Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อสอบ PAT1 แยกตามเรื่อง

ข้อสอบ PAT1 แยกตามเรื่อง

Published by krumunphysmath, 2019-02-24 02:02:46

Description: ข้อสอบ PAT1 แยกตามเรื่อง

Keywords: คณิตศาสตร์,ข้อสอบ PAT1

Search

Read the Text Version

51 164. (ต.ค.55) อลั ตราซาวนท์ ใ่ี ช้เพอื่ การสลายนิ่วนนั้ ใช้หลักการใดของฟิสกิ ส์ 1.การสะทอ้ น 2. การหกั เห 3. การสน่ั พอ้ ง 4. ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ อัตราเร็วคลนื่ เสียง การสะทอ้ น 165. (ก.ค. 53) เรอื ลาํ หนง่ึ เคลื่อนท่ีเขา้ หาหนา้ ผาชันดว้ ยความเร็วคงตัว 20 เมตรตอ่ วินาที เมื่ออย่หู า่ งจากหน้า ผาระยะหนงึ่ กัปตนั เปิดหวูด 1 ครงั้ และไดย้ นิ เสยี งสะทอ้ นกลบั ของเสียงหวดู เม่ือเวลาผา่ นไป 2 วนิ าที ขณะทเี่ ปิด หวดู เรืออยหู่ ่างจากหนา้ ผาก่ีเมตร กาํ หนดใหอ้ ัตราเสียงในอากาศเทา่ กับ 340 เมตรต่อวินาที 1. 360 2. 540 3. 680 4. 960 166. (ม.ี ค.54) นกั เรยี นคนหน่ึงยนื อยูห่ ่างจากกาํ แพง 102 เมตร รอ้ งตะโดนออกไปและได้ยินเสยี งตะโกนของ ตนเองใด เวลา 0.6 วินาที ถา้ ความยาวคล่ืนเสยี งเป็น 0.5 เมตร ความถ่ีของเสียงที่ไดย้ ินเป็นกี่เฮิรตซ์ 1. 85 2. 122 3. 170 4. 680 167. (ต.ค. 54) รถไฟขบวนหนึ่งเรมิ่ เคลอ่ื นทีบ่ นรางตรงเขา้ สชู่ านชาลา พร้อมกบั เปิดหวดู รถไฟ ขณะเดียวกัน เสียงเสียดสีระหว่างล้อเหล็กกับรางเหล็กก็ถูกส่งผ่านรางเหล็กมาด้วยอัตราเร็วที่สูงกว่าเสียงหวูดรถไฟ ที่อุณหภูมิ ปกติ อัตราเร็วเสียงในเหล็กมีค่าประมาณ 5,000 เมตร/วินาที และอัตราเร็วเสียงในอากาศมีค่าประมาณ 350 เมตร/วินาที ถ้าเรายืนอยู่ที่ชานชาลาและได้ยินเสียงหวูดรถไฟหลังจากท่ีได้ยินเสียงจากรางเหล็กแล้ว 2 วินาที ขณะเปิดหวดู รถไฟขบวนดงั กล่าวอยหู่ า่ งจากชานชาลาเป็นระยะทางก่ีเมตร 1. 750 2. 753 3. 1,022 4. 2,325

52 ความเข้มเสยี ง ระดบั ความเขม้ แสง 168. (ต.ค. 52) ถา้ ระดับความเขม้ ข้นเสียงจากแหลง่ กาํ เนดิ เสยี งหนึ่งเปลย่ี นจาก 20 เดซเิ บล เป็น 40เดซเิ บล ความเขม้ เสยี งเพมิ่ ขึน้ กี่เทา่ 1. 2 2. 10 3. 20 4. 100 169. (ต.ค. 54) การจดุ ประทัดเพยี งนัดเดียวใหร้ ะดับความเข้มเสยี งประมาณ 100 เดซิเบล ถา้ จุดประทัดพร้อม กนั 20 นดั จะทาํ ใหไ้ ดย้ ินเสียงดงั ไดม้ ากทส่ี ดุ ประมาณกี่เดซิเบล กาํ หนด log 2=0.3 1. 103.3 2. 111.3 3. 113.0 4. 131.0 170. (เม.ย. 57) สมศักดิ์ยืนอยู่ห่างจากแหล่งกําเนิดเสียงที่แผ่ในทุกทิศทางอย่างสม่ําเสมอเป็นระยะทาง 5 เมตร เขาวัดระดับความเข้มเสียงได้ 70 เดซิเบล ถ้าสมศรีซึ่งอยู่ห่างจากแหล่งกําเนิดเสียงเป็นระยะ 20 เมตร จะ วัดระดับความเขม้ เสยี งไดก้ ี่เดซเิ บล กาํ หนด log4=0.6 1.17.5 2. 58 3. 64 4. 70

53 การสนั่ พ้องของเสียง 171. (ต.ค. 52) หลอดเรโซแนนซ์ปลายปิดด้านหนึ่ง มีความยาว 2 เมตร ความยาวคล่ืนของฮาร์มอนิกท่ีสาม เท่ากบั กี่เมตร 1. 1.33 2. 1.6 3. 2.67 4. 4 172. (มี.ค.53)วางแหลง่ กําเนิดเสียงไวใ้ กล้กับทอ่ ปลายปดิ 1 ด้าน ยาว 1 เมตร ดังรูป เม่อื ปรับความถี่ของ แหล่งกําเนดิ เสียงเพ่ือให้ได้ยินเสยี งดงั ที่สดุ ถ้าอัตราเร็วเสียงในอากาศเท่ากับ 340เมตร/วินาที เสียงจะดังทีส่ ุดท่ี ความถ่กี ่ี เฮิรตซ์ 1. 80 2. 255 3. 420 4. 695 173. (ต.ค.53) ในการทดลองการสน่ั พอ้ งในท่อปลายเปดิ 1 ข้าง ปลายปิด 1 ขา้ ง โดยสามารถปรับระดับความ ยาวของลาํ ท่อ อากาศภายในท่อได้ ระยะจากตําแหนง่ ทไี่ ด้ยินเสียงดังครงั้ ท่ี 1 และตําแหน่งทีไ่ ด้ยินเสยี งดงั ครัง้ ท่ี 4 เท่ากับ ก่ีเซนติเมตร ถ้าคล่ืนเสียงที่ส่งเข้าไปใน ท่อมีความถ่ี 400 เฮิรตซ์ และอัตราเร็วเสียงในอากาศเท่ากับ 340 เมตร/วนิ าที 1. 85.0 2. 127.5 3. 148.8 4. 170.0

54 174. (เม.ย. 57) นักเรียนคนหนึ่งทําการทดลองเคาะส้อมเสียงท่ีไม่ทราบความถ่ีอันหนึ่งเหนือปากหลอดเร โซแนนซ์ อันหนง่ึ ซึง่ ยาว 1 เมตร พบวา่ ได้ยินเสยี งดงั ขนึ้ ครัง้ แรก เมอื่ มีระดับน้าํ ในหลอดสงู 12.5 เซนตเิ มตร และครง้ั ท่สี องเมือ่ เตมิ นา้ํ ลงไปอกี 25 เซนติเมตร ถา้ เขายังคงเตมิ นา้ํ ลงไปเรื่อย ๆ เขาจะไดย้ นิ เสยี งดังขึ้นอีก ก่ีคร้งั 1. 2 2. 3 3. 4 4. 5 ปรากฏการณด์ อปเปลอร์ 175. (ม.ี ค.55)รถพยาบาลกําลงั แล่นดว้ ยอัตราเรว็ 1/100 ของอตั ราเร็วเสียง อตั ราส่วนของความยาวคลนื่ เสยี ง ไซเรนดา้ นหลงั ตอ่ ด้านหน้ารถ ทปี่ รากฏตอ่ ผ้สู งั เกต ทีย่ นื นิ่งบนถนนเป็นเทา่ ใด 1. 0.99/1.01 2. 1.01/0.99 3. 1.01/1.02 4. 1.02/1.02 176. (ต.ค. 55) รถไฟขบวนหนึง่ เปิดหวูดขณะกําลังจะแล่นผา่ นส่แี ยกหนงึ่ นกั เรยี นท่ยี ืนตรงส่ีแยกนั้นวัดความถี่ เสียงหวูดได้ 590 Hz. และวัดอีกคร้ังเม่ือรถไฟเคลื่อนท่ีผ่านไปแล้วได้ 540 Hz รถไฟแล่นด้วยอัตราเร็วในช่วงกี่ เมตร/วนิ าที สมมติใหร้ ถไฟแลน่ ดว้ ยอัตราเรว็ คงตัว และอัตราเร็วเสียงในอากาศขณะนนั้ เปน็ 340 m/s 1. (0,30] 2. (30,85] 3. (85,130] 4. (130,190]

55 177. (ม.ี ค.56) เคร่ืองบินลาํ หนงึ่ กาํ ลงั บินไปทางหอบงั คับการบิน โดยมอี ัตราเร็วสมั พทั ธ์กับอากาศเปน็ 170 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากหอบังคับการบิน 3 กิโลเมตร ได้ส่งสัญญาณเสียงความถ่ีสูงไปยังหอบังคับการบิน ถ้าขณะน้ันมีลมปะทะมาจากด้านหน้าเครื่องบนิ ด้วยอัตราเร็ว 50 เมตร/วินาที เทียบกับพื้นดิน สัญญาณเสียงจะ ไปถึงหอบงั คับการบนิ ในเวลาก่วี ินาที ถา้ อตั ราเร็วเสยี งในอากาศเปน็ 340 เมตร/วินาที 1. 5.9 2. 6.5 3. 8.8 4. 10.3 178. (มี.ค.56) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. ปรากฏการณ์ดอปเพลอรข์ องเสียงข้ึนกบั อตั ราเรว็ สมั พัทธ์ระหวา่ งแหลง่ กาํ เนิดเสียงและผสู้ งั เกตเท่าน้นั 2. เราสามารถสงั เกตลวดลายการแทรกสอดทเ่ี กิดจากแหลง่ กาํ เนดิ อาพันธเ์ ท่านนั้ 3. แหลง่ กาํ เนดิ คลืน่ ท่มี เี ฟสตา่ งกนั 1800 เปน็ แหลง่ กําเนดิ ไมอ่ าพันธ์ 4. มขี อ้ ความถูกมากกว่า 1 ข้อความ 179. (ม.ี ค.57)ผู้สงั เกตคนหนง่ึ เคล่ือนทด่ี ้วยความเร็วคงท่ี เขา้ หาแหลง่ กาํ เนิดเสียงความถค่ี งท่ี ค่าหน่ึงซ่ึงอยู่น่งิ แลว้ ผ่านเลยไป กราฟในข้อใดแสดงความถข่ี องเสียงที่ผู้สงั เกตวัดได้ ถา้ A คือตําแหนง่ ของแหลง่ กาํ เนดิ เสียง 1. 2. 3. 4.

56 180. (พ.ย.57)ลําโพงท่ีอยู่น่ิงส่งเสียงความถ่ี 1,000 เฮิรตซ์ ไปยังชายคนหน่ึงที่อยู่ห่างออกไป 500 เมตร ถ้า ขณะน้ันมีลมพัดในทิศจากลําโพงไปยังชายคนน้ันด้วยอัตราเร็ว 50 เมตร/วินาที ชายคนนี้จะได้ยินเสียงจาก ลาํ โพงมคี วามถี่ก่เี ฮริ ตซ์ กําหนดใหอ้ ัตราเร็วเสียงในอากาศเปน็ 330 เมตร/วนิ าที 1. 868 2. 1,000 3. 1,152 4. 1,179 181. (มี.ค.58)รถพยาบาลปลอ่ ยคลน่ื เสยี งทมี่ ีความถ่ี 1kHz เคลือ่ นทเ่ี ขา้ หาเราดว้ ยอตั ราเรว็ 20 m/s ถา้ อตั ราเร็ว เสยี งมีคา่ เป็น 350 m/s ความยาวคลืน่ ด้านหนา้ รถจะมีคา่ กี่เมตร 1. 0.33 2. 0.34 3. 0.35 4. 0.36

57 11. แสง การหกั เหแสง 182. (มี.ค.53) ชายคนหน่ึง มองวัตถุในน้ําตามแนวด่ิง เห็นภาพของวัตถุสูงจากตําแหน่งของวัตถุ 10 เซนติเมตร ตําแหน่งภาพท่ีเขามองเห็นจะอยู่ห่างจากผิวน้ําก่ีเซนติเมตร กําหนดให้ ดัชนีหักเหของนํ้าเท่ากับ 4/3 และ ดัชนหี ักเหของอากาศเท่ากบั 1 183. (ต.ค. 54) แสงความยาวคล่ืนเดียวผ่านจากอากาศเข้าไปในปริซึมที่มีดัชนีหักเห 1.5 ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกีย่ วกบั สมบตั ขิ องแสงนีใ้ นปริซมึ 1. มีความถเ่ี ท่าเดิม แต่ความยาวคลืน่ สนั้ ลง 2. มีความถ่เี ท่าเดิม แต่ความยาวคลนื่ เพิ่มข้ึน 3. ความยาวคล่นื เทา่ เดมิ แต่ความถ่เี พ่ิมข้ึน 4. ความยาวคลนื่ เทา่ เดิม แต่ความถ่ีลดลง 184. (ต.ค. 55) แสงเลเซอร์ตกกระทบผนังด้านบนภายในวัสดุชนิดหน่ึงท่ีมีดัชนีหักเห 1.5 ด้วยมุมตกกระทบ 600 ดงั รปู ถ้าวัสดุน้อี ย่ใู นอากาศ แสงเลเซอร์จะออกจากวัสดนุ ้เี ป็นครัง้ แรกทีต่ าํ แหน่งใด 1. A 2. B 3. C 4. สะท้อนอยภู่ ายในไม่ออกมา 185. (เม.ย.57)ฉายแสงเลเซอร์ในอากาศตกกระทบวัตถุโปร่งใสชนิดหนึ่งที่มีดัชนีหักเห 1.5 ถ้ามุมตกกระทบ เทา่ กับ 30 องศา ลาํ เลเซอร์นจี้ ะหลดุ ออกจากแทง่ วตั ถนุ ้เี ป็นครง้ั แรกท่ดี ้านใด 1. A 2. B 3. C 4. D

58 186. (พ.ย.57)แหล่งกําเนิดแสงแบบจุดท่ีส่องแสงออกทุกทิศทางอยู่ลึกลงไป 1 เมตร จากผิวหน้าของของเหลว ชนิดหน่ึงที่มีค่าดัชนีหักเห 2.0 เม่ือมองจากด้านบน จะเห็นผิวหน้าของของเหลวสว่างเป็นวงกลมที่มีรัศมี มากท่สี ุดกี่เมตร 1. 1 2. 3 3 2 3. 1 4. 3 187. (ม.ี ค.57)ข้อใดถกู ตอ้ งเกี่ยวกบั แสงจากเปลวเทียน 1. เปน็ แสงอาพันธ์ เกดิ จากการส่ันของอเิ ล็กตรอน 2. เป็นแสงไม่อาพนั ธ์ เกดิ จากการสั่นของอเิ ลก็ ตรอน 3. เปน็ แสงอาพันธ์ เกิดจากการเปลยี่ นระดับชั้นพลงั งานของอเิ ลก็ ตรอน 4. เป็นแสงไม่อาพนั ธ์ เกิดจากการเปลย่ี นระดับชั้นพลงั งานของอิเลก็ ตรอน 188. (พ.ย.57)ปรากฏการณ์ในข้อใดท่อี ธบิ ายด้วยหลักการทีแ่ ตกจากข้ออ่ืน 1. สีสันของฟองสบู่ 2. สสี นั ของรงุ้ กนิ นํา้ 3. สีสนั ของขนนกยูง 4. สสี ันของคราบนา้ํ มันบนผิวนํา้ 189. (มี.ค.58)ชายคนหนึ่งยืนอยู่ริมขอบสระว่ายน้ําที่ไม่มีนํ้า สระน้ีลึก 2 เมตร เท่ากันท้ังสระ เมื่อสระน้ีมีนํ้าเต็ม เขาจะเหน็ ก้นสระตรงจดุ ที่เขายนื อยแู่ ละกน้ สระฝงั่ ตรงขา้ มเปน็ อยา่ งไร ตามลําดบั 1. ลึกกว่าปกตทิ ง้ั สองดา้ น 2. ตื้นกว่าปกตทิ ้ังสองดา้ น 3. ด้านที่ยนื อยู่ตนื้ กวา่ ปกติ ดา้ นฝ่ังตรงขา้ มลกึ กว่าปกติ 4. ดา้ นที่ยืนอยูล่ กึ กว่าปกติ ด้านฝัง่ ตรงข้ามต้นื กว่าปกติ

59 แทรกสอดและเลี้ยวเบน 190. (ม.ี ค. 52) เมือ่ แสงแดดผา่ นแผ่นเกรตตงิ ภาพท่ีปรากฏบนฉากรับภาพจะเป็นอยา่ งไร 1. 2. 3. 4. 191. (ก.ค. 52)สมบัติข้อใดของแสงเลเซอร์ ที่ทําให้ผลการเล้ียวเบนด้วยแผ่นเกรตติง ปรากฏภาพการเล้ียวเบน ได้ชัดเจน 1. มคี วามใกลเ้ คยี งความถเี่ ดยี ว 2. มลี ําแสงทแี่ คบและไมบ่ านออกเหมือนแสงทว่ั ไป 3. มคี วามเข้มสูงมาก 4. มีการเลย้ี วเบนไดด้ ีกวา่ แสงประเภทอื่น

60 192. (ต.ค. 52) ถา้ ทาํ การทดลองการเล้ยี วเบนของแสงผ่านสลติ เดยี่ วในนํ้าเปรยี บเทียบกับทท่ี ดลองในอากาศ ข้อ ใดถกู 1. ระยะห่างระหวา่ งแถบมดื บนฉากมคี ่ามากขึ้น 2. สขี องแถบสว่างบนฉากเปล่ียนแปลงไป 3. แถบสว่างกลางมีความกว้างเพิ่มข้นึ 4. ผลทไ่ี ด้ไม่แตกตา่ งกนั 193. (มี.ค.53) การทดลองวัดความยาวคล่ืนแสงด้วยสลิตคู่ที่มีระยะระหว่างสลิต 2 x10-4 เมตร เกิดแถบสว่าง บนฉากท่ีวาง อยู่ห่างจากสลิต 80 เซนติเมตร โดยตําแหน่งของแถบสว่างลําดับท่ี 2 อยู่ห่างจากกึ่งกลาง ฉาก 4.0 มิลลเิ มตร ความยาวคลน่ื แสงทท่ี ดลองมีคา่ กนี่ าโนเมตร 1. 400 2. 500 3. 600 4. 700 194. (ก.ค. 53) ฮีเลียม-นีออนเลเซอร์ให้แสงท่ีมีความยาวคลื่น 630 นาโนเมตร เม่ือฉายผ่านสลิตเดี่ยวท่ีกว้าง 200 ไมโครเมตร จะเกิดร้ิวการเล้ียวเบนบนฉากท่ีอยู่ห่างจากสลิตเป็นระยะ 2.0 เมตร ความกว้างของ แถบสวา่ งกลางท่เี กดิ ขึ้นบนฉากน้ีเปน็ กี่มลิ ลิเมตร 1. 0.63 2. 1.26 3. 6.30 4. 12.6 195. (มี.ค.54) นักเรียนคนหน่ึงทําการทดลองการแทรกสอดของยัง ถ้าแสงที่ใช้มีความยาวคล่ืน 650 นาโนเมตร และ ระยะห่างระหว่างช่องแคบคู่กับฉากเป็น 2.0 เมตร วัดระยะห่างของแถบสว่างจากแนวกลางบนฉาก ได้ผล ดังรูป ชอ่ งแคบคทู่ ใี่ ช้มรี ะยะหา่ งระหวา่ งชอ่ งเปน็ กี่มิลลเิ มตร 1. 0.13 2. 0.26 3. 0.33 4. 0.65

61 196. (มี.ค.54) ข้อใดถูกเกี่ยวกับการเล้ียวเบนของแสงเลเซอร์ผ่านสถิตเดี่ยวเมื่ออุปกรณ์ทั้งหมดอยู่ใต้ผิวนํ้า เปรียบเทียบกบั เมือ่ ทาํ การทดลองในอากาศ 1. ไม่เกิดรว้ิ การเล้ยี วเบนในน้าํ 2. ร้ิวการเลยี้ วเบนในน้าํ อยูห่ า่ งเท่ากบั ในอากาศ 3. รว้ิ การเลี้ยวเบนในนํ้าอย่ชู ิดกันมากกว่าในอากาศ 4. ริ้วการเล้ียวเบนในนา้ํ อยู่หา่ งกันมากกวา่ ในอากาศ 197. (ต.ค.54) เง่ือนไขสาํ คัญในการสร้างโพลาไรเซชันโดยการสะท้อนคอื ข้อใด 1. รังสีตกกระทบทาํ มมุ 90 องศากับรงั สสี ะทอ้ น 2. รงั สีตกกระทบทํามุม 90 องศากบั รงั สหี กั เห 3. รังสีสะท้อนทํามมุ 90 องศากบั รังสีหักเห 4. รงั สหี ักเหทาํ มุม 90 องศากับเส้นตง้ั ฉาก ( เส้นปกติ ) 198. (ต.ค. 54). ถ้าระยะ S1Q มีค่าต่างจากระยะ S2Q อยู่ 1,300 นาโนเมตร ตําแหน่ง Q ของแสงความยาวคลนื่ 500 นาโนเมตร จะมีสมบัตอิ ยา่ งไร 1. เปน็ ตาํ แหนง่ มดื ที่สดุ 2. เป็นตาํ แหน่งสว่างท่สี ุด 3. อยู่ใกล้ตาํ แนง่ มืดมากกวา่ ตําแหน่งสวา่ ง 4. อยใู่ กลต้ าํ แหน่งสวา่ งมากกว่าตําแหนง่ มดื 199. (ม.ี ค. 55)เราสามารถมองเห็น “ภาพเสมือน” ไดห้ รือไม่ 1. ไม่ได้ เพราะรงั สขี องแสงไมต่ ัดกันจริง 2. ไมไ่ ด้ เพราะรงั สขี องแสงไมม่ ีจรงิ ในธรรมชาติ 3. ได้ ถ้ารังสีของแสงถูกรวมดว้ ยเลนสต์ า 4. ได้ โดยใชฉ้ ากรบั ภาพ และเรามองเหน็ ทภี่ าพน้ัน

62 200. (มี.ค.55) พิจารณาการแทรกสอดจากช่องแคบคู่ ดังรปู สูตร S1Q  S2Q  d sin  n ใช้สาํ หรับพยากรณต์ าํ แหน่งแถบสวา่ งของการแทรกสอดจากช่องแคบคู่ สูตรนีจ้ ะให้ผลท่ผี ดิ พลาด ในกรณใี ด 1. d <  2. L 10d 3. แหลง่ กําเนดิ แสงเปน็ แสงกระพริบ 4. แสงทใ่ี ช้เปน็ แสงสีเดียว แตเ่ ปน็ ชนดิ โพลาไรสเ์ ชิงเสน้ 201. (มี.ค. 56) ฉายแสงความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร ผ่านเกรตติงท่ีจํานวน 2,000 เส้นต่อเซนติเมตร จะ สังเกตเหน็ แถบสว่างปรากฏบนฉากที่อยไู่ กลออกไปก่ีแถบ (รวมแถบสว่างกลางด้วย) 1. 8 2. 14 3. 15 4. 17 202. (มี.ค.57) ผลการทดลองการแทรกสอดของแสงผ่านช่องแคบคเู่ ป็นดังรูป ถา้ พบวา่ ความตา่ งระยะทาง (Path Difference ) ของระยะทางจากชอ่ งแคบทห่ี นง่ึ (S1 )ไปยงั กึง่ กลางของแถบ มืด A และระยะทางจากช่องแคบที่สอง( S2 )ไปยังกง่ึ กลางของแถบมืด A มคี า่ มากกว่าความต่างระยะทางจาก ช่องแคบทีห่ นง่ึ ไปยงั กง่ึ กลางของแถบมืด B และระยะทางทางจากชอ่ งแคบทสี่ อง ไปยงั กึ่งกลางแถบมืด B อยู่ 500 นาโนเมตร ความยาวของแสงทใ่ี ช้เทา่ กบั กนี่ าโนเมตร 1.250 2. 333 3. 500 4. 750

