Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ร่าง คู่มือกองทัพบกกับการจัดการความรู้ ปรับปรุง 2564

ร่าง คู่มือกองทัพบกกับการจัดการความรู้ ปรับปรุง 2564

Published by edudop2563, 2021-02-01 08:36:29

Description: ร่าง คู่มือกองทัพบกกับการจัดการความรู้ ปรับปรุง 2564

Search

Read the Text Version

. กองทพั บก กบั การจดั การความรู้ ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๔

คำนำ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พุทธศักราช ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑ กำหนดให้ส่วนราชการมีหน้าท่ีพัฒนาความรูใ้ นส่วนราชการ เพ่ือใหม้ ลี กั ษณะเป็นองค์การแห่งการ เรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมา ประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏบิ ัติราชการไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง รวดเร็ว และเหมาะสมตอ่ สถานการณ์ รวมทัง้ ต้อง สง่ เสรมิ และ พฒั นาความรู้ ความสามารถ สรา้ งวสิ ัยทศั น์และปรบั เปลีย่ นทัศนคติของข้าราชการในสังกัให้เป็นกำลังพลที่มี ประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน ตลอดจนสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วมในหมู่ ข้าราชการให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อนำมาพัฒนาการปฏิบัติราชการร่วมกันอย่างมี ประสิทธิภาพ สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.) จึงได้กำหนดแนวทางให้หน่วยงาน ภาครัฐด าเนินการจัดการ ความรู้ โดยใหก้ ารจดั การความรู้เป็นส่วนหน่ึงของตวั ชีว้ ดั การประเมินผลการปฏบิ ัติ ราชการ ในมติ ิที่ ๔ มิติด้าน การพัฒนาองคก์ าร คู่มือการจัดการความรู้กองทัพบก ฉบับนี้ จัดทําขึ้นโดยกรมกำลังพลทหารบก โดยการรวบรวม วิเคราะห์และแลกเปลีย่ นเรียนรู้ของกองทพั บก กาํ หนดเป็นองคค์ วามรู้ ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ การจัดการความรู้ และให้แนวทางในขั้นตอนกระบวนการจัดการความรู้ ในหน่วยงานให้ชัดเจนและเป็น รูปธรรมมากขึ้น กรมกำลังพลทหารบก หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือ ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานใน กองทัพบก และผู้ทีเ่ กี่ยวข้อง เกี่ยวกับการจดั การความรู้และขั้นตอน กระบวนการจดั การความรู้ในกองทัพบก เพอื่ นําไปสู่สัมฤทธผิ ลในการดําเนนิ งานของหนว่ ยงานใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสูงสดุ

สารบญั เนือ้ เรื่อง หนา้ บทนำ ๑ - โครงร่างการเชอื่ มโยงนโยบายการบรหิ ารจัดการกองทพั บก ๒ - การจัดการความรู้เพื่อขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์ ๓ - กระบวนการบรหิ ารความรู้ ๔ - รา่ งรูปแบบการบริหารจัดการความรู้ของ ทบ. ๕ บทที่ ๑ ความรพู้ นื้ ฐานการจัดการความรู้ - ความหมายของการจัดการความรู้ ๕-๖ - ความสำคญั ของการจัดการความรู้ ๖-๗ - องค์ประกอบสำคัญของการจัดการความรู้ (Knowledge Process) ๗ - ๑๐ - กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ๑๐ - ๑๑ - กระบวนการบริหารการเปลีย่ นแปลง (Change Management) ๑๒ - ๑๓ - เครอื่ งมอื ในการจดั การความรู้ ๑๓ - ๑๘ บทท่ี ๒ การจัดการความรขู้ องกองทัพบก - แนวทางในการกำหนดขอบเขตและเปา้ หมายการจัดการความรู้ ๑๙ - ๒๑ - สรปุ ประเดน็ ปญั หาการจัดการความรูข้ องกองทพั บก ๒๑ - ๒๓ - แนวทางการแกไ้ ขปัญหาท่พี บจากการจดั การความรกู้ องทัพบก ๒๔ - แนวทางการดำเนนิ งานด้านการจัดการความรู้สู่การพัฒนาการปฏบิ ัตงิ านของกองทัพบก ๒๕ – ๓๑ บทท่ี ๓ การนเิ ทศและประเมนิ ผลการดำเนนิ งานดา้ นการจัดการความรู้ - ความหมายของการนเิ ทศงาน - วตั ถุประสงค์ของการนเิ ทศ - หลักการนเิ ทศ - กระบวนการนิเทศ - คณุ สมบตั ิผูน้ เิ ทศงานที่ดี - เกณฑ์การนเิ ทศและประเมนิ ผลดา้ นการจดั การความรขู้ องกองทัพบก ผนวก ก เอกสารที่เก่ยี วขอ้ งกบั การดำเนนิ งานการจัดการความร้ขู องกองทัพบก ๓๒ ผนวก ข แบบฟอร์ม และตวั อย่างการใช้เครอ่ื งมือ ๓๓ - ๔๓ เอกสารอ้างองิ ๔๔ - ๔๘

บทนำ การจัดการความรู้ หรือ Knowledge Management เป็นเรื่องท่ีเร่ิมดำเนินการมาระยะหน่ึงแล้ว ซึ่งเกิดขนึ้ จากการที่กองทัพบก ต้องสูญเสียความรู้ไปพร้อมๆ กับการที่กำลังพลลาออกหรือเกษียณ อายุราชการ อันส่งผล กระทบตอ่ การดำเนินการของกองทัพบกเป็นอย่างย่ิง จากแนวความคดิ ท่ีมงุ่ พัฒนากำลังพลใหม้ ีความรู้แต่เพียงอย่าง เดยี ว จึงเปลยี่ นไป และมคี ำถามตอ่ ไปว่าจะทำอย่างไรใหก้ องทพั บกได้เรียนรู้ดว้ ย ดงั น้ัน การบรหิ ารจัดการความรู้จึง สมั พนั ธ์กบั เรื่อง กองทัพบกแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) เป็นอย่างยง่ิ ดังนั้น ถ้ากองทัพบกจะพัฒนาตนเองให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ก็จำเป็นจะต้องบริหารจัดการความรู้ ภายในกองทัพบกให้เป็นระบบ เพื่อส่งเสริมให้กำลังพลเรียนรู้ได้จริงและต่อเนื่อง และหากไม่มีการสร้างบรรยากาศ แห่งการเรียนรใู้ หเ้ กดิ ขึ้นภายในหน่วยงาน กน็ ับเปน็ การลงทนุ ทีส่ ูญเปลา่ ไดเ้ ช่นกนั อยา่ งไรก็ตาม การบริหารจดั การความรู้ มคี วามซับซอ้ นมากกว่าการพฒั นากำลังพลดว้ ยการฝึกอบรม เพราะ เป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการต่อภายหลังจากท่ีกำลังพลมีความรู้ความชำนาญแล้ว กำลังพลเหล่านั้นยินดี ถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น และในขั้นตอนสุดท้าย นั่นก็คือ กองทัพบกจะต้องหาเทคนิคการจัดเก็บ ความรเู้ ฉพาะไวก้ ับกองทพั บกอยา่ งมรี ะบบเพือ่ ทจ่ี ะนำออกมาใช้ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ บรษิ ทั ยักษ์ใหญห่ ลายแห่งใน สหรัฐอเมริกายังคงแข่งขันกันหาวิธีบริหารจัดการความรู้ที่เหมาะสมกับตนเอง เพื่อให้อยู่ในโลกของการแข่งขันได้ สำหรับประเทศไทยนั้นคงเป็นเรื่องทา้ ทายสำหรบั ผูบ้ ริหารทีจ่ ะหายุทธวิธีในการดึงความรู้ออกมาจากตัวบุคคล และ การกระตุน้ ใหก้ ำลงั พลถ่ายทอดความรู้ให้เพื่อนรว่ มงาน ซึ่งการถ่ายทอดความรูบ้ างประเภทนั้น การฝึกอบรมอาจจะ ไมใ่ ช่วธิ ีทดี่ ที สี่ ุด อุปสรรคทม่ี กั พบอยู่เสมอของการบริหารจัดการความร้คู ือพฤตกิ รรม \"การหวงความร\"ู้ และวัฒนธรรม \"การไมย่ อมรับในตวั บคุ คล\" หากกองทพั บกสามารถกำจดั จุดอ่อนทง้ั สองอยา่ งนีไ้ ดก้ ารบรหิ ารจดั การความรกู้ ็มิใช่เรื่อง ยากจนเกนิ ไป สืบเนอื่ งจากการปฏิรปู ระบบราชการครง้ั สำคัญท่ีผา่ นมาเม่อื เดอื นตุลาคม 2545 ไดม้ กี ารวางกรอบแนว ทางการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ไว้อย่างชดั เจน ซึ่งรวมถงึ การประกาศใชพ้ ระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยหลักเกณฑแ์ ละวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมอื งทด่ี ี พ.ศ.2546 เป็นเรือ่ งของการกำหนดขอบเขต แบบแผน วิธปี ฏิบัติ โดยเฉพาะมาตรา 11 ได้ กำหนดเปน็ หลักการวา่ สว่ นราชการต้องมหี นา้ ทใี่ นการพัฒนาความรู้เพ่ือใหม้ ีลกั ษณะเปน็ องค์การแห่งการเรยี นรู้อย่าง สมำ่ เสมอ พร้อมท้งั สรา้ งความมีสว่ นรว่ มในหมรู่ าชการใหเ้ กิดการแลกเปลย่ี นความรูซ้ ง่ึ กันและกนั

โครงร่างการเช่อื มโยงนโยบายการบรหิ ารจัดการกองทพั บก





บทท่ี ๑ ความรู้พื้นฐานการจดั การ

ความหมายของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ หรือ KM : Knowledge Management คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ใน กองทัพบก ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกกำลังพลใน กองทัพบกสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ที่เข้าใจ และสามารถนำไปปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้กองทัพบกมีศักยภาพในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดขั้นตอน ลดเวลาการปฏิบตั ิ และลดความผดิ พลาดได้ โดยท่ีความรู้มี 2 ประเภท คือ 1) ความรู้ที่ฝังอยู่ในกำลังพล (Tacit Knowledge) : ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรอื สัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็น คำพูดหรอื ลายลักษณอ์ ักษรดโ้ ดยง่าย 2) ความรทู้ ช่ี ัดแจง้ (Explicit Knowledge) : ความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้โดยผ่านวธิ ตี า่ ง ๆ

ตารางแสดงตวั อยา่ ง ความรู้ท่ีชัดแจ้ง และความรทู้ ี่ฝงั ลึกในตวั บคุ คล ความร้ทู ช่ี ดั แจ้ง ✓ เอกสาร (Document) (Explicit Knowledge) ✓ กฎ ระเบยี บ (Rule) ✓ วิธีปฏบิ ัติ (Practice) ความรู้ทีฝ่ งั ลกึ ในตวั บุคคล ✓ ระบบ (System) (Tacit Knowledge) ✓ ทกั ษะ (Skill) ✓ ประสบการณ์ (Experience) ✓ ความคดิ ( Mind of individual) ✓ พรสวรรค์ (Talent) ความสำคัญของการจดั การความรู้ บรรลเุ ปา้ หมายของงาน บรรลุเป้าหมายการพฒั นาคน และบรรลุเปา้ หมายในการพฒั นาองคก์ รไปสอู่ งค์กรแห่งการเรียนรู้ การจดั การความรทู้ ถ่ี ูกต้องจะต้องเร่ิมที่งานหรือเปา้ หมายของงาน เปา้ หมายของงานทสี่ ำคัญ คอื การ บรรลุผลสมั ฤทธ์ใิ นการดำเนนิ การตามที่กำหนดไวแ้ บ่งออกเป็น 4 สว่ น คือ •ส • ผ ภฑ ผ ญ ถุ ส พ ส Responsivenes Innovation s ส ภพ ข สถ (Efficiency) (Competency) สส ผ พ ่ •ภ พ พฒ ข ุ ่ไ ุ ส ภ พส สรุปเป้าหมายของการจัดการความรู้ การที่กลุ่มกำลังพลที่ดำเนินการจัดการความรู้ร่วมกัน มีชุด ความรู้ของตนเอง ที่ร่วมกันสร้างเอง สำหรับใช้งานของตน กำลังพลเหล่านี้จะสร้างความรู้ขึ้นใช้เองอยู่ ตลอดเวลา โดยที่การสร้างน้นั เป็นการสรา้ งเพยี งบางสว่ น เป็นการสรา้ งผ่านการทดลองเอาความรู้จากภายนอก มาปรับปรุงใหเ้ หมาะตอ่ สภาพของตน และทดลองใชง้ าน การจดั การความรไู้ ม่ใช่กจิ กรรมที่ดำเนินการเฉพาะหรอื เก่ียวกับเรื่องความรู้ แตเ่ ป็นกจิ กรรมที่แทรก/ แฝง หรอื ในภาษาวชิ าการเรียกว่า บรู ณาการอยกู่ ับทุกกิจกรรมของการทำงาน และทสี่ ำคัญการจดั การความรู้ ตอ้ งการการจัดการดว้ ยการตั้งเป้าหมายเพือ่ พฒั นา ๓ ประเดน็ คอื

✓ งานพัฒนางาน ✓ กำลังพลพัฒนากำลังพล ✓ กำลังพลและหน่วยงานปฏิบตั ิงานอย่างมปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ แผนภาพแสดงความสมั พันธ์ระหวา่ ง กำลังพล หนว่ ยงาน การปฏบิ ัติงาน หนว่ ยงาน บรรลเุ ป้าหมาย กำลงั พล และ การปฎิบัตงิ าน หนว่ ยงานปฏิบัติงาน มปี ระสทิ ธิภาพ อย่างมปี ระสิทธิภาพ กำลงั พล ประสทิ ธิผล (บรรลเุ ป้าหมาย) มากข้ึน คิดเป็น ปฏบิ ัตไิ ด้ การจัดการความรทู้ ด่ี ี ประกอบดว้ ย ✓ การจดั การความรู้เปน็ เครอ่ื งมอื เพือ่ บรรลุความสำเรจ็ และความมัน่ คงในระยะยาว ✓ การจัดทีมริเริม่ ดำเนินการ ✓ การฝึกอบรมโดยการปฏบิ ัติจริงและดำเนนิ การต่อเนอื่ ง ✓ การจัดการระบบการจัดการความรู้ องคป์ ระกอบสำคัญของการจัดการความรู้ (Knowledge Process) 1.“คน หรือ กำลังพล” เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดเพราะเป็นแหล่ง ความรู้ และเป็นผู้นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์บุคคลสำคัญที่ดำเนินการ จัดการความรู้ของกองทัพบก เพื่อให้ดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่นและ ต่อเน่ือง ดงั นี้

➢ ประธานคณะขับเคลอื่ นการจัดการความรู้ ทบ. (Chief Knowledge Officer :CKO = คุณเอือ้ ) คือ ผู้บริหารที่ทำให้เกิดผลงานการจดั การความรู้ ซึ่งไดแ้ ก่ “จก.กพ.ทบ.” ผบู้ ริหารควรเป็นผู้รเิ ริ่มกิจกรรมจัดการ ความรู้ โดยกำหนดตวั บุคคลท่ีจะทำหน้าท่ี ในการบรหิ ารและกำกบั ดแู ลกจิ กรรมของการจดั การความรู้ ➢ เลขานุการ (Knowledge Facilitator = คุณอำนวย) คอื ผอู้ ำนวยความสะดวกในการจัดการ ความรู้ โดยเชอื่ มโยงระหวา่ งผู้ปฏิบัตกิ ับผู้บริหาร รวมถึงเชอื่ มโยงระหวา่ งภายในหนว่ ยงานและภายนอกหน่วยงาน ➢ กำลงั พลทุกนายของ ทบ. (Knowledge Practitioner = คณุ กิจ) คือ ผปู้ ฏิบตั งิ านตัวจรงิ ของการ จดั การความรู้ ➢ กำลงั พลทุกนายของหนว่ ยงาน (คุณลขิ ิต) คือ ผูท้ ำหนา้ ทบี่ ันทกึ ความรู้ในระหวา่ งการประชมุ กลมุ่ โดย จับประเด็นและบันทกึ ความรู้ (ปรับมาใชใ้ นการจดบันทึกประชมุ ประจำวัน / หรอื การประชมุ ปรึกษาปญั หาในการ ทำงาน แล้วสรา้ งแนวทางการแกไ้ ขไปพร้อมกนั เลยกไ็ ด้ ➢ ผปู้ ระสานงานการจัดการความรู้ (Network Manager = คณุ ประสาน ) คือ ผู้ท่ีคอยประสานเชอ่ื มโยง เครือข่ายการจัดการความรู้ระหว่างส่วนงานภายใน นขต.ทบ. ในทนี่ ี้ ผูป้ ระสานงานการจัดการความรขู้ อง ทบ. และ นขต.ทบ. มีบทบาท ดงั นี้ - เป็นผ้จู ดั ทำรา่ งแผนการจัดการความรูข้ องหน่วย เพ่ือใหอ้ นมุ ัตใิ นคณะทำงานฯ และ ผบู้ ังคับหนว่ ยลงนาม ออกคำส่งั อย่างเปน็ รปู ธรรม - ประสานงานทง้ั หนว่ ยเหนือ หน่วยรอง และกำลงั พลภายในหนว่ ย เพ่อื ให้เกิดความเข้าใจในแนวทาง แผนการปฏบิ ตั ิ และเคร่อื งมือดา้ นการจัดการความรู้ที่เหมาะสมในการนำมาประยุกต์ใช้ประกอบการปฏิบัติงานที่ ผา่ นกระบวนการการจดั การความรู้ ตามแผนงานทีไ่ ดก้ ำหนดไว้ - ถา่ ยทอดเจตนารมณ์ให้กำลงั พลในหน่วย และผู้บังคบั บญั ชาทราบและเข้าใจร่วมกนั ➢ เจา้ หนา้ ที่สารสนเทศหนว่ ยงาน (คณุ วิศาสตร)์ คอื เจ้าหนา้ ท่ีทเ่ี ข้ามาช่วยเปน็ ทีมงานการจดั การความรู้ ๒.“เทคโนโลยี” เป็นเครื่องมือเพื่อให้กำลังพลสามารถค้นหา จัดเก็บ แลกเปลีย่ น รวมทง้ั นำความรู้ไปใชอ้ ยา่ งงา่ ย และรวดเร็วขึ้น เบื้องตน้ กองทัพบก ได้ดำเนินการจัดทำเว็บไซต์การจัดการความรูกองทัพบก https://km- army.rta.mi.th เพื่อนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการจัดทำระบบจัดเก็บ และ เผยแพร่ความรู้ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม เกิดความสะดวกรวดเร็วในการเข้าถึง สืบค้นข้อมูลได้ง่าย และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการ ปฏิบัติงานของกองทัพบก ที่มุ่งส่งเสริมให้นำเทคโนโลยี มาใช้สนับสนุนการ ปฏิบัติงาน 26 รวมถึงคัดสรรกำลังพลท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริงในการ ดูแล และพัฒนาระบบเพื่อให้สามารถใช้อย่างได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อการ เรียนรู้ และพฒั นาตอ่ ยอดความรูข้ องกำลังพล โดยไดก้ ำหนดแนวทางปฏิบัติสำหรับรกั ษาความปลอดภยั และควบคุม ความเสี่ยงของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Risk Management) และความเสี่ยงด้านภัย คุกคามทางไซเบอร์ (Cybersecurity) อยา่ งชัดเจน

3 . กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นการ บริหารจัดการ เพื่อนำความรู้จากแหล่งความรู้ไปให้ผู้ใช้ เพื่อทำให้เกิดการ ปรบั ปรุง และนวตั กรรม กระบวนการจดั การความรู้ (Knowledge Management) ขั้นที่ ๑ การกำหนดความรู้ (Knowledge Identification)พิจารณาวา่ กองทัพบกมวี ิสัยทศั น์ พันธ กิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคอื อะไร เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมาย ต้องใชอ้ ะไร ปจั จบุ นั มคี วามรู้อะไร อยใู่ นรูปแบบใด และ อยูท่ ใ่ี คร ขัน้ ที่ ๒ การสรา้ งและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition): สร้าง แสวงหา รวบรวมความรทู้ ง้ั ภายใน/ภายนอก รกั ษาความร้เู ดิม แยกความรทู้ ี่ใช้ไมไ่ ดแ้ ล้วออกไป ขั้นที่ ๓ การจัดความรู้ใหเ้ ป็นระบบ (Knowledge Organization) : กำหนดโครงสร้างความรู้ แบ่ง ชนดิ ประเภท ใหส้ ืบค้น เรยี กคนื และใช้งานได้ง่าย ขั้นที่ ๔ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) : รปู แบบเอกสารใหเ้ ป็นมาตรฐาน รปู แบบเดยี วกนั ครบถ้วน สมบูรณ์ ขั้นที่ ๕ การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) : การทำใหผ้ ู้ใช้เข้าถงึ ความรู้ท่ีต้องการได้ง่ายและ สะดวก เช่น เทคโนโลยสี ารสนเทศ Web board บอรด์ ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ขั้นที่ ๖ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) : การแบ่งปัน สามารถทำได้หลาย วิธีการ โดยกรณีที่เป็นความรูช้ ัดแจ้ง จัดทำในรูปแบบเอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีที่เป็น ความรฝู้ ังลึก จัดทำเปน็ ระบบทีมขา้ มสายงาน กจิ กรรมกลมุ่ คุณภาพและนวัตกรรม ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ ระบบพ่ี เลี้ยง การสับเปล่ยี นงาน การยืมตวั เวทีแลกเปล่ียนความรู้ เปน็ ตน้ ขั้นที่ ๗ การเรียนรู้ (Learning) : การนำความรู้มาใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ แก้ปัญหา และทำให้ เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น เกิดระบบการเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้ การนำความรู้ในไปใช้ เกิดการเรียนรู้ และ ประสบการณใ์ หม่ และหมุนเวียนตอ่ ไปอย่างตอ่ เน่อื ง

แผนภาพแสดงกระบวนการการจัดการความรู้ และความสัมพันธ์กับหลกั P-D-C-A 7. การเรยี นรู้ PDCA ACT ปรับปรุง/พั นา 1.กำหนดความรู้ ติดตามประเมินผล CHECK -วิเคราะหกระบวนการทำงานจากวสิ ยั ทัศน/ พนั ธกิจ/ประเดนยทุ ธศาสตร/ความเสยี่ ง DO นำ ปใช้ 2. สร้างและแสวงหาความรู้ - ภายในน่วย/ ภายนอกหน่วย จาก FK, TK - แนวทางการปฏิบัติ /ค่มู อื ปฏิบตั ิ 6. การแลกเปลี่ยน 3. จัดความร่ใู ห้เปนระบบ (แลกเปลยี่ นกบั หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง) (หมวดหมู่, หวั ข้อ, ลาดบั ) 5. การเขา้ ถึง Plan (กำหนดชอ่ งทางการนำความรู้ ปใช้งาน สะดวก) 4. ประมวลและกล่ันกรอง (ความถกู ตอ้ งดา้ นภาษา เนื้อหา) จากกระบวนการจัดการความรู้ 7 ขัน้ ที่กลา่ วมาแล้วนนั้ ถ้ากำลังพลในหน่วยงานมีทศั นคตทิ ีด่ ี กส็ ่งผล ให้เกดิ กระบวนการจัดการความรู้ ซึง่ สิง่ ทจ่ี ะสร้างให้เกดิ ทศั นคติท่ดี นี ัน้ คือ “แรงจูงใจ” แรงจูงใจแท้ในการริเริ่มดำเนินการจัดการ ความรู้ เป็นเง่อื นไขสำคญั ในระดบั ที่เป็นหัวใจสู่ ความสำเร็จในการจัดการความรู้ สามารถแบ่งได้ ตามเป้าหมาย ประกอบด้วย - แรงจงู ใจในการทำงาน - แรงจงู ใจสำหรบั กำลังพล ได้แก่ การให้การ ยอมรบั การให้รางวัล - แรงจูงใจให้กบั หน่วยงานของกองทัพบก แรงจูงใจเทียม การดำเนินการจดั การความรู้ในสังคมไทยทพี่ บบอ่ ยท่สี ุด คอื ทำเพียงเพอื่ ใหไ้ ด้ทำ ทำเพราะถูกบังคับ ตามข้อกำหนด ทำตามแฟช่นั แต่ไม่เขา้ ใจความหมาย และวิธีการดำเนินการ จดั การความรู้อย่างแท้จรงิ

กระบวนการบริหารการเปล่ียนแปลง (Change Management) เป็นกรอบแนวคิดแบบหนึ่งเพื่อให้หน่วยงานที่ต้องการจัดการความรู้ภายในหน่วยงาน ได้มุ่งเน้นถึง ปัจจัยแวดล้อมภายในหน่วยงาน ที่จะมีผลกระทบต่อการจัดการความรู้ โดยนำเป้าหมายเป็นตัวตั้ง โดยมี องค์ประกอบ 6 องคป์ ระกอบ ดงั น้ี การเรยี นรู้ การวัดผล การยกยอ่ งชมเชย และการใหร้ างวัล (Learning) (Measurement) (Recognition and Reward) เปา้ หมาย (Desired State) กระบวนการ และเครื่องมอื การสอื่ สาร การเตรยี มการและการปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม (Process & Tools) (Communication) (Transition And Behavior) Robert Osterhoff 1. การเตรียมความพร้อมและการปรับเปล่ียนพฤติกรรม เพื่อแกไ้ ขปญั หาและอุปสรรคในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกำลังพลในหน่วยงาน คือ การเน้นให้ผู้บริหารเป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดการความรู้ การแก้ไขกฎระเบียบให้มีความยืดหยุ่นการสร้างบรรยากาศที่เปิดกว้างให้โอกาสกำลังพลแสดงความคิดเห็น และการส่งเสรมิ การสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ ๆ เช่น การประกาศนโยบายการจัดการความรูใ้ ห้กำลังพลทราบ เปน็ ต้น 2. การส่ือสาร เพอื่ ทำใหท้ ุกกำลงั พลในหน่วยงานให้ความร่วมมือในการจดั การความรู้ โดยการเนน้ ให้ เข้าใจถึงสิง่ ท่ีหน่วยงานจะทำ ประโยชนท์ จ่ี ะเกดิ ขน้ึ กบั ทุกกำลังพล และแต่ละนายจะมีส่วนร่วมได้อย่างไร ผ่าน ช่องทางการสื่อสารในรูปแบบต่าง เช่น จดหมายเวียน, กลุ่มไลน์, จดหมาอิเล็กทรอนิกส์ อินเทอร์เน็ต และ เวบ็ ไซต์ เปน็ ต้น 3. กระบวนการและเครอ่ื งมอื เพ่อื ทำใหเ้ กดิ การเช่ือมโยงขอ้ มลู ความรู้ของหนว่ ยงานและสามารถ เข้าถึง ค้นหา และแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่าย สะดวก รวดเร็วมากขึ้น โดยเน้นการพิจารณาความเหมาะสมกับ ชนดิ ของความรู้ ลกั ษณะขนาดสถานที่ตัง้ หน่วยงาน ลักษณะการทำงาน วฒั นธรรมหน่วยงาน และทรัพยากรที่ มีอยู่ เชน่ หากเป็นความรทู้ เ่ี ปน็ เอกสาร จับต้องได้ อาจใช้หนังสือเวยี น หรอื เทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็ เครอ่ื งมือ ในการเข้าถึงความรู้ แต่ถ้าหากเป็นความรู้ที่ต้องใช้ประสบการณ์ หรือใช้ประสาทสัมผัส อาจใช้การสอนงาน ระหว่างทำงาน หรือประสบการณ์โดยตรงเป็นเคร่ืองมือในการเข้าถึงความรู้ เป็นตน้

4. การฝึกอบรมและการเรียนรู้ เพ่ือสร้างความเข้าใจและตระหนกั ถงึ ความสำคญั และหลักการของ การจัดการความรู้ โดยคำนึงถึงความสอดคล้องเก่ียวกับการกำหนดเนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย วิธีการ และการ ประเมินผลและการปรับปรุงการฝึกอบรม / การเรียนรู้ ซึ่งตัวอย่างหลักสูตร ได้แก่ KM Implementation ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (COP) การปรบั เปล่ียนวฒั นธรรม การใช้ IT เปน็ ตน้ 5. การวดั ผล เพ่อื ให้ทราบวา่ การดำเนนิ การได้บรรลเุ ป้าหมายทตี่ ง้ั ไวห้ รือไม่ และนำผลของการวัดมา ปรับปรุงแผนและการดำเนินการให้ดีขึ้น ตลอดจนนำผลการวัดมาใช้ในการสื่อสารกับกำลังพลในทุกระดับให้ เห็นประโยชนข์ องการจัดการความรู้ 6. การยกยอ่ งชมเชยและใหร้ างวลั เพ่ือสรา้ งแรงจูงใจให้เกดิ การปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมและการมีสว่ น ร่วมของกำลังพลทุกระดับ โดยพิจารณาถึงความสอดคล้องด้านความต้องการของกำลังพล แรงจูงใจระยะส้นั และระยะยาว การบรู ณาการกบั ระบบท่มี ีอยู่ การปรบั เปลย่ี นใหเ้ ข้ากบั กิจกรรมท่ีทำในแตล่ ะชว่ งเวลา เครอ่ื งมอื ในการจดั การความรู้ (Knowledge Management Tool) การจัดการความรู้ประกอบด้วย กระบวนการหลัก ๆ ได้แก่ การค้นหาความรู้ การสร้างและแสวงหา ความรู้ใหม่ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ สุดท้ายคือ การเรียนรู้ และเพื่อให้มีการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกองทัพบก เครื่องมื อ หลากหลายประเภทถูกสร้างขึ้นมาเพื่อนำไปใชใ้ นการถ่ายทอดแล.ะแลกเปลีย่ นความรู้ ซง่ึ อาจแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ใหญ่ ๆ คอื 1.เครื่องมือท่ีช่วยในการ “เข้าถึง” ความรู้ ซึ่งเหมาะสำหรับความรู้ที่เป็นรูปธรรม เป็นลายลักษณ์ อักษรและสามารถจดั ตอ้ งไดม้ ักเปน็ แบบทางเดียว 2.เครือ่ งมือทีช่ ่วยในการ “ถ่ายทอด” ความรู้ ซงึ่ เหมาะสำหรบั ความรู้นามธรรม จำเปน็ ตอ้ งอาศยั การ ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลเป็นหลกั เครื่องมือที่มีผู้นิยมใช้กันมาก นั่นก็คือ “ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (CoP = Community of Practice)” คอื ชุมชนท่ีมกี ารรวมตวั กนั หรอื เช่ือมโยงกนั อย่างไม่เป็นทางการ โดยมลี กั ษณะดงั น้ี - มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ตอ้ งการแลกเปลีย่ นประสบการณ์จากกันและกนั - มีเป้าหมายร่วมกนั มีความมุ่งมั่นร่วมกัน ที่จะพฒั นาวธิ ีการทำงานได้ดขี ึ้น - วิธีปฏบิ ตั ิคล้ายกนั ใช้เคร่อื งมอื และภาษาเดยี วกนั - มคี วามเช่ือและยดึ ถอื คุณคา่ เดียวกนั - มีบทบาทในการสร้าง และใชค้ วามรู้ - มีการแลกเปลยี่ นเรยี นร้จู ากกันและกัน อาจจะพบกนั ด้วยตวั จริง หรอื ผ่านเทคโนโลยี - มชี ่องทางเพ่ือการสง่ ตอ่ ของความรู้ ทำใหค้ วามร้เู ขา้ ไปถงึ ผู้ท่ตี อ้ งการใช้ไดง้ ่าย - มีความรว่ มมอื ช่วยเหลือ เพือ่ พัฒนาและเรียนร้จู ากสมาชิกดว้ ยกันเอง - มปี ฏสิ ัมพันธต์ อ่ เนอื่ ง

เครอ่ื งมอื การจัดการความรู้ของกองทพั บก คณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการความรู้ ได้กำหนดให้ นขต.ทบ.นำเครื่องมือการจัดการความรู้มาใช้ ประกอบกระบวนการการจดั การความรู้ ดงั นี้ ลำดับ เคร่ืองมือการจัดการความรู้ (KM Tool) แหลง่ สืบคน้ แบบฟอร์มและตวั อย่างเอกสาร ๑. แผนทคี่ วามรู้ (Knowledge Mapping) ผนวก ข แบบฟอรม์ ที่ ๑ ๒. ตารางการปรบั ปรุงองค์ความรู้ และคู่มือปฏิบตั ิงาน นขต.ทบ. ผนวก ข แบบฟอรม์ ท่ี ๒ ๓. การเขียนบทเรียนรายภารกิจ หรือประเด็นความรู้แบบเจาะจง ผนวก ข แบบฟอรม์ ท่ี ๓ (One Point Lesson: OPL) ๔. คู่มอื ปฏบิ ัตงิ าน (Work Manual) (ผนวก ก แบบฟอรม์ ๔) ผนวก ข แบบฟอร์มที่ ๔ ๕. โครงการพัฒนางานอย่างตอ่ เนื่อง (CQI) ผนวก ข แบบฟอรม์ ท่ี ๕ ๖. รายงานผลการดำเนินงานการจัดการความรู้ ๔ กลยุทธ์ ตามแผน ผนวก ข แบบฟอรม์ ท่ี ๖ แม่บทการจดั การความรู้ ทบ. ๒๕๖๐ -๒๕๖๔ รปู แบบเครื่องมือการจดั การความร้ขู องกองทัพบก ๑. การเขยี นแผนทีค่ วามรู้ (Knowledge Mapping) เป็นวธิ กี ารอยา่ งหนง่ึ ในการจดั ระบบของความรู้ ทมี่ ีอยู่กระจัดกระจายในหน่วยงาน ช่วยให้กำลงั พลสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ ความรูข้ องหนว่ ยงาน ซง่ึ มักจะแสดงถึง ความรทู้ ่ีหนว่ ยงานมีอยู่ รวมทงั้ กำลังพลทมี่ ีความรนู้ ัน้ และการไหลของความร้นู ้ันในหนว่ ยงาน ท้งั นใี้ หพ้ ิจารณา วิเคราะหจ์ ากโครงการการจัดหน่วยของ นขต.ทบ. ในแตล่ ะระดับโดยแสดงในรูปแบบของแผนผงั การจดั หนว่ ย ตง้ั แตร่ ะดับ กรม กอง และแผนก เปน็ ต้น วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้หน่วยสามารถบรรลภารกจิ และเจตนารมณ์ด้าน การจดั การความรูข้ อง ทบ. ในการพฒั นากระบวนการทำงานได้ ๒. การจัดทำทำเนยี บความรู้ และคลงั ความรขู้ องหนว่ ยงาน จัดทำตารางการปรับปรุงองค์ ความรู้ และคมู่ อื ปฏบิ ัติงาน ของ นขต.ทบ. เป็นการสำรวจหัวขอ้ ความรขู้ องหนว่ ยที่จดั ทำข้ึนท้งั ในอดตี ปัจจบุ ัน และแผนในอนาคตที่ต้องการจัดทำ ทั้งในรูปแบบของคู่มือปฏิบัติงาน โครงการพัฒนางานอย่างต่อเนือ่ ง หรือ กจิ กรรมคุณภาพ (Continuous Quality Improvement : CQI) (ผนวก ก แบบฟอรม์ ๓) นขต.ทบ.ดำเนินการสรุปรายการคู่มือปฏิบัติงาน การปรับปรุง/พัฒนาคู่มือ และกระบวนงาน ในแต่ละปีท่ี ได้จดั ทำหรือปรับปรุง โดย สำรวจประวัติการจัดทำคมู่ ือปฏิบัติงานย้อนหลัง เพ่อื จดั ทำเป็นฐานข้อมูลประจำหน่วย เป็นประโยชน์ในการตรวจนิเทศภายในหน่วยต่อไป (แนวทางการจัดทำ โดยการสรุปรายการแยกเป็นปีงบประมาณ ละ ๑ ตาราง ขั้นต้นขอสำรวจย้อนหลัง ๕ ปี คือ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๘ ถึงปัจจุบัน) ทั้งนี้ให้หน่วยสำรวจข้อมูลให้เป็น ปจั จบุ ันอยเู่ สมอ ๓. การเขยี นบทเรยี นรายภารกจิ หรอื ประเดนความรูแ้ บบเจาะจง (One Point Lesson: OPL) เป็น การเขยี นประเด็นความร้แู บบเจาะจง เพยี งประเด็นเดยี วของความรูน้ ัน้ ๆ ซ่งึ เปน็ การปฏบิ ัติทีพ่ บวา่ มีความถ่ึใน การทำผิดพลาดบ่อยๆ หรือเป็นที่เสี่ยงของหน่วยงาน หรือจะอธิบายเป็นขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นการ

สื่อสารให้กำลังพลในหน่วยงานเขา้ ใจง่าย ภายในกระดาษหน้าเดียว หรือไม่เกิน ๒ หน้า ซึ่งส่วนใหญ่แสดงใน รูปแบบของแผนภาพ แผนผังการทำงาน (Flow Chart) ไม่เน้นรูปแบบ เน้นการสื่อสารที่เข้าใจง่าย โดยมี วัตถปุ ระสงค์ในการทำทชี่ ดั เจน คือ ทำอะไร วิธีใด เพอ่ื อะไร และผลลพั ธ์ทีไ่ ด้คืออะไร ตัวอยา่ งการเขียนบทเรียนรายภารกจิ (ผนวก ก แบบฟอร์ม ๓) - การตรวจสอบหลักฐานเตรียมเกษียณของกำลงั พล - ข้ันตอนการทำเรอื่ งเกษียณของกำลังพล ๔. คมู่ อื ปฏบิ ัติงาน (Work Manual) (ผนวก ก แบบฟอร์ม ๔) เป็นเอกสารทีใ่ ช้สำหรบั บอกแนวทางใน กระบวนการ มักจัดทำขึ้นสำหรับงานที่มีความซับซ้อน มีหลายขั้นตอน และเกี่ยวข้องกับหลายคน สามารถ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานไว้ใช้อ้างอิง ไม่ให้เกิดความ ผิดพลาดในการปฏบิ ตั ิงาน โดยมีข้ันตอนในการจดั ทำ ประกอบด้วย - กำหนดขอ้ กำหนดที่สำคัญของกระบวนการและตวั ชี้วดั ที่บง่ ชถ้ี งึ ความสำเร็จของการดำเนนิ การของ กระบวนการ - ศกึ ษารายละเอียดการปฏบิ ตั งิ านจากเอกสารเดิมของหนว่ ยงาน - สงั เกตการปฏบิ ตั ิงานจริงของกำลังพล /แนวทางการปฏิบัติหน้าท่ที ่ีเปลย่ี นแปลงไปจากเดิม - ศึกษาทฤษฎี แนวทาง เทคนิค และข้อเสนอแนะทจี่ ะนำมาใชใ้ นการพัฒนาปรับปรงุ กระบวนการ ปฏิบตั ิงานให้บรรลขุ ้อกำหนดที่สำคญั ของกระบวนงาน และแก้ไขปัญหา อปุ สรรค ความเสยี่ งตา่ งๆ ทีเ่ กดิ ขนึ้ - ออกแบบกระบวนการ และจัดทำ Work Flow - จัดทำรายละเอยี ดหรือคำอธบิ ายในแต่ละข้ันตอน - ตรวจสอบความสอดคลอ้ งด้านกฎ ระเบยี บ ขอ้ กฎหมาย - ขออนุมัติผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานเพื่อประกาศใช้อย่างเป็นทางการ และเผยแพร่ให้หน่วยที่ เกยี่ วขอ้ งนำไปใช้ - การติดตามและประเมินผลการปฏบิ ตั ติ ามคมู่ ือ - รวบรวมขอ้ เสนอแนะเพือ่ ปรับปรงุ คมู่ ือ สว่ นประกอบของค่มู อื ปฏิบัตงิ านตามท่ีกองทัพบกกำหนด ว้ ดังน้ี ๑. ปกและประวัตกิ ารแก้ไขเนอ้ื หา ๒. วตั ถุประสงค์ ๓. ขอบเขต ๔. คำจำกดั ความ ๕. หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบ ๖. ระเบยี บปฏบิ ัติ / ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน ๗. มาตรฐานคุณภาพงาน ๘. เอกสารอ้างอิง ๙. แบบฟอร์มที่ใช้ ๑๐.การควบคมุ เอกสาร

๕. โครงการพั นากระบวนงานอย่างต่อเนอ่ื ง (Continuous Quality Improvement : CQI) (ผนวก ข แบบฟอร์มท่ี ๕) โดยนำเครือ่ งมอื ในการสรา้ งความสัมพันธร์ หว่างปัญหากบั สาเหตุ ประกอบการ จัดทำ แผนผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) เรยี กเป็นทางการวา่ แผนผงั สาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) แผนผังสาเหตุและผลเป็นแผนผังที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา (Problem) กับสาเหตุ ทั้งหมดท่ีเปน็ ไปไดท้ ่ีอาจกอ่ ให้เกดิ ปญั หานน้ั (Possible Cause) โดยแผนผังน้ีมีลกั ษณะเหมือนก้างปลาที่เหลือ แต่ก้าง ความหมายของผงั ก้างปลา คอื \"เปน็ แผนผงั ท่ใี ช้แสดงความสัมพันธ์อยา่ งเปน็ ระบบระหวา่ งสาเหตุหลาย สาเหตทุ เ่ี ปน็ ไปไดท้ ส่ี ง่ ผลกระทบให้เกิดปญั หาหนึ่งปัญหา\" การกำหนดปจั จยั บนก้างปลา หลักการ 4M 1E เป็น กล่มุ ปัจจยั (Factors) เพอ่ื จะนำไปสกู่ ารแยกแยะสาเหตุตา่ ง ๆ ๑. Man กำลังพลทุกระดับของกองทัพบก ๒. Machine อปุ กรณอ์ ำนวยความสะดวกภายในหน่วยงาน ๓. Material วตั ถุดิบ หรือ อปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นกระบวนการ ๔. Method กระบวนการทำงาน ๕. Environment อากาศ สถานท่ี ความสวา่ ง และบรรยากาศการทำงาน การวิเคราะห์หาสาเหตุ ด้วยแผนผังก้างปลา (Cause & Effect Diagram) เป็นแผนผังที่แสดง สมมตฐิ านของความสัมพันธ์อยา่ งเป็นระบบระหวา่ งสาเหตุหลายๆ สาเหตุ ทส่ี ่งผลต่อปัญหาหนง่ึ ปญั หา กองทัพบก จึงควรสร้าง “ชุมชนแห่งการเรียนรู้ของกองทัพบก (RTA CoP)” ให้เกิดขึ้น เพื่อให้เกิด ความตอ่ เนือ่ ง ยง่ั ยืนในการพัฒนากระบวนการทำงานอยา่ งมแี บบแผน และมีตวั ชี้วัดในการปฏิบัติในแต่ละส่วน งาน ซึ่งประกอบด้วยวัตถปุ ระสงค์ใหญ่ ๆ ๓ ประการ คือ ๑. นำทฤษฎกี ารจัดการองค์ความรู้ (KM) มาสกู่ ารปฏบิ ัติใหเ้ กิดประโยชนก์ บั การปฏิบตั ิงานจริง ๒. เพ่ือกระต้นุ ให้เกิดการส่ือสารท่ัวกองทัพบกดา้ นการจัดการองค์ความรู้ ๓. เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ การใช้เครื่องมือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ของกองทัพบกในกระบวนการ การจัดการความรู้

แนวทางดำเนนิ การในการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ไดก้ ำหนดไว้เป็นแนวทางเบือ้ งตน้ ดังน้ี ➢ การประชาสมั พนั ธ์ภายในกองทพั บก และ นขต.ทบ. (ให้หนว่ ยตา่ งๆ สร้างชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ใน ส่วนของหน่วยตนเองใหเ้ กดิ อย่างเปน็ รูปธรรม) ➢ ทำหนังสือเวยี น เชญิ ชวน ขา้ ราชการ ลกู จ้าง ร่วมเป็นสมาชิกชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ ➢ เชิญสมาชกิ ประชุมปรึกษาหารอื รว่ มคดิ ร่วมทำกิจกรรมการแลกเปล่ยี นเรียนรูค้ วามรตู้ ามหัวข้อที่ อยใู่ นความสนใจของสมาชกิ ➢ ประสานงานเรื่องสถานท่ปี ระสานงานบคุ คลและงานธรุ การอ่ืน ➢ จัดใหม้ กี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ นบรรยากาศทไี่ มเ่ ป็นทางการ ➢ จัดทำสรุปการเสวนาของ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ของกองทัพบกเพื่อเผยแพร่ จัดกิจกรรม กระต้นุ ส่งเสรมิ เป็นระยะ ๆ ➢ ติดตามประเมนิ ผลการดำเนนิ การและรายงาน โดยผ้ปู ระสานงานการจดั การความรู้ ตอ้ งทำหนา้ ท่เี ป็นผปู้ ระสานงานให้กบั โครงการชุมชนแห่งการ เรียนรู้ดังกล่าว จะต้องมีความอดทนและใช้เวลารวมถึงการกระตุ้นส่งเสริมและให้กำลังใจจากผู้บังคับบัญชา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในระยะแรก ๆ กค็ งจะตอ้ งให้มีการดำเนนิ การในระยะเวลาหน่งึ แล้วติดตามประเมินผลเพ่ือ ทำการศึกษาผลทเ่ี กดิ ขึน้ ตอ่ ไป

บทท่ี ๒ การจัดการความรู้ของกองทัพบก กองทัพบก เร่มิ ดำเนนิ การจดั การความรู้อย่างเปน็ รูปธรรมตัง้ แต่ปี ๒๕๕๕ 8 ตามแนวทางในพระราชกฤษฎกี า ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบา้ นเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑ ที่กำหนดให้ “ส่วนราชการตอ้ งมี หน้าท่ใี นการพฒั นาความรู้ เพื่อให้มลี กั ษณะเปน็ องคก์ ารแหง่ การเรยี นรอู้ ย่างสม่ำเสมอ” 9 ดว้ ยการกำหนดไว้เป็นส่วน หนึ่งของนโยบายการปฏิบตั งิ านกองทัพบก นโยบายเฉพาะด้านกำลงั พล โดยมงุ่ เนน้ การพฒั นากำลังพลกองทพั บกให้มี ความรู้ ความเข้าใจ และความชำนาญในงานเพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้นำรูปแบบ กระบวนการจดั การความรู้ ๗ ข้นั ตอนของ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เป็นแนวทางในการ ดำเนนิ การ 10 โดยวัตถุประสงคข์ องการจัดการความรู้ในระยะเร่ิมแรก มงุ่ เนน้ การถอดบทเรียนเทคนคิ ความรทู้ ฝี่ งั ในตัว กำลังพลและในหน่วยงาน มาจัดทำเปน็ คูม่ ือการปฏิบตั งิ าน เพ่ือนำไปเผยแพร่ แบ่งปันให้กำลงั พล ใชป้ ระโยชน์ในการ ปฏิบัติงานให้ถูกต้อง เป็นมาตรฐานเดยี วกนั ต่อมาในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ เริ่มมีการเชื่อมโยงการจัดการความร้กู ับ การพัฒนาคุณภาพ เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการทำงานให้สูงข้ึน โดยมุ่งเน้นให้หนว่ ยทบทวนปัญหาและหาโอกาส ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ืองแล้วนำผลลัพธ์ที่ได้ เรียนรู้ แนวทางการปฏิบัติใหม่ที่ดี/ที่เป็นเลิศมาแบ่งปัน เผยแพรท่ างเว็บไซต์การจดั การความรูข้ องหนว่ ยและกองทัพบก เพ่อื ให้กำลงั พลนำไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป แนวทางในการกำหนดขอบเขตและเปา้ หมายการจดั การความรู้ Work Process ญ KM KM - - - - - ผ ขอบเขตการจดั การความรู้ (Knowledge Management Focus Areas) เป็นหวั เร่อื งกวา้ งๆ ของ ความรู้ทจ่ี ำเป็นและสอดคล้องกับกลยุทธข์ องหน่วยงาน ทจี่ ะนำมาดำเนินการจัดการความรู้ (KM)โดยจะส่งผล กระทบต่อผลลัพธ์ (Outcome) ของหน่วยงานทางด้านนวัตกรรม(Innovation), ปฏิบัติการ (Operational),

ลูกค้า (Customer) หรือด้านอื่นๆและจะนำมาใช้เป็นแนวทางในการกำหนดเป้าหมาย KM (Desired State) ต่อไป เป้าหมายการจัดการความรู้ (Desired State) เป็นหัวเรื่องของความรู้ที่จำเป็นและสอดคล้องกับ ขอบเขต KM (KM Focus Areas) ที่ได้เลือกมาจัดทำ และต้องสามารถวัดผลได้เป็นรูปธรรม ที่มีต่อผลงาน (Output) ของกำลังพลในหน่วยงาน หรืออาจจะมีผลต่อผลลัพธ์ (Outcome) ก็ได้ ถ้าเป้าหมาย KM และ ขอบเขต KM เป็นเรื่องเดียวกัน และจะนำมาใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) ต่อไป นขต.ทบ.สามารถใชแ้ นวทางการกาหนดขอบเขตและเปา้ หมาย KM เพือ่ จะชว่ ยรวบรวมขอบเขต KM และนา ปกาหนดเปา้ หมาย KM และแผนการจัดการความรู้ ดังนี้ แนวทางที่ ๑ เปน็ ความรทู้ ี่จําเปน็ สนบั สนนุ พันธกิจ/ วสิ ยั ทศั น์/ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ในระดับหนว่ ย แนวทางท่ี ๒ เป็น ความร้ทู ี่สําคัญต่อหนว่ ยงาน แนวทางท่ี ๓ เป็นปัญหาที่ประสบอยู่ และสามารถนําการจัดการความรู้ มาชว่ ยได้ หรอื แนวทางอื่น นอกเหนอื จากแนวทางที่ ๑,๒ และ๓ ทหี่ น่วยงานพิจารณาแล้วว่าควรนำมาปรับปรุงพัฒนาวา่ เหมาะสม โดยใช้ หลักการ PDCA เขา้ มาพิจารณาประยุกตก์ บั การจัดการความรู้ ดังนี้

การวิเคราะห์ปัญหา หรอื ความเสยี่ งของงาน ด้วย P-D-C-A เพื่อเปน็ หัวข้อในการจัดทำคมู่ อื สำหรับการควบคุมประเมนิ ผล กำหนดมาตรฐาน ปรบั ปรุงพฒั นา และสรุปผล สรุปประเดนปญั หาการจัดการความรขู้ องกองทพั บก ๑. ปญั หาด้านนโยบาย ๑.๑ การสานตอ่ นโยบายการจัดการความร้ไู มต่ ่อเนือ่ ง โดยในระยะเรม่ิ แรกการจดั การความรู้ ไดถ้ ูกกำหนดใน นโยบายการปฏิบตั งิ านกองทพั บก นโยบาย (เฉพาะ) ดา้ นกำลังพล ต้ังแตป่ งี บประมาณ ๒๕๕๖ ต่อมาในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ ไมไ่ ด้ถูกกำหนด จึงทำให้หน่วยไมค่ อ่ ยใหค้ วามสำคัญในการดำเนนิ การ ๑.๒ ด้านเปา้ หมาย ขาดแผนกลยุทธก์ ารจดั การความรสู้ ำหรับขบั เคลอื่ นการดำเนนิ การในระยะยาว และมุ่งเน้น เทคนิคของการจดั การความรู้ โดยขาดการเชอื่ มโยงบรบิ ทของการปฏบิ ัตงิ านจริงของหน่วยงาน และส่วนใหญ่เป็นการ ดำเนนิ การจัดการความรแู้ บบแยกส่วนและซ้ำซอ้ นกัน ๒. ปัญหาด้านกระบวนการ ๒.๑ หน่วยขาดการวิเคราะห์และจัดทำแผนท่ีความรู้ (Knowledge Mapping) ทีจ่ ำเปน็ ในการปฏบิ ัตงิ าน ซง่ึ เป็น ขั้นตอนแรกของการจดั การความรู้ ซึ่งเรียกวา่ ขนั้ ตอนการบ่งชค้ี วามรู้ จงึ ทำให้การจดั การความรู้ยงั ไม่ครอบคลุมงาน ตามภารกิจ หรือยุทธศาสตร์ของหน่วย รวมถึงพบว่าบางหน่วยจัดการความรู้ในเรื่องเดียวกัน เนื่องจาก ขาดการ แบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกองทัพบก จึงทำให้ไม่เกิดการพัฒนาต่อยอด ความรู้ ๒.๒ กระบวนการจัดการความร้ยู ังไมบ่ ูรณาการไปส่กู ารพัฒนาหนว่ ยงาน ๓. ปญั หาดา้ นกำลงั พล ๓.๑ ผูบ้ ริหาร และกำลังพลหลายหน่วย มีความตื่นตวั ในการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ และดำเนินการในระยะเรมิ่ แรก

เท่านั้น ต่อมาอาจมีการปรับย้ายกำลังพล หรือมีภารกิจ เร่งด่วน จึงทำให้การดำเนินงาน และการพัฒนาไม่มีความ ต่อเนอ่ื ง ๓.๒ กำลงั พลบางส่วนขาดความรู้ความเขา้ ใจในกระบวนการ และวิธกี ารใช้เครอ่ื งมอื การจัดการความรู้ ทำให้ไมม่ ี การดำเนนิ การจัดการความรู้ หรือดำเนินการไม่ต่อเนอื่ ง ๓.๓ ขาดกำลังพลทม่ี ีความรู้ ความสามารถในการบรหิ ารจดั การ พฒั นา และดูแลรักษาเว็บไซต์การจดั การความรู้ ทำให้ข้อมูลขาดความทนั สมยั ไมด่ งึ ดูดความสนใจ ๔. ปัญหาดา้ นเทคโนโลยี ๔.๑ ขาดอปุ กรณ์ท่ที นั สมยั ในการจัดทำระบบฐานข้อมลู คลังความรู้ สื่อความรู้ เชน่ คอมพิวเตอร์ ๔.๒ ความเสย่ี งตอ่ ภัยคกุ คามดา้ นไซเบอร์ โดยเวบ็ ไซต์การจดั การความรู้ หรอื คลังความร้ใู นปจั จบุ นั ยงั มีความ เสีย่ งจากภยั คุกคามไซเบอร์ทั้งดา้ นความปลอดภยั ระบบสารสนเทศ ความปลอดภยั ระบบเครอื ขา่ ย และความปลอดภัย ของข้อมูล ได้แก่ ความเสี่ยงต่อการถูกโจรกรรมข้อมูล หรือการรั่วไหลของข้อมูล ความเสี่ยงต่อการถูกเปลี่ยนแปลง ขอ้ มูล และความเส่ยี งต่อสภาพพร้อมใช้งานของระบบ ๕. ปญั หาความพร้อมทางด้านงบประมาณ เน่ืองจากข้อจำกดั ด้านงบประมาณของกองทพั บก ทำใหห้ นว่ ยไดร้ ับ การสนบั สนุนงบประมาณดำเนนิ กจิ กรรมการจัดการความรู้ ไมท่ ั่วถึงไมเ่ พยี งพอ รวมถึงกระบวนการใช้งบประมาณ ต้องใช้ตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง ต้องใช้เวลาในการดำเนินการมาก และมีความซับซ้อนในกระบวนการเบิกจ่าย งบประมาณ จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการความรู้ของกองทัพบกโดยใช้แนวคิดเรือ่ งองค์ประกอบสำคัญของ การจดั การความรู้และปัจจัยแหง่ ความสำเร็จ สรปุ ไดว้ ่า กองทัพบกกำลงั เผชิญปญั หาการจัดการความรูห้ ลายดา้ น ท้ัง ดา้ นนโยบาย ดา้ นกำลงั พลผปู้ ฏบิ ัติ ดา้ นกระบวนการดา้ นเทคโนโลยสี นบั สนุน และด้านงบประมาณ ซึ่งปญั หาดังกลา่ ว จำเป็นต้องเรง่ แกไ้ ข เพือ่ ใหเ้ กดิ ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ การจัดการความร้ทู ม่ี ปี ระสทิ ธิภาพภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้าน ความมั่นคง นำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนากำลังพล พัฒนางาน พัฒนาหน่วย และ กองทัพบก รวมทั้งพัฒนาประเทศชาติโดยรวม ทั้งนี้ การพัฒนาดังกลา่ วจำเป็นต้องศกึ ษาจากแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งต่างประเทศ และของไทย ดังตารางเปรียบเทียบแนวทางการปฏิบัตทิ ี่ดีใน การจัดการความรู้ของหนว่ ยงานภาครฐั ใน และตา่ งประเทศ

ตารางเปรียบเทยี บแนวทางการปฏิบตั ิที่ดีในการจดั การความรูข้ องหนว่ ยงานภาครัฐใน และต่างประเทศ หวั ข้อ กองทัพบกสหรัฐอเมริกา กองทัพอากาศ กองทัพเรือ กรมชลประทาน นโยบาย/ เปา้ หมายนำองคค์ วามรู้ไปใช้ แผน/ พฒั นากำลังพล รวมถงึ เพื่อสร้าง   กลยทุ ธ/์ เสริมประสทิ ธิภาพและ ขีด เปา้ หมาย ความสามารถต่างๆ การกำหนด แนวทาง    การปฏิบตั ิ กระบวนการ ประกอบด้วย 5 ข้ัน คือ การ KM 7 ขั้นตอนของ KM 7 ข้ันตอนของ KM 7 ขั้นตอน ประเมิน การออกแบบ การ สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ.ร. ของ สำนักงาน พฒั นา การนำร่อง การปฏิบตั ิ ก.พ.ร. บทบาท    ภาวะผนู้ ำ การพั นา    กำลังพล ช่องทางการ    ตดิ ต่อสือ่ สาร ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ    สนับสนุน ระบบการ    สรา้ งแรงจูงใจ อน่ื ๆ เชอื่ มโยง KM กับงานตามภารกิจ เชอื่ มโยง KM กับงาน ออกแบบและบูรณาการ - มรี ะบบติดตาม และงานยุทธศาสตร์ รวมถึงการ ตามภารกิจและงาน เข้าสูง่ านประจำ เน้นการ การดำเนินการ พฒั นาคณุ ภาพ ยทุ ธศาสตร์ / เชื่อมโยงกิจกรรมเพมิ่ ใช้เกณฑ์ KMA ประสิทธภิ าพการทำงาน จดั ทำแผนทค่ี วามรู้ ประสิทธิภาพการทำงาน - นำผลการสรุป บทเรียนตาม ภารกิจและ คำรับรองการ ปฏบิ ตั ิราชการ มากำหนดหัว ข้อความรู้

แนวทางการแก้ ขปญั หาท่พี บจากการจดั การความรู้กองทพั บก จากแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการจัดการความรู้ของหน่วยงานภาครัฐในประเทศ และต่างประเทศดังกล่าวข้างต้น พบวา่ ปจั จัยแหง่ ความสำเรจ็ และจุดเด่นท่ที ำให้หนว่ ยงานดงั กลา่ วประสบความสำเร็จในการจดั การความรู้ คือ ✓ การกำหนดนโยบายทชี่ ัดเจน ทำใหก้ ำลังพลในหนว่ ยงานเห็นทิศทาง และเปา้ หมายทห่ี นว่ ยงาน ต้องการในภาพเดยี วกนั ✓ การทผี่ ู้บริหารของหนว่ ยงานมคี วามเข้าใจ เหน็ ความสำคญั และใชบ้ ทบาทภาวะผนู้ ำสนบั สนุน และขบั เคลอื่ นการจัดการความรขู้ องหนว่ ย ✓ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื จดั เก็บ และให้เข้าถึงขอ้ มูลไดโ้ ดยงา่ ย ✓ การออกแบบ และบรู ณาการการจดั การความรเู้ ข้าสงู่ านประจำเพมิ่ ประสิทธิภาพการทำงาน ✓ การกำกับดแู ลประเมนิ ผลการดำเนินการ และให้รางวัลเพือ่ เปน็ สิ่งจงู ใจ กองทพั บก ตอ้ งพัฒนาในทกุ ดา้ น รวมถงึ ต้องมีความรทู้ ถี่ กู ต้อง ทนั สมยั สามารถนำมาใช้ในการบริหารงาน และพัฒนากำลังพลของกองทัพบกใหม้ ีผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และภัยคุกคามต่าง ๆ ตลอดจนขับเคล่อื น และนำพากองทัพบก รวมถึงประเทศไทยใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายตามวิสัยทศั น์ ภารกิจ และยทุ ธศาสตร์ ชาติดา้ นความมัน่ คง ดังนน้ั กองทัพบก จึงให้ความสำคญั กับการจดั การความรู้ เพ่อื นำองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตัวกำลังพล และหน่วยงานมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งแนวทางในการพัฒนาจดั การความรู้ของกองทัพบกใหเ้ กิดผลอย่างเปน็ รูปธรรม และยง่ั ยนื คือ ➢ กำหนดให้การจดั การความรู้เป็นหนงึ่ ในนโยบายการปฏิบตั งิ านประจำปขี องกองทัพบก เพื่อใหเ้ กดิ การ ดำเนินการอย่างต่อเนอื่ ง ➢ ปรับปรุงกลยทุ ธ์ แผนงาน โครงการ และรูปแบบกระบวนการจดั การความรู้ใหช้ ัดเจน และงา่ ยตอ่ การปฏิบัติ รวมทั้งควรบูรณาการการจัดการความรู้เข้ากับงานประจำ และงานตามยุทธศาสตร์ เพื่อให้เกิดการพัฒนา และ ยกระดบั ประสิทธิภาพของหน่วยงาน ➢ กำหนดแนวทางเพือ่ สร้างแรงจูงใจในการนำผลการจัดการความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ ห้ชดั เจนและเป็นรูปธรรม เพ่อื เสริมสรา้ งแรงจูงใจในการดำเนนิ การ และการพฒั นาต่อยอดความรู้ ➢ เสริมสรา้ ง และพัฒนาความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับการจดั การความรูแ้ ก่กำลังพลทกุ ระดับ ตลอดจนสอ่ื สารทำ ความเข้าใจกับผบู้ ริหารเพ่ือเปน็ พลงั ขับเคลอื่ นการจัดการความรใู้ นหน่วยงาน ➢ นำระบบเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดเก็บ เผยแพร่ และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ เพ่ือให้เกดิ การสร้างนวัตกรรม และ พฒั นาต่อยอดความรู้อย่างต่อเน่อื ง

แบบรา่ งรปู แบบการจดั การความรขู้ องกองทัพบก (RTA KM Model) ทบทวน/สรา้ งเปา้ หมาย เปน็ การวิเคราะห์เพอื่ ให้ทราบถงึ ความรทู้ ่ีหนว่ ยตอ้ งการ เพอื่ บรรลุภารกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ โดยหน่วยงานทุกระดับของกองทพั บกจะตอ้ งทบทวนผลการปฏบิ ัติงานเทียบกับ เป้าหมาย ตัวชีว้ ัดขีดความสามารถของกำลงั พล และความรูท้ ม่ี ีอยู่ หรือเปน็ อยู่ ณ ปจั จบุ นั เทยี บกบั มาตรฐานท่ีต้องมี หรอื ต้องเปน็ เพื่อประเมนิ หาช่องว่าง (Gap) ในการปรบั ปรุงพัฒนา และกำหนดขอบเขต เปา้ หมายการจัดการความรู้ ของหนว่ ย เพอ่ื ปดิ ช่องว่าง (Gap) น้นั สำรวจ และแสวงหาความรู้ เปน็ การคน้ หาองค์ความรู้ หรอื แนวทางการปฏบิ ัติท่ีด/ี ท่เี ป็นเลศิ ท่ีจะเพ่ือ นำมาใช้ปรับปรงุ พัฒนาเพ่อื ปิดชอ่ งวา่ ง (Gap) โดยหน่วยจะตอ้ งสำรวจหาว่าความรู้ แนวทางการปฏิบัติทีด่ ี/ท่ีเป็นเลิศ ที่กำหนดไว้มีอย่ใู นหนว่ ยงานแลว้ หรอื ยงั และมีอยู่ ณ ท่ไี หน หากไม่มใี นหน่วยงานจะสามารถหาไดจ้ ากที่ไหน ออกแบบการจดั การความรู้ เปน็ การออกแบบวิธกี ารจดั การความรู้ และจดั ทำแผนจัดการความรู้ โดย หน่วยงานนำวัตถุประสงค์ ขอบเขต และเป้าหมายที่ได้จากขั้นตอนการประเมินมาเป็นข้อมูลดำเนินการ สำหรับ เคร่อื งมือถอดความรอู้ าจพิจารณาใช้บทเรยี นหนง่ึ ประเด็น (One Point Lesson : OPL) มาเป็นเครือ่ งมือถอดความรู้ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานนำเทคนิค ความรู้ประสบการณ์ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) มาถ่ายทอดแบบเจาะประเด็น โดยการเขียนสรุปประมวลความรู้ เทคนคิ จนตกผนกึ ในหน้าเดียว เพ่ือให้สามารถเรยี นรู้ไดง้ ่าย สะดวก รวดเร็ว 24 โดย หัวข้อที่เขียนถ่ายทอดในบทเรียนหนึ่งประเด็น (One Point Lesson : OPL) ประกอบด้วย ชื่อเรื่องขององค์ความรู้ ประเภทของความรู้ รายละเอยี ดบทเรยี น หน่วยงาน และผจู้ ดบนั ทกึ ตามแผนภาพที่ 4 ถอด และพั นาความรู้ โดยหนว่ ยงานดำเนินการถอดความรู้ นำมาสรา้ ง ปรับปรงุ หรอื พฒั นา ตามขอบเขต เป้าหมาย และแผนการจัดการความรู้ที่กำหนด โดยใช้บทเรียนหนึ่งประเด็น (One Point Lesson : OPL) หรือ เครื่องมือที่หน่วยงานกำหนด พร้อมที่จะเข้ารับการตรวจสอบ และยืนยันความถูกต้องจากผู้บริหารจัดการความรู้

ผเู้ ชีย่ วชาญ หวั หนา้ งาน หวั หน้าเหลา่ /สายวิทยาการท่เี กยี่ วขอ้ ง เพือ่ ให้องคค์ วามรูท้ ไี่ ด้มีความถกู ตอ้ ง เชอ่ื ถือได้ และ เปน็ ปจั จุบัน นำความรู้ ปทดลองใช้ และประเมนิ ผล โดยหนว่ ยงานองคค์ วามรหู้ รือแนวทางการปฏิบัติใหม่ทสี่ รา้ ง หรอื ปรับปรงุ พฒั นาไปทดลองใช้ และทำการติดตามประเมินผล พรอ้ มทั้งนำเสนอผลการประเมินใหผ้ บู้ ังคบั บัญชา และผู้ที่ เกย่ี วขอ้ งพิจารณาให้การยอมรับ และอาจให้ขอ้ แนะนำอนื่ ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง เพื่อนำสู่กระบวนการตกลงใจนำสู่การปฏิบัติ (Implement) ของหนว่ ยท่เี ปน็ มาตรฐาน รวมถึงเตรยี มการอบรม และการฝกึ ให้กำลังพลในหนว่ ยงานต่อไป หรืออาจ นำไปขยายผลสู่หนว่ ยงานอื่น ๆ นำความร้สู ู่การปฏบิ ตั ิ เป็นการนำองค์ความรู้ หรือแนวทางการปฏิบัตใิ หมท่ ี่ผ่านการทดลองใช้แล้ว สู่การ ปฏบิ ัติจริง เพ่อื บรรลุภารกิจ เริม่ จากหน่วยจนกระทง่ั เปน็ หนว่ ยงานแห่งการเรยี นรู้ จดั เกบ และเผยแพร่องคค์ วามรู้ หน่วยงานดำเนนิ การรวบรวมบทเรียนหนง่ึ ประเด็น (One Point Lesson : OPL) เสนอคณะกรรมการการจดั การความรู้ของหนว่ ย ตรวจสอบ ความถกู ตอ้ ง คัดเลือก และขออนุมัติผู้บริหารนำ ขึ้นเผยแพร่บนเว็บไซต์การจัดการความรูข้ องหนว่ ย และกองทัพบก พร้อมทั้งคัดเลือกแนวทางการปฏบิ ัติทีด่ ี/ทีเ่ ปน็ เลศิ เพอื่ เสนอขอรบั รางวลั จากกองทัพบกตอ่ ไป

แนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้สู่การพั นาการปฏิบัตงิ านของกองทัพบก แแผผนนแแมมบ่ ่บทแทผกกนาารแรจมจัดบ่ ัดกทกาการารครควจวาดั ามกมรารู้ขขู้คออวงงาทมทบรบู้.ป.ปี ปร๒ะร๕จะ๖จำ๕ปำปี -๒๒ี ๒๕๕๖๖๐๗๐––๒๒๕๕๖๖๔๔ โครงการ กล ุยท ์ธ กลยทุ ธที่ ๑ กลยทุ ธท่ี ๒ กลยทุ ธที่ ๓ กลยทุ ธที่ ๔ พั นาศักยภาพกาลงั พล บรู ณาการกระบวนการจัดการความรู้ สรา้ งแรงจูงใจและดำรงความต่อเนอื่ ง ส่งเสริมการนำเทคโนโลยสี ารสนเทศ และระบบดจิ ิตอลมา ดา้ นการจดั การความรู้ เขา้ กบั งานประจำ ในการจดั การความรู้ ใช้สนบั สนุนการจัดการความรู้ และรองรบั Thailand 4.0 โครงการพั นากระบวนการ โครงการพั นากระบวนการ โครงการการจัดการความรกู้ ับการ โครงการพั นา ปฏิบตั ิงานขอกาลังพล ทำงานตามภารกิจหลกั ดว้ ยการ แบง่ ปันและแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ระบบสารสนเทศด้านการจัดการความรู้ ด้านการจดั การความรู้ จดั การความรู้ ผลลัพ ์ธ คณะทางานขบั เคล่อื นการจดั การ หนว่ ยนำร่อง เสนอผลงานหน่วยนำร่อง ระบบสารสนเทศ ความรู้ ของ ทบ. ✓ (ใช้งานจริง ปฏิบัตจิ ริง) ประกอบการพิจารณารางวัล เอ้อื ต่อการเผยแพร่ และสามารถส่งรายงาน /ไฟล์ Function / Job Description ✓ เลอื กหัวขอ้ เครื่องมือ (ระดับหน่วยงาน / บคุ คล) ประกอบการประเมินผลได้ครอบคลมุ ทุก นขต.ทบ. E-learning ✓ ตดิ ตาม/ประเมนิ ผล ✓ เผยแพร่ ค่มู อื การจดั การ ✓ (คณะกรรมการหน่วย) ผปู้ ระสานงาน การพัฒนาการปฏิบัติงานโดยใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงกระบวนการทำงาน ส่งเสริมการตรวจนิเทศติดตามและประเมินผลของ นขต.ทบ. เพื่อให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ที่เป็น รปู ธรรม และสามารถประเมินผลไดโ้ ดยนำหลักเกณฑ์ในการพฒั นาการปฏิบตั ิงานมาจากแผนแม่บทการจัดการ ความรู้ของ ทบ. ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ซ่งึ ประกอบด้วย ๒ ส่วน ดังนี้ ๑. แนวทางการดำเนินงานของคณะทำงานขับเคลื่อนการจดั การความรูข้ อง ทบ. ปี ๒๕๖๔ กิจกรรมที่ ๑ การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการความรู้ของทบ. โดยมี ผอ.สพบ.กพ.ทบ. เป็นประธาน รายไตรมาสเพื่อวางแผนวิเคราะห์ และจดั ทำร่างคมู่ ือการจัดการความรู้ผู้ประสานงานการจัดการ ความรู้ และร่างแผนแม่บทการจัดการความรู้ของ ทบ. ปี 2565 - 2569 รวมถึงกำกับดูแลการดำเนินงานการ จัดการความรู้และเป็นผู้นิเทศติดตาม และประเมินผลการจัดการความรู้ของทบ. และ นขต.ทบ. อย่างเป็น รปู ธรรมเพื่อให้เกดิ การขับเคล่อื นหนว่ ยอยา่ งย่ังยืน กิจกรรมที่ ๒ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนกระบวนการจัดการความรู้โดยมี เว็บไซต์การจัดการความรู้ของกองทัพบก https://km-army.rta.mi.th และส่งเสริมให้ นขต.ทบ. จัดทำฐานข้อมูลคลังความรู้ เพื่อเป็นช่องทางในการเผยแพร่องค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในหน่วยที่ปฏิบัติงาน ใกล้เคียงกนั นำไปปรับใช้ตอ่ ยอดในการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกดิ การสือ่ สารประชาสัมพันธ์วางแผนในการพัฒนา ระบบการจัดเกบ็ ข้อมลู และการรายงานผลผา่ นส่ืออเิ ล็กทรอนิกสใ์ นอนาคตตอ่ ไป

กิจกรรมที่ ๓ การส่งเสริมการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ในกลุ่มงานที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน โดยพิจารณาคัดเลือกหน่วยนำร่องในส่วนงานที่มีลักษณะงานเดียวกัน ๗ ส่วนงาน ประกอบด้วย ส่วนบัญชาการ, ส่วนกำลังรบ, ส่วนสนับสนุนการรบ, ส่วนส่งกำลังบำรุง, ส่วนภูมิภาค, ส่วนฝึกศึกษา และหลักนิยม และส่วนพัฒนาประเทศ เพื่อให้เกิดหน่วยต้นแบบได้ (ในปี 2564 ดำเนินการคัดเลือกหน่วย โดยคณะทำงานฯ ปีต่อไปให้ นขต.ทบ. พจิ ารณาคดั เลอื กขนึ้ มาเอง) กจิ กรรมท่ี ๔ การประชุมนเิ ทศตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการความรู้ของ ทบ. (ในปี 2564 จัดทำ แนวทางการตรวจประเมนิ การจัดการความรเู้ พอื่ พิจารณาหน่วยงาน และผู้ประสานงานการจดั การความรู้ดีเด่น เพอื่ รับรางวัลจากผู้บังคับบัญชาในชว่ งการจดั งานมหกรรมการจดั การความรู้ในหว้ งเดอื น ส.ค. ของทกุ ปี) ๒. แนวทางการดำเนนิ งานด้านการจัดการความรู้ของ นขต.ทบ. เพ่อื ใหเ้ ปน็ ปตามแผนแม่บทการ จดั การความรู้ ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ดังน้ี กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาศักยภาพกำลังพลด้านการจัดการความรู้ โดยการจัดทำแผนงานการพัฒนา ศกั ยภาพกำลงั พลด้านการจัดการความรู้ ประกอบด้วย - การพัฒนาทักษะกำลังพลใหม่ให้มคี วามรู้ความเข้าใจ และมีทัศนคติทีด่ ีต่อการจัดการความรู้ ได้แก่ การสมั มนา การอบรมใหค้ วามรู้เกย่ี วกบั การจัดการความรู้ภายในหน่วยงาน - การพฒั นาศกั ยภาพผู้ประสานงานการจัดการความรู้ของ นขต.ทบ. ใหเ้ ปน็ วทิ ยากรในการให้ความรู้ สนบั สนนุ กิจกรรมท่ี ๑ และเป็นแกนหลักในการดำเนินการดา้ นการจัดการความรขู้ องหน่วย (การเขา้ ร่วมอบรม สมั มนา) กลยุทธท์ ่ี ๒ บรู ณาการกระบวนการการจัดความร้เู ขา้ กบั งานประจำ ประกอบด้วย - การจัดทำแผนงานการบูรณาการกระบวนการจัดการความรู้เข้ากับงานประจำ ประกอบด้วย การวเิ คราะหภ์ ารกิจหลัก ภารกจิ รองของหน่วย เพือ่ นำมาพจิ ารณาคัดเลอื กองค์ความรู้ที่สำคัญภายใต้รากฐาน ของการควบคุมภายในเพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหา และใช้วิธีการบริหารความเสี่ยงมาคิดพัฒนากระบวนการ ทำงานอยา่ งนอ้ ยหนว่ ยละ ๑ เรอ่ื ง โดยคัดเลอื กองค์ความร้ทู จี่ ำเปน็ - การนำสมรรถนะของหนว่ ยมาจดั ทำเป็นแผนผงั ความรู้ (KMAP) ตามโครงสร้างการจดั ของหน่วยงาน โดยจัดทำรายละเอยี ดถงึ ภาระงานในแต่ละหน้าทีข่ องกำลงั พลในหน่วยงาน และบทเรียนเฉพาะภารกิจ (One Point Lesson : OPL) เพื่อให้สามารถจำแนกองค์ความรู้ได้อย่างครบถ้วน ประกอบด้วย ความรู้ที่จำเป็น สนับสนุนพันธกิจ/วสิ ัยทัศน์, ประเด็นยุทธศาสตร์ในหน่วย, ความรู้ที่สำคัญต่อองค์กร, สามารถนำการจัดการ ความรู้มาช่วยในการจัดระบบขั้นตอนการปฏิบัติได้ และแนวทางอื่นที่หน่วยงานเห็นว่าเหมาะสม สามารถ นำมาใชแ้ กป้ ัญหา และพัฒนาการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยได้อยา่ งชัดเจน - การสร้างเครือข่ายการจัดการความรู้โดยแบ่งตามการจัดส่วนราชการที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกัน นขต.ทบ. ดำเนนิ การจัดกลุ่มงานในสว่ นท่ีรับผิดชอบแยกส่วนงานทเ่ี กี่ยวข้อง แล้วพิจารณาคัดเลือกองค์ความรู้

ที่จะนำมาเป็นหัวข้อในการพัฒนากระบวนการการปฏิบัติงาน ให้เกิดเป็นมาตรฐานในแต่ละส่วนงานที่ รับผิดชอบ (โดยการจัดเป็นชุมชนการจัดการความรู้ ของงานด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย ส่วนบัญชาการ, ส่วน กำลังรบ, สว่ นสนับสนนุ การรบ, ส่วนส่งกำลงั บำรุง, ส่วนภูมภิ าค, ส่วนฝกึ ศึกษาและหลักนิยม และส่วนพัฒนา ประเทศ เพ่ือสรา้ งกระบวนการการจัดการความรู้ในกลุ่มงานเดยี วกนั ในอนาคต) - จัดทำคมู่ ือปฏบิ ตั งิ าน หรือแผนภาพแสดงขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงาน ตามกระบวนการการจดั การความรู้ และรายงานผลการดำเนินการให้ ทบ. ตามสายการบงั คับบญั ชา (ผา่ น กพ.ทบ.) ทราบ เม่อื สน้ิ สุดปีงบประมาณ โดยสรุปรายการองค์ความรู้ทีไ่ ด้จัดทำตามแบบฟอรม์ การรายงานผลการดำเนินงานการจดั การความรูโ้ ดยองค์ ความรู้ของหน่วยต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน (CKO : Chief Knowledge Officer) กลยทุ ธท์ ี่ ๓ สรา้ งแรงจงู ใจและดำรงความต่อเนื่องด้านการจัดการความรู้ การจัดมหกรรมการจัดการ ความรู้วันแห่งการจัดการความรู้ (ห้วงเดือน ส.ค. ของทุกปี) โดยจัดให้มีเวทีสำหรับการแบ่งปันแลกเปลี่ยน เรียนร้เู ก่ียวกบั องค์ความรทู้ ี่นำมาเข้ากระบวนการจดั การความรู้ และทำใหเ้ กดิ เปน็ แนวทางการปฏิบตั ิงานทดี่ ี ที่ ได้มาจากการนำเครื่องมือการจัดการความรมู้ าประกอบ แล้วเกดิ ผลลพั ธ์ท่ดี ีขึน้ ในการปฏิบัติงาน การพิจารณา คัดเลือกผลงานกิจกรรมตดิ ดาวของหน่วยงาน เพื่อส่งเข้าร่วมการพิจารณาในโครงการกิจกรรมติดดาวผลงาน การจัดการความรดู้ ีเดน่ ด้วยคณะกรรมการการจดั การความร้ขู องหนว่ ยสง่ ให้คณะทำงานขับเคล่อื นการจัดการ ความรู้ของกองทพั บก ตามสายการบังคบั บญั ชา กลยุทธ์ท่ี ๔ ส่งเสริมการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบดิจติ อลมาใช้สนับสนนุ การจัดการ ความรู้และรองรับ Thailand 4.0 โดยการพัฒนากระบวนการทำงานด้วยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ประกอบการทำงานเพือ่ ใหเ้ กดิ ความสะดวก รวดเร็ว และลดการผิดพลาดในการทำงาน เพือ่ ให้กำลงั พลนำไปใช้ ประโยชน์โดยคณะกรรมการการจัดการความรู้ของหน่วย เป็นผู้พิจารณากลั่นกรองก่อนนำออกเผยแพร่ เนื่องจาก ทบ. เป็นองค์กรด้านความมั่นคงซึ่งต้องระมัดระวังในส่วนองค์ความรู้ทางทหาร หรือแนวทางการ ปฏิบัติงาน ซึ่งหากนำเผยแพร่ผ่านช่องทางดังกล่าว อาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงขององค์กร และความ ปลอดภัยของประเทศชาติ ดังน้ัน ในส่วนขององค์ความรู้ทางทหาร หรือแนวทางการปฏิบัติงานที่มีลักษณะ ดังกล่าวได้กำหนดให้เผยแพร่เฉพาะชื่อองค์ความรู้นั้น และช่องทางในการติดต่อขอรับความรู้หากมีกำลังพล สนใจเว็บไซต์การจัดการความรู้ของหน่วย และเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายความรู้ของทบ. ในเว็บไซต์การจัดการ ความรู้ของ ทบ. https://km.rta.mi.th ซึ่งเป็นคลังรวบรวม และเป็นช่องทางในการเผยแพร่ความรู้โดย กำหนดให้ นขต.ทบ. ได้จัดทำคลังความรู้โดยนำระบบสารสนเทศ หรือระบบดิจิตอล มาใช้ในกระบวนการ จดั การความรู้ (คน้ หา, สรา้ ง, จดั เก็บ, เผยแพร่) เป็นเคร่ืองมอื ในการสร้างองค์ความรู้รูปแบบดิจิตอล เช่น การ ส่งเอกสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (ที่ไม่มีชั้นความลับ) การสร้างแอปพลิเคชันในการสร้างระบบงานของหนว่ ย

เพื่อลดขั้นตอน และ ลดความผิดพลาดรวมไปถึงการสร้างเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือระบบเทคโนโลยดี ิจิตอล แนวทางการตรวจนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการดำเนนิ งานการจดั การความรู้ของ นขต.ทบ. เพื่อใหเ้ กดิ ความตอ่ เนื่องในการดำเนนิ งาน รายละเอียดดังน้ี ๑. ความหมายของการนเิ ทศงาน การนเิ ทศงาน หมายถึง กระบวนการตดิ ตามผลงาน ชแี้ จงแนวทางปฏบิ ัติ เสนอแนะ อบรมและฝกึ สอน สังเกตการณ์ กระตุ้น แก้ไข และส่งเสริมให้ผู้รับการนิเทศงานสนใจในงานที่รับผิดชอบ และเพิ่มขีด ความสามารถในการปฏิบัติงานภายในขอบเขตให้ดีขึ้น โดยใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ และการใช้แรงจูงใจเพ่ือ สนับสนุนใหผ้ ู้รับการนเิ ทศ ปฏิบัติงานได้สำเร็จตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ทำให้เกิดความคล่องตัว ในการดำเนินงานและช่วยการทำงานของทุกฝ่ายให้เป็นไปด้วยดี และนำข้อมูลที่ได้จากการนิเทศงานมา วางแผนพฒั นาปรบั ปรงุ งานให้ดยี ง่ิ ขน้ึ และเสริมสร้างความรแู้ กผ่ ู้ปฏบิ ตั ิงาน. ๒.วตั ถุประสงค์ของการนเิ ทศงาน ๒.หลักการนเิ ทศ มิตทิ ่ี ๑ เปน็ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และผ้รู บั การนิเทศ มิตทิ ่ี ๒ เปน็ การควบคมุ กำกับงานใหเ้ ปน็ ปตามนโยบายท่ีกำหนดร่วมกัน ๓. ทีมนเิ ทศงาน ประกอบดว้ ย ๓.๑ กำลังพลทร่ี ับผิดชอบการปฏิบตั ิงานเดมิ สง่ ต่อ งานให้กำลังพลทบี่ รรจุใหม่ปฏบิ ัตแิ ทน เช่น น.ธุรการของหน่วย มอบงานรับ-สง่ เอกสาร น.ธุรการก็ควรเป็นผู้นิเทศให้กับกำลังพลที่เขา้ มาทำงานใหม่ เอง ๓.๒ ผู้เช่ียวชาญ นักวชิ าการที่เกี่ยวข้องตามประเดน็ นิเทศ ๓.๓ ผบู้ รหิ าร

๔. กระบวนการนเิ ทศ แนะนำตวั พดู ถงึ วัตถปุ ระสงค์ และรับฟังปัญหาทวั่ ป อา่ นเอกสาร ฟงั การบรรยาย และสงั เกต การสรา้ งความสมั พันธท์ ่ดี ี กระบวนการเกบข้อมลู อภิปราย ซกั ถาม แสดงความคิดเหน อ้างองิ คมู่ ือ และการสาธิต การแลกเปล่ียนเรียนรู้ จุดเด่น จุดที่ควรพั นา และปัญหาอปุ สรรค การสรปุ ส่ิงที่ผ้นู ิเทศงานตอ้ งการ และส่ิงทีผ่ ู้ปฏิบัตคิ วรทำ การให้คำแนะนำ การเปลีย่ นแปลง ๕. คณุ สมบัตผิ นู้ ิเทศงานท่ีดี ๕.๑ มคี วามเขา้ ใจ และวิสยั ทศั น์ชัดเจนในงานท่ีปฏิบตั ิ ๕.๒ มีทักษะในการรบั ฟงั ท่ดี ี ๕.๓ มีความกระตือรือร้นในการแสดงความคดิ เห็นและอยากสอน ๕.๔ มคี วามยดื หยุ่น ๕.๕ มองโลกในแงด่ ี ๕.๖ มกี ารเตรยี มตัวกอ่ นการนิเทศ ๖. แนวทางการนิเทศการจัดการความรขู้ อง ทบ. ประกอบดว้ ย ๖.๑ การเตรียมข้อมูล โดยการศึกษาข้อมลู หน่วยรับการนิเทศ (อจย./อฉก. และสมรรถนะหน่วยงาน) นำมาการจัดทำการจัดการความรขู้ องหนว่ ยที่จะสง่ รายงานให้คณะทำงานการจัดการความรู้ของ ทบ. ๖.๒ การเตรียมทมี ผู้นเิ ทศ โดยมีคณุ สมบตั ิ ดงั นี้ ๖.๒.๑ เป็นนายทหารหลัก/ผ่านหลักสูตรจาก รร.สธ.ทบ. และ/หรือ นายทหารสัญญาบัตรผู้ได้รับ มอบหมายใหร้ ับผิดชอบการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ๖.๒.๒ มปี ระสบการณก์ ารทำงานทห่ี ลากหลายดา้ นภาระงาน และวัฒนธรรมองคก์ ร ๖.๒.๓ มีความสามารถในการตดิ ตอ่ ส่ือสาร และมีประสบการณใ์ นการใชเ้ ครื่องมอื (ผปู้ ระสานงานการจัดการความรขู้ องหน่วย) ๗. การติดตามประเมนิ ผล ของผนู้ เิ ทศงาน ๗.๑ ตดิ ตามการดำเนินการของหนว่ ยรายไตรมาส ๗.๒ เป็นท่ีปรกึ ษาเมื่อหน่วยร้องขอการสนับสนนุ ๗.๓ รวบรวมขอ้ มลู เพ่ือจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งาน และสรุปปญั หาขอ้ ขัดข้อง

ผนวก ก ตารางสรุปกจิ กรรมการดำเนนิ งานด้านการจดั การความรู้ที่กำหนดให้ นขต.ทบ. หน่วย นขต.ทบ. ห้วง ก.ย.ของทุกปี นขต.ทบ. รบั ทราบทำความเข้าใจ และปฏบิ ัตติ ามอนมุ ัติแนวทางการจดั การความรู้ของ ทบ. ประจำปีงบประมาณ ตรมาสที่ ๑ - นขต.ทบ. เร่มิ จดั ทำแผนการจดั การความรปู้ ระจำปงี บประมาณ ต.ค.ของทุกปี - แต่งตง้ั คณะกรรมการการจดั การความรู้ และผู้ประสานงานการจัดการความร้ขู อง นขต.ทบ. โดยมีหน้าท่ีดงั น้ี ๑. กำหนดแนวทางในการนำแผนขับเคล่ือนการจัดการความรู้ของ นขต.ทบ. สู่การปฏิบตั ิ ใหเ้ กดิ ผลอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน ๒. กำหนดรปู แบบหลักเกณฑ์และแนวทางการในการตดิ ตาม ประเมินผลการจดั การความรู้ ของ นขต.ทบ. ๓. เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรู้ คำปรกึ ษาแกห่ นว่ ยงานภายใน นขต.ทบ. เพือ่ ให้การจัดการ ความรูข้ อง นขต.ทบ. เกิดผลอยา่ งเป็นรปู ธรรม ๔. กำหนดแนวทางในการนเิ ทศและดำเนนิ การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลให้เปน็ ไปตาม เกณฑ์การประเมนิ ผลภายใต้กรอบการรายงานผลการดำเนินงานการจดั การความรูข้ อง ทบ. (4 กลยุทธ์) ๕. รายงานผลการจัดการความรู้ของ นขต.ทบ. ให้คณะกรรมการจัดการความรขู้ อง ทบ. ทราบตามระยะเวลาท่กี ำหนด ๖. ประสานและเช่ือมโยงการจดั การความรู้ของชมุ ชนนักปฏิบัติ (Community of Practice (COP)) ของหนว่ ยงานภายใน นขต.ทบ. ๗. กำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์และแนวทางจดั เก็บ เผยแพร่องค์ความรู้ของ นขต.ทบ.ให้ เป็นไปตามแนวทางการเผยแพรข่ ้อมลู ผา่ นสอื่ ออนไลน์ ๘. เรือ่ งอน่ื ๆ ตามทป่ี ระธานคณะกรรมการจัดการความรู้ของ นขต.ทบ. มอบหมาย เนื่องจากปีงบประมาณ ๒๕๖๔ กพ.ทบ.มีการปรับเปลี่ยนกิจกรรม ประกอบแผนการ ดำเนินงาน เพื่อให้เข้ากับการปฏิบัติงานประจำ เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนแม่บทปี ๒๕๖๕-๒๕๖๗ ต่อ ป นขต.ทบ. ให้เริ่มดำเนินการจัดการความรู้ ตามตารางกิจกรรม ที่กำหนดให้นี้ ตั้งแต่ พ.ย.๖๔ เปน็ ตน้ ป

หน่วย นขต.ทบ. หว้ ง พ.ย.๖๔ ๑. รบั ทราบ และปฏิบตั ติ ามแนวทางการจดั การความรู้ ประจำปี ๒๕๖๔ ๒. จดั ทำแผนการจดั การความรปู้ ระจำปงี บประมาณ ๓. แต่งตงั้ คณะกรรมการการจดั การความรู้ และผปู้ ระสานงานการจัดการความร้ขู อง นขต.ทบ. กจิ กรรมที่ นขต.ทบ.ต้องดำเนินการ ประกอบด้วย จัดประชมุ ช้แี จงแนวทางการปฏิบัติให้ หน่วยงานภายใน นขต. โดยเชญิ ผปู้ ระสานงานการจดั การความรู้เข้าร่วมประชมุ พรอ้ ม สำรวจปัญหาทพ่ี บในการดำเนนิ งาน (การตรวจนเิ ทศ กอ่ นการดำเนนิ งาน) ธ.ค.๖๔ การนำเคร่ืองมอื การจดั การความรู้ ทก่ี ำหนดให้ นขต.ทบ. ใช้ประกอบการดำเนินงาน ๑. จัดทำการวเิ คราะหห์ นว่ ยงาน ด้วย K-Mapping ๒. จดั ทำบทเรยี นหนึง่ การปฏบิ ัติ (OPL : One Point Lesson) / Flow chart ตรมาส ๒ ๑. นขต.ทบ. จัดประชมุ อบรม เรื่องการจัดการความร้ภู ายในองค์กร ม.ค. - ม.ี ค. ๒. การวิเคราะหอ์ งค์กร จากโครงสร้างการจดั หน่วย (K-Mapping) โดยเตรียมข้อมูลโครงสร้าง หน่วยงาน การจดั หน่วย และสมรรถนะหนว่ ยงาน เพอื่ ประกอบการจดั ทำ KMAP (ถ้ามอี ยู่ แลว้ ให้ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและความทนั สมยั ของงาน) โดย นขต.ทบ.ดำเนนิ การตามกระบวนการจดั การความรู้ ๑. กำหนดหวั ข้อองคค์ วามรู้ จากการบริหารความเสีย่ ง และงานท่ีมีความสำคญั ของหนว่ ยที่ ต้องพัฒนาแนวทางการปฏิบตั ิให้เกิดผลลพั ธท์ ่ีดี (แบบฟอรม์ ท่ี ๑ การวิเคราะหอ์ งคก์ ร และการเขยี นแผนที่ความรู้) ๒. ฐานข้อมูลองคค์ วามรขู้ อง นขต.ทบ. (แบบฟอร์มที่ ๒ ฐานขอ้ มลู องคค์ วามรู้ของ นขต. ทบ.รายการคมู่ ือ โครงการพฒั นางานอย่างต่อเนอื่ งท่ีเคยจัดทำ ห้วงเวลาท่ีจัดทำ) ๓. แบบบันทกึ การมอบหมายภารกิจรายบคุ คล (แบบฟอรม์ ที่ ๓ แจกใหก้ ำลังพลภายใน หนว่ ยเขยี นงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย และงานประจำท่ีปฏบิ ตั ิ) ๔. การเขยี นบทเรยี นเฉพาะการปฏิบตั ิงาน (แบบฟอร์มที่ ๔ โดยเลอื กหัวขอ้ จากกิจกรรม หรอื งานที่พบปญั หา หรือมคี วามเส่ยี งตอ่ หน่วยงานถา้ ปฏิบัติงานผดิ พลาด) ๕. การคัดเลือกหวั ข้อองค์ความรู้ เพ่ือนำมาจัดทำคู่มือ ตวั อยา่ งการเขยี นในแตล่ ะแบบฟอร์ม สามารถเขา้ ไปศกึ ษาได้ที่เว็บไซต์การจดั การความรู้ กองทัพบก https://km-army.rta.mi.th ดาวน์โหลดแบบฟอรม์ เอกสารประกอบการดำเนนิ งานใน ไตรมาสที่ ๒ (ม.ค. - มี.ค.) โดย Scan QR code

หนว่ ย นขต.ทบ. ห้วง - การเสนอโครงการพัฒนางานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (CQI) : ให้ นขต.ทบ. คัดเลือกโครงการเพ่ือรบั ตรมาสท่ี ๓ เม.ย.-มิ.ย. การประเมิน (เม.ย. - พ.ค. ของทุกปี) แบบฟอร์ม CQI การเขยี น CQI ตรมาสท่ี ๔ รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ งาน ตามแบบฟอรม์ การรายงานผลการดำเนนิ งานการจดั การความรู้ 4 ก.ค.-ก.ย. กลยุทธ์ (หว้ งเดอื น ส.ค. ของทกุ ปี) ตรวจถกู ต้อง พ.ท.หญิง ( จันทิรา นิลรตั น์) หน.กพ.ทบ. ม.ค. ๖๔

ส่วนท่ี ๑ เอกสารท่ีใช้อ้างอิงในการดำเนนิ งานการจัดการความรขู้ องกองทพั บก ๑. แผนแมบ่ ทการจดั การความรู้ ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ๒. แผนการดาเนิ นงาน และแนวทางการจดั การความรู้ของ ทบ. ประจาปี ๓. ระบบการจดั การความรกู้ องทพั บก (KM Flow Chart) ๔. แนวทางการเผยแพร่องคค์ วามรู้ บนเวป็ ไซตข์ องหน่วยงาน

ผนวก ข สว่ นที่ ๒ แบบฟอรม์ และตัวอยา่ งการใชเ้ คร่ืองมือ เอกสารที่ต้องดำเนินการใน ตรมาสท่ี ๑ , ๒ (ต.ค. - ม.ี ค.) Scan QR code เพื่อ Download แบบฟอร์ม → ศกึ ษารายละเอียดการจัดทำได้ท่ี เว็บไซต์การจัดการความรขู้ อง ทบ. https://km-army.rta.mi.th ๑. แผนที่ความรู้ (Knowledge Mapping) โดยการวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งองค์กร ** กรณีท่ีหน่วยดำเนินการจัดทำสมรรถนะหนว่ ยงานไว้แล้ว สามารถนำมาใส่ประกอบแฟม้ ในสว่ นนี้ได้โดยไม่ได้ ต้องจัดทำใหม่ การวเิ คราะห์ภาระงาน ตามสมรรถนะหน่วยงาน ใสส่ ญั ลกั ษณ์หน่วยงาน เรือ่ ง ……………………………………………………… หน่วยท่ีจัดทำ ....................................................... เลขที่ควบคมุ เอกสาร ผจู้ ดั ทำ คณะกรรมการจัดการความรู้ ผ้ตู รวจสอบ ........................ ผอู้ นมุ ัติ วนั เดือนปที ่ีอนุมตั ิ นขต.ทบ.(ระบุหน่วย)...................................................กอง......................................................... 1. ชื่อหนว่ ย ..................................................................... 2. ข้อมูลเบ้อื งต้น ภารกิจหน่วย ส่วนที่ 2 การวเิ คราะห์บทบาทหน้าที่ตามโครงสรา้ งการจัดหน่วย กอง แผนก ผปู้ ฎบิ ตั ิ คำอธบิ ายประกอบ การเขยี น แผนที่ความรู้ K-mapping ขั้นที่ 1 นำโครงสร้างหน่วยงาน (หนว่ ยงานระดับกอง / แผนก /ฝา่ ย) เป็นตัวตง้ั ขัน้ ท่ี 2 เขยี นงาน หรือ ภารกิจ ในแต่ละกอง / แผนก /ฝ่าย ออกมาใน โดยประกอบด้วย - งานทีต่ ้องปฏิบตั ิเป็นประจำ - งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย - งานที่ปฏิบตั ติ ามนโยบาย ขั้นที่ 3 จำแนกรายละเอียดการปฏบิ ัตงิ านเป็นขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน พรอ้ มระบผุ ู้รบั ผดิ ชอบงาน โดยตำแหนง่ /ท่ไี ดร้ บั มอบ ขน้ั ท่ี 4 ทำตารางสรปุ งานรายบคุ คลออกมา (จะไดร้ ายการผู้รับผดิ ชอบงานหลกั ๆ ของหน่วยงาน)

ตวั อย่างการทา K=mapp

ping จาก Microsoft Word K-Mapping

๒. ฐานข้อมลู องคค์ วามร้ขู อง นขต.ทบ. นขต.ทบ. ดำเนินกำรจดั ทำฐำนขอ้ มูลองค์ควำมรู้ ของ นขต.ทบ. โดยสรุปรำยกำรคู่มอื ปฏบิ ัติงำน กำรปรบั ปรุง/พฒั นำคู่มอื และกระบวนงำนในแต่ละปีท่ไี ดจ้ ดั ทำหรอื ปรบั ปรุง โดยสำรวจประวตั ิกำรจดั ทำ ค่มู อื ปฏบิ ตั งิ ำนยอ้ นหลงั เพ่อื จดั ทำเป็นฐำนขอ้ มลู ประจำหน่วย เป็นประโยชน์ในกำรตรวจนิเทศภำยในหน่วย ตอ่ ไป (สรุปปีละ ๑ ตำรำง ขนั้ ตน้ ขอสำรวจยอ้ นหลงั ๕ ปี คอื ตงั้ แตป่ ี ๒๕๕๘ จนถงึ ปัจจุบนั ) รายการปรบั ปรงุ องค์ความรู้ ใส่สญั ลกั ษณ์หน่วยงาน และค่มู อื ปฏิบตั ิงาน ปี งบประมาณ ……… ลาดบั รายการค่มู ือ / ค่มู ือการปฏิบตั ิงาน โครงการปรบั ปรงุ พฒั นา กระบวนการการทางาน (ระบุปี ท่ีจดั ทา) กระบวนการทางาน (ระบปุ ี ที่จดั ทา) ใหม่ ปรบั ปรงุ ใหม่ ต่อยอด ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ รวม ตรวจถูกตอ้ ง ............................................. () ผปู้ ระสานงานการจดั การความรขู้ อง ............

๓. แบบบนั ทึกการมอบหมายภารกิจรายบคุ คล ใส่สญั ลกั ษณ์หน่วยงำน แบบบนั ทกึ กำรมอบหมำยภำรกจิ รำยบุคคล หน่วยทจ่ี ดั ทำ กอง ................................. แผนก ....................................... รหสั เอกสำร KM …....../…........ ผรู้ บั มอบภำรกจิ ...............................................................................................(เจำ้ ขอกำรปฏบิ ตั )ิ ตำแหน่ง ........................................................................ตงั้ แต.่ ...............................(วนั ทเ่ี ขำ้ รบั ตำแหน่ง) ๑.๑ วุฒกิ ำรศึกษำ ๑.๒ กำรฝึกอบรม - ๑.๓ ประสบกำรณ์ในกำรทำงำน - ๑.๔ ควำมสำมำรถพเิ ศษ - ๒. ภำรกจิ ท่มี อบ ภารกิจที่มอบ รายละเอียดการปฏิบตั ิ ลาดบั ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๒.๕ ๒.๖ ๒.๗ ๒.๘ ๓. กำรรำยงำน รำยงำนกำรปฏบิ ตั ิงำนต่อ หน.แผนก................................................................... ๔. วนั ทม่ี อบภำรกจิ ………………………… (ลงช่อื ) ผู้มอบ....................................... ผรู้ บั มอบ............................................. () ()

๔. แบบฟอรม์ การเขียนบทเรยี นเฉพาะการปฏิบตั ิงาน ( One Point Lesson : OPL) Scan QR code เพื่อ download แบบฟอรม์ การเขยี นตวั อย่างการ/ เขยี นบทเรยี นเฉพาะการปฏิบตั ิงาน )One Point Lesson : OPL) หรือเขา้ ไปศึกษาวิธีการเขียนไดท้ ี่ https://km-army.rta.mi.th กำรจดั กำรควำมรู้ ใสส่ ญั ลกั ษณ์ เร่อื ง …………………………………………………………… หน่วยงำน หน่วยทจ่ี ดั ทำ เลขทค่ี วบคุม เอกสำร ผจู้ ดั ทำ คณะกรรมกำรจดั กำรควำมรู้ ..... ผตู้ รวจสอบ ผอู้ นุมตั ิ …………………………………… ………………………………… วนั เดอื นปี ทอ่ี นุมตั ิ • วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทำงในกำรปฏบิ ตั งิ ำน เร่อื ง …………………………………………………………………………………………………….…………… • ขนั้ ตอนกำรดำเนนิ กำร ( ขนั้ ตอนกำรปฏบิ ตั ทิ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั องคค์ วำมรทู้ เ่ี ลอื กมำ) ขนั้ ตอน กจิ กรรม • ผลผลติ ของงำน • หน่วยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (หน่วยทม่ี สี ่วนร่วมในกำรปฏบิ ตั งิ ำน) • ระเบยี บหลกั เกณฑท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง : • ขอ้ ควรพงึ ระวงั (ถำ้ ม)ี

เอกสารทีต่ อ้ งดำเนินการใน ตรมาสท่ี ๑ , ๒ (ต.ค. - ม.ี ค.) ศึกษารายละเอียดการจัดทำได้ท่ี เว็บไซต์การจัดการความรู้ของ ทบ. https://km-army.rta.mi.th ๕. คมู่ ือปฏิบตั ิงาน รปู แบบการจดั ทา ปกค่มู อื การปฏิบตั ิงาน สัญลักษณ์ หน่วยงาน คมู่ ือปฏบิ ัติงาน (Work Instruction) เร่อื ง ................................ จดั ทาขึ้นใหม่ ปรบั ปรงุ พ..ศ............

แบบฟอร์ม คูม่ อื ปฏบิ ตั งิ าน สัญลกั ษณ์ กรม................................. หน้าที่ แก้ไขครงั้ ท่ี หนว่ ยงาน กอง : ……………………….. แก้ไขวนั ที่ หมายเลขควบคมุ เอกสาร : วนั ที่เริ่มใช้ : เรอ่ื ง คูม่ อื การปฏิบตั ิงาน เรอื่ ง ผอู้ นุมตั ิ ( ผบู้ รหิ ำรสูงสุดด้ำนกำร ) จดั กำรควำมรู้ (CKO) ๑. วตั ถุประสงค์ ๒. ขอบเขต ๓. คำจำกดั ควำม (ถ้ำม)ี ๔. หน้ำทค่ี วำมรบั ผดิ ชอบ ๕. ขนั้ ตอนกำรปฏบิ ตั ิ ๖. แผนผงั กระบวนกำรปฏบิ ตั ิ (Work Flow) (ตำมรำยละเอยี ดตำมท่แี นบ) ๗. วธิ กี ำรตดิ ตำมประเมนิ ผลกำรปฏบิ ตั งิ ำน (ตวั ชว้ี ดั ค่ำเป้ำหมำย) ตวั ชว้ี ดั ค่ำเป้ำหมำย ๘. ปัญหำอุปสรรคและแนวทำงในกำรแกไ้ ขพฒั นำ แนวทำงในกำรแกไ้ ขพฒั นำ/มำตรกำรป้องกนั ควำมเสย่ี ง/ปัญหำอุปสรรค ๙. ระเบยี บ/คำสงั่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง/เอกสำรอำ้ งองิ ๑๐. หน่วยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (พรอ้ มระบชุ อ่ งทำงกำรประสำนงำน เช่น หมำยเลขโทรศพั ท์ ๑๑. ผจู้ ดั ทำ ๑๒. ผปู้ ระสำนงำนกำรจดั กำรควำมรู:้ (ใส่รำยละเอยี ด) ๑๓. ผทู้ บทวน ผทู้ บทวน ตำแหน่ง ลงนำม ท่ำนท่ี 1 ทำ่ นท่ี 2 ท่ำนท่ี 3 ทำ่ นท่ี 4 ๑๔. ภำคผนวก ๑๔.๑ ระเบยี บ/คำสงั่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๑๔.๒ แบบฟอร์มทใ่ี ช้ ๑๔.๓ ตวั อย่ำง ๑๕. บนั ทกึ กำรจดั ทำและปรบั ปรุงแกไ้ ข วดป. รำยละเอยี ด

๖. การเขียนโครงการกิจกรรมติดดาว หรือ โครงการพฒั นางานอย่างต่อเน่ือง (CQI) ค่มู ือปฏิบตั ิงาน แบบฟอรม์ CQI การเขียน CQI ๗. การตรวจนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การความรู้ (หน่วยสำมำรถปรบั รูปแบบ หรอื หวั ขอ้ ใหเ้ ขำ้ กบั แผนกำรดำเนนิ งำนของหน่วยได้) กำรตรวจนิเทศ ตดิ ตำม และประเมนิ ผลกำรจดั กำร ใสส่ ญั ลกั ษณห์ น่วยงำน ควำมรู้ ของ................................... ประจำปีงบประมำณ ......................... หน่วยท่ี กอง ........................................... แผนก รหสั เอกสำร KM จดั ทำ ............................ …....../…........ สว่ นท่ี ๑ ตำรำงกำรตรวจนิเทศ ตดิ ตำม และประเมนิ ผลกำรจดั กำรควำมรภู้ ำยในหน่วย วนั /เดอื น/ปี หน่วยงำนภำยใน นขต.ทบ. กรรมกำรฯ (ผูต้ รวจนิเทศฯ) เวลำ : จำก KM FA ทไ่ี ดร้ บั มอบหมำย ภำยในหน่วย หมำยเหตุ : กำรดำเนินกำรตรวจนิเทศ ใหใ้ ส่ไวใ้ นแผนกำรดำเนินงำนกำรจดั กำรควำมรู้ โดยดำเนินกำรใน หว้ งเดอื น พ.ค.เพ่อื ใหส้ ำมำรถนำขอ้ มลู ในกำรตรวจนเิ ทศมำประกอบกำรสรุปรำยงำนผลกำรดำเนินงำน ประจำปี ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ

ส่วนท่ี ๒ แบบฟอรม์ การนิเทศงาน การจดั การความร้ขู อง นขต.ทบ. วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่อื ใหห้ น่วยทรำบถงึ กระบวนกำรกำรจดั ทำองคค์ วำมรู้ ๒. เพอ่ื ตดิ ตำมกำรจดั กำรควำมรขู้ องหน่วย ๓. เพ่อื ใหก้ รรมกำรนิเทศไดแ้ ลกเปลย่ี นควำมรกู้ ำรจดั กำรควำมรขู้ องหน่วยระดบั กอง ๔. เพ่อื ตรวจสอบเบ้อื งตน้ ในกำรส่งผลงำนกจิ กรรมตดิ ดำว หน่วยงำน......................................................................วนั ท.่ี .............................................................. ผรู้ บั กำรนิเทศ ลำดบั ยศ ชอ่ื สกลุ ผรู้ บั กำรนิเทศ เร่อื งทน่ี เิ ทศ กำรตรวจสอบกำรจดั ทำ KM ของแตล่ ะกอง (กำหนดใหเ้ ป็นไปตำมแผนกำรดำเนนิ งำนกำรจดั กำรควำมรู้ของ หน่วย นขต.ทบ.) ระบปุ ระเภท และหมวดหมู่ ลำดบั เกณฑก์ ำรนิเทศ 4 องคป์ ระกอบ พฤตกิ รรม/เกณฑก์ ำรพจิ ำรณำ วธิ กี ำรประเมนิ องคป์ ระกอบ 1. กระบวนกำรจดั กำรควำมรู้ 2. กำรใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศ 3. ผลผลติ ของกำรจดั กำรควำมรู้ และกำรนำไปใช้ 4. กำรเรยี นรรู้ ะดบั บุคคล และองคก์ ร ปัญหำขอ้ ขดั ขอ้ ง 1................................................................................................................................................................. กำรพจิ ำรณำผลงำนกำรจดั กำรควำมรคู้ ุณภำพ ....................................................................................... ขอ้ คดิ เหน็ ของผปู้ ระสำนงำนกำรจดั กำรควำมรู้......................................................................................... กำรลงเวบ็ ไซต์ (กฎหมำยคอมพวิ เตอร์ และ กฎหมำยลขิ สทิ ธิ์(ทรพั ยส์ นิ ทำงปัญญำ) ฯลฯ) ................................................................................................................................................................... กรรมกำรตรวจนิเทศฯ ลงช่อื ............................................................... ตำแหน่ง.......................................................... หมำยเหตุ : กำรนเิ ทศงำนกำรจดั กำรควำมรดู้ ำเนินกำรโดย คณะกรรมกำรจดั กำรควำมรูข้ อง นขต.ทบ. เพ่อื กำรตรวจนเิ ทศ ตดิ ตำม และประเมนิ ผลกำรจดั กำรควำมรขู้ องหน่วย ตงั้ แต่ระดบั กอง ขน้ึ ไป

๘ . รายงานผลการดาเนินงานการจดั การความร้ขู อง นขต.ทบ. ประจาปี งบปร รำยงำนผลกำรดำเนนิ งำนกำรจดั กำรควำมรขู้ อ หน่วย ยศ ชอ่ื สกลุ ผปู้ ระสำนง ๑. ผลกำรดำเนินงำนกำรจดั กำรควำมรู้ กลยุทธ์ ๑.๑ กลยทุ ธก์ ำรพฒั นำศกั ยภำพกำลงั พลดำ้ นกำร จดั กำรควำมรู้ ๑.๒ กลยุทธก์ ำรบูรณำกำรกระบวนกำรจดั กำร ควำมรู้เขำ้ กบั งำนประจำ ๑.๓ กลยุทธก์ ำรสรำ้ งแรงจูงใจ ในกำรจดั กำร ควำมรู้และธำรง ควำมตอ่ เน่อื งดำ้ นกำรจดั กำร ควำมรู้ ๑.๔ กลยทุ ธก์ ำรสง่ เสรมิ กำรนำเทคโนโลยี สำรสนเทศและระบบดจิ ติ อลมำใชส้ นับสนุนกำร จดั กำรควำมรู้และรองรบั Thailand 4.0 ๑.๕ กจิ กรรมกำรจดั ทำและปรบั ปรุงคู่มอื กำร ปฏบิ ตั งิ ำน ๑.๖ กจิ กรรมกำรจดั ทำโครงกำรพฒั นำคุณภำพ กระบวนกำรทำงำน (CQI) ๒. ปัญหำขอ้ ขดั ขอ้ ง/ขอ้ เสนอแนะ

สามารถ Download แบบฟอร์ม ระมาณ .................. การรายงานผล โดย scan QR code อง นขต.ทบ. ประจำปีงบประมำณ .................. ใส่สญั ลกั ษณ์ หน่วยงำน งำนกำรจดั กำรควำมรู้ โทร ทบ. ผลกำรดำเนนิ งำน หมำยเหตุ

คาอธิบายประกอบการรายงานผลการดาเนินงานการการจดั การความรู้ ประจาปี งบประมาณ รายละเอียดโดยสรปุ ประกอบดว้ ย กำรดำเนินงำนกำรจดั กำรควำมรใู้ นภำพรวมของ นขต.ทบ. โดยรำยงำนตำมแบบฟอรม์ กำร รำยงำนผลกำรดำเนินงำนกำรจดั กำรควำมรู้ของ นขต.ทบ. (อำ้ งองิ เกณฑก์ ำรประเมนิ ผลจำกแผนแม่บทกำร จดั กำรควำมรขู้ อง ทบ.ปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) รำยละเอยี ดตำมสง่ิ ทส่ี ่งมำดว้ ย ดงั น้.ี - ๑. กลยทุ ธก์ ำรพฒั นำศกั ยภำพกำลงั พลดำ้ นกำรจดั กำรควำมรู้ ซง่ึ เกย่ี วกบั กิจกรรมทส่ี ง่ กำลงั พล เขำ้ ร่วมกำรอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิกำร กำรสมั มนำ หรอื กจิ กรรมอ่ืนๆท่เี ก่ยี วกบั กำรจดั กำรควำมรู้ ท่ี ทบ.จดั ข้นึ หรอื หน่วยรเิ รมิ่ ส่งกำลงั พลเขำ้ รว่ มอบรม กจิ กรรมหลกั ๆ ประกอบดว้ ย - กำรอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ำรท่ี ทบ.จดั ใหก้ บั กำลงั พลท่ไี ด้รบั กำรแต่งตงั้ เป็นผู้ประสำนงำน กำรจดั กำรควำมรขู้ อง นขต.ทบ. - กำรประชมุ คณะทำงำนกำรจดั กำรควำมรขู้ อง นขต.ทบ. / ของหน่วยงำนใน นขต.ทบ. - กำรฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ำรเพอ่ื พฒั นำทกั ษะควำมรกู้ ำลงั พล ทบ. ๒. กลยุทธก์ ำรบูรณำกำรกระบวนกำรจดั กำรควำมรู้เขำ้ กบั งำนประจำ สรปุ ไดด้ งั น้ี - กำรจดั ทำแผนทค่ี วำมรู้ (Knowledge Mapping) (กำหนดให้ นขต.ทบ.ดำเนินกำรจดั ส่งหน่วย ละ ๑ ฉบบั ) ตำมแบบฟอรม์ ท่ี ๑ - กำรประเมนิ กระบวนกำรกิจกรรมกำรจดั ทำและปรบั ปรุงคู่มอื กำรปฏบิ ัติงำน ประกอบกำรส่ง หลกั ฐำนเชงิ ประจกั ษ์ (ไฟล์คมู่ อื กำรเผยแพรร่ ำยกำรเอกสำร คมู่ อื ขนั้ ตอนกำรปฏบิ ตั งิ ำน ) - กำรจดั กิจกรรม /โครงกำรพัฒนำคุณภำพกระบวนกำรทำงำนตำมภำรกิจ เพ่อื สร้ำงแนว ทำงกำรปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ (Best Practices) ๓. กลยุทธ์กำรสร้ำงแรงจูงใจในกำรจดั กำรควำมรู้และธำรงควำมต่อเน่ืองดำ้ นกำรจดั กำรควำมรู้ (กำรส่งผลงำนเขำ้ ร่วมประกวด กำรส่งกำลงั พลเขำ้ ร่วมกิจกรรมเกีย่ วกบั กำรจดั กำรควำมรูท้ ่ี ทบ.จดั ขน้ึ ให้ รำงวลั หรอื ประกำศชมเชยแก่ผรู้ บั ผดิ ชอบงำนเกย่ี วกบั กำรจดั กำรควำมรู้ หรอื พฒั นำกระบวนกำรกำรทำงำน อำทิเช่น กำรนำผู้ประสำนงำนกำรจดั กำรควำมรูท้ ่ไี ด้รบั กำรคดั เลือกไปศึกษำดูงำน ณ ต่ำงประเทศ ทงั้ น้ี ขน้ึ กบั กำรจดั สรรงบประมำณในปีนนั้ ๆ ) ๔. กลยุทธ์กำรส่งเสรมิ กำรนำเทคโนโลยีสำรสนเทศและระบบดิจทิ ลั มำใช้สนับสนุนกำรจัดกำร ควำมรูแ้ ละรองรบั Thailand ๔.๐ ตำมแนวทำงกำรเผยแพร่องค์ควำมรู้ บนเวป็ ไซส์ของ ทบ.(สำมำรถสบื ค้น ได้จำกเวป็ ไซต์กำรจดั กำรควำมรูข้ อง ทบ. https://km-army.rta.mi.th ) ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดกำรพฒั นำรูปแบบ กำรรำยงำนผลกำรดำเนนิ งำนกำรจดั กำรควำมรู้ ผ่ำนสอ่ื ออนไลน์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook