101 309. (มี.ค.55) ปล่อยทรงกลมเหล็กที่มีรัศมี 1 มิลลิเมตรลงในของเหลวชนิดหน่ึง หากคํานวณความเร็วปลาย ของทรงกลมเหล็กในกรณีที่คิดและไม่คิดผลของแรงลอยตัว พบว่ามีค่าต่างกัน 10% ความหนาแน่น ของ ของเหลวเป็นกเี่ ท่าของความหนาแน่นของทรงกลมเหล็ก 1. 0.1 2. 0.3 3. 0.9 4. 1.1 แรงลอยตัว หลักของอาร์คีมดี สี 310. (ต.ค. 52)วตั ถุกอ้ นหนึ่งทีความหนาแนน่ 0 เมื่อนาํ ไปหย่อนลงในของเหลว 4 ชนิด และวัตถหุ ยดุ น่ิง ได้ผล ดังรูป แรงลอยตวั ในของเหลวขอ้ ใดมคี ่าเทา่ กัน 1. A และ B 2. B และ C 3. A และ D 4. A B และ D 311. (มี.ค.53)ของเหลว A มีความหนาแน่นเป็น 1.2 เท่าของ B เม่ือนําวัตถุหนึ่งหย่อนลงในของเหลว B ปรากฏว่ามี ปรมิ าตรส่วนท่ีจมลงเป็น 0.6 เท่าของปริมาตรทั้งหมด ถา้ นําวัตถุนี้หย่อนลงในของเหลว A ปรมิ าตรสว่ น ทจ่ี มลงในของเหลว A เปน็ สดั ส่วนเทา่ ใดของปริมาตรท้งั หมด 1. 0.4 2. 0.5 3. 0.6 4. 0.8
102 312. (ก.ค. 53) นําโลหะความหนาแน่น ปริมาตร V ไปช่ังในของเหลวชนิดหน่ึงที่มีความหนาแน่น 1 น้าํ หนกั ของ โลหะในของเหลวนี้เปน็ เทา่ ใด 1. 1 Vg 2. 1 Vg 3. 2 4. 12 1 Vg Vg 313. (มี.ค.54) ช่ังวัตถุก้อนหน่ึงในอากาศด้วยเคร่ืองชั่งสปริง อ่านค่าได้ N1 นิวตัน เม่ือจุ่มก้อนวัตถุดังกล่าวให้ จมมิดในน้ํา พบวา่ เคร่อื งชั่งสปริงอา่ นคา่ ได้ N2 นวิ ตนั วตั ถุดงั กลา่ วจะมีความหนาแน่นเป็นกเ่ี ท่าของนา้ํ 1. N1 2. N2 3. N1 N2 4. N1 N2 N1 N2 N1 N2 N1 N2 314. (มี.ค.56) นําแก้วน้ํารูปทรงกระบอกใบหน่ึงไปลอยในของเหลว ถ้าทดลองเปล่ียนความหนาแน่น ของ ของเหลวแล้ววัดความลึกของแก้วน้ําส่วนท่ีจมในของเหลวนั้น ๆ (d) ความสัมพันธ์ระหว่างความหนาแน่น ของเหลวกบั ความลึกของแกว้ นาํ้ ส่วนทจี่ ม จะใกล้เคียงกับเสน้ กราฟใด 1. 2. 3. 4.
103 315. (เม.ย.57)วตั ถุทรงกระบอกช้ินหนึง่ มีพ้ืนทีห่ น้าตดั A แต่ไม่ทราบความสงู เม่อื นําไปลอยให้ตงั้ ในแนวด่ิงใน ของเหลวชนิดหน่ึง พบว่ามีส่วนท่ีโผล่พ้นของเหลวขึ้นมา h ถ้าความหนาแน่นของวัตถุเป็น 0 และความ หนาแนน่ ของของเหลวเปน็ มวลของวตั ถุนเ้ี ป็นเท่าใด 1. ohA 2. hA 3. hA 4. hA 11 11 o o 316. (พ.ย.27)ภาชนะรปู ลูกบาศก์ใบหนง่ึ มีพน้ื ทฐ่ี าน 2 ตารางเมตร บรรจุนํา้ สูง 1 เมตร และมตี าช่งั สปริงยดึ ติด ไว้กับพื้นด้านในของภาชนะ เม่ือนําวัตถุชนิดหน่ึงหนัก 10 นิวตัน ไปผูกกับตาช่ังสปริง พบว่าระดับน้ําใน ภาชนะสูงข้ึน 1 เซนติเมตร และวัตถุน้ีอยู่ปร่ิมนํ้าพอดี ตาช่ังสปริงอ่านค่าได้ก่ีนิวตัน กําหนดความหนาแน่น ของนํ้าเท่ากับ 1,000 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร และความหนาแน่นของวัตถเุ ทา่ กับ 900 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์ เมตร 1. 10 2. 186 3. 206 4. 1,950 317. (มี.ค.58)แขวนสม้ ผลหนึ่งไว้กับตาชั่งสปริง ถ้านําส้มไปลอยไว้ในน้ําที่มีความหนาแนน่ 1,000 kg/m3 จะ อ่านน้ําหนักจากตาช่ังสปริงได้ 80 g แต่ถ้านําไปลอยไว้ในนํ้าทะเลที่มีความหนาแน่น 1,075 kg/m3 จะ อา่ นน้าํ หนกั จากตาชั่งสปรงิ ได้ 75 g จากขอ้ มลู ดงั กล่าวจะสามารถคาํ นวณปรมิ าณใดของผลสม้ ได้ 1. มวล 2. ปริมาตร 3. ความหนาแนน่ 4. มวล ปริมาตร และความหนาแนน่
104 อตั ราการไหล – สมการของแบร์นูลลยี ์ อตั ราการไหล 318. (มี.ค.53)นํา้ ไหลผา่ นท่อทรงกระบอก 2 อนั รศั มี r และ R ด้วยอตั ราการไหลเท่ากัน ถ้าอัตราเรว็ ของ นํา้ ท่ไี หลใน ท่อรศั มี r เทา่ กบั v อตั ราเรว็ ของนํ้าท่ไี หลในท่อรัศมี R เป็นเท่าใด 1. rV 2. RV 3. R2V 4. r 2V r2 R2 R r 319. (ต.ค.53)นา้ํ มันเครื่องไหลสมา่ํ เสมอราบเรียบจากปากกรวยวงกลมท่รี ศั มี R ด้วยอัตราเรว็ ลงสูก่ ้นกรวยที่มี รศั มี r ดว้ ย อัตราเร็ว v ความสัมพันธใ์ นข้อใดถกู 1. rv = RV 2. rV = Rv 3. r2v = R 2 V 4. r2v = R2v 320. (ต.ค.54) ท่อประปาตรงในแนวระดับเส้นหนึ่ง มีพื้นท่ีหน้าตัดด้านใหญ่เป็น 4 เท่าของพื้นท่ี หน้าตัดด้าน เล็ก ถ้าน้ําไหลเข้าทางด้านใหญ่แล้วไหลออกทางด้านเล็ก ปริมาตรของน้ําที่ไหลออกเป็นกี่เท่าของปริมาตร นาํ้ ท่ไี หลเข้าในช่วงเวลาหน่งึ ๆ 1. 0.25 2. 0.5 3. 1 4. 4
105 สมการของแบร์นูลลีย์ 321. (ม.ี ค. 52)ถังใส่น้ํามที ่อขนาดเลก็ ต่อกบั วาลว์ ทป่ี ดิ ไวด้ งั รูป ถา้ ไมค่ ิดถงึ ความหนดื ของนํา้ เมื่อเปดิ วาลว์ ความดันสมั บรู ณท์ จ่ี ดุ A จะเป็นดังข้อใด 1. เพิม่ ขน้ึ 2. คงเดิม โดยมคี า่ มากกวา่ ความดันบรรยากาศ 3. คงเดมิ โดยมีคา่ เทา่ กบั ความดันบรรยากาศ 4. ลดลง 322. (ก.ค. 53) ถังทรงกระบอกใบหน่ึงบรรจุนํ้าเต็มถัง ถ้าเจาะรูที่ข้างถังเป็นระยะ h จากผิวน้ํา ความสัมพันธ์ ระหว่าง อตั ราเร็วของน้าํ v ท่ีพงุ่ ออกข้างถังกบั ระยะ h เปน็ ดงั ขอ้ ใด 1. v 1 2. vh h 3. v 1 4. v h h 323. (ต.ค. 52)ถังบรรจุน้ําใบหน่ึงมีรูเล็กๆ 2 รูอยู่ท่ีข้างถัง โดยรูล่างอยู่ตํ่ากว่าระดับนํ้าเป็น 2 เท่าของรูบน อัตราเรว็ (v)ของนา้ํ ทีไ่ หลออกจากรทู ง้ั สองสัมพันธก์ นั ตามขอ้ ใด 1. Vล่าง = Vบน /2 2. Vล่าง = 2 Vบน 3. Vลา่ ง = 2 Vบน 4. Vล่าง = 4Vบน
106 324. (มี.ค.54) ภาชนะรูปทรงกระบอกไม่มีฝาใบหน่ึงบรรจุของเหลวสูง H วัดจากก้นภาชนะวางอยู่บนพื้นราบ ถ้าเจาะรูให้ ของเหลวพุ่งออกมาในทิศต้ังฉากกับผนัง จะต้องเจาะท่ีความสูงใดวัดจากก้นภาชนะจึงจะทําให้ ของเหลวพงุ่ ไป ไดไ้ กลที่สดุ ในแนวราบ 1. H 2. H 3. H 4. 3H 8 4 2 4 325. (ต.ค.55) เอานิว้ ปิดกน้ กรวยกระดาษท่ีมีพ้ืนทห่ี น้าตดั A2 ไว้ เตมิ นํา้ ในกรวยให้เต็ม พน้ื ท่หี นา้ ตัดปากกรวย เท่ากับ A1 และกรวยสงู H จงหาอตั ราเรว็ ของนา้ํ ที่ก้นกรวยในทันทที ่เี อานิ้วออก 1. gH 2. gH 1 A2 2 1 A2 2 A1 A1 3. 2gH 4. 2gH 1 A2 2 1 A2 2 A1 A1
107 326. (มี.ค.57) กระบอกฉดี ยาฆา่ แมลงวางตัวในแนวราบ ประกอบด้วยลกู สบู หนา้ ตดั 10 ตารางเซนติเมตร และ ปลายกระบอกเป็นรูเล็ก ๆ พื้นท่ีหน้าตัด 2 ตารางมิลลิเมตร อากาศท่ีถูกอัดจะพ่นผ่านปลายท่อเล็ก ๆ วางตัวในแนวดิ่งท่ีจุ่มอยู่ในน้ําผสมยาฆ่าแมลง สมมติให้ระดับผิวนํ้ายาอยู่ต่ํากว่ารู 10 เซนติเมตร และ ประมาณว่าน้ํายามีความหนาแน่น 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ถ้าเราออกแรง 10 นิวตันดันลูกสูบให้ เคล่ือนท่ีด้วยความเร็ว 10 เซนตเิ มตรต่อวินาที น้ํายาจะถูกดูดข้ึนมาตามท่อขนาดเล็ก และพ่นออกไปได้เมื่อ อากาศในกระบอกสบู ถกู อดั จนมคี วามหนาแน่นใกล้เคยี งก่ีกโิ ลกรัมต่อลูกบาศกเ์ มตร 1. 5 2. 7 3. 9 4. 11 327. (เม.ย.57) ลูกบอลถูกเตะออกไปด้วยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที ในอากาศท่ีหยุดน่ิง และหมุนรอบตัวเอง ด้วยความถี่ 10 เฮิรตซ์ การหมุนรอบตัวเองทําให้อัตราเร็วสัมพัทธ์ของอากาศเทียบกับผิวของลูกบอล 2 แตกต่างกันไปโดยข้างหนึ่งจะมีค่ามากกว่า 10 เมตร/วินาที และอีกด้านหน่ึงจะมีค่าน้อยกว่า 10 เมตร/ วินาที ถ้าอากาศมีความหนาแน่น 1.1กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร จงหาว่าจุด A และ B มีความแตกต่างของ ความดนั ก่ีพาสคลั กําหนดใหล้ กู บอลมรี ัศมี 15 เซนติเมตร 1. 33 2. 56 3. 66 4. 112
108 328. (พ.ย.57)แท็งก์น้ําขนาดใหญ่มากบรรจุนํ้าอยู่เต็ม โดยมีความสูง 10 เมตร และวางน่ิงอยู่บนพ้ืนดิน ที่ข้าง ๆ แท็งก์มีรูเล็ก ๆ เจาะรูไว้ 2 รู โดย รูล่างอยู่สูงจากก้นแท็งก์ 3 เมตร ส่วนรูบนอยู่สูงจากก้นแท็งก์ 7 เมตร ขอ้ ใดถูกต้องเกี่ยวกบั น้ําทีไ่ หลออกจากรทู ั้งสองทันทีท่เี ปดิ รู 1. นํ้าจากรูบนจะตกไกลกว่า 2. นาํ้ จากรูล่างจะตกไกลกวา่ 3. ตกกระทบพื้นดินได้ไกลเทา่ กัน 4. ตกกระทบพื้นดนิ ในเวลาเดียวกัน 329. (มี.ค 58)หลอดฉีดยายาว 30 cm บรรจุนํ้าอยู่เต็ม วางอยู่ในแนวดิ่ง ลูกสูบมีพื้นท่ีหน้าตัด 10 cm2 และรูท่ี ปลายหลอดมีพนื้ ทห่ี นา้ ตดั 0.1 cm2 วางมวล 100 กรัม ลงบนปลายก้านสบู นา้ํ จะเรมิ่ ถูกดนั ออกมาท่ีปลาย ดา้ นล่างด้วยอตั ราเรว็ ประมาณกเี่ มตร/วินาที (ความหนาแนน่ ของนํา้ เท่ากบั 1,000 kg/m3) 1. 2.1 2. 2.8 3. 5.1 4. 7.4 330. (มี.ค 58)เข่ือนแห่งหนึ่งผลิตไฟฟ้าด้วยกําลังนํ้า โดยปล่อยนํ้าให้ตกจากที่สูง ถ้าอัตราเร็วของนํ้ามีค่าเป็น 10 m/s และอัตราการไหลมีค่า 200 m3/s กําลังของน้าํ มีค่าเป็นกี่เมกะวัตต์ (กําหนดให้น้ํามีความหนาแน่น 1,000 kg/m3 ) 1. 10 2. 100 3. 1,000 4. โจทย์ไมส่ มบรู ณ์เพราะไมไ่ ดบ้ อกระดับความสงู ของนํ้า
109 ความร้อน และ แกส๊ 19. ความรอ้ น ความรอ้ น การเปลีย่ นพลงั งานรูปตา่ ง ๆ เปน็ ความร้อน 331. (มี.ค. 52)ถ้าเปรียบเทยี บความรอ้ นกบั กระแสไฟฟ้า อณุ หภูมิจะเทยี บไดก้ บั ปรมิ าณใด 1. ความต้านทานไฟฟ้า 2. ศกั ยไ์ ฟฟ้า 3. กาํ ลงั ไฟฟา้ 4. พลงั งานไฟฟา้ 332. (มี.ค.54)ในขณะท่ีนํ้าในกาต้มน้ําที่เปิดฝาไว้กําลังเดือด ถ้านักเรียนเร่งไฟเตาแก๊สให้แรงข้ึน จะเกิดอะไร ขนึ้ 1. ปรมิ าณไอนาํ้ จะมากขึน้ 2. จุดเดือดของน้าํ จะสูงขนึ้ 3. นํา้ ในกามอี ุณหภมู ิสงู ขนึ้ อย่างมาก 4. อตั ราการระเหยเปลยี่ นแปลงเล็กน้อย 333. (มี.ค.55) กระสนุ ปืนมวล 10 กรัม เคล่ือนท่ีด้วยอัตราเร็ว 1000 เมตร/วินาที เข้าไปในข้ีผ้ึงก้อนหนึ่งมวล 1 กิโลกรัม ข้ีผึ้งก้อนน้ีจะมีอุณหภูมิเพิ่มข้ึนประมาณกี่องศาเซลเซียส ถ้าถือว่าพลังงานทั้งหมดของกระสุนปนื เปล่ียนเป็นพลังงานความร้อนในขี้ผ้ึง ความร้อนจําเพาะของขี้ผึ้งเป็น 0.6 แคลอรี/กรัม/องศาเซลเซียส และ กําหนดให้พลงั งานความร้อน 1 แคลอรีเทียบเท่าพลงั งานกล 4 จลู 1. 2.1 2. 3.3 3. 7.5 4. 8.3 334. (มี.ค.56)เครื่องทําน้ําแข็งสามารถเปลี่ยนนํ้าท่ีอุณหภูมิ 300C เป็นน้ําแข็งอุณหภูมิ -200C ถ้าเราซ้ือน้ําแข็ง ดังกล่าวในราคากิโลกรัมละ 1 บาท ถ้าค่าไฟหน่วยละ 5 บาท ผู้ขายจะกําไรหรือขาดทุนประมาณกิโลกรัม ละกี่บาท กําหนดให้ค่าความร้อนจําเพาะของน้ําเท่ากับ 4.2 kJ/kg.K ค่าความร้อนจําเพาะของน้ําแข็ง เทา่ กับ 2.1 kJ/kg.K คา่ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวเท่ากบั 334 kJ/kg 1.กําไร 0.3 บาท 2. กําไร 0.7 บาท 3. ขาดทนุ 0.3 บาท 4. ขาดทุน 0.7 บาท