63 203. (เม.ย.57) นกั เรียนคนหนึ่งทาํ การทดลองการแทรกสอดจากสลติ คขู่ องยัง พบว่า ผลตา่ งของระยะทางจากส ลิตที่หน่ึงไปยังตําแหน่งแถบสว่างลําดับที่สองจากแถบสว่างกลาง และจากสลิตท่ีสองไปยังแถบสว่าง เดียวกันน้ันเป็น 1200 นาโนเมตร ผลต่างของระยะทางจากสลิตที่หนึ่งไปยังตําแหน่งแถบมืดลําดับที่สอง จากแถบสว่างกลาง และจากสลติ ที่สองไปยังแถบมืดเดยี วกนั นั้นเป็นกีน่ าโนเมตร 1. 700 2. 800 3. 900 4. 1000 204. (พ.ย.57)ในการทดลองการแทรกสอดจากสลิตคู่ของยัง เมื่อใช้แสงท่ีมีความยาวคลื่นค่าหนึ่ง สังเกตเห็น แถบสว่าง-แถบมืดบนฉาก หากเปลี่ยนมาใช้แสงที่มีความถ่ีลดลง แถบสว่างลําดับที่ 3 ที่ปรากฏบนฉากจะ เปลยี่ นเป็นอยา่ งไร 1. อยูห่ า่ งจากแถบสว่างกลางมากข้ึน 2. อยู่หา่ งจากแถบสวา่ งกลางน้อยลง 3. อยู่ห่างจากแถบสว่างกลางเทา่ เดิม 4. อยู่หา่ งจากแถบสว่างกลางเท่าเดมิ แต่ความกวา้ งมากขนึ้ 205. (ม.ี ค.58)คลื่นแสงสามารถเลย้ี วเบนผ่านช่องแคบเด่ียวไดม้ ากขึน้ ในกรณใี ด 1. เพม่ิ ความยาวคลืน่ ลดขนาดช่องแคบ 2. ลดความยาวคล่ืน ลดขนาดช่องแคบ 3. เพิ่มความยาวคล่ืน เพ่ิมขนาดช่องแคบ 4. ลดความยาวคลนื่ เพ่ิมขนาดชอ่ งแคบ

64 เลนส์ 206. (มี.ค. 52) มองยอดตึกสูงที่อยู่ไกลออกไป 100 เมตรผ่านเลนส์นูนความยาวโฟกสั 0.15 เมตร และใหเ้ ลนส์ อยู่หา่ งจากตา 0.60 เมตร ถ้าภาพยอดตึกเมอื่ มองดว้ ยตาเปลา่ เปน็ ดงั น้ี ภาพยอดตึกที่เหน็ ผ่านเลนสจ์ ะเป็นดงั ขอ้ ใด 2. 1. 3. 4. 207. (ต.ค.53) วางวัตถุไว้หนา้ เลนส์นูนท่ีมีความยาวโฟกัส 8.0 เซนติเมตร โดยวางท่ีตําแหน่ง 20 เซนติเมตรหน้า เลนส์ วตั ถุกับภาพอยหู่ ่างกนั กเ่ี ซนติเมตร 208. (มี.ค.54)วางวัตถุอนั หนึ่งไว้หน้ากระจกเวา้ ทม่ี คี วามยาวโฟกสั 4.0 เซนตเิ มตร โดยอยหู่ า่ งจากกระจกเว้า 2.0 เซนตเิ มตร ถา้ ภาพทเี่ กิดขึ้นมคี วามสูง 2 เซนตเิ มตร วตั ถนุ ้มี ีความสงู เท่าใด

65 209. (ต.ค. 55) วางวัตถุห่างจากเลนส์บาง 30 cm เกิดภาพหัวตั้งขนาดเป็น 2 เท่าของวัตถุ ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกย่ี วกบั เลนสน์ ี้ 1. เปน็ เลนสเ์ ว้า , ทางยาวโฟกสั 20 cm. 2. เปน็ เลนส์นนู , ทางยาวโฟกสั 20 cm. 3. เปน็ เลนส์เว้า , ทางยาวโฟกสั 60 cm. 4. เป็นเลนสน์ ูน , ทางยาวโฟกัส 60 cm. 210. (เม.ย.57)วางวัตถุไวห้ ่างจากฉากเป็นระยะคงท่คี า่ หนึง่ เมือ่ วางเลนส์บางอันหนึ่งระหวา่ งวตั ถกุ บั ฉาก โดยให้ เลนส์อยู่ใกล้กับฉากมากกว่าวัตถุ พบว่า เกิดภาพชัดเจนบนฉาก ถ้าต้องการให้เกิดภาพชัดเจนบนฉากมี ขนาดใหญ่ ขนึ้ กว่าตอนแรก จะตอ้ งเลื่อนส่งิ ใด (เพยี งอย่างเดียวเทา่ นัน้ ) จากตาํ แหนง่ ปจั จบุ ัน 1.เลอ่ื นฉากใหใ้ กลเ้ ลนส์มากข้นึ 2. เลอ่ื นฉากให้ไกลเลนส์ออกไป 3. เล่ือนเลนสใ์ ห้ใกลฉ้ ากมากขนึ้ 4. เลื่อนเลนสใ์ ห้ไกลฉากออกไป 211. (มี.ค. 56) แสงจากแหล่งกําเนิดแสงท่ีไกลมากมากตกกระทบเลนส์นูนบาง 2 อัน ที่มีความยาวโฟกัส f เท่ากัน ถ้าเลนส์นูนอันแรกวางท่ีตําแหน่ง x  0 เลนส์อันที่สองวางอยู่ท่ีตําแหน่ง x  d โดยที่ d  f แสงจากแหลง่ กาํ เนิดจะโฟกัสทตี่ าํ แหน่งใด 1. f 2. 2 f  d 3. d  f  f  d  4. d  ff d d 2f d กระจกเงาราบ กระจกโค้ง 212. (ก.ค. 52)เสากลมต้นหน่ึงมีแผ่นสเตนเลสหุ้มอยู่ แผ่นสเตนเลสมีผิวเรียบมากและสะท้อนแสงได้ดีเหมือน กระจกนูน ถ้าเรายืนห่างจากเสาต้นนี้มากกว่าระยะสองเท่าของความยาวโฟกัสของกระจกนูนน้ี เราจะ เหน็ ภาพของตนเองในกระจกเปน็ อย่างไร 1. ผอมลงและยนื หวั ตงั้ 2. อว้ นขนึ้ และยนื หัวต้ัง 3. ผอมลงและยนื กลบั หัว 4. อ้วนขน้ึ และยนื กลบั หัว

66 213. (ต.ค. 52) กระจกเว้าบานหนึ่งให้ภาพหัวต้ังขนาดเป็น 2 เท่าของวัตถุ เม่ือระยะวัตถุเป็น 30 เซนติเมตร ความยาวโฟกัสของกระจกเว้าบานนี้เทา่ กับกี่เซนตเิ มตร 1. +10 2. +20 3. -30 4. +60 214. (มี.ค.58)วางวตั ถุทีจ่ ุดศูนย์กลางความโคง้ ของกระจกเงาโค้งกลม จะเกดิ ภาพทใ่ี ดและมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร 1. เกิดท่จี ดุ ศูนย์กลางความโคง้ เปน็ ภาพจรงิ หัวกลับ 2. เกดิ ท่ีจุดศูนยก์ ลางความโค้ง เปน็ ภาพเสมอื น หวั ตง้ั 3. เกิดทค่ี รงึ่ หน่งึ ของรศั มคี วามโค้ง เปน็ ภาพจรงิ หัวกลับ 4. เกดิ ทค่ี รง่ึ หนง่ึ ของรศั มีความโค้ง เปน็ ภาพเสมือน หวั ตงั้ 215. (มี.ค. 56) ถ้านักเรียนยืนมองภาพตนเองในกระจกเงาราบ แต่มองเห็นเพียงครึ่งตัวเท่านั้น นักเรียนจะทํา อย่างไรเพอ่ื ใหม้ องเหน็ ภาพตวั เองในกระจกเงาเตม็ ตัว 1. ถอยออกหา่ งจากกระจกเงาเปน็ ระยะอยา่ งน้อย 2 เท่าของระยะเดมิ 2. ถอยออกหา่ งจากกระจกเงาเปน็ ระยะระหว่าง 1 ถงึ 2 เท่าของระยะเดมิ 3. เดินเข้าหากระจกเงาจนกระทงั้ มองเหน็ เตม็ ตวั 4 ไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยกระจกเงาบานนี้

67 ไฟฟา้ และ แมเ่ หลก็ 12. ไฟฟ้าสถิต การเหน่ียวนาํ 216. (ต.ค. 52)เมือ่ นาํ แทง่ พวี ีซีถูกกบั ผ้าสกั หลาดแลว้ นําไปจอ่ ใกลๆ้ กระดาษชิ้นเลก็ ๆ ขอ้ ใดถกู 1. 2. 3. 4. 217. (ต.ค. 55)ทรงกลมตัวนํา x,y และ z ทมี่ ปี ระจุสทุ ธเิ ปน็ ศนู ย์ วางติดกนั บนขาตง้ั ที่เปน็ ฉนวนไฟฟ้า ดงั รูป เมื่อนาํ แทง่ วตั ถุท่มี ปี ระจุบวกมาวางใกล้ ๆ กับทรงกลม x แตไ่ มแ่ ตะ ขอ้ ใดแสดงสงิ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ ได้ถูกต้อง 1. 2. 3. 4.

68 218. (มี.ค.56) นําจานโลหะทเี่ ป็นกลางทางไฟฟา้ ไปไว้ใกล้ ๆ แตไ่ มส่ ัมผัสกับวัตถุทม่ี ีประจบุ วก ดงั รปู จากน้นั ตอ่ สายดินกับจานโลหะโดยสัมผสั ทด่ี า้ นบนของจานโลหะ แล้วจงึ นาํ สายดนิ ออก สดุ ทา้ ยจึงแยกจานโลหะ ออกไปจากวัตถทุ ีม่ ปี ระจบุ วก ข้อใดถกู เก่ียวกบั จานโลหะในขณะน้ี 1. มปี ระจุสทุ ธเิ ป็นบวก 2. มีประจสุ ทุ ธิเปน็ ลบ 3. เป็นกลาง โดยดา้ นบนของจานโลหะเป็นประจุบวก สว่ นด้านลา่ งของจานเป็นประจลุ บ 4. เปน็ กลาง โดยดา้ นบนของจานโลหะเป็นประจลุ บ ส่วนด้านล่างของจานเป็นประจบุ วก 219. (มี.ค.57)จงเรียงลําดับเหตกุ ารณ์ทีท่ ําใหอ้ ิเลกโทรสโคปทีเ่ ป็นกลางทางไฟฟ้า กางออกค้างไว้ ก. ตอ่ สายดนิ ออกจากอเิ ลก็ โทรสโคป ข. เอาสายดินออกจากอิเล็กโทรสโคป ค. นําวัตถมุ ปี ระจุไฟฟ้าเข้าใกล้อิเลก็ โทรสโคป ง. นาํ วตั ถมุ ปี ระจุไฟฟ้าออกหา่ งจากใกล้อเิ ลก็ โทรสโคป 1. ค  ก  ง  ข 2. ค  ก  ข  ง 3. ก  ค  ง  ข 4. ก  ค  ข  ง แรงทางไฟฟา้ 220. (ต.ค.53) ตัวนําทรงกลม A มีรัศมี 12 เซนติเมตร และมีประจุไฟฟ้าขนาด 360 ไมโครคูลอมบ์ ตัวนําทรง กลม B มีรัศมี 3 เซนติเมตร แต่ยังไม่มีประจุไฟฟ้า เม่ือนํา A มาแตะกับ B แล้วแยกห่างจากกัน 200 เซนติเมตร แรงไฟฟ้าที่ A กระทําต่อ B มีค่าก่ีนิวตัน (ไม่ต้องคิดแรงดึงดูดระหว่างมวลของตัวนําท้ังสอง ) กาํ หนดให้ K=9x109 นิวตนั เมตร2 ต่อคูลอมบ์

69 221. (ต.ค. 55) วางประจุ Q ท่ีจุดเซนทรอยด์ของสามเหลี่ยมด้านเท่ารปู หนึ่ง เม่ือวางประจุที่สองขนาด +Q ท่จี ดุ ยอดของสามเหล่ียม แรงไฟฟ้าท่ีกระทําต่อประจุท่ีหน่ึงเป็น 4 นิวตัน ถ้าวางประจุท่ีสามขนาด +Q ที่จุด ยอดอีกจดุ หนึง่ ของสามเหลย่ี ม แรงลัพธท์ ่ีกระทาํ ตอ่ ประจทุ ห่ี น่ึงเป็นก่ีนิวตัน 1. 0 2. 4 3. 4 2 4. 8 222. (พ.ย.57)ประจุไฟฟ้า 3 ประจุเรียงกันอยู่ในแนวเส้นตรง ดังรูป ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับขนาดของแรงไฟฟ้าท่ี กระทําต่อประจุ A,B และ C 1. FA>FB>FC 2. FB>FC>FA 3. FC>FB>FA 4. FC>FA , FB=0 สนามไฟฟา้ 223. (ก.ค. 52)ภาพเสน้ แรงไฟฟา้ บางเส้นระหวา่ งประจบุ วกและประจุลบใน 2 มติ ิ ถา้ นาํ อเิ ลก็ ตรอนตวั หนง่ึ วางไวท้ จ่ี ดุ A แลว้ ปลอ่ ย ข้อใดถกู ตอ้ ง 1. อเิ ล็กตรอนจะเคลือ่ นทไี่ ปตามเส้นแรงไฟฟา้ ที่ผา่ นจดุ A และเข้าหาประจลุ บ 2. อิเล็กตรอนจะเคล่อื นท่ีไปตามเส้นแรงไฟฟา้ ทผ่ี า่ นจดุ A และเขา้ หาประจบุ วก 3. ทีจ่ ุด A อิเลก็ ตรอนมีความเร่งในทศิ ต้ังฉากกบั เส้นแรงไฟฟ้า 4. อิเลก็ ตรอนไม่จําเป็นต้องเคล่ือนทไ่ี ปตามเส้นแรงไฟฟ้า

70 224. (ต.ค. 52) จากรปู ข้อใดถูก 1. สนามไฟฟ้าที่จดุ A B และ C มคี า่ เท่ากับศูนย์ 2. เมอ่ื วางประจุ – q ทจี่ ดุ B ประจุจะเคลอ่ื นทีเ่ ข้าหาจุด C ดว้ ยความเรง่ เพม่ิ ข้ึน 3. เมอ่ื วางประจุ + q ท่ีจดุ B ประจจุ ะเคล่ือนทีเ่ ขา้ หาจุด A ด้วยความเร่งเพิ่มขึน้ 4. ศักยไ์ ฟฟา้ จุด C มคี ่าน้อยกวา่ ท่ีจดุ B 225. (มี.ค.53) ข้อใดกล่าวถกู ตอ้ ง ก. งานของแรงทใี่ ช้เคล่ือนประจไุ ฟฟา้ ในสนามไฟฟ้าไมข่ ึ้นกับเส้นทางการเคล่อื นที่ของประจุ ไฟฟา้ ถ้า แรงท่ี ใช้เคลือ่ นประจเุ ป็นแรงอนุรกั ษ์ ข. สนามไฟฟา้ บนผวิ ของตวั นาํ มีทิศตั้งฉากกับผิวเสมอ ค. สนามไฟฟ้าภายในตวั นาํ ทรงกลมมีค่าเป็นศนู ย์ 1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ก และ ค 4. ถกู ทุกข้อ 226. (ม.ี ค. 55) ขอ้ ใดเปน็ มโนภาพของกลุม่ อเิ ล็กตรอนในเสน้ ลวดโลหะทีอ่ ย่ภู ายใตค้ วามต่างศกั ย์คงท่ี 1. อิเล็กตรอนทุกตวั เคลื่อนทไี่ ปพรอ้ ม ๆ กันในทศิ ตรงขา้ มกบั สนามไฟฟ้า 2. อเิ ล็กตรอนทุกตวั เคล่ือนทไ่ี ปในทศิ ตรงข้ามกับสนามไฟฟ้าแตไ่ ม่พรอ้ มกนั 3. กลุม่ อเิ ลก็ ตรอนมคี วามเร็วเฉลย่ี ในทิศตรงข้ามกบั สนามไฟฟา้ 4. กลุ่มอิเล็กตรอนมีความเรง่ เฉลยี่ ในทศิ ตรงข้ามกับสนามไฟฟ้า

71 ศักย์ไฟฟ้าและงานในการเลอื่ นประจุ 227. (มี.ค. 52) แผ่นโลหะบางขนาดใหญ่มาก 2 แผ่น (A และ B) วางขนานกัน ห่างกันเป็นระยะ d ต่อแผ่นโลหะ ท้งั สองเข้า กับแหลง่ กาํ เนดิ ไฟฟ้าทใ่ี ห้แรงเคลือ่ นไฟฟา้ ขนาด V0 โวลตด์ ังรูป ข้อใดถูกต้อง 1. แผน่ A มศี ักย์ไฟฟา้ เท่ากับ +V0 โวลต์ แผ่น B มศี กั ย์ไฟฟา้ เทา่ กับศนู ย์ 2. แผ่น A มีศักย์ไฟฟ้าเทา่ กบั + V0 โวลต์ แผน่ B มีศักย์ไฟฟา้ เท่ากับ -V0 โวลต์ 3. แผ่น A มีศกั ย์ไฟฟา้ สูงกว่าแผ่น B อยู่ V0 โวลต์แต่ไม่ทราบศกั ยไ์ ฟฟ้าบนแผ่น A และ B อยา่ งแนช่ ัด 4. แผ่น A และ B มีขนาดของศกั ย์ไฟฟา้ เท่ากันคอื V0 โวลต์ 2 228. (ก.ค. 53)เคล่ือนประจุ -2 ไมโครคูลอมบ์ จากจุด A ไปตามเส้นทาง A B  C  D ในสนามไฟฟ้า สมา่ํ เสมอขนาด 8 โวลตต์ ่อเมตร งานในการเคลือ่ นประจตุ ลอดเส้นทางและความต่างศักย์ระหวา่ งจดุ B กับ จดุ D มคี า่ เทา่ ใด ตามลําดับ 1. -0.96 ไมโครจูล และ 240 มลิ ลโิ วลต์ 2. -2.92 ไมโครจูล และ 400 มิลลิโวลต์ 3. 0.96 ไมโครจลู และ 240 มลิ ลโิ วลต์ 4. 2.92 ไมโครจลู และ 400 มิลลิโวลต์

72 229. (ต.ค. 54)อิเล็กตรอนตัวหนึ่งกําลังถูกดูดจากสภาพหยดุ น่ิง เข้าไปหาตัวนําทรงกลมรัศมี R ซ่ึงมีศักย์ไฟฟ้าที่ ผิวเท่ากับ +V0 ถ้าอิเล็กตรอนดังกล่าวเริ่มต้นจากระยะ 9R ( วัดจากศูนย์กลางทรงกลม ) เมื่อเข้าชนผิว ตวั นําทรงกลม จะมีอตั ราเร็วประมาณเทา่ ใด ใหป้ ระจุต่อมวลของอเิ ล็กตรอนคอื r 1. 1 rV0 2. 2 rV0 3. 1 10rV0 4. 4 rV0 3 3 3 3 230. (ม.ี ค.57) ระบบท่ีมีประจุ +Q +2Q และ -Q เรียงตวั ในแนวเสน้ ตรงโดยมรี ะยะระหวา่ งกนั เทา่ กับ R ดังรูป ระบบนี้มีพลงั งานศักย์ไฟฟ้าเทา่ ใด 1. KQ2 2. KQ2 3.  KQ2 4.  KQ2 2R 2R R R 231. (พ.ย.58) ออกแรงกระทําในการเล่ือนประจุไฟฟ้าบวกจากตําแหน่ง x=-10 m ซ่ึงมีศักย์ไฟฟ้า -5V ไปยัง ตําแหน่ง x=-5 m ซ่ึงมีศักย์ไฟฟ้า -2V โดยประจุเคล่ือนท่ีด้วยความเร็วคงที่ ข้อใดกล่าวถูกต้องเก่ียวกับ งานเนื่องจากแรงน้ี และทศิ ทางของสนามไฟฟา้ ในแนวการเคลื่อนที่ 1. งานเปน็ บวก สนามไฟฟ้ามีทิศไปทางซา้ ย 2. งานเปน็ บวก สนามไฟฟ้ามีทิศไปทางขวา 3. งานเป็นลบ สนามไฟฟา้ มีทิศไปทางซ้าย 4. งานเปน็ ลบ สนามไฟฟ้ามที ิศไปทางขวา 5. งานเปน็ ศูนย์ เพราะประจุเคล่อื นทดี่ ้วยความเรว็ คงที่

73 ความสัมพนั ธข์ องสนามไฟฟา้ และศกั ย์ไฟฟา้ 232. (มี.ค.53) ยิงอิเล็กตรอนมวล me ประจุ -e ในแนวระดับเข้าก่ึงกลางระหว่างแผ่นประจุไฟฟ้าคู่ขนานความ ต่างศักย์ 4 โวลต์ แต่ละแผ่นยาว 60 เซนติเมตร และวางห่างกัน 30 เซนติเมตร ดังรูป อิเล็กตรอนต้องมี พลังงานจลน์กี่อิเล็กตรอนโวลต์ (eV) จึงจะชนท่ีปลายของแผ่นประจุไฟฟ้าด้านบนพอดี (ไม่คิดผลของแรง โนม้ ถ่วงของโลก) 233. (มี.ค.54) แขวนทรงกลมมวล m ท่ีมีประจุไฟฟ้า +q ด้วยเชือกเบาไว้ระหว่างแผ่นตัวนําขนานขนาดใหญ่ท่ี วางไว้ใน แนวตั้งและอยู่ห่างกัน d ถ้าต้องการให้แนวเชือกที่แขวนทรงกลมเบนทํามุม 30 องศากับแนวดิ่ง จะต้องใหค้ วามตา่ งศักยร์ ะหว่างแผน่ ตวั นําขนานขนาดเทา่ ใด 1. 3mgd 2. mgd 3. 3qd 4. qd q q3 mg mg 3 234. (มี.ค.56) ตัวนําทรงกลมที่มปี ระจุไฟฟ้า 3 อนั มรี ัศมี R1 , R2 และ R3 ตามลําดับ ตอ่ กนั ดว้ ยเส้นลวดโลหะ ถ้า R1> R2 >R3 เมอ่ื สมดลุ สนามไฟฟา้ E ศกั ยไ์ ฟฟ้า V และประจไุ ฟฟา้ บนตวั นาํ Q สัมพันธก์ นั อยา่ งไร 1. V1 = V2 = V3 , E1 < E2 < E3 , Q1 > Q2 > Q3 2. V1 = V2 = V3 , E1 > E2 > E3 , Q1 > Q2 > Q3 3. V1 <V2 < V3 , E1 < E2 < E3 , Q1 = Q2 = Q3 4. V1 = V2 = V3 , E1 = E2 = E3 , Q1 > Q2 > Q3

74 235. (เม.ย.57) ละอองน้ํามันทรงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 ไมโครเมตร มีประจุไฟฟ้าลบ ถูกทําให้ลอยอยู่ นิ่งในอากาศด้วยสนามไฟฟ้าในแนวดง่ิ ซึ่งสร้างจากแผ่นโลหะขนานสองแผน่ ทอ่ี ย่หู ่างกนั 1 เซนตเิ มตร ความ ต่างศักย์ท่ีตอ้ งใช้ต่ออิเลก็ ตรอน 1 ตัวมีค่าประมาณก่ีโวลต์ กําหนดให้นํ้ามันมีความหนาแน่น 600 กิโลกรมั / ลกู บาศกเ์ มตร 1.1.5 2. 15 3. 150 4. 1500 ตัวเก็บประจุ 236. (มี.ค. 52)ตัวนําทรงกลมมีรัศมีเท่ากับ R และมีประจุเท่ากับ Q พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุตัวนําทรงกลม เท่ากบั E0 ถ้า ประจุบนตัวนาํ เพม่ิ ข้นึ เปน็ 2Q พลงั งานสะสมในตวั เก็บประจุนีม้ คี ่าเท่าใด 1. 0.5E0 2. 2E0 3.4E0 4. 8E0 237. (ก.ค. 52) ภาพวงจรไฟฟ้า กําหนดให้ C2 = 2C0 จงหาพลังงานในตวั เกบ็ ประจุ C0 และ C2 ตามลาํ ดับ 1. 3 C0V 2 , 1 C0V 2 2. 1 C0V 2 , 2 C0V 2 2 2 3 3 3. 2 C0V 2 , 1 C0V 2 4. 1 C0V 2 , C0V 2 9 9 2

75 238. (ต.ค.53) วงจรไฟฟ้าหน่งึ ประกอบดว้ ย ตัวเก็บประจุ C1 ,C 2 ,C 3 และC 4 ทมี่ ีคา่ ความจุเทา่ กบั 4, 2, 4 และ 3 ไมโครฟารัด ตามลําดบั ดงั รปู เมือ่ สับสวติ ซไ์ ฟฟ้าชว่ งระยะเวลาหน่งึ หลงั จากนัน้ ดึงสวติ ซไ์ ฟฟ้าขน้ึ ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้าครอ่ มตัวเก็บประจุC1 ,C 2 ,C 3 และC 4 มีคา่ กี่โวลต์ ตามลาํ ดับ 1. 0.00, 0.00 , 0.00 , 0.00 2. 4.00, 5.00 , 5.00 , 3.00 3. 4.00, 1.35 , 1.35 ,5.3 4. 4.00, 2.7 , 2.7 ,5.3 239. (มี.ค.54)หากเปรียบเทียบวงจรไฟฟ้าท่ีประกอบด้วยตัวเก็บประจุ (ที่มีประจุเต็ม) และตัวเหน่ียวนําเท่านั้น กับระบบมวล ติดปลายสปริงทเ่ี คลื่อนท่บี นพ้นื ราบล่ืน จงพจิ ารณาข้อความต่อไปน้ี ก.พลงั งานทสี่ ะสมในตวั เหนี่ยวนาํ เปรยี บได้กบั พลังงานศกั ยย์ ดื หย่นุ ของสปริง ข.กระแสไฟฟ้าทไ่ี หลในวงจรเปรียบไดก้ บั อัตราเรว็ ของกอ้ นมวล ค.ตวั เก็บประจทุ มี่ คี วามจุมากเปรยี บไดก้ ับสปรงิ ทม่ี คี า่ คงตัวสปริงมาก มขี ้อความทีถ่ ูกก่ขี อ้ 1.1 2.2 3.3 4.0 (ไม่มีข้อถูก) 240. (ต.ค.54) ตัวเก็บประจุขนาด C ฟารัด มีความต่างศักย์ V0 (  0) ถ้านําตัวเก็บประจุอีกตัวหน่ึงซ่ึงมีค่าความ จุ 3C ฟารัด แต่ไม่มีประจุ มาต่อขนานดังรูป ที่สภาวะสมดุลความต่างศักย์ตกครอ่ มตัวเก็บประจทุ ั้งสองเป็น เทา่ ใด 1. 0.25V0 2. 0.50V0 3. 0.67V0 4. 4.00V0

76 241. (มี.ค. 55) ตัวเก็บประจสุ องตวั ขนาด 2 ไมโครฟารดั และ 3 ไมโครฟารัด ตอ่ อนกุ รมกนั และตอ่ เข้ากับแหลง่ กําเนิด ไฟฟ้ากระแสตรง ณ ขณะที่ตัวเก็บประจุขนาด 2 ไมโครฟารัด มีพลังงาน 2 ไมโครจูล ตัวเก็บประจุ อีกตัวหนึง่ มพี ลังงานกีไ่ มโครจลู 1. 0.75 2. 1.33 3. 1.50 4. 3.00 242. (เม.ย.57) พลงั งานในตวั เก็บประจุคอื 1 มีความหมายตามข้อใด 2 QV 1.งานทต่ี อ้ งทําเพอ่ื ให้ตวั เกบ็ ประจุมีประจุ Q และความตา่ งศักย์ V 2.งานที่ต้องทาํ เพ่อื ให้ตวั เก็บประจุมปี ระจุ Q/2 และความตา่ งศกั ย์ V 3. งานที่ตอ้ งทาํ เพอื่ ใหต้ วั เกบ็ ประจุมปี ระจุ Q และความต่างศกั ย์ V/2 4. งานทตี่ อ้ งทาํ เพ่ือใหต้ วั เกบ็ ประจมุ ปี ระจุ Q และความต่างศกั ย์ V 2 2 243. (เม.ย.57)ถา้ นําตัวเกบ็ ประจุตวั ทหี่ นง่ึ มคี า่ ความจุนอ้ ยกว่าตัวเกบ็ ประจตุ ัวทส่ี อง ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. ตัวเก็บประจตุ ัวท่หี นง่ึ เกบ็ ประจุ ได้น้อยกวา่ ตัวเก็บประจตุ วั ทสี่ อง 2. ตวั เก็บประจตุ วั ทสี่ อง เก็บพลังงาน ไดน้ อ้ ยกว่าตัวเก็บประจุตัวทีส่ อง 3. ตวั เก็บประจุตัวทีห่ นึ่ง มีความตา่ งศกั ย์นอ้ ยกวา่ ตัวเกบ็ ประจุตัวทสี่ อง 4. ไม่มขี ้อใดถกู 244. (มี.ค.58)ตวั เกบ็ ประจุ 2 ตวั ต่ออนกุ รมกัน ชาร์จประจจุ นเตม็ ถ้าความจขุ องประจตุ วั ที่ 1 เท่ากับ C0 ตวั ที่ 2 เทา่ กบั 2C0 อตั ราสว่ นพลงั งานของประจตุ วั ท่ี 1 ตอ่ ประจตุ ัวท่ี 2 เท่ากับขอ้ ใด 1. 1 : 2 2. 2:1 3. 1:4 4. 4:1

77 13.ไฟฟ้ากระแสตรง กระแสไฟฟ้า 245. (มี.ค.52) ในเส้นลวดโลหะขนาดสมํ่าเสมอเส้นหน่ึง ภายในเวลา t วินาที มีประจุ +Q1 คูลอมบ์ และ –Q2 คูลอมบ์ เคล่ือนที่ สวนทางกันผ่านพ้ืนที่หน้าตัดขนาด A ตารางเมตรของเส้นลวด กระแสไฟฟ้าในเส้นลวด โลหะน้ีคือ ข้อใด 1. Q1  Q2 2. Q1  Q2 t tA 3. Q1  Q2 4. Q1  Q2 t tA 246. (ก.ค. 52) ภาพวงจรไฟฟา้ ในเครอ่ื งไฟฟ้า การต่อสายดินตามหมายเลขใดถกู ตอ้ ง 2. ต่อตามหมายเลข (2) 1. ตอ่ ตามหมายเลข (1) 4. ตอ่ ตามหมายเลข (1) และ (3) 3. ต่อตามหมายเลข (3)

78 247. (ก.ค. 52) ภาพวงจรไฟฟ้ากระแสตรง เมอ่ื กดสวิตซ์ SW (ปดิ วงจร) ข้อใดถกู ต้อง 1. มอเตอร์จะยังไม่เรม่ิ หมนุ จนกว่าอเิ ล็กตรอนตวั แรกที่ออกจากขวั้ ลบของถา่ นไฟฉายจะไปถงึ มอเตอร์ 2. มอเตอร์จะยังไมเ่ ริม่ หมนุ จนกวา่ อิเล็กตรอนตวั แรกทอ่ี อกจากข้วั ลบของถา่ นไฟฉายจะเคลอื่ นทผี่ ่าน มอเตอร์ 3. มอเตอร์จะเริม่ หมุนทนั ทโี ดยไม่ขึ้นกับอเิ ล็กตรอนตวั แรกทอ่ี อกจากขว้ั ลบของถา่ นไฟฉาย 4. มอเตอรจ์ ะเรมิ่ หมนุ ทันทีทอ่ี ิเลก็ ตรอนทีอ่ อกจากขั้วลบไปรวมตัวกับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากขั้วบวก โดยไปรวมกนั ทมี่ อเตอร์ 248. (เม.ย.57)นักเรียนคนหน่ึงทําการทดลองวัดกระแสไฟฟ้าท่ีไหลผ่านลวดตัวนําสองชนิดโดยการเปลี่ยนค่า ความต่างศักย์ระหว่างปลายของเส้นลวด ไดผ้ ลการทดลอง ดงั กราฟขา้ งลา่ งนี้ ขอ้ ใดตอ่ ไปนจ้ี ะถูกตอ้ งที่สุดเกี่ยวกบั ลวดตวั นาํ ทใี่ ช้ในการทดลองนี้ 1.ลวดตวั นํา A มีความตา้ นทานมากว่าลวดตวั นาํ B 2. ลวดทงั้ สองมีค่าสภาพตา้ นทานเท่ากนั 3. ลวดตวั นําทั้งสองมขี นาดเทา่ กัน 4. ลวดตัวนําท้งั สองมมี วลเทา่ กนั

79 วงจรไฟฟา้ ตัวต้านทาน 249. (มี.ค.53)จากรปู แอมมิเตอร์จะอา่ นค่าไดก้ แ่ี อมแปร์ 1. 0 2. 0.2 3. 1.4 4. 2.9 250. (ต.ค.53)จากวงจรดงั รูป ถ้าความต้านทานภายในแบตเตอร่ีเป็นศนู ย์ แอมมเิ ตอร์จะอา่ นค่าได้กี่แอมแปร์ 1. 1.4 2. 2.2 3. 3.8 4. 4.6 251. (ต.ค. 55) วัสดุรูปทรงกระบอก 2 ช้ิน ช้ินหน่ึงมีความยาว  มีรัศมี r อีกช้ินหน่ึงมีความยาว 3  มีรัศมี 3r ทําจากวัสดุเดียวกัน ถา้ ทรงกระบอกเลก็ มคี วามตา้ นทาน R ทรงกระบอกใหญ่จะมีความต้านทานเทา่ ใด 1. R/3 2. 3R 3. 9R 4. 27R

80 252. (ต.ค. 52) รูปวงจรไฟฟ้า 1 และ 2 เปน็ หลอดไฟท่ีเหมอื นกันถา้ กดสวิตช์ ให้วงจรปดิ ขอ้ ใดไม่ถกู ตอ้ ง 1. ในทนั ทีทกี่ ดสวิตช์ หลอดไฟท้ังสองจะสว่างเทา่ กนั 2. เม่ือเวลาผ่านไปนานๆ หลอดไฟทงั้ สองจะสว่างลดลง 3. เมือ่ เวลาผ่านไปนานๆ หลอดไฟ 1 จะดับ 4. เมื่อเวลาผ่านไปนานๆ หลอดไฟ 2 จะสว่างกวา่ เดิม 253. (มี.ค.54) พิจารณาวงจรไฟฟ้าดังรูป ถ้าหลอดไฟท้ังสามมีความต้านทานเท่ากัน และเซลล์ไฟฟ้า มีความต่าง ศักย์ คงที่ ตลอดเวลา เม่อื สบั สวติ ซ์ s ลง หลอดไฟ A และ B เป็นอย่างไร 1. หลอดไฟ A สวา่ งกวา่ เดิม หลอดไฟ B สว่างน้อยลง 2. หลอดไฟ A สวา่ งกว่าเดิม หลอดไฟ B จะดบั 3. หลอดไฟ A สว่างน้อยลง หลอดไฟ B สวา่ งนอ้ ยลง 4. หลอดไฟ A สว่างนอ้ ยลง หลอดไฟ B จะดับ

81 วิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแส 254. (ก.ค. 52)นําเซลล์ไฟฟ้า 2 ก้อน มีแรงเคล่ือนไฟฟ้าก้อนละ 1.5 โวลต์ ไมม่ ีความต้านทานภายในมาต่อ อนุกรมกัน และท้ังหมดต่ออนุกรมกับหลอดไฟฉายที่มีอักษรเขียนกํากับไว้ว่า 2V, 1W ขณะท่ีหลอดไฟ ฉายยังไมข่ าด กระแสไฟฟา้ ทไี่ หลผา่ นหลอดไฟเทา่ กับกแ่ี อมแปร์ 1. 0.5 2. 0.75 3. 1.0 4. 2.0 255. (ม.ี ค.55) สําหรบั วงจรกระแสไฟฟ้าตรง ดงั รูป r= ความต้านทานภายใน R=ความต้านทานภายนอก  = แรงเคล่ือนไฟฟ้า ในกรณีใดต่อไปนี้ จะมกี าํ ลังไฟฟ้าของตวั ตา้ นทานภายนอกสูงสุด 1. R  0.1r 2. R  r 3. R 10r 4. R  100r 256. (มี.ค.56) วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายที่ประกอบดว้ ย แบตเตอรี ( ความต้านทานภายในนอ้ ยมาก ๆ ) และตัว ต้านทานทมี่ ีความต้านทาน R อยู1่ ตัว ถา้ นําตวั ต้านทานอีกตวั หน่งึ มาต่อขนานกบั ตัวตา้ นทานเดิมข้อใดถูก 1. ความตา่ งศักย์ทีต่ กครอ่ มตวั ตา้ นทาน R มีคา่ ลดลง 2. กระแสไฟฟา้ ทีผ่ ่านตัวตา้ นทาน R มีคา่ เพ่ิมข้นึ 3. กําลงั ไฟฟ้าของตวั ต้านทาน R มีคา่ ลดลง 4. แบตเตอรจี า่ ยกระแสไฟฟา้ เพม่ิ ขน้ึ

82 257. (มี.ค.57) ถ่านไฟฉายก้อนหนึ่งวัดความต่างศักย์ระหว่างข้ัวบวกและขั้วลบได้ 1.5 โวลต์ เม่ือต่อตัวต้านทาน ขนาด 1 กิโลโอห์ม กับถ่านไฟฉายดังกล่าว ความต่างศักย์ระหว่างข้ัวบวกและขั้วลบของถ่านไฟฉายลดลง เหลือ 1.4 โวลต์ โดยวัดกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานได้ 0.5 แอมแปร์ ความต่างศักย์ 0.1 โวลต์ หายไป ไหน 1.ตัวต้านทาน 1 กโิ ลโอห์ม ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า จึงทําใหค้ วามตา่ งศักยล์ ดลงจาก 1.5 โวลต์ เหลอื 1.4 โวลต์ 2. ตัวต้านทาน 1 กโิ ลโอห์ม แปลงความต่างศกั ย์ 0.1 โวลต์เปน็ พลงั งานความรอ้ น 3. เป็นความต่างศกั ยต์ กครอ่ มตัวตา้ นทานภายในถา่ นไฟฉาย 4. เปน็ ความต่างศกั ย์ตกคร่อมตัวตา้ นทาน 1 กิโลโอหม์ 258. (พ.ย.58) จากวงจรดังรปู ท่ี 1 หลอดไฟทกุ ดวงมีความต้านทานเท่ากันหมด ต่อมานาํ ลวดตัวนํามาตอ่ ในวงจร ดงั รูปท่ี 2 หลอดไฟดวงใดจะสว่างขนึ้ 1. A 2. B 3. B และC 4. A และ C มอเตอรไ์ ฟฟา้ 259. (ก.ค. 52)พัดลม A และพดั ลม B มลี กั ษณะเหมือนกันทกุ ประการ แตพ่ ัดลม A มีแกนหมนุ ท่คี อ่ นขา้ ง ฝืดเพราะมี เศษฝุ่นเขา้ ไปเกาะท่แี กนหมุน มือ่ เสยี บปล๊กั กับไฟบ้านและเปดิ พัดลม พดั ลม A จงึ หมุนช้ากว่า พัดลม B ข้อใดถกู ตอ้ ง 1. พัดลมท้งั สองมกี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นเท่ากนั 2. พดั ลม A มกี ระแสไฟฟ้าผ่านมากกว่าพัดลม B 3. พดั ลม A มกี ระแสไฟฟา้ ผ่านน้อยกวา่ พัดลม B 4. พัดลม A มีความตา้ นทานไฟฟ้ามากกว่าพัดลม B

83 260. (ต.ค.53) ต่อแบตเตอร่ี 12 โวลต์ ความต้านทานภายใน 1 โอห์ม เข้ากับมอเตอร์ที่มีความต้านทาน 3 โอห์ม เม่ือมอเตอร์หมุนมีกระแสไฟฟ้า 2 แอมแปร์ ไหลในวงจร แรงเคล่ือนไฟฟ้าต้านกลับของมอเตอร์นี้เป็นกี่ โวลต์ 1. 1 2. 2 3. 4 4. 6 เครอื่ งมือวัดทางไฟฟ้า 261. (มี.ค.52) กัลวานอมิเตอร์ตัวหนึ่งมีความต้านทาน 200 โอห์ม รับกระแสได้สูงสุด 10 มิลลิแอมแปร์ นํากลั วานอมเิ ตอร์ ดังกลา่ วมาดัดแปลงเป็นโอหม์ มิเตอร์ ดงั รปู กอ่ นการใช้งานตอ้ งนําปลาย X และ Y มาแตะกนั และปรบั คา่ R0 เปน็ กโี่ อห์ม 1. เทา่ ใดกไ็ ดท้ ท่ี ําให้เขม็ กัลวานอมิเตอร์กระดกิ 2. 700 3. 900 4. 1,100 262. (ก.ค. 53)กัลวานอมิเตอร์มีความต้านทาน 2,000 โอห์ม เมื่อมีกระแสผ่าน 100 มิลลิแอมแปร์ ทําให้เข็มตี เต็มสเกล ถ้าต้องการดัดแปลงให้เป็นแอมมิเตอร์เพ่ือให้วัดกระแสสูงสุดได้ 2.5 แอมแปร์ จะต้องนําชันต์ ขนาดกี่โอห์มมาต่อกบั กลั วานอมเิ ตอรน์ ้ี 1. 59.1 2. 65.2 3. 71.4 4. 83.3

84 263. (เม.ย.57)นําตัวต้านทาน Rs 900 โอห์ม มาต่อกับแกลวานอมิเตอร์ความต้านทาน 100 โอห์ม เพื่อสร้างเป็น แอมมิเตอร์ แล้วนําแอมมิเตอร์ดังกล่าวไปวัดกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทาน Rx ซ่ึงต่อกับแหล่งกําเนิดไฟฟ้า กระแสตรงแรงดันไฟฟ้าคงที่ V0 ถ้าเปล่ียนค่า Rs เป็น 400 โอห์ม กระแสไฟฟ้าท่ีผ่าน Rx และแกลวานอ มเิ ตอรจ์ ะเปล่ยี นแปลงอย่างไร ตามลาํ ดับ 1.เพม่ิ , เพม่ิ 2. เพม่ิ , ลด 3. ลด , เพม่ิ 4. ลด , ลด 264. (มี.ค.58)นําตัวต้านทานชันต์ 40  มาต่อกับกัลวานอมิเตอร์ที่มีความต้านทาน 200  เพื่อสร้างเป็น แอมมิเตอร์ ถ้านําแอมมิเตอร์น้ีไปวัดกระแสในวงจรหนึ่ง พบว่าเข็มของกัลวานอมิเตอร์ช้ีท่ี 1mA กระแสใน วงจรดงั กล่าวมคี า่ ก่มี ิลลิแอมแปร์ 1. 1 2. 1.2 3. 5.0 4. 6.0 พลังงานไฟฟ้า 265. (พ.ย.57)เคร่ืองใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งมีกําลังไฟฟ้า 1 วัตต์ เม่ือใช้กับความต่างศักย์ค่าหนึ่ง หากเพ่ิมความต่าง ศกั ยท์ ีใ่ ช้เปน็ 2 เท่าของเดมิ กําลังไฟฟา้ ของเคร่อื งใช้ไฟฟ้าน้ีเป็นอย่างไร 1. เทา่ เดิม 2. ลดลงเปน็ 2 เทา่ 3. เพิม่ ข้นึ เป็น 2 เท่า 4. เพม่ิ ขน้ึ เปน็ 4 เทา่

85 14.แม่เหล็ก ไฟฟา้ แรงท่ีกระทําตอ่ อนภุ าคมีประจุ และกระแส ในสนามแมเหล็ก 266. (ต.ค. 52)อนภุ าค 3 ชนิดมเี ส้นทางการเคลื่อนไหวในสนามแมเ่ หล็กดังรปู ข้อใดถูก 1.อนภุ าค 1 มีประจลุ บ 2.ถา้ อนภุ าคทง้ั สามมีมวลและประจเุ ท่ากนั อนุภาค 1 มีพลงั งานจลนม์ ากกว่าอนภุ าค 2 3. ถ้าอนภุ าค 2 และ 3 มคี า่ ประจุมวลเทา่ กนั อนภุ าค 2 มีอัตราเร็วน้อยกว่าอนภุ าค 3 4. ถ้าอนุภาคทั้งสามมีมวลเทา่ กันและเคลอ่ื นท่ดี ว้ ยอัตราเร็วเทา่ กนั อนุภาค 2 มจี าํ นวนประจนุ ้อยกวา่ อนุภาค 3 267. (มี.ค.53)ยิงอนุภาคประจุบวก 6.4  10-19 คูลอมบ์ มวล1.0  10-20 กิโลกรัม ด้วยความเร็ว 2.0 106 เมตร/วินาที เข้าสู่สนามแม่เหลก็ สมํ่าเสมอขนาด 1.0 เทสลา ดังรูป ขณะท่ีอนุภาคกาํ ลงั เคล่อื นทตี่ ้งั ฉากกับ แนวการเคลือ่ นที่เรม่ิ ต้น ขนาดโมเมนตมั ทีเ่ ปล่ียนไปเทา่ กบั กี่ กโิ ลกรมั .เมตร/วินาที 1. 0 2. 2  10-14 3. 2.8  10-14 4. 4.0  10-14

86 268. (มี.ค.54)วางลวดตัวนํายาว 20 เซนติเมตร บนรางตัวนํายาวมากที่มีความต้านทานน้อยมาก และต่อกับตัว ตา้ นทาน 2 โอหม์ โดยรางตวั นาํ วางหา่ งกัน 10 เซนตเิ มตร ดงั รปู จะต้องออกแรงกระทาํ กบั เสน้ ลวดกี่ นิวตัน เพือ่ ให้เส้นลวดเคลอ่ื นทดี่ ้วยความเรว็ คงตัว 3 เมตร/วินาที กาํ หนดให้สนามแมเ่ หล็กมีความเข้ม 2 เทสลา 269. (ต.ค.54)ลวดตวั นาํ ตรงยาว L มกี ระแสไฟฟ้า I ไหลในทิศ +Z ตามแนวยาวของเสน้ ลวด ถ้าเสน้ ลวดนี้อยู่ ในสนามแม่เหล็กสม่ําเสมอทม่ี ีองค์ประกอบตามแนวแกน x, y และ z เปน็ 1 , 2 และ 3 เทสลา ตามลําดับ ขนาดของแรงแมเ่ หล็กทกี่ ระทําตอ่ ลวดตัวนําคือข้อใด 1. 3IL 2. 2IL 3. 5IL 4. 3IL 270. (ต.ค. 55)ลวดตัวนําเส้นตรง 2 เส้น วางขนานกันอยู่บนโต๊ะ มีกระแสไฟฟ้าไหลในเส้นลวดท้ังสองใน ทิศทางเดียวกนั ข้อใดถูกต้องเกีย่ วกับแรงแมเ่ หลก็ ท่กี ระทําตอ่ เสน้ ลวดน้ี 1. ลวดเสน้ หนง่ึ จะถกู แรงกระทาํ ในทิศขน้ึ ตัง้ ฉากกบั พ้ืนโตะ๊ แตอ่ ีกเสน้ หนง่ึ จะถูกแรงกระทาํ ใน ทิศทาง ลงตงั้ ฉากกับพ้ืนโต๊ะ 2. ลวดท้งั สองถูกแรงกระทาํ ในทศิ ข้นึ ต้ังฉากกับพื้นโตะ๊ 3. เสน้ ลวดท้ังสองจะดูดกัน 4. เส้นลวดทง้ั สองจะผลกั กนั

87 271. (เม.ย.57) ในส่วนคัดเลือกความเร็วของแมสสเปกโทรมิเตอร์ เคร่ืองหน่ึง หากต้องการคัดเลือกความเร็ว ของไอออนชนิดหนึ่งท่ีมีมวล 6.4x10-26 กิโลกรัม และพลังงานจลน์ 20 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ จะต้อง ออกแบบแมสสเปกโทรมิเตอร์น้ีให้มีอัตราส่วนระหว่างสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กในส่วนคัดเลือก ความเรว็ น้เี ป็น กีโ่ วลต/์ เมตร/เทสลา 1. 1.6x105 2. 3.2x105 3. 4.0x1014 4. 7.9x1014 272. (มี.ค.59) โปรตอนเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 100 เมตร/วินาที เข้าไปในบริเวณสนามแม่เหล็กสม่ําเสมอใน ทิศตต้ังฉากกับสนามแม่เหล็ก ถ้าโปรตอนใช้เวลาในที่ใช้ในการเคล่ือนที่ 1 มิลลิวินาที โดยมีขนาดความเร่ง 104 เมตร/วินาที2 อัตราเรว็ ของโปรตอนเมอ่ื ออกจากบรเิ วณสนามเม่เหล็กนีเ้ ป็นกีเ่ มตร/วนิ าที 1. 90 2. 100 3. 110 4. 120 5. ขอ้ มลู ไม่เพียงพอ กระแสไฟฟา้ เหน่ยี วนาํ แมเ่ หลก็ เหนย่ี วนํา 273. (มี.ค.52)ขดลวดวางอยู่บนโต๊ะท่ีมีสนามแม่เหล็กสม่ําเสมอพุ่งขึ้นในทิศตั้งฉากกับโต๊ะพิจารณากรณี ต่อไปนี้ ก. วงขดลวดกาํ ลังเล็กลง ข. วงขดลวดกําลงั ใหญข่ ึ้น ค. สนามแมเ่ หลก็ กําลังลดลง ง. สนามแมเ่ หลก็ กาํ ลังเพ่มิ ข้นึ กรณีใดทผี่ สมกนั แลว้ ทําใหเ้ กิดแรงเคล่อื นไฟฟา้ มากทีส่ ุดในทิศตามเข็มนาฬิกา (เมอ่ื มองโตะ๊ จากด้านบน) 1. ก และ ค 2. ก และ ง 3. ข และ ค 4. ข และ ง

88 274. (ก.ค. 53)ทนั ทีท่ีสบั สวติ ซ์ S ทเ่ี ชอื่ มกับลวดตวั นาํ A จะเกดิ อะไรขึ้นบนลวดตัวนาํ B 1. ไมม่ ีอะไรเปลีย่ นแปลง 2. ลวด B ถกู ดดู เขา้ หาลวด A 3. เกิดกระแสบนลวด B ในทิศทางทวนเขม็ นาฬกิ า 4. ไม่มีขอ้ ใดถกู 275. (ต.ค. 54)ปล่อยวงลวดให้ตกลงมาในแนวด่ิงภายใต้แรงโน้มถ่วงโลก เข้าชนก่ึงกลางแท่งแม่เหล็กถาวร ดัง รปู ขอ้ สรปุ เกีย่ วกบั แรงเคล่อื นไฟฟา้ เหนยี่ วนํา ข้อใดถูกต้อง 1. ขนาดกาํ ลังเพม่ิ ทศิ ตามเขม็ นาฬิกา 2. ขนาดกําลงั เพ่ิม ทศิ ทวนเขม็ นาฬิกา 3. ขนาดกําลงั ลด ทศิ ตามเข็มนาฬกิ า 4. ขนาดกําลังลด ทศิ ทวนเขม็ นาฬกิ า 276. (มี.ค.56) แรงแม่เหล็กที่กระทํากับลวดตัวนํา AB ซ่ึงยาว 2 เซนติเมตร เป็นกี่นิวตนั ถ้าลวดตัวนําน้ีอยูใ่ น โซลนี อยดท์ ี่มีความเข้มสนามแม่เหลก็ 0.2 เทสลา และมกี ระแสไหลในลวดตัวนาํ 5 แอมแปร์ 1. 0 2. 0.02 N , ทิศข้นึ 3. 0.02 N , ทศิ ลง 4. 0.02 N , ทศิ ไปทางซา้ ย

89 277. (มี.ค.57)ปล่อยแท่งแม่เหล็กในแนวดิ่ง ให้ว่ิงผ่านวงลวด โวลต์มิเตอร์สามารถวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้า ได้ดัง กราฟ ถา้ กลับทิศของแมเ่ หลก็ และเพิ่มขดลวดเป็นสองวง โวลตม์ ิเตอร์จะสามารถวดั แรงเคล่อื นไฟฟา้ ได้อยา่ งไรเทียบกับ กราฟเดมิ 1. 2. 3. 4.

90 278. (เม.ย.57) เมื่อเคล่ือนแท่งแม่เหล็กเข้าหาขดลวดโซลีนอยด์ ดังรูป จะเกิดกระแสไฟฟ้าในวงจร โดยมีทิศ การไหลตามเข็มนาฬิกา ทิศของแรงแม่เหล็กจะเกิดจากขดลวดที่กระทําต่อแท่งแม่เหล็กและขั้วของแท่ง แมเ่ หลก็ ด้าน A เปน็ ไปตามขอ้ ใด ตามลําดับ 1.  , ข้ัวเหนือ 2.  , ขั้วใต้ 3.  , ข้ัวเหนอื 4.  , ข้วั ใต้ 279. (พ.ย.57)เส้นลวดตัวนําไฟฟ้าหุ้มด้วยฉนวนยาวมาก 2 เส้น วางตัวในลักษณะทํามุมต้ังฉากซึ่งกันและกัน ถ้าแต่ละเสน้ มกี ระแสไฟฟา้ I เท่ากนั ไหลในทิศทางดังรปู สนามไฟฟา้ ท่ีตาํ แหนง่ A เปน็ เท่าใด กําหนดใหส้ นามแม่เหลก็ ทีเ่ กิดจากกระแสไฟฟ้า I ณ ตาํ แหน่งหา่ งจากเสน้ ลวด a มีขนาดเทา่ กับ B 1. 0 2. ขนาด 2B ทิศพุ่งเขา้ สหู่ นา้ กระดาษ 3. ขนาด 2B ทิศพงุ่ ออกจากหนา้ กระดาษ 4. ขนาด 2B ทิศทํามุม -450 กับกระแสในเส้นลวดแนวนอน

91 280. (พ.ย.58) จากรูป วงจรด้านซ้ายต่อกับแบตเตอรี่ โดยความต้านทานในวงจรเพ่ิมข้ึนตามเวลา ทิศของ สนามแม่เหล็กที่จุด A เป็นอย่างไร และกระแสไฟฟ้าในวงลวดตัวนาํ ดา้ นขวามที ศิ การไหลอย่างไร ตามลําดับ 1. ไม่มสี นามแมเ่ หล็กและกระแสไฟฟา้ เกดิ ขึ้น 2. พงุ่ ออกจากหนา้ กระดาษ ไหลตามเข็มนาฬกิ า 3. พ่งุ ออกจากหนา้ กระดาษ ไหลทวนเข็มนาฬิกา 4. พ่งุ เข้าสู่หนา้ กระดาษ ไหลตามเข็มนาฬกิ า 5. พุง่ เข้าสู่หนา้ กระดาษ ไหลทวนเข็มนาฬิกา 281. (มี.ค.59) ลวดตัวนํายาวมากเส้นหน่ึงมีกระแสไฟฟ้าคงที่ I ไหลจากซ้ายไปขวา ถ้าขณะหน่ึงมีอิเล็กตรอน เคล่อื นท่ีไปทางซา้ ยดังรปู แรงแม่เหลก็ ทก่ี ระทาํ ตอ่ อิเลก็ ตรอนในขณะน้ันมที ศิ ทางอย่างไร 1. พุ่งเขา้ ตงั้ ฉากกบั หนา้ กระดาษ 2. พงุ่ ออกต้ังฉากกับหน้ากระดาษ 3. ชี้ขึ้นดา้ นบนของหน้ากระดาษ 4. ช้ลี งด้านลา่ งของหน้ากระดาษ 5. ไมม่ แี รงแมเ่ หล็กกระทาํ กบั อเิ ลก็ ตรอน

92 15. ไฟฟ้ากระแสสลับ ไฟฟ้ากระแสสลับ 282. (ต.ค. 52) อปุ กรณ์ไฟฟา้ ชนดิ หน่งึ มีขอ้ ความ “220 VAC 50 Hz” ข้อใดถูก 1. อุปกรณ์นี้ใช้กับไฟฟา้ กระแสสลบั ที่มีความตา่ งศกั ยส์ งู สดุ 220 โวลต์ 2. อุปกรณน์ ้ีใชก้ บั ไฟฟา้ กระแสสลบั ที่มกี ารกลบั ทศิ ทางการไหลของกระแสไฟฟ้า 100 คร้งั ต่อวนิ าที 3. อุปกรณ์นใี้ ช้กับไฟฟา้ กระแสสลับทม่ี ีคา่ รากที่สองของคา่ เฉลย่ี ของกําลงั สองของความตา่ งศักยเ์ ท่ากบั 220/ 2 โวลต์ 4. ถา้ อุปกรณน์ ี้ให้กาํ ลงั ไฟฟา้ 2,200 วัตต์ กระแสไฟฟ้าสงู สุดของอุปกรณ์น้ีคอื 10 แอมแปร์ 283. (มี.ค.57)ในชุมชนท่ีมีบ้านเรือนหนาแน่น มีหลายคร้ังท่ีบ้านเราไฟดับโดยที่ตู้ไฟไม่ได้ตัดไฟ แต่บา้ นข้าง ๆ ไมด่ บั ทง้ั นเ้ี ป็นเพราะสาเหตุใด 1. ใช้ไฟคนละเฟส 2. ใช้มิเตอร์คนละขนาด 3. มอี ุปกรณไ์ ฟฟา้ ภายในบ้านไมเ่ หมือนกัน 4. บา้ นเราตอ่ ไฟฟา้ หลังจากขา้ งบา้ น ทาํ ใหม้ ีโอกาสกาํ ลังไฟมาไมถ่ ึง 284. (มี.ค.57)แบบจําลองของเครอื่ งกาํ เนิดไฟฟ้า 3 เฟส ดงั รปู ถ้าเราหมนุ แมเ่ หลก็ ให้เรว็ ข้นึ ไฟฟ้าท่ผี ลิตได้จะมีลักษณะเปน็ อยา่ งไร 1. แรงดนั ไฟเท่าเดิม ความถเี่ ท่าเดิม 2. แรงดันไฟเทา่ เดิม ความถี่สูงข้นึ 3. แรงดนั ไฟสงู ข้นึ ความเทา่ เดมิ 4. แรงดนั ไฟสงู ขึ้น ความถสี่ ูงข้นึ

93 วงจร RCL 285. (ม.ี ค. 52) นําตวั เกบ็ ประจุ ตวั ตา้ นทาน และแหล่งกําเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลับชนิดท่ใี หแ้ รงเคลือ่ นไฟฟ้ายงั ผลคง ที่มาต่อ อนุกรมกันท้ังหมดตามลําดับ ถ้าความถี่ของแหล่งกําเนิดไฟฟ้าเพิ่มขึ้น กระแสไฟฟ้ายังผลในวงจร อนุกรม ดังกล่าวจะเปน็ อย่างไร 1. เพมิ่ ขนึ้ 2. คงเดิม 3. ลดลง 4. ไมส่ ามารถระบไุ ด้ ข้นึ กับคา่ ของตัวเกบ็ ประจแุ ละตวั ต้านทาน 286. (มี.ค.53)จากรูป ถ้าตัวเก็บประจุมีความจุ 5 ไมโครฟารัด ตัวต้านทานมีขนาด 2 กิโลโอมห์และ แรงเคลื่อนไฟฟ้า ของแหล่งกําเนิดเป็น V = 20sin100t เมื่อนําโวลต์มิเตอร์วัดคร่อมตัวเก็บประจุจะอ่าน คา่ ไดก้ โี่ วลต์ 1. 10 2.10 2 3. 20 4. 20 2 287. (ก.ค. 53) ตัวเหน่ียวนํา 0.04 เฮนรี นํามาต่อกับแบตเตอรี่กระแสตรง 12 โวลต์ ความต้านทานภายใน 2 โอห์ม มีกระแสในวงจร 2 แอมแปร์ ถ้าเปลี่ยนแบตเตอรี่กระแสตรงเป็นกระแสสลับท่ีมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 50 sin (100 t) จะมีกระแสยังผลในวงจรกแ่ี อมแปร์ 1. 4.14 2. 6.25 3. 8.84 4. 17.7

94 288. (ต.ค.53) ถ้าตอ้ งการทําให้ความต่างศกั ยค์ ร่อมตวั ต้านทาน (VR ) มคี า่ มากข้นึ จะตอ้ งทําอย่างไร 1. ลดความถข่ี องไฟฟ้ากระแสสลับ 2. เพ่ิมความถ่ีของไฟฟ้ากระแสสลับ 3. เพม่ิ ค่าความเหน่ียวนาํ 4. มคี าํ ตอบถูกมากกวา่ 1 ข้อ 289. (มี.ค. 55) พิจารณาขอ้ มูลสาํ หรับไฟฟ้ากระแสสลับ ต่อไปน้ี ก. ในกรณตี ัวต้านทาน กระแสไฟฟ้าทผ่ี ่านตวั ตา้ นทานและความต่างศักย์ทต่ี กคร่อมตวั ต้านทานมเี ฟส ตรงกนั ข. ในกรณีตวั เกบ็ ประจุ กระแสไฟฟา้ ที่ผา่ นตัวเก็บประจจุ ะมีเฟสนาํ ความต่างศกั ยค์ รอ่ มตัวเก็บประจุ เทา่ กับ 90 องศา ค. ในกรณีตวั เหนี่ยวนาํ กระแสไฟฟ้าทีผ่ ่านตัวเหนีย่ วนําจะมเี ฟสตามความต่างศกั ยค์ ร่อมตัวเหนี่ยวนํา เท่ากบั 90 องศา ถา้ เรานําตวั ต้านทาน ตวั เกบ็ ประจุ และตัวเหนีย่ วนาํ มาตอ่ ขนานกนั และทง้ั หมดตอ่ กับแหลง่ กาํ เนิดไฟฟา้ กระแสสลบั เฟสของกระแสไฟฟา้ ท่ผี ่านตวั เก็บประจุจะเปน็ อย่างไรเมื่อเทยี บกบั เฟสของกระแสไฟฟา้ ทผี่ า่ นตัว เหนย่ี วนาํ 1. เฟสตรงกนั 2. เฟสนาํ อยู่ 180 องศา 3. เฟสตามอยู่ 180 องศา 4. ไม่สามารถระบไุ ด้ เพราะไม่ทราบความถข่ี องแหลง่ กาํ เนดิ 290. (มี.ค.56) เมื่อให้กระแสไฟฟ้าสลบั กับขดลวด จะมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า (emf) เกิดข้ึน ถ้านําโวลต์มิเตอร์ไปวัด ความตา่ งศักยร์ ะหวา่ งปลายขดลวด พบว่า ค่าทอี่ า่ นได้จากโวลต์มเิ ตอร์เป็นอยา่ งไร 1. มคี ่านอ้ ยกว่า emf 2. มคี า่ เท่ากบั emf 3. มีค่ามากกว่า emf 4. มีคา่ มากกว่าหรอื น้อยกว่า emf กไ็ ดข้ ึน้ กับความถ่ีของกระแสไฟฟา้ สลับ

95 291. (ม.ี ค.57) วงจรไฟฟา้ กระแสสลับ ประกอบดว้ ย ตัวตา้ นทาน ตวั เหนย่ี วนาํ และตวั เกบ็ ประจดุ ังรูป(อนกุ รม) ถา้ กระแสท่ีผ่านตัวตา้ นทานกําลังลดลง ความต่างศักย์ทต่ี กคร่อมตัวเหนี่ยวนาํ กบั ตัวเก็บประจเุ ปน็ อย่างไร ขนาดของความตา่ งศักย์ตกครอ่ ม ขนาดของความตา่ งศกั ย์ตกครอ่ ม ตวั เก็บประจุ 1. กาํ ลงั ลด กําลงั ลด 2. กําลงั ลด กําลงั เพิ่ม 3. กาํ ลงั เพม่ิ กาํ ลงั ลง 4. กําลังเพ่มิ กาํ ลังเพิม่ 292. (พ.ย.57)ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่มีตัวต้านทานต่อแบบอนุกรม 2 ตัว เมื่อใช้ดิจิทัลมิเตอร์วัดความต่าง ศักย์ของตัวต้านทานแต่ละตัวได้ 4.5 V และ 7.5 V ตามลําดับ ความต่างศักย์ของแหล่งจ่ายไฟนี้เท่ากับก่ี โวลต์ 1. 12 2. 17 3. 24 4. 34 293. (มี.ค.58)ตัวเก็บประจุ ตัวต้านทาน และแหล่งกําเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ต่ออนุกรมกัน ถ้าเพิ่มความถี่ ใหก้ ับแหลง่ กาํ เนิดไฟฟ้ากระแสสลบั กระแสไฟฟา้ จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร 1. ไม่เปลีย่ นแปลง 2. ขนาดเท่าเดิม แตเ่ ฟสเปล่ียนไป 3. ลดลง 4. เพ่มิ ข้นึ

96 16. คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 294. (มี.ค. 52)คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้ากําลังเคลอ่ื นที่ไปในทิศ +z ท่ีตําแหน่งหน่ึงและเวลาหน่งึ คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้ามี ทศิ ของ สนามไฟฟา้ ในทิศ –x ทตี่ าํ แหนง่ และเวลาดงั กลา่ วจะมีทศิ ของสนามแมเ่ หล็กในทศิ ใด 1. +x 2. +y 3. –y 4. –z 295. (ต.ค. 52)สถานีวิทยุแห่งหนึ่งส่งคลื่น FM 100 MHz ด้วยกําลังส่ง 1 kW สัญญาณเสียงของมนุษย์ที่พูด ผ่าน ไมโครโฟนมีความถี่ประมาณ 100 ถึง 4,000 Hz การส่งสัญญาณเสียงของมนุษย์ทําได้โดยการผสม สัญญาณเสียงเข้ากับสัญญาณของคลื่นพาหะท่ีมีความถี่ 100 MHz สัญญาณที่ถูกถ่ายทอดไปตามบ้านเรือน จะมีลกั ษณะตามข้อใด 1. เป็นคล่นื ทมี่ คี วามถ่ี 100 MHz คงที่ 2. เป็นคลน่ื ทม่ี แี อมพลิจดู เปล่ยี นไป ตามความดังของเสียงมนุษย์ 3. เปน็ คล่นื ทม่ี คี วามถ่ีเปลย่ี นไปเลก็ นอ้ ย ตามความถข่ี องเสยี งพดู 4. เป็นคลน่ื ทป่ี ระกอบดว้ ยคลื่นพาหะและสญั ญาณเสียงสลบั กันไป 296. (ต.ค.55) ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีถกู ต้องเก่ียวกับคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ 1. ไม่มโี มเมนตัม 2. สง่ ผ่านพลงั งานได้ 3. มอี ตั ราเร็วในอากาศตา่ งกนั ขน้ึ อยกู่ ับความถ่ี 4. มีขอ้ ความถูกมากกวา่ 1 ข้อความ 297. (พ.ย.57)คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ ทีก่ าํ ลงั เคลอ่ื นท่ใี นทศิ +z ถา้ ณ เวลาหนงึ่ ทีต่ ําแหน่งหนง่ึ พบว่า สนามไฟฟ้า มที ิศ –y และมีความเขม้ ลดลง สนามแมเ่ หล็ก ณ ตําแหน่งดงั กลา่ วเป็นอย่างไร 1.มีคา่ เป็นศูนย์ 2. มที ิศ +y และมคี วามเขม้ ลดลง 3. มีทศิ - y และมคี วามเข้มเพม่ิ ขน้ึ 4. มีทศิ - y และมีความเขม้ ลดลง

97 298. (มี.ค.58)เหตใุ ดคลื่น FM จงึ มีคณุ ภาพเสียงท่ีดีกวา่ คล่ืน AM 1. คลืน่ FM มีกําลังสง่ ทแี่ รงกวา่ คล่ืน AM 2. คลืน่ FM มกี ารเลี้ยวเบนท่ดี ีกว่าคล่นื AM 3. คลนื่ FM มีขนาดแอมพลิจูดทม่ี ากกว่าคลน่ื AM 4. คลน่ื FM มกี ารมอดูเลตความถี่ ซึง่ ไมถ่ ูกรบกวนได้ง่ายเหมอื นการมอดเู ลตแอมพลิจูด

98 สมบตั ิของสาร 17. ของแขง็ 299. (ก.ค. 52) ออกแรงดึงเส้นลวดเส้นหน่ึงด้วยแรงคงท่ี ถ้าใช้แรงเท่าเดิมในการดึงเส้นลวดขนาดชนิด เดยี วกนั นี้แตม่ ี ความยาวและเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางลดลงครึ่งหนึ่ง ความยาวท่เี ปล่ียนไปของเสน้ ลวดเส้นน้ีเป็น อย่างไรเมื่อเทยี บ กบั เส้นลวดเสน้ แรก 1. เปน็ ครึง่ หนง่ึ ของความยาวท่เี ปลี่ยนไปของเสน้ แรก 2. เทา่ กบั ความยาวท่ีเปลย่ี นไปของเส้นแรก 3. เปน็ 2 เท่าของความยาวทเี่ ปลี่ยนไปของเสน้ แรก 4. เป็น 4 เท่าของความยาวที่เปลีย่ นไปของเส้นแรก 300. (ต.ค.53)อัตราส่วนระหว่างแรงดึงท่ีกระทําต่อเส้นลวด กับระยะยืดของเส้นลวด A และ B ซึ่งยาวเท่ากัน เป็นอัตราส่วน 2 : 1 ถ้าค่ามอดูลัสของยังของเส้นลวด B เป็น 2 เท่าของเสน้ ลวด A เส้นผ่านศูนย์กลางของ เส้นลวด A เปน็ กีเ่ ท่าของเส้นลวด B 1. 0.5 2. 1 3. 2 4. 4 301. (ต.ค.55) ลวดเบามากเส้นหนึ่งมีพื้นที่หน้าตัด A ความยาวเริ่มต้น 0 และมีค่ามอดุลัสของยังเท่ากับ Y ยึดปลายด้านหน่ึงไว้กับเพดาน และถ่วงปลายอีกด้านหน่ึงด้วยมวล m ที่มีค่าแตกต่างกันทําให้ลวดยืดออก ในแนวดิ่งแต่ยังอยู่ในขีดจํากัดสภาพยืดหยุ่น ถ้านําข้อมูลมาเขียนกราฟโดยให้ความยาวเส้นลวดอยู่ในแกน นอน และมวลถ่วงอยู่ในแกนตัง้ จุดตัดแกนตงั้ คือปรมิ าณใด 1. YA 2.  YA 3. YA 4.  YA 0g 0g g g

99 302. (ม.ี ค.56) กราฟระหว่างความเคน้ กับความเครียดของวสั ดุ A และ วสั ดุ B แสดงดังรูป ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้อง 2. วัสดุ A เหนียวกว่าวสั ดุ B 1. วัสดุ A เปราะกวา่ วสั ดุ B 4. ไม่สามารถสรปุ ได้ 3. วสั ดุ A ยืดหยุ่นกว่าวสั ดุ B 303. (มี.ค.57) ลวดโลหะความยาว 2.000 เมตร ถูกดึงด้วยแรงคงท่ี จนมคี วามเครียด 1.000x10-3 ความยาวเส้น ลวดนภ้ี ายใต้แรงดึงมคี า่ ประมาณก่ีเมตร 1. 1.000x10-3 2. 1.002 3. 2.001x10-3 4. 2.002 18.ของไหล ความดนั เครื่องอัดไฮโดรลกิ 304. (ต.ค.54) วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 1 เมตร ลงบนศีรษะเด็กคนหนึ่ง ถ้าวัตถุน้ันมีพื้นที่ หน้าตัด 0.2 ตารางเซนติเมตร และเวลาที่ตกกระทบเป็น 1 มิลลิวินาที ความดันที่เกิดจากการตกของวัตถุบนศีรษะเด็ก คนนเ้ี ปน็ กน่ี วิ ตัน/ตารางเมตร 1. 2.2108 2. 4.4108 3. 9.8108 4. 19.6108

100 305. (ต.ค.53)ชายคนหนง่ึ มคี วามสามารถอัดแรงไดเ้ พยี ง 49 นิวตนั ต่อคร้งั ถา้ ชายคนนต้ี อ้ งการยกวัตถุมวล 500 กิโลกรัม โดยเครื่องอัดไฮดรอลิกท่ีมีกระบอกอัดและกระบอกยกเป็นทรงกระบอก รัศมีกระบอกยกต่อ กระบอกอดั ต้องมี อัตราสว่ นอยา่ งนอ้ ยท่ีสุดเท่าไร 1. 5 2. 10 3. 50 4. 100 ความหนดื 306. (ก.ค. 52)ลูกปิงปองกําลังลอยขึ้นจากก้นสระน้ํา ในขณะที่ลูกปิงปองมีอัตราเร็วไม่คงท่ี ผลของความหนืด ของนํ้าจะทํา ให้อตั ราเร็วและอัตราเร่งของลูกปิงปองมกี ารเปล่ยี นแปลงอย่างไร 1. อตั ราเร็วกาํ ลงั เพมิ่ อัตราเรง่ กาํ ลังเพม่ิ 2. อัตราเร็วกําลงั เพม่ิ อัตราเรง่ กาํ ลังเพม่ิ 3. อตั ราเร็วกาํ ลังลด อตั ราเรง่ กําลงั เพ่ิม 4. อตั ราเร็วกาํ ลงั ลด อัตราเรง่ กาํ ลังลด 307. (ก.ค. 53)หย่อนลูกเหล็กขนาดเล็กลงในท่อแก้วสูงที่บรรจุสารละลายชนิดหนึ่ง ปรากฏว่าเมื่อถึงจุดๆ หนึ่ง ลกู เหล็ก เคลื่อนทด่ี ้วยความเร็วคงตวั ณ จดุ น้ีควรใช้หลักฟสิ ิกส์ใด อธบิ ายเหตกุ ารณท์ ีเ่ กิดข้นึ 1. แรงโน้มถ่วงของโลก 2. แรงดึงดดู ระหวา่ งมวล 3. การตกอสิ ระ 4. สมดลุ ของแรง 308. (มี.ค.54) ปล่อยวัตถุทรงกลมที่ผิวนํ้า วัตถุจมลงและมีความเร็วปลายคงที่เท่ากับ vA ถ้าปาวัตถุรูปทรง เดยี วกันลงใน แนวด่ิงทาํ ให้มีความเรว็ ต้น u > 0 ทผี่ ิวนํา้ วัตถดุ ังกล่าวจมลงจนมคี วามเร็วปลายคงท่ีเท่ากับ vB ขอ้ ใดสรปุ ถูกต้อง 1. vA  vB แต่ vB  vA  u 2. vB  vA  u 3. vB  vA 4. vB  vA  u


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook