้ ช้ันเรียน เพ่อื เป็นการสรุปความรู้จากเรียนเร่ืองคาทม่ี าจาก ภาษาตา่ งประเทศ ขั้นที่ ๕ ข้นั ประเมนิ ผลการเรยี น ๗. ครูให้คะแนนการนาเสนอของนักเรียนเพ่ือเป็นการประเมินผลการเรียนหลังการจัดการเรียน- การสอน 9. ส่ือการสอน ๙.1 วดิ โี อการสอน ๙.2 ส่ือการเรยี นการสอนประกอบการนาเสนอ Powerpoint ๙.3 แบบทดสอบ Kahoot ๙.๔ เกมไตเ่ ขาแสนสนกุ ๙.๕ บัตรคา ๙.๖ กระดาษบรู๊ฟ 10. แหล่งเรียนรใู้ นหรอื นอกสถานที่ อนิ เทอรเ์ นต็
11. การวัดและประเมนิ ผล วิธีวัด ๒๑ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ 1. อธิบายความหมายและ ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1เรือ่ งคา คะแนน 1๒–1๑ ระดับพอใชข้ ึ้นไป จัดหมวดหมู่ของคาราชาศัพทส์ าหรบั ตรวจแบบทดสอบ ถอื วา่ ผา่ น พระมหากษตั รยิ ์ได้ ตรวจแบบทดสอบ ราชาศพั ท์สาหรบั ถือวา่ ดีมาก ระดับพอใชข้ นึ้ ไป ๒.อธบิ ายความหมายและ ตรวจชิน้ งาน พระมหากษตั รยิ ์ และ คะแนน ๑๐–๙ ถอื ว่าผ่าน จัดหมวดหมู่ของคาราชาศพั ทท์ ใี่ ช้ สาหรับพระสงฆไ์ ด้ พระบรมวงศานวุ งศ์ ถอื วา่ ดี ระดับพอใชข้ ้ึนไป ถอื วา่ ผา่ น ๓.อธบิ ายความหมายและ คะแนน ๘ -๗ จัดหมวดหมขู่ องคาสุภาพได้ ระดบั พอใชข้ ึ้นไป ถือว่า พอใช้ ถือว่า ผ่าน ๔.รวบรวมและอธบิ ายความหมายของ คาภาษาตา่ งประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย ต่ากว่า ๗ คะแนน ได้ ควรปรบั ปรุง แบบทดสอบจาก ตอบถกู 18–๒0ข้อ เกมไตเ่ ขาแสนสนกุ ถอื วา่ ดมี าก ตอบถกู 17–15ขอ้ ถอื วา่ ดี ตอบถกู 14–12ขอ้ ถอื ว่าพอใช้ ต่ากว่า12 ขอ้ ควรปรบั ปรุง แบบทดสอบ ตอบถูก18–๒0ขอ้ จากโปรแกรมKahoot ถอื ว่าดมี าก ตอบถกู 17–15ขอ้ ถอื วา่ ดี ตอบถูก 14 – 12 ข้อ ถอื ว่าพอใช้ ต่ากว่า12 ขอ้ ควรปรบั ปรงุ แผงผังเรื่องคา คะแนน ๒๐–1๘ ภาษาต่างประเทศท่ใี ช้ ถือว่า ดมี าก ในภาษาไทย คะแนน ๑๗–๑๕ ถือวา่ ดี คะแนน ๑๔-๑๒ ถอื วา่ พอใช้
๒๒ ตา่ กว่า๑๒ คะแนน ควรปรบั ปรุง 5.ใชค้ าราชาศัพทไ์ ดถ้ ูกต้อง ตรวจช้ินงาน แผ่นพับ คะแนน 1๒–1๑ ระดับพอใช้ข้นึ ไป เหมาะสมกับระดบั บุคคล เรอื่ งการใช้คา ถือวา่ ดมี าก ถือว่าผา่ น ราชาศพั ท์ คะแนน ๑๐–๙ ถือว่า ดี คะแนน ๘ -๗ ถอื ว่า พอใช้ ตา่ กวา่ ๗คะแนน ควรปรบั ปรงุ 6. นาเสนอการรวบรวมและอธิบาย ประเมนิ การนาเสนอ การนาเสนอแผนผงั คะแนน ๒๐–1๘ ระดับพอใช้ขนึ้ ไป ความหมายของคาภาษาต่างประเทศ ถือวา่ ดมี าก ถือวา่ ผา่ น ท่ใี ช้ในภาษาไทย สงั เกตพฤติกรรมของ แบบสังเกตพฤตกิ รรม นกั เรยี นในการทา ของนักเรยี นในการทา คะแนน ๑๗–๑๕ ระดบั ปานกลางขนึ้ ไป 7.ตระหนกั ถึงการใช้คาราชาศัพท์ ถือว่า ดี ถอื ว่าผ่าน อย่างเหมาะสม กจิ กรรม กิจกรรม คะแนน ๑๔-๑๒ ถอื วา่ พอใช้ ต่ากวา่ ๑๒ คะแนน ควรปรบั ปรุง คะแนน 13-15 ถือว่า ดมี าก คะแนน 9 -12 ถอื ว่า ปานกลาง คะแนน 5- 8 ถือวา่ ปรบั ปรงุ 8. มีความต้งั ใจในการรวบรวมและ สงั เกตพฤติกรรมของ แบบสงั เกตพฤติกรรม คะแนน 13-15 ระดับปานกลางขน้ึ ไป อธิบายความหมายของคา นกั เรยี นในการทา ของนกั เรยี นในการทา ถือว่า ดีมาก ถือวา่ ผ่าน ภาษาต่างประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย คะแนน 9 -12 กิจกรรม กิจกรรม ถือว่า ปานกลาง คะแนน 5- 8 ถอื ว่า ปรบั ปรงุ
๒๓ แบบประเมินกจิ กรรมรายบุคคล ชอ่ื ……………………………………………………นามสกลุ …………………..……….ช้ัน……………...เลขท…ี่ ……… คาช้ีแจง ให้ทาเคร่ืองหมาย √ ลงในช่องรายการประเมินตามคุณภาพการปฏิบัตงิ านของนักเรียน รายการการประเมนิ คณุ ภาพการปฏิบตั งิ าน ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรุง (๑) รวม 1.เน้อื หาครบถ้วน 2.ส่งงานภายในเวลาท่กี าหนด 3. ความสวยงาม ลงชือ่ ...............................................ผูป้ ระเมนิ () //
๒๔ การประเมินชิ้นงานรายบุคคล รายการการประเมนิ ดีมาก (๔) เกณฑค์ ณุ ภาพ ปรับปรุง (๑) ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. เนือ้ หาครบถว้ น เนอื้ หาถูกต้อง เน้อื หาผิด เน้ือหาผิด เนอื้ หาผดิ ครบถว้ น ไมเ่ กนิ ๓ ข้อ ไมเ่ กนิ ๕ ข้อ มากกวา่ ๕ ข้อ ข้นึ ไป ๒. สง่ งานภายในเวลา สง่ ช้ินงานภายใน ส่งชิ้นงานช้า ส่งชิ้นงานช้า สง่ ช้ินงานช้ากวา่ ทกี่ าหนด เวลาท่ีกาหนด ๓. ความสวยงาม ชิ้นงานมคี วาม กว่าเดมิ 1 วัน กวา่ เดิม 1 วนั 3 วันขึน้ ไป ระเบียบเรยี บร้อย อา่ นง่าย สวยงาม ชนิ้ งานค่อนข้าง ชน้ิ งานไมค่ ่อยมี ชนิ้ งานไมม่ ี มคี วามระเบียบ ความระเบียบ ความระเบยี บ เรยี บร้อย แต่ลบ เรยี บรอ้ ย เรยี บรอ้ ย ไมส่ ะอาด ตวั อกั ษรอ่าน ตัวอกั ษรอ่าน ยาก ไมอ่ อก เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การประเมนิ คะแนนเตม็ 1๒ คะแนน ระดับ ๔ หมายถงึ มีพฤติกรรมในระดับ ดมี าก คะแนน 1๒ – 1๑ หมายถงึ ดมี าก ระดบั 3 หมายถงึ มพี ฤติกรรมในระดับ ดี คะแนน ๑๐ – ๙ หมายถงึ ดี ระดับ 2 หมายถึง มพี ฤติกรรมในระดบั พอใช้ คะแนน ๘ - ๗ หมายถงึ พอใช้ ระดบั 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรบั ปรุง คะแนน ต่ากวา่ ๗ คะแนน หมายถงึ ควรปรบั ปรุง เกณฑก์ ารผา่ น ๗ คะแนน
๒๕ แบบบันทึกการสงั เกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมรายบคุ คล คาชแี้ จง ให้ทาเครอ่ื งหมาย √ ลงในช่องรายการประเมินตามคุณภาพการปฏบิ ตั ิงานของนกั เรียน พฤตกิ รรม / ระดบั คะแนน ความสนใจ การมสี ว่ น การตอบ การยอมรบั ทางาน ลาดบั ชอื่ – สกลุ ในการทา รว่ มในการ คาถาม ฟังความ ตามท่ไี ด้รบั รวม ท่ี กจิ กรรม แสดงความ คดิ เห็นผ้อู ่ืน มอบหมาย คิดเหน็ 321321321321321 เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนเต็ม 15 คะแนน ระดบั 3 หมายถึง มพี ฤติกรรมในระดับ ดี คะแนน 13 - 15 หมายถึง ดี ระดบั 2 หมายถึง มีพฤตกิ รรมในระดับ ปานกลาง คะแนน 9 - 12 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 1 หมายถงึ มพี ฤตกิ รรมในระดบั ปรับปรงุ คะแนน 5 - 8 หมายถงึ ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารผ่าน 9 คะแนน ลงชอ่ื ..........................................ผู้ประเมิน () //
๒๖ แบบประเมินกิจกรรมรายกลุ่ม คาชี้แจง ให้ทาเคร่ืองหมาย √ ลงในช่องรายการประเมินตามคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงานของนกั เรียน รายการการประเมิน คณุ ภาพการปฏิบัตงิ าน ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรงุ (๑) รวม 1. เน้ือหาครบถ้วน 2.ส่งงานภายในเวลาทีก่ าหนด 3.มคี วามเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย ๔.ความคดิ สร้างสรรค์ ๕. การนาเสนอ ลงชอ่ื ...............................................ผปู้ ระเมิน () // สมาชิกในกลุ่ม ชอื่ ……………………………………………………นามสกุล…………………..………. เลขท…ี่ ……… ชอ่ื ……………………………………………………นามสกลุ …………………..………. เลขท…่ี ……… ชอ่ื ……………………………………………………นามสกลุ …………………..………. เลขท…่ี ……… ชื่อ……………………………………………………นามสกุล…………………..………. เลขท…ี่ ……… ชื่อ……………………………………………………นามสกลุ …………………..………. เลขท…่ี ……… ชอ่ื ……………………………………………………นามสกุล…………………..………. เลขท…ี่ ……… ชอื่ ……………………………………………………นามสกลุ …………………..………. เลขท…ี่ ……… ชื่อ……………………………………………………นามสกลุ …………………..………. เลขท…่ี ……… ช้นั …………………………………………………..
๒๗ การประเมินช้นิ งานนาเสนอ รายการการประเมิน ดมี าก (๔) เกณฑ์คุณภาพ ปรบั ปรงุ (๑) ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. เน้อื หาครบถว้ น เนื้อหาถูกตอ้ ง เน้ือหาผิด เนอ้ื หาผดิ เนอ้ื หาผิด ครบถว้ น ไม่เกิน ๓ แห่ง ไม่เกนิ ๕ แห่ง มากกว่า ๕ แหง่ ข้นึ ไป ๒. ส่งงานภายในเวลา ส่งช้ินงานภายใน สง่ ช้ินงานภายใน ส่งชิ้นงานชา้ สง่ ชนิ้ งานชา้ ทก่ี าหนด เวลาท่ีกาหนด และ เวลาท่กี าหนด กวา่ เดิม 1 วัน กวา่ 3 วนั ขนึ้ ไป รกั ษาเวลาในการ แต่ใชเ้ วลาใน นาเสนอ การนาเสนอมาก ชิ้นงานไมม่ ี หรือนอ้ ยเกนิ ไป ความระเบยี บ ๓. มคี วามเป็นระเบยี บ ชน้ิ งานมีความ ชิ้นงานค่อนข้าง ชนิ้ งานไมค่ ่อยมี เรียบรอ้ ย มีความระเบยี บ ความระเบียบ ตัวอักษรอ่าน เรยี บรอ้ ย ระเบียบเรียบร้อย เรียบรอ้ ย แตล่ บ เรยี บรอ้ ย ไม่ออก ไมส่ ะอาด ตัวอักษรอา่ น ไมม่ ีความคดิ อา่ นง่าย สร้างสรรค์ ยาก ไมต่ กแต่ง ๔. ความคดิ สร้างสรรค์ ออกแบบช้นิ งาน ชน้ิ งาน ออกแบบช้ินงาน ออกแบบช้นิ งาน ไม่มีความพร้อม อย่างสรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์แตย่ ัง สร้างสรรค์ ในการนาเสนอ จดั ไมเ่ หมาะสม แบง่ ชัดเจน และ สวยงาม ๕. การนาเสนอ มีความพร้อมใน มคี วามพร้อมใน นาเสนอได้ การนาเสนอ ใช้ ชดั เจนแต่ใช้ การนาเสนอ ใช้ ภาษาเหมาะสม ภาษาไม่คอ่ ย เหมาะสม ภาษาไดเ้ หมาะสม ชดั เจน ตรงประเด็น เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนเตม็ ๒๐ คะแนน ระดับ ๔ หมายถงึ มีพฤตกิ รรมในระดับ ดมี าก คะแนน ๒๐ – 1๘ หมายถงึ ดมี าก ระดบั 3 หมายถงึ มพี ฤติกรรมในระดับ ดี คะแนน ๑๗ – ๑๕ หมายถงึ ดี ระดบั 2 หมายถึง มพี ฤติกรรมในระดบั พอใช้ คะแนน ๑๔ - ๑๒ หมายถึง พอใช้ ระดบั 1 หมายถงึ มพี ฤตกิ รรมในระดบั ปรบั ปรงุ คะแนน ต่ากว่า ๑๒ คะแนน หมายถึง ควรปรบั ปรุง เกณฑ์การผา่ น ๑๒ คะแนน
๒๘ 12. กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................. 13. บนั ทึกผลหลังการสอน สรปุ ผลการเรียนการสอน นกั เรยี นทั้งหมดจานวน.....................คน จดุ ประสงค์การเรยี นร้ขู อ้ ที่ จานวนนกั เรยี นทผ่ี า่ น จานวนนกั เรียนท่ไี ม่ผา่ น จานวนคน รอ้ ยละ จานวนคน รอ้ ยละ 1 2 3 15. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. ................................... 16. ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................ ................................................ ลงช่ือ........................................................................ () ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ....................................... ลงช่ือ................................................................ หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ()
๒๙ ลงช่อื .......................................................... รองผูอ้ านวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ (………………………………………..) ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศึกษา ได้ทาการตรวจแผนการเรยี นรู้ของ....................................................แล้วมีความคิดเห็นดงั นี้ 1. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ 2. การจัดกจิ กรรมได้นาเอากระบวนการเรียนรู้ เน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป 3. ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ ............................................................................................................................. ........................... ............................................................................................................................. ........................... ....................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ........................... ลงชอ่ื ............................................................................................... ( ………………………………………………… ) ผอู้ านวยการโรงเรียน…………………………………………………………
๓๐ ใบงานที่ ๑ เร่อื งคาราชาศัพทส์ าหรับพระมหากษตั ริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ คาชีแ้ จง ให้นักเรียนนาคาราชาศัพท์ท่ีกาหนดมาจัดหมวดหม่พู รอ้ มกับบอกความหมายใหถ้ ูกต้อง ทอดพระเนตร พระราชอาสน์ พระหตั ถ์ พระสนับเพลา บรรทม พระทนต์ สรง พระศอ พระเขนย ผนวช พระกุณฑล พระมาลา พระเสโท ประทับ พระนาสกิ พระกรรณ ฉลองพระบาท พระปัปผาสะ แยม้ พระสรวล พระขนง ประชวร พระฉาย กร้ิว ทรงพระอกั ษร พระราชทาน พระโอษฐ์ ทองพระกร พระชวิ หา พระธามรงค์ ลาดพระบาท …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ………. ………. ………. ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… ………………………………………………………..………………… ……….. ……….. ………..
๓๑ ใบงานท่ี ๑ เรอ่ื งคาราชาศัพท์สาหรับพระมหากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศานุวงศ์ (ตอ่ ) คาชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นเติมคาในตารางให้สมบูรณ์ สาหรับบุคคล คาราชาศพั ท์ ความหมาย พระบรมราโชวาท คาแนะนา คาตกั เตอื น คาสง่ั สอน พระมหากษตั รยิ ์ คาพูด จดหมาย พระมหากษตั รยิ ์ ความชว่ ยเหลอื เก้อื กลู พระปรมาภิไธย วันคลา้ ยวันเกิด สมเด็จพระบรมราชินีนาถ รูปถ่าย คาส่งั พระราชเสาวนีย์ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ พระราชปู ถมั ภ์ สยามมกุฎราชกมุ าร สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชบญั ชา
๓๒ เฉลย ใบงานท่ี ๑ เรื่องคาราชาศัพท์สาหรับพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานวุ งศ์ คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนนาคาราชาศพั ท์ท่ีกาหนดมาจดั หมวดหมพู่ ร้อมกบั บอกความหมายใหถ้ กู ต้อง ทอดพระเนตร พระราชอาสน์ พระหัตถ์ พระสนับเพลา บรรทม พระทนต์ สรง พระศอ พระเขนย ผนวช พระกณุ ฑล พระมาลา พระเสโท ประทับ พระนาสิก พระกรรณ ฉลองพระบาท พระปัปผาสะ แย้มพระสรวล พระขนง ประชวร พระฉาย กรว้ิ ทรงพระอักษร พระราชทาน พระโอษฐ์ ทองพระกร พระชิวหา พระธามรงค์ ลาดพระบาท หมวดอวยั วะ หมวดของใช้ หมวดกริยา พระหัตถ์ หมายถึง มอื พระราชอาสน์ หมายถงึ ที่น่ัง ทอดพระเนตร หมายถึง มอง ดู พระทนต์ หมายถงึ ฟัน พระสนบั เพลา หมายถึง กางเกง บรรทม หมายถงึ นอน พระศอ หมายถึง คอ พระเขนย หมายถึง หมอน สรง หมายถงึ อาบนา้ พระเสโท หมายถงึ เหง่ือ พระกณุ ฑล หมายถึง ต่างหู ผนวช หมายถงึ บวช พระนาสิก หมายถงึ จมูก พระมาลา หมายถึง หมวก ประทับ หมายถงึ อยู่กับที่ พระกรรณ หมายถึง หู ฉลองพระบาท หมายถงึ รองเทา้ แยม้ พระสรวล หมายถงึ ย้ิม พระปัปผาสะ หมายถึง ปอด พระฉาย หมายถงึ กระจกส่อง ประชวร หมายถงึ ปว่ ย พระขนง หมายถงึ ค้ิว ทองพระกร หมายถึง กาไล กร้ิว หมายถงึ โกรธ พระโอษฐ์ หมายถงึ ปาก พระธามรงค์ หมายถงึ แหวน ทรงพระอักษร หมายถึง พระชิวหา หมายถึง ลิน้ ลาดพระบาท หมายถึง พรมปู ทางลาด อา่ นหนังสือ พระราชทาน หมายถึง ให้
๓๓ ใบงานที่ ๑ เรอ่ื งคาราชาศัพทส์ าหรับพระมหากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศานวุ งศ์ (ตอ่ ) คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นเตมิ คาในตารางใหส้ มบรู ณ์ สาหรับบคุ คล คาราชาศัพท์ ความหมาย พระมหากษัตรยิ ์ พระบรมราโชวาท คาแนะนา คาตักเตือน คาสงั่ สอน พระมหากษัตรยิ ์ พระราชดารสั คาพดู จดหมาย พระมหากษตั ริย์ พระราชหตั ถเลขา ชอื่ สมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ พระปรมาภไิ ธย ความชว่ ยเหลือเกื้อกลู สมเด็จพระบรมราชินนี าถ พระบรมราชินปู ถมั ภ์ คาสง่ั ความชว่ ยเหลอื เกื้อกูล สมเดจ็ พระบรมราชนิ นี าถ พระราชเสาวนยี ์ วันคลา้ ยวนั เกิด สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ พระราชปู ถัมภ์ รปู ถา่ ย สยามมกุฎราชกุมาร คาสั่ง สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ วันคลา้ ยวันพระราชสมภพ สยามมกฎุ ราชกมุ าร พระฉายาสาทสิ ลักษณ์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ พระราชบญั ชา สยามบรมราชกุมารี สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
๓๔ ใบงานท่ี ๒ เร่อื งคาราชาศัพท์สาหรับพระสงฆ์ คาชี้แจง ให้นักเรยี นหาคาราชาศัพทส์ าหรับพระสงฆ์เตมิ ลงในชอ่ งว่างพรอ้ มบอกความหมายใหถ้ ูกต้อง
๓๕ ใบงานท่ี ๓ เรอ่ื ง ซูชคิ ายืม คาช้แี จง ให้นักเรยี นเลอื กหน้าชูชิ และหาคาที่มาจากภาษาต่างประเทศ (ตามท่หี ยบิ ฉลาก) เติมลงในช่องวา่ งพร้อมบอกความหมายให้ถกู ต้อง
๓๖
๓๗ แผนการเรียนรู้รายหน่วย ภาคเรยี นที่ 1 หนว่ ยที่ 2 คดิ เกง่ เขยี นได้
๓๘ แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๑๐ ชั่วโมง หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอื่ ง คิดเก่งเขียนได้ ๒. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราว ใน รปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ตวั ชี้วดั ท 2.๑ ม. ๒/1 คัดลายมอื ตวั บรรจงครงึ่ บรรทดั ท 2.๑ ม. ๒/2 เขยี นบรรยายและพรรณนา ท 2.๑ ม. ๒/3 เขียนเรียงความ ท 2.๑ ม. ๒/4 เขยี นย่อความ ท 2.๑ ม. ๒/8 มมี ารยาทในการเขยี น จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ ความรู้ (K) ๑. อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของการเขยี นบรรยายและพรรณนาได้ ๒. อธิบายหลักการเขยี น จุดประสงคข์ องการเขยี นบรรยายและพรรณนาได้ ๓. อธบิ ายหลกั การของการเขยี นเรยี งความท่ีดีได้ ๔. อธิบายหลักการเขยี นย่อความได้ ๒.๒ ทักษะ (P) ๑. คัดลายมือตวั บรรจงครง่ึ บรรทัดไดถ้ ูกตอ้ งตามรูปแบบตวั อักษรไทย ๒. เขยี นบรรยายและพรรณนาได้ ๓. เขยี นเรยี งความไดถ้ ูกตอ้ งตามรปู แบบและสร้างสรรค์ ๔. เขียนยอ่ ความไดถ้ กู ตอ้ งตามรูปแบบ ๒.๓ ทศั นคติ (A) ๑. ตั้งใจคดั ลายมอื ๒. มคี วามรบั ผิดชอบในการเขยี นบรรยายและพรรณนา ๓. มคี วามรับผดิ ชอบในการเขียนเรยี งความ ๔. ใหค้ วามรว่ มมอื ในการทากจิ กรรมในการเขียนยอ่ ความ 5. มีมารยาทในการเขียน
๓๙ สาระสาคัญ การเขียนเป็นทกั ษะการส่ือสารเพื่อใช้ถา่ ยทอดเรื่องราวจากผเู้ ขียนไปสูผ่ ู้อ่าน การคดั ลายมือให้ถูก วิธีจาเป็นต่อการเขียนสื่อสารในชีวิตประจาวัน เช่น การเขียนเรียงความ การเขียนย่อความ การเขียน บรรยายและพรรณนา เพ่อื ช่วยใหง้ านเขยี นมีความน่าสนใจมากย่ิงข้ึน ผู้เขยี นควรศึกษา เรยี นรคู้ วามเขาใจ รูปแบบ หลักการเขียน การใช้สานวนภาษาให้ถูกต้องเหมาะสม อีกท้ังควรท่ีจะเขียนอย่างเป็นระเบียบ สวยงาม อ่านง่าย จะทาใหก้ ารเขียนสอ่ื สารเปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ผู้รบั สารสามารถเข้าใจสารทสี่ ง่ ตรง ตามเจตนา สาระการเรยี นรู้ ๑. การคดั ลายมอื ตัวบรรจงคร่ึงบรรทัดตามรปู แบบการเขยี น ตัวอักษรไทย ๒. การเขียนบรรยายและพรรณนา 2.1 ความหมายและความสาคญั ของการเขียนบรรยาย 2.2 หลกั การเขียนบรรยาย 2.3 ความหมายและความสาคญั ของการเขียนพรรณนา 2.4 หลักการเขยี นพรรณนา 3. การเขยี นเรยี งความ 3.1 หลกั การเขียนเรยี งความ 3.2 การเขียนเรยี งความเกยี่ วกับประสบการณ์ 4. การเขียนย่อความจากสือ่ ต่าง ๆ 4.1 หลักการเขยี นยอ่ ความ 4.2 การเขยี นย่อความจากสอื่ ต่าง ๆ เช่น นทิ าน คาสอน บทความทางวิชาการ บนั ทึกเหตุการณ์ เรอ่ื งราวในบทเรยี นในกล่มุ สาระการเรียนร้อู น่ื นทิ านชาดก 5. มารยาทในการเขยี น สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน (เฉพาะที่เกิดในหน่วยการเรียนรนู้ ้)ี ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 2. ทักษะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 (3R 8C + 2L) (จุดเน้นสูก่ ารพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน) ทกั ษะการอา่ น (Reading) ทกั ษะการ เขยี น (Writing)
๔๐ ทกั ษะการ คิดคานวณ (Arithmetic) ทักษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปญั หา (Critical thinking and problem solving) ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and innovation) ทักษะด้านความรว่ มมือ การทางานเป็นทมี และภาวะผ้นู า (Collaboration , teamwork and leadership) ทักษะด้านความเข้าใจตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding) ทกั ษะดา้ น การสื่อสาร สารสนเทศ และรูเ้ ท่าทนั สอ่ื (Communication information and media literacy) ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing) ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทักษะการเปลีย่ นแปลง (Change) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ภาวะผนู้ า (Leadership) ๗. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน ( หลักฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ) 7.1 ใบงานท่ี 1 การคัดลายมอื 7.2 ใบงานที่ 2 เขียนบรรยาย 7.3 ใบงานท่ี 3 การเขียนพรรณนา 7.4 ใบงานที่ 4 การเขยี นเรยี งความ 7.5 ใบงานที่ 5 การเขยี นย่อความ ๘. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ รปู แบบการจัดการเรียนการสอน : แฮรบ์ ารต์ หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๑ เรื่อง การคดั ลายมือ ขน้ั ที่ ๑ ขน้ั เตรียม ๘. นกั เรียนและครูกลา่ วทักทายกัน ๙. ครูยกตัวอย่างรูปแบบการคัดลายมือด้วยรูปภาพใน powerpoint พร้อมกับสุ่มถามนักเรียนว่า รูปแบบดงั กลา่ วมชี ื่อเรียกว่าอะไร เพอ่ื ทบสอบความร้เู บื้อตน้ กอ่ นการสอน ขั้นท่ี ๒ ข้นั สอน ๑๐.นักเรียนฟังครูอธิบายหลักการคัดลายมือ และสุ่มถามนักเรียนว่าประโยชน์ของการคัดลายมือ มอี ะไรบา้ ง รวมท้งั ให้นักเรยี นร่วมกันบอกความสาคัญของการคดั ลายมือ
๔๑ ขัน้ ท่ี ๓ ขนั้ ทบทวนและเปรยี บเทยี บ ๑๑.ให้นกั เรียนสนทนาแสดงความคดิ เหน็ เช่ือมโยงกับความรเู้ ดิมเกยี่ วกบั การคดั ลายมือ พร้อมกบั ครู เนน้ ย้าหลกั การสรปุ ให้นักเรียนอกี คร้ัง ขัน้ ที่ ๔ ขน้ั สรุป ๑๒.สมุ่ ใหน้ กั เรยี นสรุปเนือ้ หาเกี่ยวกับการคัดลายมือ และเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนถามเพิ่มเติมได้ ขน้ั ที่ 5 ขั้นนาไปใช้ 7. ให้นกั เรียนคดั ลายมือเลือกบทประพันธ์จากวรรณคดเี ร่ืองกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง จานวน 4 บท ทาลงในใบงานที่ 1 การคดั ลายมือ หนว่ ยยอ่ ยที่ 2 เร่ือง การเขียนบรรยายและพรรณนา (ช่ัวโมง1-2) การเขยี นบรรยาย ข้ันท่ี ๑ ข้ันเตรียม ๑. นกั เรียนและครูกล่าวทกั ทายกนั ๒. นักเรียนสนทนาแสดงความคิดเห็นเชื่อมโยงกับความรู้เดิมเกี่ยวกับการเขียนบรรยายตามความคิด ของนักเรียน ขน้ั ท่ี ๒ ขั้นสอน ๓. นักเรียนฟงั ครอู ธบิ ายความรพู้ น้ื ฐานของการเขียน รวมท้งั มารยาทในการเขยี น ๔. นกั เรยี นฟังครูอธบิ ายเพิ่มเติมเกี่ยวกบั ความสาคญั และหลักการเขยี นบรรยายผา่ น powerpoint ขน้ั ที่ ๓ ขน้ั ทบทวนและเปรียบเทยี บ ๕. สุ่มให้นกั เรยี นถามตอบทบทวนความรเู้ กย่ี วกับหลกั การสาคัญของการเขยี นบรรยายอีกครั้ง ขั้นที่ ๔ ขัน้ สรปุ ๖. เปดิ โอกาสให้นักเรยี นถามเพิ่มเตมิ ได้ และสมุ่ ให้นักเรียนบอกมารยาทในการเขยี นควรปฏบิ ตั ติ น อยา่ งไร ขั้นที่ 5 ข้นั นาไปใช้ 7. ให้นกั เรียนจับคู่ตามความสมคั รใจพร้อมกบั ทาใบงานที่ 2 การเขยี นบรรยาย และตกลงกาหนด วนั ทีส่ ่งงาน (ชั่วโมง1-2) การเขยี นพรรณนา ขน้ั ที่ ๑ ข้นั เตรยี ม ๑. นกั เรียนและครูกลา่ วทกั ทายกัน ๒. นกั เรียนสนทนาแสดงความคดิ เห็นเชื่อมโยงกับความรู้เดิมเก่ียวกับการเขียนพรรณนาตามความคิด ของนกั เรียน ๓. ครยู กตัวอยา่ งบทความทม่ี ลี กั ษณะพรรณนาผ่าน powerpoint
๔๒ ขน้ั ท่ี ๒ ข้นั สอน ๔. นกั เรียนฟังครูอธบิ ายหลกั การเขยี นพรรณนาโดยใชส้ ือ่ powerpoint ขน้ั ที่ ๓ ขนั้ ทบทวนและเปรียบเทียบ ๕. สุ่มใหน้ กั เรยี นนาช้ินงานจากการเขยี นบรรยายในคาบก่อนมานาเสนอหน้าช้ันเรยี น ๖. สุ่มให้นกั เรียนบอกความแตกต่างระหวา่ งการเขยี นบรรยายและพรรณนา ข้ันที่ ๔ ข้ันสรุป ๗. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นถามเพ่มิ เตมิ ได้ และครสู รุปหลักการเขียนพรรณนาอกี ครั้ง ขน้ั ที่ 5 ขน้ั นาไปใช้ 7. ใหน้ ักเรยี นจับคู่ตามความสมัครใจพร้อมกบั ทาใบงานที่ 3 การเขยี นพรรณนา และตกลงกาหนด วันทสี่ ่งงาน หนว่ ยยอ่ ยที่ 2 เร่อื ง การเขียนเรียงความ (ชั่วโมง1-2) การเขยี นเรียงความ ขน้ั ท่ี ๑ ขน้ั เตรียม ๑. นักเรยี นและครูกล่าวทกั ทายกนั ๒. นักเรียนสนทนาแสดงความคิดเห็นเชื่อมโยงกับความรู้เดิมเกี่ยวกับการเขียนเรียงความ ตามความคิดของนักเรยี น ขัน้ ท่ี ๒ ขั้นสอน ๓. นักเรียนฟังครูอธิบายองค์ประกอบของการเขียนเรียงความ และหลักการเขียนเรียงความ ผา่ น powerpoint ๔. นกั เรียนฟงั ครอู ธิบายเพิ่มเติมเก่ยี วกบั ความสาคญั และหลกั การเขยี นบรรยายผา่ น powerpoint ๕. ใหน้ ักเรยี นศึกษาเน้ือหาเพื่อมาเขยี นเรยี งความในหัวข้อ ไวรัสโคโรนา่ ในคาบถัดไป ขั้นท่ี ๓ ขั้นทบทวนและเปรียบเทยี บ ๖. สมุ่ ใหน้ กั เรียนถามตอบทบทวนความร้เู กยี่ วกบั หลักการสาคัญของการเขียนเรยี งความอีกครง้ั ขน้ั ที่ ๔ ขนั้ สรุป ๗. เปิดโอกาสให้นักเรียนถามเพิ่มเติมได้ และครสู รุปหลักการเขียนเรยี งความพร้อมกบั มอบหมายงาน ขนั้ ท่ี 5 ขั้นนาไปใช้ 7. ให้นักเรยี นเขยี นเรยี งความในหัวข้อ โคโรนา่ ไวรัส ลงในใบงานท่ี 4 การเขียนเรียงความ และตกลง กาหนดวันท่สี ง่ งาน
๔๓ หน่วยยอ่ ยท่ี 2 เรื่อง การเขียนยอ่ ความ (ชั่วโมง1-2) การเขียนย่อความ ขนั้ ที่ ๑ ข้ันเตรียม ๑. นักเรยี นและครูกล่าวทกั ทายกนั ๒. นักเรยี นสนทนาแสดงความคดิ เหน็ เชอ่ื มโยงกับความรูเ้ ดิมเกย่ี วกบั การเขียนย่อความ ข้นั ท่ี ๒ ขั้นสอน ๓. นกั เรยี นฟังครอู ธิบายความสาคัญการเขยี นยอ่ ความ และหลักการเขยี นย่อความผา่ น powerpoint ขั้นท่ี ๓ ขัน้ ทบทวนและเปรยี บเทียบ ๔. สุ่มให้นักเรียนถามตอบทบทวนความรู้เก่ียวกับหลกั การสาคัญของการย่อเรยี งความอีกครั้ง ขน้ั ท่ี ๔ ขัน้ สรุป ๕. ครูมอบหมายให้นกั เรยี นไปห้องสมุดเพือ่ ศกึ ษาบทความท่ีสนใจและนามาเขยี นย่อความตาม หลักการท่ีถูกต้อง ขน้ั ท่ี 5 ขน้ั นาไปใช้ 7. ใหน้ ักเรยี นเขียนเรียงความในหัวข้อ โคโรนา่ ไวรสั ลงในใบงานที่ 5 การย่อความ 8. สุ่มนักเรยี นนาเสนอการยอ่ ความของตนเองหนา้ ช้นั เรียน 9. ส่อื การสอน 9.1 powerpoint 10. แหลง่ เรยี นรใู้ นหรือนอกสถานท่ี 10.1 อนิ เทอรเ์ น็ต 10.2 หอ้ งสมุด 11. การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีวดั เครอ่ื งมอื วดั เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑ์การประเมิน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. อธบิ ายความหมายและ ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1 คะแนน 13-15 ระดบั ปานกลางขึน้ ไป ความสาคญั ของการเขยี นบรรยายและ การคดั ลายมอื ถอื ว่า ดมี าก ถอื ว่าผ่าน พรรณนาได้ คะแนน 9 -12 ถือว่า ปานกลาง คะแนน 5- 8 ถือวา่ ปรบั ปรงุ
๔๔ ๒. อธบิ ายหลกั การเขยี น ตรวจใบงาน ใบงานที่ 2 คะแนน 13-15 ระดับปานกลางข้ึนไป จดุ ประสงค์ของการเขยี นบรรยายและ ตรวจใบงาน การเขียนบรรยาย ถอื ว่า ดีมาก ถอื ว่าผา่ น พรรณนาได้ ตรวจใบงาน คะแนน 9 -12 ตรวจใบงาน และ ถือว่า ปานกลาง ระดับปานกลางขึน้ ไป ๓. อธบิ ายหลักการของการเขยี น ตรวจใบงาน ใบงานท่ี 3 การเขยี น คะแนน 5- 8 ถือว่าผา่ น เรยี งความที่ดไี ด้ ถอื ว่า ปรบั ปรงุ พรรณนา ระดับปานกลางขนึ้ ไป ๔. อธิบายหลกั การเขียนย่อความได้ ใบงานที่ 4 การเขยี น คะแนน 13-15 ถอื วา่ ผ่าน ถือวา่ ดมี าก 5. คัดลายมอื ตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั เรียงความ คะแนน 9 -12 ระดบั ปานกลางข้นึ ไป ได้ถกู ตอ้ งตามรปู แบบตวั อักษรไทย ถือวา่ ปานกลาง ถอื วา่ ผา่ น ใบงานที่ 5 การเขียน คะแนน 5- 8 6. เขยี นบรรยายและพรรณนาได้ ยอ่ ความ ถอื วา่ ปรบั ปรงุ ใบงานท่ี 1 คะแนน 13-15 การคดั ลายมอื ถือว่า ดีมาก คะแนน 9 -12 ถือวา่ ปานกลาง คะแนน 5- 8 ถือวา่ ปรบั ปรงุ คะแนน 13-15 ถอื วา่ ดมี าก คะแนน 9 -12 ถือวา่ ปานกลาง คะแนน 5- 8 ถือวา่ ปรับปรงุ ใบงานที่ 2 คะแนน 13-15 ระดับปานกลางขน้ึ ไป การเขยี นบรรยาย ถอื ว่า ดีมาก ถือว่าผา่ น คะแนน 9 -12 และ ถือวา่ ปานกลาง ใบงานท่ี 3 การเขียน คะแนน 5- 8 ถอื วา่ ปรับปรงุ พรรณนา
๔๕ 7. เขยี นเรยี งความไดถ้ ูกต้องตาม ตรวจใบงาน ใบงานท่ี 4 การเขียน คะแนน 13-15 ระดบั ปานกลางข้ึนไป รูปแบบและสร้างสรรค์ เรียงความ ถอื วา่ ดีมาก ถือว่า ผ่าน ตรวจใบงาน คะแนน 9 -12 8. เขยี นย่อความไดถ้ กู ตอ้ งตาม ใบงานที่ 5 การเขยี น ถอื ว่า ปานกลาง ระดับปานกลางขึน้ ไป รปู แบบ สงั เกตพฤตกิ รรมของ ย่อความ คะแนน 5- 8 ถือว่า ผ่าน นักเรยี นในการทา ถอื วา่ ปรับปรงุ ๑. ตง้ั ใจคดั ลายมือ แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั พอใช้ข้ึนไป กจิ กรรม ของนักเรยี นในการทา คะแนน 13-15 ถือวา่ ผ่าน ๒. มีความรบั ผดิ ชอบในการเขยี น ถอื วา่ ดีมาก บรรยายและพรรณนา สงั เกตพฤตกิ รรมของ กจิ กรรม คะแนน 9 -12 ระดับพอใช้ขนึ้ ไป นกั เรยี นในการทา ถือวา่ ปานกลาง ถือว่า ผ่าน ๓. มีความรับผดิ ในการทากิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม คะแนน 5- 8 การเขียนเรยี งความ กจิ กรรม ของนักเรียนในการทา ถอื วา่ ปรับปรงุ ระดับพอใช้ข้นึ ไป ถือวา่ ผา่ น สังเกตพฤตกิ รรมของ กจิ กรรม 2 – 3 คะแนน นกั เรียนในการทา ระดับดี แบบสังเกตพฤติกรรม 1 คะแนน กิจกรรม ของนักเรียนในการทา ระดบั พอใช้ 0 คะแนน กิจกรรม ควรปรบั ปรงุ 2 – 3 คะแนน ระดับดี 1 คะแนน ระดบั พอใช้ 0 คะแนน ควรปรบั ปรงุ 2 – 3 คะแนน ระดบั ดี 1 คะแนน ระดบั พอใช้ 0 คะแนน ควรปรบั ปรุง
๔. ใหค้ วามรว่ มมือในการทากิจกรรม สังเกตพฤติกรรมของ แบบสงั เกตพฤติกรรม 2 – 3 คะแนน ๔๖ ระดบั ดี การเขียนย่อความ นักเรียนในการทา ของนกั เรยี นในการทา 1 คะแนน ระดบั พอใช้ข้นึ ไป ระดับพอใช้ ถอื ว่าผา่ น กิจกรรม กิจกรรม 0 คะแนน ระดับพอใชข้ น้ึ ไป 5. มมี ารยาทในการเขียน สงั เกตพฤติกรรมของ แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ควรปรบั ปรุง ถือวา่ ผา่ น นกั เรยี นในการทา ของนักเรียนในการทา 2 – 3 คะแนน กิจกรรม กจิ กรรม ระดบั ดี 1 คะแนน ระดบั พอใช้ 0 คะแนน ควรปรบั ปรงุ
Search