110 335. (ม.ี ค.57) ยงิ กระสุนปืนมวล 10 กรัม เขา้ ใส่แทงก์น้าํ ทรงลกู บาศกข์ นาด 2x2x2 ลูกบาศกเ์ มตร ทบี่ รรจนุ ้ําเตม็ ถังด้วยอัตราเร็ว 400 เมตร/วินาที ถ้ากระสุนฝังเข้าไปในผนังของแท็งก์นํ้า อุณหภูมิของน้ําในแท็งก์นํ้าจะ เปลี่ยนกี่เคลวิน ถือว่านํ้าได้รับความร้อนทั้งหมดจากผนังของแท็งก์นํ้า กําหนดให้ความจุความร้อนจําเพาะ ของนา้ํ เทา่ กบั 4.2 กิโลจลู ต่อกโิ ลกรัม.เคลวนิ และความหนาแน่นของน้ําเท่ากับ 1000 กโิ ลกรมั ตอ่ ลูกบาศก์ เมตร 1. 3.2 x10-5 2. 2.4 x10-5 3. 2.4 x10-4 4. 2.4 x10-2 336. (พ.ย.57)เมื่อวางก้อนนา้ํ แขง็ ลงบนถาดสแตนเลสและถาดพลาสติกที่อยูใ่ นห้องมานานพอสมควรแล้วถาด ละ 1 ก้อน ขอ้ ใดคอื สิ่งที่สงั เกตเห็น 1.น้ําแขง็ ท้ังสองก้อนละลายเรว็ เทา่ ๆ กัน เพราะถาดทง้ั สองมอี ณุ หภูมเิ ทา่ กัน 2. นาํ้ แขง็ บนถาดพลาสตกิ ละลายเรว็ กวา่ เพราะถาดพลาสติกเก็บความร้อนได้มากกวา่ 3. น้าํ แขง็ บนถาดสแตนเลสละลายเรว็ กว่า เพราะถาดสแตนเลสถา่ ยเทความร้อนได้ดีกว่า 4. นํ้าแขง็ บนถาดสแตนเลสละลายเร็วกว่า เพราะถาดสแตนเลสเก็บความรอ้ นได้มากกว่า 337. (พ.ย.57)ทรงกลม 2 ลูกทําจากวัสดุชนิดเดียวกัน ลูกหน่ึงเป็นทรงกลมตัน อีกลูกหนึ่งเป็นทรงกลมกลวง เร่ิมต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลางและอุณหภูมิเท่ากัน เมื่อให้ความร้อนกับทรงกลมทั้งสองจนมีอุณหภูมิเท่ากัน ข้อใดถูกเกยี่ วกับเส้นผ่านศนู ยก์ ลางของทรงกลมทงั้ สอง หลังได้รบั ความรอ้ น 1. ทรงกลมทงั้ สองมีขนาดเท่ากนั 2. ทรงกลมตนั มีขนาดใหญก่ ว่า 3. ทรงกลมกลวงมขี นาดใหญก่ ว่า 4. ข้อมูลไมเ่ พียงพอตอ่ การสรุป
111 20. แกส๊ แก๊สในอดุ มคติ 338. (ก.ค. 53)พิจารณาขอ้ ความตอ่ ไปน้ี ก. ท่อี ณุ หภูมิคงตัว ปรมิ าตรแปรผันตามความดัน ข. ทค่ี วามดนั คงตัว อณุ หภูมแิ ปรผนั ตามปรมิ าตร ค. ในระบบปิด ผลคูณของความดันกบั ปรมิ าตรแปรผนั ตามอณุ หภูมิ ข้อใดเป็นสมบัตขิ องแกส๊ อดุ มคติ 1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ค 4. ก ข และ ค 339. (ต.ค.53) ลมยางในรถยนต์ขณะจอดมีอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส และความดัน 240 กิโลพาสคัล หลังจากรถว่ิงไปได้ 1 ชั่วโมง ลมยางมีอุณหภูมิเพิ่มข้ึน 20 องศาเซลเซียส ถ้าปริมาตรภายในของยางไม่ เปลยี่ นแปลง ความดนั ภายในยางรถยนตเ์ ป็นกกี่ ิโลพาสคลั 340. (ต.ค. 54) ภาชนะเหมือนกันท้ังสองใบ A และ B ภายในบรรจุแก๊สอุดมคติชนิดเดียวกัน ปริมาณเท่ากัน โดยมีความดัน P0 ปริมาตร V0 อุณหภูมิ T0 เหมือนกัน ถ้าลดความดันในภาชนะ A ลงครึ่งหน่ึง แต่เพ่ิม ปริมาตรเป็นสองเทา่ ในขณะทเ่ี พ่มิ ความดนั ในภาชนะ B แต่ลดปริมาตรลงครึ่งหนงึ่ ขอ้ ใดตอ่ ไปนถี้ กู ตอ้ ง 1. TA = 0.5TB = T0 2. TB = 0.5TA = T0 3. TA = TB = T0 4. TA = 2TB = T0 341. (เม.ย.57)เมือ่ หารคา่ คงตวั ของแกส๊ ด้วยคา่ คงตัวโบลตซม์ ันน์ ผลท่ไี ด้คอื ขอ้ ใด (เมื่อคดิ ในระบบเอสไอ) 1. จํานวนโมล 2. จาํ นวนโมเลกลุ 3. เลขอะโวกราโด 4. ความจคุ วามร้อน
112 342. (พ.ย.57)ลูกสูบ A และ B ท่ีเหมือนกันมีปริมาตรและอุณหภูมิเท่ากัน ภายในบรรจุแก๊สอุดมคติชนิด เดียวกัน แต่ปริมาณไม่เท่ากัน โดยลูกสูบ A มีมวลแก๊สเท่ากับ mA ส่วนลูกสูบ B มีมวลแก๊สเท่ากับ mB เมื่อให้แก๊สในกระบอกสูบท้ังสองขยายตัวจนมีปริมาตรเป็น 2 เท่าของเดิม โดยไม่มีการสูญเสียความร้อน พบว่าการเปลี่ยนแปลงความดันในลูกสูบ B เป็น 1.5 เท่าของการเปล่ียนแปลงความดันในลูกสูบ A ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง mA กบั mB เปน็ อยา่ ไร 1. 4mA = 9mB 2. 2mA = 3mA 3. 9mA = 4mB 4. 3mA = 2mB ทฤษฏีจลน์ของแกส๊ 343. (มี.ค. 52) ข้อใดคือพลังงานจลน์ของแก๊สฮีเลียมในถังปิดปริมาตร 10 ลูกบาศก์เมตรท่ีอุณหภูมิ 300 เคล วนิ เมอื่ แก๊ส มคี วามดนั เกจเท่ากบั 3×105 ปาสกาลกาํ หนดใหค้ วามดัน 1 บรรยากาศเท่ากบั 105 ปาสกาล 1. 3.0×106 จูล 2. 4.0×106 จูล 3. 4.5×106 จูล 4. 6.0×106 จูล 344. (ต.ค. 52)แก็สอุดมคติชนิดหน่ึงบรรจุอยู่ในภาชนะท่ีมีปริมาตรคงตัว ถ้าลดจํานวนโมเลกุลของแก็สลง ครง่ึ หนึ่ง โดย รกั ษาความดนั ใหม้ ีค่าคงเดมิ ขอ้ ใดไม่ถูก 1. อณุ หภมู ิของแกส็ มีค่าเทา่ เดมิ 2. พลังงานภายในของแกส็ มคี ่าเท่าเดมิ 3. vrms ตอนหลงั มคี า่ มากกวา่ vrms ตอนแรก 4. พลงั งานจลน์เฉลย่ี ของแกส็ ตอนหลงั เปน็ 2 เท่าของตอนแรก
113 345. (มี.ค.53)บอลลูนบรรจุแก๊สไฮโดรเจนจํานวน n โมล ท่ีความดัน P และปริมาตร V พลังงานจลน์เฉลี่ย ของโมเลกลุ ของแกส๊ เปน็ เทา่ ใด 1. 1 2. 3 3. 3 PV 4. 3 PV 2 PV 2 PV 2n 2 nN 346. (ต.ค. 54) ภาชนะท่ีเหมือนกันสองใบ ใบหน่ึงบรรจุแก๊ส He อีกใบหนึ่งบรรจุแก๊ส Ne โดยมีมวลของแก๊ส เท่ากนั และมีอุณหภมู ิ 293 เคลวิน เทา่ กัน ข้อใดกลา่ วถึงพลังงานภายในของแกส๊ ทง้ั สองไดถ้ ูกต้อง 1. พลังงานภายในของแก๊สทง้ั สองเทา่ กนั 2. พลังงานภายในของ Ne เป็น 5 เทา่ ของ He 3. พลงั งานภายในของ Ne เปน็ 0.5 เท่าของ He 4. พลงั งานภายในของ Ne เปน็ 0.2 เท่าของ He 347. (มี.ค.55)จงพจิ ารณาข้อความตอ่ ไปน้ี ก.พลงั งานภายในของแกส๊ อุดมคตขิ นึ้ กบั อุณหภมู ิเท่านนั้ ข.แรงทีก่ ระทาํ ตอ่ ผนงั ของภาชนะที่บรรจแุ กส๊ อุดมคติเกดิ จากการชนแบบยืดหยุ่นระหวา่ ง โมเลกลุ แกส๊ ค. อตั ราเร็ว อารเ์ อม็ เอส มีค่าเทา่ กบั รากท่ีสองของกาํ ลังสองของอัตราเรว็ เฉล่ีย มขี อ้ ความท่ถี ูกกี่ข้อ 1. 0 2. 1 3. 2 4. 3
114 348. (ต.ค.55)ตารางแจกแจงอัตราเร็วของกลุ่มอะตอมแก๊สเฉ่ือยชนิดหน่ึง กําหนดให้ มวลของ 1 อะตอม เทา่ กบั m อัตราเรว็ (m/s) จาํ นวนอะตอม 1.0 3 2.0 2 3.0 2 4.0 1 5.0 2 พลังงานจลนเ์ ฉล่ยี ต่อมวล 1 อะตอมอยใู่ นช่วงใด 1. (2.0,3.0] 2. (3.0,4.0] 3. (4.0,5.0] 4. (5.0,6.0] 349. (มี.ค.57) แก๊สอุดมคติชนิดหน่ึงมี ความหนาแน่น 1.5 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร บรรจุในถังปริมาตร 44.8 ลติ ร อณุ หภมู ิ 273 เคลวิน ความดนั 1x105 ปาสคาล จะมอี ตั ราเรว็ อารเ์ อมเอสเท่าใด (vrms) 1. 4.5 x102 2. 5.5 x103 3. 1.6 x104 4. 2.0 x105 350. (มี.ค.58) อัตราเร็วเฉล่ียของโมเลกุลอากาศเพ่ิมข้ึนเป็น 2 เท่า พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลอากาศจะ เพ่ิมข้นึ เป็นกี่เท่า 1. 2 เทา่ 2. 2 เทา่ 3. 4 เท่า 4. ไม่สามารถคาํ นวณได้
115 กฎเทอร์โมไดนามิก 351. (ก.ค. 52)แก๊สอุดมคติชนิดอะตอมเดี่ยวกําลังขยายตัวอย่างช้า ๆ ในกระบอกสูบ โดยมีความดันคงที่ P ปริมาตร เปล่ียนจาก V1 เป็น V2 และอุณหภูมิเปลี่ยนจาก T1 เป็น T2 แก๊สอุดมคติน้ีได้รับความรับ พลังงานความ ร้อนเท่าใด 1. 3 P V2 V1 2. 5 P V2 V1 2 2 3. 3 R T2 T1 4. 5 R T2 T1 2 2 352. (ต.ค. 52)แกส็ ในกระบอกสูบได้รบั ความร้อน 300 จูล ทําให้ปริมาตรเปลี่ยนแปลงไป 5 103 ลูกบาศก์ เมตร ถ้าในกระบวนการน้ีระบบมีความดันคงตัว 2105 พาสคัล เคร่ืองหมายของ U และ W เป็น อย่างไรตามลําดับ 1. บวก, บวก 2. บวก, ลบ 3. ลบ,บวก 4. ลบ,ลบ 353. (ต.ค.53)กระบอกสูบบรรจุแกส๊ อดุ มคติ จํานวน 5 โมล ถ้ากระบอกสบู ได้รบั ความร้อน 2,493 จูล โดยไม่มี งานใดๆ เกิดขนึ้ อุณหภมู ิของแก็สในกระบอกสูบจะเปลีย่ นไปอยา่ งไร 1. ลดลง 20 เคลวิน 2. ลดลง 40 เคลวนิ 3. เพ่ิมขนึ้ 20 เคลวิน 4. เพิ่มขึน้ 40 เคลวิน 354. (มี.ค.53) กระบอกสูบบรรจแุ ก๊ส 2 โมล เม่ือลดอุณหภูมิลง 20 องศาเซลเซียส แก๊สจะคายความร้อน 150 จูล กระบอกสูบใหง้ านกี่จูล
116 355. (มี.ค.54) กระบอกสูบทําจากโลหะ ภายในบรรจุแก๊สอุดมคติและมีลูกสูบซ่ึงไม่มีความเสียดทานกับผนัง กระบอกสูบ ดังรูป เราสามารถให้ความร้อนแก่กระบอกสูบโดยรอบแล้วยังคงทําให้อุณหภูมิของแก๊สคงที่ได้ หรอื ไม่ 1. ไม่ได้ เพราะจาก Q = mc∆T ถ้า Q ≠ 0 แล้ว ∆T ≠ 0 2. ไมไ่ ด้ เพราะแก๊สไมส่ ามารถเปลีย่ นสถานะต่อไปไดอ้ ีกแลว้ 3. ได้ ถา้ พลังงานความร้อนทัง้ หมดถูกเปลยี่ นเปน็ งานในการขยายตวั ของแกส๊ 4. ได้ ถ้าแกส๊ สามารถเก็บพลังงานความร้อยในรูปของพลังงานภายในได้ทง้ั หมด 356. (ม.ี ค.54)กระบอกสบู บรรจกุ า๊ ซในอุดมคติ 2/R โมลทีอ่ ณุ หภมู ิ 300 K ถ้าลกู สบู ถกู อัดจนมปี รมิ าตรเป็น 1 ลิตร และมีความดันเป็น 2x105 N/m2 จงหางานท่ีกระทําโดยแก๊สในกระบอกสูบ กําหนดให้ไม่มีการถ่ายเท ความรอ้ นระหว่างแก๊สและสิ่งแวดลอ้ ม (R คือค่าคงตัวของแกส๊ = 8.31 J/mol.K) 357. (เม.ย.57)แก๊สอุดมคติจํานวน 3 โมล บรรจอุ ยใู่ นภาชนะปิดใบหนง่ึ โดยแก๊สมอี ุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ ถ้าเพ่ิมความดันเป็น 3 เท่า โดยที่ปริมาตรคงที่ อุณหภูมิของแก๊สภายในเป็นก่ีองศา เซลเซยี ส 1.300 2. 573 3. 846 4. 1119 358. (พ.ย.57)เมื่อให้ความร้อนกับระบบหนึ่ง 4,200 จูล ระบบจะทํางาน 1,650 จูล การเปลี่ยนแปลงพลังงาน ภายในของระบบเพมิ่ ขึ้นหรอื ลดลงก่จี ลู 1. ลดลง 5,850 จูล 2. ลดลง 2,550 จลู 3. เพิ่มขึน้ 2,550 จลู 4. เพม่ิ ข้ึน 5,850 จูล
117 359. (ม.ี ค.58)ลกั ษณะใดของภาชนะท่บี รรจุแก๊สอดุ มคตซิ ึ่งแสดงว่าแก๊สทาํ งาน 1. ปริมาตรเพิ่มขน้ึ 2. ปรมิ าตรลดลง 3. ปรมิ าตรเพ่ิมข้ึนโดยปราศจากแรงภายนอก 4. ปริมาตรลดลงโดยปราศจากแรงภายนอก 360. (พ.ย.58) จากกฎการอนุรกั ษ์พลงั งานสาํ หรบั แกส๊ Q U W การเปดิ ขวดนาํ้ อดั ลมอย่างรวดเร็ว จะทาํ ใหอ้ ากาศเหนือของเหลวในขวดมกี ารเปลย่ี นแปลงในลักษณะใด U W 1. บวก บวก 2. บวก ลบ 3. ศนู ย์ ลบ 4. ลบ ลบ 5. ลบ บวก
118 อะตอม และนิวเคลยี ร์ 21. อะตอม โฟโตอเิ ล็กทริกซ์ 361. (ม.ี ค. 52) เม่ือฉายแสงความถี่ 5.48 x 1014 เฮิรตซล์ งบนโลหะชนิดหน่ึง ทาํ ใหอ้ เิ ล็กตรอนหลุดออกมาด้วย พลังงานจลน์ สูงสุด 0.79 อิเล็กตรอนโวลต์ เมื่อฉายแสงท่ีมีความถ่ี 7.39 x 1014 เฮิรตซ์ลงบนโลหะเดิม พบว่าอิเล็กตรอนท่ี หลุดออกมามีพลังงานจลน์สูงสุด 1.55 อิเล็กตรอนโวลต์ จากผลการทดลองน้ีจะ ประมาณคา่ คงตวั ของพลังค์ได้ เท่าใด 1. 3.98 x 10-34 จลู .วนิ าที 2. 6.37 x 10-34 จูล.วินาที 3. 6.51 x 10-34 จลู .วินาที 4. 6.63 x 10-34 จูล.วนิ าที 362. (ก.ค. 52) เม่ือฉายแสงความถี่ 5x1014 เฮิรตซ์ลงบนโลหะชนิดหน่ึง พบว่าอิเล็กตรอนท่ีหลุดออกมามี พลังงานจลน์ สูงสุด 0.8 อิเล็กตรอนโวลต์ ถ้าฉายแสงที่มีความถ่ี 1015 เฮิรตซ์ ลงบนโลหะเดิม อิเล็กตรอน ที่หลุด ออกมาจะมพี ลังงานจลนส์ ูงสุดก่ีอิเล็กตรอนโวลต์ 1. 1.3 2. 2.5 3. 2.9 4. 4.1 363. (ต.ค. 52) เงื่อนไขสําคัญท่ีสุดที่ทําให้เกิดกระแสไฟฟ้าโตอิเล็กตรอนในปรากฏการณ์ โฟโตอิเล็ก ทริกได้ คอื ข้อใด 1. ความถ่ีของแสงสูงกว่าความถข่ี ีดเร่มิ 2. ความยาวคลนื่ ของแสงมคี า่ ไม่เกินความยาวคลนื่ ของอเิ ลก็ ตรอน 3. ความเข้มแสงมคี า่ ไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าค่าหนึ่ง ขน้ึ กับชนิดของโลหะที่เป็นขวั้ ไฟฟา้ 4. ความต่างศกั ย์ไฟฟ้าระหวา่ งข้วั ไฟฟา้ มีค่าสงู และทําใหแ้ กส็ แตกตวั เป็นไอออน
119 364. (มี.ค.53) ต้องฉายโฟตอนท่ีมีความถี่ก่ีเพตะเฮิรตซ์ (1015 Hz) ลงบนโลหะแบเรียม ซ่ึงมีฟังก์ช่ันงานเท่ากับ 2.5 อิเล็กตรอนโวลต์ จึงจะทําให้อิเล็กตรอนท่ีเกิดจากปรากฏการณ์นี้ไปกระตุ้นอิเล็กตรอนในอะตอม ไฮโดรเจนที่อยู่ในสถานพ้ืนให้เกิดเส้นสเปกตรัมทั้งหมด 3 เส้น กําหนดให้คา่ คงตัวของพลังก์เท่ากับ 4x10-15 อเิ ลก็ ตรอนโวลต-์ วินาที 365. (ต.ค.53) เม่ือโฟตอนท่ีมีความถี่ 4x1015 เฮิรตซ์ ตกกระทบโลหะชนิดหนึ่ง ทําให้เกิดอิเล็กตรอนท่ีมีความ ยาวคลื่นเดอบรอยล์ 0.4 นาโนเมตร โลหะชนิดนี้มีฟังก์ชั่นงานก่ีอิเล็กตรอนโวลต์ กําหนดให้ h=4x10-15eV และมวลอเิ ลก็ ตรอนเทา่ กบั 0.5 MeV/c2 366. (ม.ี ค. 55) จากตัวเลือกต่อไปนี้ 4. 4 ก. โฟโตอเิ ลก็ ตรอนจะเกดิ ขึ้นเม่ือแสงมีความถ่สี งู กว่าความถีข่ ีดเรม่ิ ข. โฟโตอิเลก็ ตรอนจะมีจาํ นวนเพ่มิ ขึ้น เม่ือแสงมีความเขม้ มากข้ึน ค. โฟโตอิเลก็ ตรอน จะมีจํานวนเพม่ิ ขึ้น เม่ือแสงมคี วามถ่สี งู ขน้ึ ง. พลงั งานจลน์สงู สุดของโฟโตอิเลก็ ตรอนขึ้นกับความเข้มแสง มีก่ีข้อทเี่ ป็นผลมากจากปรากฏการณ์โฟโตอเิ ล็กทริก 1. 1 2. 2 3. 3 367. (มี.ค.56) ฉายแสงความถี่ 7.5x1014 เฮิรตซ์ ตกกระทบโลหะชนิดหนึ่งซ่ึงมีฟังก์ชันงานเท่ากับ 2.28 อิเลก็ ตรอนโวลต์ ศักยห์ ยดุ ยงั้ สาํ หรับโลหะชนดิ น้เี ทา่ กับกี่โวลต์ 1. 0.814 2. 2.28 3. 2.67 4. 5.37
120 368. (มี.ค.57) พลงั งานจลนข์ องโฟโตอิเล็กตรอนในปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตรกิ ไม่ขนึ้ กับปัจจยั ใด 1.ความต่างศักย์ระหวา่ งขัว้ แคโทดกับแอโนด 2. ความถ่ีของแสงท่ีใช้ 3. ชนดิ ของข้วั แคโทด 4. ชนิดของขวั้ แอโนด 369. (เม.ย.57) คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่น (ในหน่วยนาโนเมตร) ในข้อใดต่อไปน้ีท่ีทําให้เกิดโฟโต อเิ ลก็ ตรอนที่มพี ลงั งานจลน์ต่าํ ทส่ี ุด เม่อื ฉายไปยงั โลหะชนิดหน่งึ มคี ่าฟงั กช์ ั่นงาน 4.8 อิเลก็ ตรอนโวลต์ 1. 210 2. 240 3. 270 4. 300 370. (พ.ย.57) ในการทดลองปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก เม่ือเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างศักย์หยุดยั้ง ( แกนต้ัง ) และส่วนกลบั ของความยาวคลืน่ ของแสงท่ีฉาย ( แกนนอน ) จะได้กราฟเสน้ ตรง ขอ้ ใดคือความ ชนั ของกราฟเส้นตรงน้ี 1. h 2. e 3. h 4. hc e h ce e 371. (พ.ย.57) ฉายแสงที่มีความยาวคล่ืน 400 นาโนเมตร ลงบนโลหะ 3 ชนิด A , B และ C ท่ีมีค่าฟังก์ชั่น งานเปน็ 2.5eV , 3.9 eV และ 4.5eV ตามลําดบั โลหะชนิดใดทเ่ี กดิ โฟโตอิเล็กตรอนได้ 1. A 2. A และ B 3. A , B และ C 4. ไม่เกดิ ท้งั 3 ชนดิ
121 372. (พ.ย.58) คลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ ความยาวคลื่น (หน่วยนาโนเมตร) ในข้อใดต่อไปนี้ที่ทาํ ให้โฟโตอิเลก็ ตรอนมี พลังงานจลนน์ อ้ ยท่ีสุด เมอ่ื ฉายลงบนโลหะท่ีมฟี ังก์ช่ันงาน 4.8 eV 1. 60 2. 120 3. 200 4. 250 5. 500 373. (มี.ค.59) เมื่อฉายแสงความถ่ี 6.16 x1014 Hz ลงบนโลหะชนิดหนึ่ง พบว่าอิเล็กตรอนหลุดออกมามี พลงั งานจลน์ 5.6 x 10-20 J ความถข่ี ีดเร่มิ ของโลหะชนดิ นี้เป็นกี่เฮริ ต์ 1. 5.31 x1014 2. 5.60 x1014 3. 6.16 x1014 4. 7.01 x1014 5. 11.76 x1014 รังสเี อกซ์ การทดลองของฟรังซ์กับเฮริ ตซ์ 374. (ต.ค. 52)รงั สเี อกซ์ทใ่ี ห้สเปกตรัมเสน้ เกิดจากกระบวนการในข้อใด 1. แก็สเฉ่ือยภายในหลอดสญุ ญากาศมีการเปล่ียนระดบั พลังงาน 2. การเปลีย่ นระดับพลงั งานของอิเลก็ ตรอนชน้ั ในสุดของอะตอมทีเ่ ปน็ เป้า 3. การเปลี่ยนระดับพลงั งานของอเิ ล็กตรอนช้นั นอกสุดของอะตอมท่เี ป็นเปา้ 4. อิเล็กตรอนทพ่ี งุ่ เขา้ ชนเปา้ ถกู หนว่ งหรือเร่ง 375. (ต.ค. 54)ในเครื่องกําเนิดรังสีเอกซ์ ถ้าเราเปล่ียนความต่างศักย์ระหว่างขวั้ ไฟฟา้ กับเป้าโลหะ (V0) ความ ยาวคลืน่ ตํา่ สุดและความยาวคล่ืนรังสเี อกซ์เฉพาะตวั ท่ีเกิดขึน้ จะเปน็ อยา่ งไร ความยาวคลน่ื ต่าํ สดุ ความยาวคลื่นรงั สเี อกซ์เฉพาะตัว 1. เพิ่มขน้ึ ไมเ่ ปลีย่ นแปลง 2. เพ่ิมขึ้น เปลี่ยนแปลง 3. ลดลง ไม่เปลย่ี นแปลง 4. ลดลง เปลี่ยนแปลง
122 376. (ต.ค. 54). การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ ประกอบด้วยหลอดบรรจุไอปรอทความดันต่ํา ซึ่งมีแคโทด เป็นตัวปล่อยอเิ ลก็ ตรอนและมีข้ัวบวกสาํ หรบั เร่งอเิ ลก็ ตรอน อเิ ล็กตรอนที่หลุดจากแคโทดจะเคลื่อนท่ีผ่านไอ ปรอทและอาจเกิดการถ่ายเทพลังงานให้กับไอปรอทจนกระท่ังเดินทางมาถึงข้ัวไฟฟ้า เกิดเป็นกระแสไฟฟ้า ไหลระหว่างแคโทดและขั้วไฟฟ้า กระแสไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กับความต่างศักย์ระหว่างข้ัวแคโทดและ ข้วั ไฟฟา้ ดงั รูป เหตกุ ารณ์ใดเกิดขน้ึ ในชว่ งความตา่ งศกั ย์ 5.0 โวลต์ถึง 5.5 โวลต์ 1. จํานวนอเิ ลก็ ตรอนจากแคโทดมปี รมิ าณลดลง 2. อิเล็กตรอนจากแคโทดสูญเสียพลังงานจลน์เกอื บท้งั หมดทีม่ ีใหแ้ ก่ไอปรอท 3. พลังงานจลน์ของอิเลก็ ตรอนจากแคโทดถูกเปล่ียนเปน็ พลงั งานศกั ยไ์ ฟฟา้ เนอื่ งจากการเขา้ ชนกับไอปรอท 4. อเิ ล็กตรอนจากแคโทดมพี ลงั งานเพยี งพอที่จะถกู ไอปรอทจับไว้ ทําใหจ้ ํานวนอิเล็กตรอนทีไ่ ป ถึงขวั้ ไฟฟา้ บวก ลดลง 377. (มี.ค. 55)พิจารณาโปรตอนเป็นทรงกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางในระดับ 10-15 เมตร มีมวลในระดับ 10-27 กิโลกรัม ถ้าต้องการเร่งโปรตอนสองตัวในทิศทางตรงข้ามจากที่ระยะไกลมาก ๆ ให้เข้าชนกันใน ท่อ สุญญากาศ ดังรูป ต้องการเร่งโปรตอนแต่ละตัวมีพลังงาน อย่างน้อยท่ีสุด ในระดับขนาดกี่ อิเล็กตรอนโวลต์ (ไมต่ ้องคิดผลเน่อื งจากทฤษฏีสัมพทั ธภาพ ) 1. 103 2. 106 3. 109 4. 1012
123 แบบจําลองอะตอมของโบร์ 378. (ต.ค. 54) อิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงานจากช้ัน n = 3 ไปช้ัน n = 2 จะปล่อย คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ ทีม่ ีพลงั งานกอี่ เิ ลก็ ตรอนโวลต์ 1. 1.4 2. 1.7 3. 1.9 4. 2.3 379. (มี.ค. 55)สมการใดต่อไปนี้ ไม่ได้ใช้ในการคํานวณหารัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจน ตามแบบจําลองของโบร์ 1. F mv2 2. F Gm1m2 r2 r 3. F kq1q2 4. mvr n r2 380. (มี.ค.57) ทฤษฏอี ะตอมของโบรม์ คี วามไม่สมบูรณ์ อันเนือ่ งจากประเด็นใดเปน็ หลัก 1. เหตใุ ดพลงั งานของอเิ ลก็ ตรอนจงึ ติดลบ 2. เหตุใดโปรตอนหลายตวั จงึ สามารถอยู่รวมกันในนิวเคลียสได้ 3. เหตุใดไมร่ วมแรงดึงดดู ระหวา่ งมวลของอิเลก็ ตรอนและโปรตอนในการพิสจู น์ 4. เหตุใดอิเล็กตรอนทโ่ี คจรเปน็ วงกลมรอบนิวเคลียส มแี อลฟาแต่ไมป่ ลดปล่อยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ 381. (มี.ค.58)จากทฤษฏีอะตอมของโบร์ เหตุใดอิเล็กตรอนจึงสามารถเคล่ือนท่ีรอบนิวเคลียสไฮโดรเจนโดย ไม่มกี ารปลดปล่อยพลงั งานคลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ ออกมา 1. อิเลก็ ตรอนเคลือ่ นท่ีเปน็ วงกลม 2. อิเลก็ ตรอนประพฤตติ วั เปน็ คล่ืนน่งิ 3. อเิ ลก็ ตรอนมีขนาดโมเมนตมั เชิงมุมคงท่ี 4. อิเล็กตรอนถกู นิวเคลยี สไฮโดรเจนดูดด้วยแรงคงที่
124 382. (ม.ี ค.58)อเิ ล็กตรอนกําลงั โคจรเปน็ วงกลมรอบนวิ เคลยี สฮเี ลียมท่ีมรี ศั มี 0.5 อังสตอม อตั ราเรว็ ของ อเิ ลก็ ตรอนนเ้ี ปน็ กเ่ี มตร/วนิ าที (กาํ หนด k 9109 N.m2C2 และมวลอเิ ล็กตรอนเท่ากบั 9.11031kg ) 1. 3104 2. 3105 3. 3106 4. 3107 383. (มี.ค.58)เส้นสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน มีความยาวคลื่นสูงสุดท่ี 1,875 nm จะมีพลังงานตํ่าสุดท่ี n เท่ากับเท่าใด (ระดบั พลังงานของไฮโดรเจนเทา่ กบั 13.6 ) n2 eV 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 ความยาวคลื่นเดอร์บรอยล์ 384. (มี.ค.54) ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนท่ีระดับพลังงาน n = 4 เป็นก่ีเท่า ของที่ระดับ พลงั งาน n = 2 1 1. 2 2. 2 3. 4 4. 8 385. (ต.ค. 55) จะใชโ้ ฟตอนทีม่ ีพลังงาน 5 x 10-19 จลู ศึกษารายละเอียดของวัตถทุ มี่ ขี นาดเล็กท่ีสดุ เท่าใด 1. 396 nm 2. 1.98 nm 3. 1.32 nm 4. 0.44 nm
125 386. (พ.ย.58) อนุภาค 2 ชนิด ที่มีมวล m1 และ m2 ต่างก็มีพลังงานจลน์เท่ากัน อัตราส่วนของความยาว คลน่ื เดอบรอยล์ 1 เปน็ เทา่ ใด 2 1. 1 2. m1 3. m2 m2 m1 4. m1 5. m2 m2 m1 387. (มี.ค.59) อิเล็กตรอนมีพลังงาน 1 eV จะมีความยาวคล่นื ประมาณก่ีนาโนเมตร 1. 0.12 2. 1.2 3. 12 4. 120 5. 1200 22.นวิ เคลียร์ ครึง่ ชวี ติ 388. (มี.ค. 52 )ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีจํานวนนิวเคลียสเริ่มต้นเท่ากับ N เมื่อเวลาผ่านไปครึ่งหน่ึงของคร่งึ ชีวิต จะมี จํานวนนิวเคลียสเหลืออยู่เทา่ ใด 1. N0 2. N0 3. 3N0 4. 7N0 4 2 4 8
126 389. (ก.ค. 52) สารกัมมันตรังสีชนิดหน่ึงมีจํานวนนิวเคลียสเร่ิมต้นเท่ากับ N0 มีค่าครึ่งชีวิตเท่ากับ T1/2 เม่ือ เวลาผา่ นไปนาน เทา่ ใดสารนจ้ี งึ จะสลายตัวไป 3N0 4 1. T1/ 2 2. 3T1/ 2 4 4 3. 2T1/2 4. T1/ 2 ln 3 / 4 ln 2 390. (ม.ี ค.53)สารกัมมนั ตรงั สีชนิดหนงึ่ มีความสัมพันธ์ระหวา่ งปริมาณสารกับเวลาดงั รปู ถา้ โรงพยาบาลแหง่ หนง่ึ ต้องการใช้สารนจี้ ํานวน 10 กรมั จะตอ้ งใหห้ อ้ งปฏิบตั กิ ารนวิ เคลียรส์ งั เคราะหส์ าร น้ปี รมิ าณก่ีกรมั จงึ จะพอดีใช้ ถา้ การขนสง่ จากห้องปฏิบตั กิ ารไปยงั โรงพยาบาลแหง่ นตี้ ้องใชเ้ วลา 1 วัน 1. 40 2. 80 3. 120 4. 160 391. (ต.ค. 54) วัตถุก้อนหนึ่งประกอบด้วยยูเรเนียม 238 บริสุทธ์ิ เท่าน้ัน ก้อนดังกล่าวมีมวลเร่ิมต้น 10 กรัม เมื่อเวลาผ่านไปสองเท่าของคา่ ครงึ่ ชวี ิต มวลของกอ้ นวัตถดุ ังกลา่ วเปน็ เทา่ ใด 1. ศนู ย์ 2. น้อยกว่า 2.5 กรมั 3. 2.5 กรมั 4. มากกวา่ 2.5 กรัม 392. (ก.ค. 53)ธาตุกัมมันตรังสี A สลายตัวเป็นธาตุ B ซ่ึงเสถียรโดยมีครึ่งชีวิตเป็น T จะต้องใช้เวลานานเท่าใด ธาตุ B จึงจะมีจํานวนเป็น 2 เทา่ ของธาตุ A 1. T 2. ln 3 3. T ln 3 / 2 4. T ln 2 T ln 2
127 393. (ต.ค. 55)ธาตุกัมมันตรังสี A สลายตัวเป็น B ถ้าปริมาณ 7/8 ของ A สลายตัวไปในเวลา 15 นาที ค่า ครึ่งชีวิตของ A เป็นกี่นาที 1. 3.75 2. 5 3. 7 4. 10 394. (ม.ี ค.57) สารกมั มันตรังสีชนดิ หนึง่ ปลดปลอ่ ยรังสที ่ีอตั รา 2000 คร้ังตอ่ นาที เมอ่ื เวลาผ่านไป 1 ปี อัตรา ลดลงเหลอื 1800 ครง้ั ตอ่ นาที สารนี้ มคี รึง่ ชวี ติ ประมาณก่ปี ี 1. 0.1 2. 0.7 3. 5.0 4. 6.7 395. (เม.ย.57) สารกมั มนั ตรงั สชี นดิ หนึ่งมคี า่ คร่ึงชวี ิต 100 วินาที ถา้ เร่ิมต้นมีสารชนิดนจ้ี ํานวน 100 กรมั เม่ือ เวลาผา่ นไป 250 วนิ าที จะเหลือสารชนดิ นีป้ ระมาณก่กี รมั 1.23.5 2. 19.8 3. 17.7 4. 14.3 396. (พ.ย.57)ในบรเิ วณหน่งึ พบว่าวัดกัมมันตภาพในช่วง 15 วัน ได้ดังตาราง เพ่อื ความปลอดภยั จะตอ้ งรอให้ มีกัมมันตภาพไมเ่ กนิ 120 เบ็กเคอเรล จึงจะเข้าไปสํารวจบริเวณดังกล่าวได้ อยากทราบว่าจะตอ้ งรอให้ ผ่านไปอยา่ งน้อยท่สี ุดกว่ี ัน วันที่ 0 2 5 10 15 กัมมันตภาพ (Bq) 1000 795 560 317 178 1.17 2. 19 3. 21 4. 23
128 อปุ มา-อุปไมย การทอดลกู เตา๋ กับการสลายตวั ของธาตกุ มั มันตรังสี 397. (ต.ค. 52) ลูกเต๋าพิเศษมี 14 หนา้ แต่ละหนา้ มีหมายเลข 1 ถึง 14 เขียนไว้ เร่ิมต้นโยนลูกเต๋าน้ี จาํ นวน 1,000 ลูก พร้อมกนั และคดั ลกู ที่ออกเลข 1 ออกไป แลว้ นาํ ลูกเต๋าทเี่ หลือมาโยนใหม่ และคัดออกโดยใช้ เกณฑ์เดมิ คา่ ครึง่ ชีวิตของลกู เต๋าจะมคี า่ เทา่ ใด 1. 13 ln2 2. 14 ln2 3. ln 2 4. ln 2 14 13 398. (ต.ค.53) หากเปรียบเทยี บการทอดลกู เตา๋ กบั การสลายของนิวเคลยี สกมั มันตรงั สี เมื่อเขียนกราฟ ความสัมพันธ์ระหว่าง คา่ คงตวั การสลาย (แกนต้ัง) กบั จํานวนหนา้ ทแ่ี ต้มสขี องลกู เต๋า(แกนนอน) เป็นดังข้อ ใด 1. เป็นกราฟเส้นตรงท่ีมคี วามชนั เปน็ ลบ 2. เปน็ กราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นบวก 3. เปน็ กราฟเอกซโ์ ปเนนเชยี ลท่มี คี วามชันเป็นลบ 4. เป็นกราฟเอกซโ์ ปเนนเชยี ลทม่ี ีความชนั เปน็ บวก 399. (ม.ี ค.54) ลูกเต๋าชุด A มี 6 หน้า แต้มสไี ว้เพียง 1 หน้า มที ้ังหมด 600 ลกู ลูกเตา๋ ชุด B มี 6 หนา้ แต้มสไี ว้ 2 หนา้ ใน การทดลองแต่ละครงั้ จะหยิบลกู เตา๋ ทขี่ ึน้ หน้าท่ีแตม้ สอี อก สาํ หรบั การทอดลูกเต๋าคร้ังแรก ถ้า ตอ้ งการให้ จํานวนลูกเต๋าทถ่ี กู หยิบออกจากท้งั สองชุดเท่ากัน จะตอ้ งใชล้ ูกเตา๋ B กลี่ กู 1. 150 2. 300 3. 750 4. 1200 การสลายตวั ของธาตกุ ัมมันตรังสี 400. (ต.ค. 54)อนุภาค X ในปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ n U235 15461Ba 92 Kr X คือ อนุภาคอะไร 36 92 1. 3 H 2. 0 e 3 อนุภาค 1 1 3. 11H 3 อนภุ าค 4. n 3 อนุภาค
129 401. (มี.ค. 55) ถา้ ตอ้ งการคาํ นวณหาคา่ กัมมนั ตภาพของธาตุกมั มนั ตรงั สีชนดิ หนึง่ เราจะต้องใชก้ ี่ปริมาณจาก ตวั เลอื กท่กี าํ หนดใหต้ ่อไปนี้ ก. คา่ คงตวั การสลาย ข. เวลาท่ีผ่านไปนบั ตงั้ แตเ่ รม่ิ พจิ ารณา ค. ชนดิ ของกัมมนั รงั สีที่ปลดปล่อยออกมา ง. จํานวนนิวเคลยี สของธาตุกมั มันตรงั สที ่มี ีอยู่ ณ ขณะนั้น 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 402. (ต.ค. 55). ข้อใดแสดงปฏิกิริยาการสลายตวั ของ K40 เปน็ 2400Ca ได้ถกู ตอ้ ง 19 1. K40 2400Ca n 19 2. K40 2400Ca 19 3. K40 2400Ca e + อนุภาคทตี่ รวจไม่พบ 19 4. K40 2400Ca e + อนุภาคทีต่ รวจไมพ่ บ 19 403. (ม.ี ค. 55)ข้อใดถูกเก่ยี วกบั การสลายตัวของยเู รเนยี ม – 238 1. พลงั งานยดึ เหนี่ยวต่อนิวคลอี อนลดลง 2. พลงั งานยดึ เหน่ียวต่อนวิ คลอี อนไมเ่ ปล่ยี นแปลง 3. พลังงานยดึ เหน่ยี วต่อนวิ คลีออนเพิม่ ขึน้ 4. พลงั งานยดึ เหนี่ยวต่อนวิ คลีออนเปลีย่ นแปลง แต่อาจลดลงหรือเพิ่มขน้ึ กไ็ ด้ 404. (ม.ี ค.56) นวิ เคลยี สของฮเี ลยี มประกอบดว้ ยโปรตอน 2 อนภุ าค และนิวตรอน 2 อนุภาค ถ้าให้ mHe , mp และ mn แทนมวลของนวิ เคลยี สฮีเลยี ม มวลโปรตอน และมวลนวิ ตรอน ตามลาํ ดับ ขอ้ ใดถกู 1. mHe 2mp 2mn 2. mHe 2mp 2mn 3. mHe 2mp 2mn 4. mHe 2mp 2mn 2me เมือ่ me คือมวลของอเิ ล็กตรอน
130 พลงั งานยึดเหนีย่ ว พลงั งานนิวเคลียร์ 405. (มี.ค. 52) ถ้าต้องการใหห้ ลอดไฟขนาด 100 วตั ต์ 1 ดวงสวา่ งเปน็ เวลา 1 วนั โดยใช้พลงั งานจากปฏกิ ริ ิยา ฟชิ ชัน โดยที่ การเกดิ ฟชิ ชนั แตล่ ะครัง้ ให้พลังงาน 200 เมกะอิเล็กตรอนโวลตแ์ ละประสทิ ธิภาพในการ เปลย่ี นพลงั งาน นิวเคลยี รเ์ ป็นพลังงานไฟฟา้ เทา่ กับ 30% จะต้องใชย้ เู รเนยี ม-235 กม่ี ิลลกิ รมั 1. 0.038 2. 0.096 3. 0.11 4. 0.35 406. (ก.ค. 52)จากปฏกิ ริ ยิ านวิ เคลียร์ฟิวชัน 2 H 13H X n 1 กาํ หนดให้ มวลของ p = 1.0078 u มวลของ n = 1.0087 u มวลของ α = 4.0026 u มวลของ H=2 2.0141 u 1 มวลของ =13H 3.0160 u มวลของ 5 He = 5.0123 u 2 และ 1u = 930 MeV/c2 จงพจิ ารณาวา่ X ในปฏิกริ ิยานค้ี อื อะไร และมกี ารปลดปล่อยพลังงานจาํ นวนเทา่ ใด 1. α และ 1.94 10-16 MeV 2. α และ 17.5 MeV 3. 25He และ 1.02 10-14 MeV 4. 25He และ 922 MeV
131 407. (มี.ค.54)พลงั งานทีป่ ลดปลอ่ ยออกมาจากการสลายให้รังสีบีตาของ 164C มคี า่ ก่ีเมกะอเิ ล็กตรอนโวลต์ มวลอะตอมของไอโซโทปต่าง ๆ 11C(11.011433u) 12C(12.000000u) 13C(13.003355u) 14C(14.003242u) 13N (13.005739u) 14N (14.003074u) 15C(17.999159u) 15O(15.003065u) 16O(15.994915u) 18O(17.999159u) มวลอเิ ลก็ ตรอน 0.000549u กาํ หนดให้ 1u = 930 MeV/c2 408. (มี.ค.57) จากข้อมลู ตอ่ ไปนี้ ธาต/ุ อนภุ าค มวล (u) ไฮโดรเจน 1.007825 ฮีเลียม-4 4.002604 นิวตรอน 1.008665 โปรตอน 1.007276 พลงั งานยดึ เหนี่ยวของนวิ เคลียสของ 4 He ในหน่วย MeV เปน็ เทา่ ใด กาํ หนดให้มวล 1u เทียบเท่ากบั พลงั งาน 2 931 MeV 1. 6.8 2. 7.1 3. 27.3 4. 28.31
132 409. (มี.ค. 58 )ปรากฏการณ์นิวเคลียร์ฟิวชันท่ีสร้างโดยมนุษย์ ซ่ึงต้องการหลอมรวมดิวทริเรียม และทริเทียม ให้กลายเป็นนิวเคลยี สของฮีเลียมและนิวตรอน พลงั งานตอ่ ปฏกิ ิรยิ าจะมคี ่าประมาณเท่าใดในหน่วย MeV กําหนดให้ 1u = 931.5 MeV/c2 อนุภาค 11H 2 H 3 H 3 He 4 He 01n 1 1 2 2 มวลอะตอม (u) 1.007825 2.014102 3.016049 3.016029 4.002603 1.008665 1. 0.0189 2. 17.6 3. 937 4. 1,853 410. (พ.ย.58) ปฏิกริ ยิ านวิ เคลียร์ 151B 11H 3 4 เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าดูดหรอื คายพลงั งาน ก่ีเมกะ 2 He อิเล็กตรอนโวลต์ กาํ หนดให้ m 151B 11.009305u m 11B 1.007825u m4B 4.00260u 2 และ 1u 931.5MeV / c2 1. คายพลงั งาน 0.009 2. ดดู พลังงาน 0.009 3. คายพลงั งาน 8.7 4. ดูดพลงั งาน 8.7 5. คายพลงั งาน 7465.5
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132