Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

12

Published by paktholibrary, 2019-01-27 01:58:38

Description: 12

Search

Read the Text Version

ศนู ยว์ ฒั นธรรม ไทย-กะเหรยี่ ง บา้ นหนิ สี ศูนย์วัฒนธรรมไทยกะเหร่ียงบ้านหินสี ตาบลยางหัก อาเภอปากท่อ เป็นชุมชนท่ีมีชาวกะเหร่ียง อาศัยอยู่หนาแน่นและยังคงวิถีชีวิตแบบเดิมอยู่ “พ่อพรชัย ทองไร่ หน่ึงในสมาชิกกลุ่มฟ้ืนฟู วัฒนธรรมไทย-กะเหรี่ยง บอกเล่าถึงการต้ังถ่ินฐานบริเวณบ้านพุหวาย ซึ่งเป็นชุมชนที่แยกตัวมา จากบ้านหินสี หรอื ทใ่ี นภาษาชาวบ้านเรียกว่า “บ้านใหญ่” กลุ่มบ้านพุหวายต้ังอยู่ใกล้กับป่าชุมชน “เป็นโซนวัฒนธรรม 19 ไร่” ภายในเป็นสถานทต่ี ัง้ ศูนยว์ ฒั นธรรมไทย-กะเหร่ียง ที่จัดตั้งข้ึนมาเมื่อ พ.ศ. 2557 จัดต้ังข้ึนเพื่อฟื้นฟูวัฒนธรรม ประเพณีท่ีสืบทอดกันมาหลงเหลือคือ ประเพณีการกิน ขา้ วห่อ หรือการกินขา้ วใหม่ทค่ี นในหมูจ่ ะมาเฉลมิ ฉลองรว่ มกันในเดือนเกา้ ” ศูนย์วัฒนธรรม ไทย-กะเหรี่ยง บ้านหินสี เป็นพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรม ท่ีนาเสนออัตลักษณ์ของกลุ่ม ชาติพันธุ์กะเหร่ียงให้เป็นจุดสนใจแก่นักท่องเท่ียวมาเย่ียมชม และ ศึกษาวิถีชีวิตให้แพร่หลายย่ิงขึ้น ตลอดจนเสริมสร้างอาชีพและรายได้ให้กับชุมชน โดยศูนย์ วัฒนธรรมไทย-กะเหร่ียง บ้านหินสี จะเป็นแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตชาติพันธ์ุกะเหรี่ยง นอกจากน้ียังมี การสรา้ งบา้ น แบบกะเหร่ยี งจาลองวิถีชีวิต การอยู่อาศัย โดยมีธรรมเนียมที่น่าสนใจคือเม่ือแขกมา เยือนแล้วข้ึนบ้านเกิดทาบันไดหักเจ้าของบ้าน จะถือว่าผู้น้ันนาโชคลาภมาให้แล้วมอบเงินทอง

ใหแ้ ก่ผู้มาเยอื น แตก่ ลับกนั ถ้าผ้มู าเยือนลงบันไดบา้ นแลว้ ทาบันไดหักจะต้องเสียผี คือมอบเงินทอง ให้แก่เจ้าของ บ้าน ส่วนประเพณีท้องถิ่นที่สาคัญ อาทิ การกินข้าวห่อของชาวกะเหรี่ยง การแห่ ฉัตร พิธีแต่งงานย่องสาว การไหว้ต้นไม้ใหญ่เล่นสะบ้า ร้องเพลง ดนตรีกะเหร่ียง สาหรับกะเหร่ียงตาบลยางหักมีการอพยพมาจากเมืองทวายในพม่า ชาวกะเหร่ียงรุ่นเก่าที่ อยู่ ่ในตาบลสวนผึ้งเล่าต่อกันมา ว่าราว 200 ปี ผ่านมาถูกพม่ารุกราน จึงพากันอพยพข้าม เทือกเขาตะนาวศรีเข้าชายแดนไทยทางอาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี พร้อมตั้งบ้านเรือนอยู่ ทั้ง อาเภอไทรโยค และอาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จากน้ันได้แยกย้ายมาอยู่ท่ี จังหวัด ราชบุรีในพื้นท่ีตาบลยางหัก อาเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี จากนั้นจึงมีการโยกย้ายบางส่วนไปท่ี อาเภอสวนผึ้งและบา้ นคาตามลาดบั การท่อผา้ แบบกะเหรย่ี ง

อาคารพพิ ธิ ภณั ฑท์ ้องถ่ิน สรา้ งเมื่อ 24 กนั ยายน พ.ศ. 2559

การสร้างบา้ น แบบกะเหร่ยี ง

พธิ ยี กเสานกการเวก นายชยาวุธ จันทร ผู้วา่ ราชการจงั หวดั ราชบุรี เป็นประธานในการประกอบพิธียกเสานกการเวก ทชี่ าวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยงให้ความเคารพนับถือ บรเิ วณศนู ยว์ ัฒนธรรมไทย-กะเหร่ียง บ้านหินสี หมูท่ ่ี 4 ตาบลยางหัก อาเภอปากท่อ จังหวดั ราชบุรี ในวนั ที่ 4 พฤศจิกายน 2561 แหล่งอ้างอิงข้อมูล http://pr.prd.go.th/ratchaburi/ewt_news.php?nid=5801 http://www.sac.or.th/databases/museumdatabase/review_inside.php?id=1918 https://siamrath.co.th/n/51754

ศนู ยว์ ฒั นธรรมไทยทรงดาบา้ นหวั เขาจนี บ้านหัวเขาจีน อยู่ใน หมู่ท่ี 1 ตาบลห้วยยางโทน เขตอาเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ตรงเขต เชื่อมต่อกับจังหวัดเพชรบุรี โดยบ้านหัวเขาจีน เป็นนามเรียกขานถ่ินที่อยู่อาศัยของกลุ่มชนชาติ พันธ์ุหนึ่งเรียกว่า “ไทยทรงดา” ตามประวัติกล่าวว่า ชาวไทยทรงดา ได้อพยพย้ายถิ่นฐานมาจาก ดินแดนที่ห่างไกลและได้เข้ามาจับจองในขณะนั้น เป็นหมู่บ้านท่ียังคงรักษา และอนุรักษ์ ประเพณี วัฒนธรรมการประกอบอาชีพ และการดารงชีวิต แบบดั้งเดิมของชาวบ้านไทยทรงดาไว้ อย่างเหนียวแน่น จนได้รับการคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเท่ียว เชิงวัฒนธรรม ของจังหวัดราชบุรี คุณสามารถเดินทางท่องเที่ยวชมวิถีชีวิตและเลือกซื้อผ้าขาวม้าทอมือ ผ้าซ่ิน ลายแตงโม และผลิตภัณณ์อ่ืนๆ ได้ที่นี่ นอกจากน้ีห่างออกไปอีก 1 กม. จะเห็นภูเขาหัวเขาจีนอยู่ ดา้ นหลงั ซึ่งเปน็ ทตี่ ้ังของวดั ครี วี งก์ อยู่ในเขตรอยต่อจังหวัดเพชรบุรี และอีกด้านหน่ึงของเขาจะมี นกพิราบหลายพันตัวบินเขาออกจากรังในช่องเขาหัวเขาจีนเป็นภาพน่าแปลกท่ีมีนกรวมตัวกันได้ มากขนาดนี้

เรอื่ งเล่าขาน นามชอ่ื หมู่บ้าน “บ้านหัวเขาจีน” เล่าขานตานานต่อกันมาว่า เนื่องจากบ้านหัวเขาจีนในอดีตจะมีทะเลล้อมรอบ และไดม้ พี ่อค้าชาวจีนนาเรอื สาเภามาซอื้ ขายและแลกเปล่ยี นสินค้าบริเวณน้ี แต่ได้เกิดอุบัติเหตุเรือ สาเภาแตก หัวเรอื มาติดอยู่กับเขา จึงเรียกว่า หัวเขาจีน ต่อมาได้ใช้เป็นช่ือหมู่บ้านว่า“บ้านหัวเขา จนี ” มาจนถงึ ปจั จุบันน้ี วถิ ชี ีวติ ความเปน็ อยู่ บ้านหัวเขาจีน มีความเป็นอยู่แบบชนบทประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม มีความรัก ความ สามัคคี และเอ้ืออาทรต่อกัน โดยมีวัฒนธรรมและประเพณีที่งดงามเป็นศูนย์รวมจิตใจ ชาวบ้าน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธและมีความเชื่อเกี่ยวกับการนับถือผี โดยเฉพาะผีบรรพบุรุษ (ผีบ้านผี เรือน) จะมีการเซ่นไหว้กันในเดือนหก แปด สิบสองของทุกปี ซ่ึงชาวไทยทรงดา (ลาวโซ่ง) เรียกว่า เสนบ้าน เสนเรือน สมาชิกในครอบครัวจะได้รับการสอนให้รู้จักและนับถือผีบรรพบุรุษ ประจาตระกูลของตน ทุกครอบครัวสมัยอดีตกาหนดให้ ครอบครัวที่เป็นต้นผี (ผีต๊าว) โดยมีการ สืบทอดตามบรรพบรุ ุษ ถ้าผู้ท่ีไดร้ ับการสบื ทอดเสียชีวิตเรียกว่า ผีผู้ต๊าว เวลาเซ่นไหว้ต้องฆ่าควาย เซ่นไหว้เท่านั้น แต่ถ้าเป็นคนลาวโซ่งทั่วไป ถ้าเสียชีวิตเรียกว่า ผีผู้น้อย ฆ่าหมูเวลาเซ่นไหว้

ซ่ึงจะเป็นผู้สืบทอดประเพณี และการกระทาพิธีกรรมต่างๆ เพ่ือให้เกิดสิริมงคล โชคดีและมี ความสุขในครอบครวั ญาตพิ น่ี อ้ งที่อยู่ไกล หรอื ใกล้ จะต้องกลบั มาร่วมประกอบพธิ ี ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ชาวไทยทรงดามีพ้ืนฐานการทอผ้าที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษท่ีทอผ้าใช้ในครัวเรือน โดยมีผ้าซิ่น ลายแตงโม ท่ีเป็นเอกลักษณ์สาคัญของชนเผ่ามีการสืบทอดภูมิปัญญาสู่ชนรุ่นหลัง จึงเกิด พั ฒ น า ก า ร ก า ร ท อ ผ้ า ท่ี เ ห ม า ะ กั บ ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ ที่ ส น ใ จ การทอผ้าขาวม้า คือ จุดเริ่มต้นของการพัฒนาการทอผ้าในชุมชน เพื่อใช้ประโยชน์ในกิจกรรม ตา่ งๆ เชน่ ทาเปลเด็ก คาดเอว โพกหัว เสาฉัตรในพิธีต่างๆ ฯลฯ ดังน้ัน ชุมชนจึงเกิดความคิดเพ่ือ รวมกลมุ่ ในการทอผ้า เพื่อเป็นอาชีพเสริมรายได้ให้กับครอบครัว ผลิตภัณฑ์ผ้าขาวม้าทอมือได้รับ ความสนใจจากบุคคลภายนอกเนอื่ งจากมีสีสนั ทีส่ วยสดงดงาม สีไมต่ ก

การแต่งกาย สมัยก่อนลาวโซ่งมีการแต่งกาย โดยนาผ้าฝ้ายมาปั่นเป็นเส้นฝ้ายโดยนามาทอผ้าพ้ืนสีขาวนา สีธรรมชาติมาย้อม เช่น เปลือกไม้ต่างๆ (ต้นประดู่, ต้นคราม ลูกมะเกลือ) นามาย้อมเพ่ือให้เกิด สีสันบนผืนผ้า อดีตชาวไทยทางดา (ลาวโซ่ง) ส่วนใหญ่การแต่งกายด้วยเคร่ืองนุ่มห่มท่ีมีสีดาเป็น สว่ นใหญ่ ซงึ่ ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของชาวไทยทรงดาก็ว่าได้ ชาวไทยทรงดายังนับถือ ผีบรรพบุรุษ หรือผีประจาเรือนของตนเองอีกด้วยเชื่อว่า ผีเรือน คือผู้คุ้มครองปกป้อง ผู้คนและบ้านเรือน ให้อย่รู ่วมกันได้ และยงั มปี ระเพณีวัฒนธรรมทีเ่ ปน็ เอกลักษณ์ สนิ ค้าหนง่ึ ตาบล หน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ กลุ่มสตรีทอผ้าไทยทรงดา เกิดข้ึนจาการรวมกลุ่มของสตรีในหมู่บ้านท่ีมีความรู้และความสามารถ ในการทอผ้า ซง่ึ เป็นภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นของคนในชุมชน ซึ่งการรวมกลุ่มทอผ้าไทยทรงดาจัดตั้งข้ึน ตั้งแต่ปี 2542 โดยความรู้ ความสามารถของสตรีในหมู่บ้านในการพัฒนาการทอผ้าจากพ้ืนบ้าน เช่น ผ้าลายแตงโม ผ้าขาวม้า ผ้าเปียว เส้ือฮี เป็นผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือไทยทรงดาท่ีมีความ สวยงามและเป็นท่ียอมรับของคนทั่วไปซ่ึงการดาเนินกิจกรรม จากวิถีชีวิตของชาวบ้านหัวเขาจีน ได้น้อมนาปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช (รชั กาลที่ 9) มาปรับใช้ในชีวิตประจาวันอย่างเป็นรูปธรรมโดยเร่ิมจากความพอประมาณ คือ ทาบนพ้ืนฐานความรู้ความสามารถและเป็นการผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นแบบความ พอเพียง โดยเน้นการให้ความรู้ ความสามารถที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล คือ การรวมกลุ่มทอผ้าไทย ทรงดาเพือ่ เพม่ิ รายได้ใหก้ ับครอบครัวในการแก้ไขปญั หาดา้ นเศรษฐกจิ ได้เปน็ อย่างดี

แหล่งอา้ งอิงขอ้ มลู http://www.เที่ยวราชบรุ ี.com http://www.museumthailand.com/th/museum/Culture-Center-of-Black-Tai-at-Ban-Hua- Kao-Jin


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook