Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

13

Published by annnafey333, 2017-09-06 01:59:30

Description: 13

Search

Read the Text Version

วารสารวิจยั ปีที่ 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557 http://ird.rmutto.ac.th มาตรฐานน้ําด่มื บรรจขุ วดชนิดขวดขุนท่จี ําหนายในจังหวัดนา น Standard of Opaque Plastic Bottled Drinking Water Distributed in Nan Province สุบัณฑติ นิ่มรตั น1 และ วรี พงศ วุฒพิ นั ธชุ ยั 2 Subuntith Nimrat1 and Verapong Vuthiphandchai2 1 ภาควิชาจุลชวี วทิ ยาและโครงการวิทยาศาสตรส ิ่งแวดลอม คณะวิทยาศาสตร มหาวทิ ยาลัยบรู พา ชลบรุ ี 2 ภาควชิ าวาริชศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั บูรพา ชลบุรี E-mail: [email protected], โทรศัพท 0 3810 3120 บทคัดยอ ในการศึกษาคร้ังน้ีทําการศึกษาถึงมาตรฐานนํ้าดื่มบรรจุขวดชนิดขวดขุนท่ีจําหนายในจังหวัดนาน โดยทําการศึกษาถึงคา ความเปนกรด-ดาง ลกั ษณะกล่นิ ลกั ษณะน้ําดม่ื ทีบ่ รรจภุ ายในขวด ฉลาก (ชื่อบริษัทที่ผลิตและสถานที่ผลิต) ปริมาณแบคทีเรียกลมุ โคลฟิ อรม ฟค ัลโคลิฟอรม และ E. coli ของนํ้าด่ืมบรรจุขวดชนิดพลาสติกใสที่จําหนายในจังหวัดนาน พบวาตัวอยางน้ําดื่มบรรจุขวดทั้งหมดเปนผลิตภัณฑท่ีผลิตภายในจังหวัดนานซึ่งมีคาความเปนกรด-ดาง อยูในชวง 6.13-8.42 สวนฉลากบนผลิตภัณฑของนํ้าดื่มบรรจุขวดมีการระบุรายละเอียดของช่ือบริษัทและสถานท่ีผลิต และจากการตรวจหาแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม ฟค ัลโคลฟิ อรม และ E. coli ในตวั อยา งน้าํ ดื่มบรรจขุ วดผลการศึกษาพบวา 46 ตัวอยางจาก 48 ตัวอยาง (95.83%) มีปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม และแบคทีเรียกลุมฟคัลโคลิฟอรม นอยกวา1.8 MPN/100 mL ยกเวน 2 ตัวอยางจาก 48 ตัวอยาง (4.17%)ที่พบปริมาณแบคทีเรียท้ังสองกลุมซึ่งมีคาเทากับ 170 MPN/100 mL (ตัวอยางที่ 1) และ 2.0 MPN/100 mL (ตัวอยางท่ี 5) ของย่ีหอ NO1 และ NO5 ตามลําดับ และในทุกตัวอยางตรวจไมพบ E. coli ดังนั้นจากการประเมินคุณภาพในการศึกษาคร้ังนี้ของตัวอยางน้ําด่ืมบรรจุขวดชนิดขวดขุนที่จําหนายในจังหวัดนาน ประเทศไทย ผานมาตรฐานน้ําด่ืมในภาชนะบรรจุท่ีปดสนิทที่กาํ หนดโดยกระทรวงสาธารณสุขของประเทศไทยเทากบั รอ ยละ 75คาํ สําคัญ: นาํ้ ดม่ื บรรจุขวดชนดิ พลาสติกขนุ แบคทเี รยี กลุมโคลิฟอรม แบคทเี รียกลมุ ฟคัลโคลิฟอรม E. coli Abstract In this study, the examination of standard of opaque plastic bottled drinking water distributed in Nan Province, suchas pH, odour, appearance, label information (name of manufacturer and location of product), coliform bacteria, fecal coliformbacteria and E. coli was investigated. The obtained results showed that all water samples were produced by factory in NanProvince. pH of tested samples were in a range of 6.13 - 8.42, while completely label information of total samples were foundin all samples. Forty six samples from 48 samples (95.83%) were monitored for coliform bacteria and fecal coliform bacteriaof water samples which were less than 1.8 MPN/100 mL, except 2 samples out of 48 samples (4.17%) were found bothcoliform and fecal coliform bacteria with 170 MPN/100 mL (sample 1) and 2.0 MPN/100 mL (sample 5) of brand NO1 andNO5, respectively. E. coli was not found in all water samples. After assessment of qualities of opaque plastic bottled drinkingwater samples based on standard for drinking water in sealed container set by Ministry of Public Health of Thailand, thetested samples were met the standard for 75%.Keywords: Opaque plastic bottled drinking water, Coliform bacteria, Fecal coliform bacteria, E. coli. 104

http://ird.rmutto.ac.th วารสารวจิ ยั ปที ่ี 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 25571. บทนาํ ปจ จบุ นั มลภาวะทางสิง่ แวดลอ มมีอยทู วั่ ไปทําใหแหลงนาํ้ ธรรมชาติมีความสกปรกมากกวาในอดีตจึงไมสามารถด่ืมน้ําจากแหลงนํ้าทั่วไป ดังน้ันน้ําด่ืมท่ีนิยมในปจจุบันคือนํ้าด่ืมบรรจุขวดและน้ําด่ืมบรรจุปดสนิทเน่ืองจากเปนน้ําท่ีเช่ือวาสะอาดเหมาะตอการบริโภคเน่ืองจากมีกระบวนการบําบัดท่ีมีมาตรฐานที่กําหนดดวยกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงเปนหนวยงานของประเทศไทยท่ีทําการควบคุมและดูแลใหน้ําด่ืมไดคุณภาพตามมาตรฐาน ซึ่งน้ําดื่มในบานเราท่ีบรรจุขวดไดมาจากแหลงน้ําบาดาล และน้าํ ประปา ทก่ี รองผานชั้นถา นเพื่อดูดกล่ิน ตามดวยการผา นเรซินเพอื่ ลดความกระดางและข้ันตอนสุดทายคือการฆาเช้ือจุลินทรียหรือเชื้อแบคทีเรียที่อาจจะปนเปอนมากับน้ํา ดวยการผานแสง อัลตราไวโอเลต (UV) ซึ่งรังสีนี้จะฆาเช้ือโรคในนํ้าแตไมสามารถฆาเช้ือโรคท่ีซอนตัวอยูกับผงละอองหรือโอโซนซึ่งเปนสารที่ทําปฏิกิริยากับจุลินทรียและสารอินทรียตาง ๆ ไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ (เกศรนิ และ สมทบ, 2555) แตอยางไรกต็ ามนา้ํ ด่มื บรรจุขวดและนา้ํ ด่ืมบรรจปุ ดสนิทท่วั โลกพบวาคณุ ภาพของนา้ํ ดม่ื บรรจุขวดและน้ําด่ืมบรรจุปดสนิทในหลายประเทศพบวามีคุณภาพทางจุลชีววิทยาที่ดอยกวามาตรฐานท่ีกําหนด ยกตัวอยางเชน ประเทศปากีสถาน จาก 18แหลงเก็บตัวอยางในเมือง Badin จังหวัด Sindh สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน พบวาในน้ําตัวอยางนํ้าดื่มทั้งหมดมีปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม ฟคัลโคลิฟอรม เกินกวามาตรฐาน (Ahmed et al., 2013) และการตรวจสอบในสหรัฐอเมริกามีน้ําดื่มบรรจุขวดมากกวา 700 ยี่หอแตพบวาเม่ือทาํ การตรวจคณุ ภาพนาํ้ ดม่ื บรรจขุ วดมากกวา 1,000 ขวดและพบวารอยละ 25 ของน้ําด่ืมบรรจุขวดเปนเพียงการนํานํ้าประปามาใสขวดและปรับปรงุ คณุ ภาพเพียงเล็กนอยเทานั้นรายงานของ Olaoye and Onilude (2009) ที่ไดทําการศึกษาคุณภาพของน้ําดื่มชนิดถุงเพ่ือประเมินคุณภาพทางดานจุลชีววิทยาที่มีตอสุขภาพของประชาชนในแถบตะวันตกของสหพันธสาธารณรัฐไนจีเรีย โดยทําการวิเคราะหคุณภาพน้ําด่ืมชนิดถุงทางจุลชีววิทยาจํานวน 92 ตัวอยาง ไดแก การวเิ คราะหป ริมาณแบคทีเรียทั้งหมดปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม E. coli และความหลากหลายของแบคทีเรียจากผลการศึกษาพบวาจํานวนของแบคทีเรียท้ังหมดและแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมมีคาระหวาง 2.86±0.15-3.45±0.16 และ 1.40±0.02-1.62±0.00Log CFU/mL ตามลําดับ และตรวจพบ E. coli ในน้ําด่ืมชนิดถุง 2 ตัวอยาง จากรัฐ Oke - IHO และรัฐ Okaka คิดเปน 2.2% ของตัวอยางทั้งหมด สําหรับแบคทีเรียที่ตรวจพบในตัวอยางนํ้าด่ืมชนิดถุง ไดแก E. coli, Pseudomonas aeruginosa, Enterobacteraerogenes, Klebsiella sp., Proteus vulgaris, Alcaligenes faecalis, Bacillus cereus, Staphylococcus aureus, Streptococcuslactis, Aeromonas sp. และ Micrococcus luteus โดยแบคทีเรียที่พบอุบัติการณสูงในตัวอยางน้ําด่ืมชนิดถุง ไดแก M. luteus(18.5%), S. lactis (17.4%), Aeromonas sp. (17.4%) และ P. vulgaris (16.3%) นอกจากน้ันจากการศึกษาในครั้งนี้ยังพบวาผูประกอบการผลิตผลิตภัณฑนํ้าดื่มจํานวน 6.52% ไมปฏิบัติตามกฎเกณฑที่หนวยงานที่ดูแลเกี่ยวกับคุณภาพน้ํากําหนด สงผลใหน้ําด่ืมชนิดถุงบางตัวอยางมีคุณภาพตํ่า จึงทําใหมีความจําเปนที่หนวยงานท่ีดูแลเกี่ยวกับคุณภาพน้ําในประเทศไนจีเรียควรใชมาตรการที่มีความเหมาะสมเพ่ือทาํ ใหคณุ ภาพน้ําด่ืมชนดิ ถงุ มคี ณุ ภาพท่ดี ขี ึ้น จึงไดทําการศึกษาถึงมาตรฐานนํ้าด่ืมบรรจุขวดชนิดขวดขุนท่ีจําหนายในจังหวัดนานเพ่ือทําใหตรวจสอบคุณภาพนํ้าด่ืมในประเทศไทยในสวนของภาคเหนือของประเทศไทย ไดแก จังหวัดนาน ซ่ึงเปนจังหวัดทองเท่ียวที่สําคัญจังหวัดหน่ึงของประเทศไทย รวมท้ังเปนจังหวัดท่ีติดตอกับประเทศในอาเซียน คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ดวยวิธีการตรวจปริมาณแบคทีเรียกลุมกลุมโคลิฟอรม ฟคัลกลุมโคลิฟอรม และ E. coli ซึ่งเปนแบคทีเรียชนิดหน่ึงที่กําหนดตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเปนหนวยงานของประเทศไทยที่ทําการควบคุมและดูแลใหนํ้าด่ืมบรรจุปดสนิทไดคุณภาพตามมาตรฐาน และเปนแบคทีเรียท่ีมีการตรวจวัดท่ีไมยุงยากรวมท้ังคาใชจายท่ีไมแพง รวมทั้งเปนกลุมแบคทีเรียดัชนีท่ีนิยมใชในการทดสอบคุณภาพทางจุลชีววิทยาของประเทศสหรัฐอเมริกาดังนั้นการศึกษาถึงมาตรฐานนํ้าดื่มบรรจุขวดชนิดขวดขุนท่ีจาํ หนายในจงั หวัดนา น จงึ เปนการทาํ ใหมขี อมลู พนื้ ฐานทางดา นมาตรฐานนํ้าดื่มบรรจุขวดชนิดขวดขุนที่จําหนายในจังหวัดนานทําใหส ามารถรักษามาตรฐานหรอื การปรับปรุงคณุ ภาพนา้ํ ด่มื ในจงั หวัดนา นตอ ไป 105

วารสารวจิ ัย ปที ่ี 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2557 http://ird.rmutto.ac.th2. วิธีการทดลอง2.1 การจดบนั ทึก ทําการบันทึกคุณภาพบางประการของตัวอยางน้ําดื่มบรรจุขวด ไดแก ย่ีหอ รายละเอียดบนฉลาก (ชื่อบริษัท วันผลิต/หมดอายุ สถานทตี่ ง้ั ) ลกั ษณะขวด ลักษณะนาํ้ ลักษณะกลิ่น และคา ความเปนกรดดาง2.2 การทดสอบแบคทีเรยี กลุม โคลฟิ อรม ฟค ลั โคลฟิ อรม และ E. coli โดยวิธี Most Probable Number (APHA, 2005) 2.2.1 การทดสอบข้ันแรก (Presumptive test) ปเปตตัวอยางลงในอาหาร Lauryl Tryptose broth (LST) 10 mL ท่ีมีความเขมขน 2 เทา จํานวน 5 หลอด ๆ ละ 10 mLและปเ ปตตัวอยา งลงในอาหาร LST 10 mL ท่ีมคี วามเขม ขน 1 เทา หลอด ๆ ละ 1 และ 0.1 mL อยางละ 5 หลอด ตามลําดับ นําไปบมเพาะเช้ือท่ีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง เลือกหลอด LST บวก (ขุนและมีกาซใน Durham tube) เพ่ือนําไปทําConfirmed test ของแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม และฟคลั โคลฟิ อรม 2.2.2 การทดสอบข้ันยนื ยัน (Confirmed test) นําหลอด LST ที่ใหผลบวกถายเช้ือลงใน Brilliant Green Lactose Bile broth (BGLB) นําไปบมเพาะเชื้อท่ีอุณหภูมิ 35องศาเซลเซียส นาน 24-48 ช่ัวโมง (แบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม) และนําหลอด LST ที่ใหผลบวกถายเชื้อลงใน Escherichia coli(EC) medium นําไปบมเพาะเชื้อท่ีอุณหภูมิ 45.5 องศาเซลเซียส ใน Water bath นาน 24-48 ช่ัวโมง (แบคทีเรียกลุมฟคัล-โคลิฟอรม) นับจํานวนหลอด BGLB ที่ใหผลบวก (ขุนและมีกาซใน Durham tube) นําไปเทียบกับตาราง Most probable number(MPN) จะไดคา MPN Coliform/100 mL และนับจํานวนหลอด EC ที่ใหผลบวก (ขุนและมีกาซใน Durham tube) นําไปเทียบกับตาราง MPN จะไดคา MPN Fecal coliform/100 mL 2.2.3 การทดสอบขัน้ สมบรู ณ (Completed test) ของ E. coli นาํ หลอด BGLB และ/หรือ EC ท่ีใหผลบวกไปเข่ียลงบน Eosin methylene blue agar (EMB) บมเพาะเช้ือที่อุณหภูมิ 37องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง ลักษณะโคโลนีเฉพาะของ E. coli มีสีเขียวสะทอนเงาโลหะ (metallic sheen) และนําไปทดสอบยืนยันโดยใช IMViC test2.3 วธิ ีการตรวจสอบทางชวี เคมี IMViC test (US.FDA, 1998) ทําการตรวจสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีของแบคทีเรียจากขอ 2.3 โดยทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมี ไดแก Indoleproduction test, Methyl red test (MR test), Voges-proskauer test (VP test) และ Citrate utilization test 2.3.1 Indole test ถายเชื้อท่ีตองการทดสอบลงไปใน 1 % Tryptone broth นําไปบมเพาะเชื้อท่ีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส นาน 24-48ช่ัวโมง หยด Kovac’ s reagent ลงไป 0.2-0.3 mL เขยาหลอดทดลองเบา ๆ 2-3 คร้ัง สังเกตการเปล่ียนสีท่ีผิวของอาหาร อานผลเปนบวกเมอ่ื เกดิ วงสแี ดงท่ีผวิ อาหาร 2.3.2 Methyl red test ถายเชื้อท่ีตองการทดสอบลงไปใน MR-VP broth นําไปบมเพาะเชื้อที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส นาน 24-48 ชั่วโมงหยด Methyl red ลงไป 5 หยด สังเกตการเปลยี่ นสีของอาหารทันทหี ลังจากหยด Indicator อา นผลเปนบวกเมอื่ อาหารเปลย่ี นเปน สแี ดง 2.3.3 Voges-proskauer test ถายเช้ือที่ตองการทดสอบลงไปใน MR-VP broth นําไปบมเพาะเชื้อท่ีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส นาน 24-48 ช่ัวโมงหยด 5 % naphthol และ Creatine ลงไป 1-2 หยดเขยา หยด 40% KOH ลงไป 2 หยด เขยาใหเขากัน ทิ้งไว 10-15 นาที สังเกตการเปล่ยี นสีของอาหาร อา นผลเปน บวกเม่ืออาหารเปลย่ี นเปนสแี ดง 106

http://ird.rmutto.ac.th วารสารวจิ ัย ปที ่ี 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557 2.3.4 Citrate utilization test ถายเชื้อที่ตองการทดสอบโดยการเขี่ยลงบนผิวอาหาร Simmons’citrate agar นําไปบมเพาะเชื้อที่อุณหภูมิ 35องศาเซลเซียส นาน 24-48 ชั่วโมง สังเกตการณเปล่ียนสีของอาหาร และการเจริญของแบคทีเรีย อานผลเปนบวกเมื่ออาหารเปลี่ยนจากสีเขยี วเปนสีน้ําเงนิ3. ผลการทดลองและวิจารณผ ล จากตรวจสอบคุณภาพของตัวอยางนํ้าด่ืมบรรจุขวดชนิดพลาสติกขุนที่จําหนายในจังหวัดนานทางดานความเปนกรด-ดางและดานจุลชีววิทยา ผลการศึกษาตัวอยางน้ําดื่มบรรจุขวดจํานวน 48 ตัวอยาง พบวาระบุรายละเอียดของสถานที่ผลิตชื่อบริษัท และวันผลิต/หมดอายุ และระบุวันผลิต/หมดอายุบนผลิตภัณฑบนฉลากของน้ําดื่มบรรจุขวดท้ัง 7 ยี่หอ สวนลักษณะสีและกลิ่นพบวาในทุกตัวอยางมีลักษณะใสและไมมีกลิ่น (ตารางที่ 1) และคาความเปนกรด-ดางของตัวอยางนํ้าดื่มบรรจุขวดพบวามีคาอยูใ นชวง 6.13 ± 0.01 ถงึ 8.42 ± 0.01 (ตารางท่ี 2)ตารางท1่ี คณุ ภาพบางประการและการประเมนิ ลักษณะของนํา้ ดม่ื บรรจุขวดชนดิ พลาสตกิ ขนุ ทจี่ ําหนา ยในจงั หวดั นา น รายละเอียดบนฉลาก ตัวอยาง ช่ือบริ ัษท* วันผลิต/หมดอา ุย ** สถาน ่ีทต้ัง ลักษณะ ํ้นา กล่ิน มาตรฐานนํ้า ื่ดมภาชนะ ี่ท ปดส ินท***ยห่ี อ จงั หวดั ที่ผลติ ลกั ษณะของบรรจภุ ณั ฑ 1 999 ขวดพลาสติกขุน มรี อยบุบ และไมม รี อยถลอก ใส ไมม ีกลน่ิ ผา นNO1 2 9 9 9 จงั หวัดนาน ขวดพลาสติกขนุ มรี อยบบุ และไมม ีรอยถลอก ใส ไมม กี ลน่ิ ผา น 3 999 ขวดพลาสติกขนุ มรี อยบุบ และไมม ีรอยถลอก ใส ไมม กี ลิ่น ผา น 1 999 ขวดพลาสตกิ ขนุ มรี อยบุบ และไมมรี อยถลอก ใส ไมม ีกลน่ิ ผา นNO2 2 9 9 9 จงั หวัดนาน ขวดพลาสตกิ ขนุ มรี อยบุบ และไมมรี อยถลอก ใส ไมม กี ลน่ิ ผา น 3 999 ขวดพลาสติกขนุ มรี อยบบุ และไมม รี อยถลอก ใส ไมม กี ลิ่น ผาน 1 999 ขวดพลาสติกขุน ไมม ีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมมกี ลน่ิ ผาน 2 999 ขวดพลาสติกขุน ไมมีรอยถลอกและรอยบุบ ใส ไมมีกล่ิน ผา นNO3 3 9 9 9 จงั หวัดนา น ขวดพลาสติกขนุ ไมม ีรอยถลอกและรอยบุบ ใส ไมมีกลน่ิ ผาน 4 9 9 9 ขวดพลาสติกขุน ไมมีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมมีกลน่ิ ผา น 5 999 ขวดพลาสตกิ ขุน ไมมีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมมีกลิ่น ผา น 6 999 ขวดพลาสติกขนุ ไมมีรอยถลอกและรอยบุบ ใส ไมมีกลน่ิ ผา น 1 999 ขวดพลาสติกขุน มรี อยถลอก และไมม ีรอยบบุ ใส ไมม ีกลน่ิ ผา น 2 999 ขวดพลาสตกิ ขุน มรี อยถลอก และไมมีรอยบบุ ใส ไมม กี ลิ่น ผา นNO4 3 9 9 9 จังหวดั นา น ขวดพลาสตกิ ขนุ มรี อยถลอก และไมม รี อยบุบ ใส ไมม กี ลิ่น ผาน 4 9 9 9 ขวดพลาสติกขุน มรี อยถลอก และไมม ีรอยบบุ ใส ไมม กี ลิ่น ผาน 5 999 ขวดพลาสตกิ ขนุ มรี อยถลอก และไมมีรอยบุบ ใส ไมม ีกลน่ิ ผาน 6 999 ขวดพลาสติกขุน มรี อยถลอก และไมม ีรอยบุบ ใส ไมมกี ลน่ิ ผา น9; พบ*,**; ตามมาตรฐานน้ําดื่มในภาชนะบรรจุท่ีปดสนิทท่ีกําหนดโดยกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 61 (พ.ศ.2524) เร่ือง นํ้าบริโภคในภาชนะบรรจุทีป่ ด สนิท ไมไดร ะบุวาตอ งมีการตรวจ***; ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบับท่ี 61 (พ.ศ.2524) เรอ่ื ง น้ําบริโภคในภาชนะบรรจทุ ่ปี ดสนิท 107

วารสารวิจัย ปีท่ี 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2557 http://ird.rmutto.ac.thตารางที่ 1 (ตอ) รายละเอยี ดบนฉลาก ตัวอยาง ช่ือบริ ัษท* วันผลิต/หมดอา ุย ** สถาน ่ีทต้ัง ลักษณะ ํ้นา กล่ิน มาตรฐานนํ้า ื่ดมภาชนะ ี่ท ปดส ินท***ยห่ี อ จงั หวัดท่ีผลติ ลักษณะของบรรจภุ ัณฑ 1 999 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมมรี อยถลอกและรอยบบุ ใส ไมม กี ลิ่น ผา น 2 999 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมมรี อยถลอกและรอยบบุ ใส ไมมีกลิน่ ผา นNO5 3 999 จงั หวดั นา น ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมม ีรอยถลอกและรอยบุบ ใส ไมม ีกลิ่น ผาน 4 999 ขวดพลาสติกขุน ไมมรี อยถลอกและรอยบุบ ใส ไมมกี ลิ่น ผา น 5 999 ขวดพลาสติกขุน ไมม ีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมม ีกล่ิน ผา น 6 999 ขวดพลาสตกิ ขุน ไมมีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมมกี ลน่ิ ผาน 1 999 ขวดพลาสติกขุน ไมม รี อยถลอกและรอยบบุ ใส ไมม ีกลน่ิ ผา น 2 999 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมม รี อยถลอกและรอยบุบ ใส ไมม กี ลน่ิ ผาน 3 999 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมมีรอยถลอกและรอยบุบ ใส ไมมกี ลน่ิ ผาน 4 999 ขวดพลาสติกขนุ ไมม ีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมมีกลน่ิ ผาน 5 999 ขวดพลาสติกขุน ไมม ีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมมีกล่นิ ผานNO6 6 999 จงั หวดั นาน ขวดพลาสติกขุน ไมมีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมม ีกลนิ่ ผา น 7 999 ขวดพลาสติกขุน ไมมรี อยถลอกและรอยบุบ ใส ไมม กี ลิ่น ผา น 8 999 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมมีรอยถลอกและรอยบุบ ใส ไมมีกลนิ่ ผา น 9 999 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมมรี อยถลอกและรอยบุบ ใส ไมมีกลิ่น ผาน 10 9 9 9 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมม ีรอยถลอกและรอยบุบ ใส ไมม ีกลนิ่ ผาน 11 9 9 9 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมม รี อยถลอกและรอยบุบ ใส ไมม ีกล่ิน ผาน 12 9 9 9 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมมีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมม ีกลน่ิ ผา น 1 999 ขวดพลาสตกิ ขุน ไมม รี อยถลอกและรอยบุบ ใส ไมม กี ลน่ิ ผา น 2 999 ขวดพลาสติกขุน ไมมีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมม กี ลิ่น ผาน 3 999 ขวดพลาสติกขุน ไมมีรอยถลอกและรอยบุบ ใส ไมม ีกลน่ิ ผาน 4 999 ขวดพลาสติกขุน ไมม ีรอยถลอกและรอยบุบ ใส ไมมีกลน่ิ ผา น 5 999 ขวดพลาสติกขนุ ไมม รี อยถลอกและรอยบุบ ใส ไมมีกลน่ิ ผา นNO7 6 999 จังหวดั นาน ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมม ีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมมีกลิ่น ผา น 7 999 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมม รี อยถลอกและรอยบุบ ใส ไมมกี ลิ่น ผา น 8 999 ขวดพลาสติกขุน ไมม รี อยถลอกและรอยบบุ ใส ไมม ีกลน่ิ ผา น 9 999 ขวดพลาสติกขุน ไมม รี อยถลอกและรอยบุบ ใส ไมม ีกลนิ่ ผา น 10 9 9 9 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมมรี อยถลอกและรอยบบุ ใส ไมมีกลน่ิ ผา น 11 9 9 9 ขวดพลาสตกิ ขนุ ไมมรี อยถลอกและรอยบุบ ใส ไมม ีกลน่ิ ผาน 12 9 9 9 ขวดพลาสตกิ ขุน ไมมีรอยถลอกและรอยบบุ ใส ไมม กี ลนิ่ ผาน9; พบ*,**; ตามมาตรฐานนํ้าดื่มในภาชนะบรรจุที่ปดสนิทท่ีกําหนดโดยกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 61 (พ.ศ.2524) เรื่อง น้ําบริโภคในภาชนะบรรจทุ ี่ปดสนิท ไมไ ดร ะบวุ าตองมกี ารตรวจ***; ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบับที่ 61 (พ.ศ.2524) เรอื่ ง น้ําบริโภคในภาชนะบรรจทุ ีป่ ดสนทิ 108

http://ird.rmutto.ac.th วารสารวจิ ยั ปที ี่ 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2557 จากตรวจสอบการทดสอบแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม ฟคัลโคลิฟอรม และ E. coli โดยวิธี Most probable number(MPN) ของตัวอยางนํ้าด่ืมบรรจุขวดชนิดพลาสติกขุนท่ีจําหนายในจังหวัดนาน ผลการศึกษาตัวอยางน้ําด่ืมบรรจุขวดจํานวน 48ตัวอยาง พบตัวอยางน้ําจํานวน 43 ตัวอยาง มีปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมและฟคัลโคลิฟอรมมีคานอยกวา 1.8 MPN/100mL และพบวาย่ีหอ NO1 ของตัวอยางท่ี 1 มีปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมและฟคัลโคลิฟอรมมีคาเทากันคือ 170.0 MPN/100mL สวนอีก 1 ตัวอยางนํ้า คือ ย่ีหอ NO5 ของตัวอยางที่ 5 มีปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมและฟคัลโคลิฟอรมมีคาเทากันคือ2.0 MPN/100 mL และทุกตัวอยางน้ําดื่มไมพบ E. coli ในทุกตัวอยางที่ทําการศึกษาในครั้งนี้ (ตารางที่ 2) ดังนั้นเมื่อประเมินจากปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมและฟคัลโคลิฟอรม พบวามีตัวอยางน้ํา 95.83% ที่ผานมาตรฐานตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ประเทศไทยตารางที่ 2 ปริมาณแบคทเี รียดัชนีและคาความเปนกรด-ดางของนํ้าดม่ื บรรจขุ วดชนดิ พลาสติกขุนที่จาํ หนายในจงั หวดั นานยหี่ อ จงั หวัดท่ผี ลิต ตัวอยา ง คา ความเปน Coliform Fecal coliform E. coli มาตรฐานน้ําดื่ม กรด-ดาง (MPN/100 mL) (MPN/100 mL) (MPN/100 mL) ในภาชนะบรรจุNO1 จังหวดั นาน 1 6.59 ± 0.01 170 170 ไมพ บ ท่ปี ด สนิท*NO2 จังหวัดนาน 2 8.42 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ไมผา นNO3 จังหวดั นา น 3 8.00 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผา น 1 6.41 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผานNO4 จงั หวัดนาน 2 6.51 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ไมผ าน 3 6.86 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผานNO5 จังหวดั นาน 1 6.57 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผา น 2 6.52 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 3 6.45 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผาน 4 6.55 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ไมผ า น 5 6.47 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผา น 6 6.48 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ไมผ าน 1 6.13 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ไมผ าน 2 6.29 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ไมผ า น 3 6.31 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ไมผ าน 4 6.23 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ไมผ า น 5 6.21 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ไมผาน 6 6.27 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ไมผ า น 1 7.34 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ไมผาน 2 7.52 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผาน 3 7.55 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผาน 4 7.57 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผา น 5 7.65 ± 0.01 2.0 2.0 ไมพ บ ผาน 6 7.60 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ไมผ า น ผาน*; ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบบั ท่ี 61 (พ.ศ.2524) เร่ือง น้าํ บรโิ ภคในภาชนะบรรจุทป่ี ด สนทิ 109

วารสารวจิ ัย ปที ่ี 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2557 http://ird.rmutto.ac.thตารางที่ 2 (ตอ )ย่ีหอ จังหวัดที่ ตวั อยา ง คา ความเปน Coliform Fecal coliform E. coli มาตรฐานน้าํ ดม่ื ผลิต กรด-ดาง (MPN/100 mL) (MPN/100 mL) (MPN/100 mL) ในภาชนะบรรจุNO6 จังหวัดนาน 1 7.64 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ทป่ี ด สนิท*NO7 จงั หวดั นาน 2 7.45 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผา น 3 7.50 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผาน 4 7.36 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผา น 5 7.21 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 6 7.09 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 7 7.54 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 8 7.64 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผาน 9 7.59 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 10 7.67 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผา น 11 7.72 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผา น 12 7.67 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผา น 1 7.54 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 2 7.58 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 3 7.53 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผา น 4 7.51 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผาน 5 7.62 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 6 7.68 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 7 7.63 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 8 7.57 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผาน 9 7.73 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผา น 10 7.70 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพบ ผาน 11 7.60 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผา น 12 7.51 ± 0.01 < 1.8 < 1.8 ไมพ บ ผาน ผาน*; ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 61 (พ.ศ.2524) เรอ่ื ง น้าํ บริโภคในภาชนะบรรจุที่ปด สนทิ จากการตรวจสอบคุณภาพทางจุลชีววิทยาและลักษณะอ่ืน ๆ ของนํ้าด่ืมบรรจุขวดขุนในครั้งนี้พบวา ตัวอยางน้ําดื่มบรรจุขวดท้ังหมดมีการระบุรายละเอียดบนฉลาก ไดแก ช่ือบริษัทท่ีผลิต สถานที่ผลิต และวันผลิตวันหมดอายุครบถวน และมีลักษณะของนํ้าและกล่ินตรงตามมาตรฐานของน้ําดื่มบรรจุขวดของกระทรวงสาธารณสุขของประเทศไทย นอกจากนี้การตรวจสอบคุณภาพทางดานความเปนกรด-ดาง พบ 10 ตัวอยางนํ้าบรรจุขวด (20.83%) ที่มีความเปนกรด-ดางที่นอยกวา 6.5 จึงทําใหไมผานมาตรฐานของนา้ํ ดม่ื บรรจุขวดของกระทรวงสาธารณสขุ ของประเทศไทย ที่กําหนดใหมคี วามเปน กรด-ดา ง อยูในชว ง 6.5-8.5 เม่ือประเมินจากคุณภาพทางดานจุลชีววิทยาจากคาแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรม ฟคัลโคลิฟอรม และ E. coli รวมกับคาความเปนกรด-ดาง พบวามีตัวอยางน้ํา 12 ตัวอยางจาก 48 ตัวอยาง คิดเปน 25.00% ยังไมผานมาตรฐานตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย ซึ่งการตรวจสอบคุณภาพทางจุลชีววิทยาของนํ้าด่ืมนั้นไดมีการรายงานอยางตอเน่ือง เชนรายงานของดุษณี และคณะ (2539) ไดรายงานเกี่ยวกับคุณภาพนํ้าดื่มในกรุงเทพฯ พบวา นํ้าดื่มบรรจุขวดพบปริมาณเช้ือแบคทีเรียมากกวาน้ําประปา โดยพบวาปริมาณแบคทีเรียทั้งหมด (Heterotrophic plate count, HPC) ที่เกินมาตรฐานในน้ําตัวอยางเพียงรอยละ 2 แตในนํ้าด่ืมบรรจุขวดกลับสูงถึงรอยละ 97 และรายงานของสัตถาพร (2549) ท่ีไดทําการประเมินผลคุณภาพทางจุลชีววิทยาของนํ้าดื่มบรรจุขวดที่เปนขวดพลาสติกใส พบวาตรวจไมพบแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมและ E. coli 110

http://ird.rmutto.ac.th วารสารวจิ ัย ปที ่ี 7 ฉบับท่ี 2 กรกฎาคม - ธนั วาคม 2557ปนเปอนในนํ้าดื่ม ซ่ึงการไมพบแบคทีเรียกลุมดังกลาวอาจเน่ืองมาจากกระบวนการผลิตน้ําดื่มบรรจุขวดมีมาตรฐานในการผลิตรวมทัง้ รายงานของ Benito and Sutherland (1999) ทท่ี าํ การตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพและจุลชีววิทยาของนํ้าดื่มบรรจุขวดที่จําหนายในสหราชอาณาจักรพบวาจากตัวอยางนํ้าด่ืมจํานวน 8 ย่ีหอ พบการปนเปอนของแบคทีเรียหลายชนิดโดยพบPseudomonas sp. สูงที่สุด นอกจากน้ียังพบวาชวงระยะเวลาในการเก็บตัวอยางมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของแบคทีเรียทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งรายงานของ Kassenga (2007) ไดทําการศึกษาถึงคุณภาพทางจุลชีววิทยาของนํ้าด่ืมบรรจุขวดและบรรจุถุงพลาสติกหรือน้ําด่ืมชนิดถุงจํานวน 130 ตัวอยาง จาก 13 ยี่หอ ที่จําหนายในสหสาธารณรัฐแทนซาเนียพบวา มีการตรวจพบแบคทีเรียกลมุ โคลฟิ อรมท้ังหมดและฟคัลโคลิฟอรมในตัวอยางนํ้าด่ืมคิดเปนรอยละ 4.6% และ 3.6% ตามลําดับ จากตัวอยางท่ีนํามาวิเคราะหม แี นวโนมของการปนเปอนที่สูงข้ึนในน้ําด่ืมบรรจุถุงพลาสติก จากผลดังกลาวแสดงใหเห็นวา คุณภาพทางดานจุลชีววิทยาของน้ําดื่มบรรจุขวดและบรรจุถุงพลาสติกหรือน้ําด่ืมชนิดถุงไมเปนไปตามมาตรฐานน้ําด่ืมท่ีควบคุมโดยสํานักงานมาตรฐานของสหพันธสาธารณรัฐแทนซาเนีย เปนตน นอกจากน้ีกระบวนการในการผลิตนํ้าด่ืมบรรจุขวดก็มีความความสําคัญเนื่องจากอาจชวยลดการปนเปอนในนํ้าดื่มได ซ่ึงในกระบวนการผลิตน้ําดื่มก็มีกระบวนการผลิตแตกตางกันไป ไดแก การทําระบบ Reverse osmosis (R.O.) การใชแสงอัลตราไวโอเลต (หลอด U.V.) และใชระบบโอโซน (Ozone) นั้นนาจะสามารถกําจัดแบคทีเรียดัชนี คือ แบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมและ E. coli และแบคทีเรียกอโรคอ่ืน ๆ ที่ปนเปอนในนํ้า จึงทําใหนํ้าด่ืมบรรจุขวดนาจะปราศจากเชื้อกอโรคที่มีแหลงมาจากการปนเปอนดวยส่ิงขับถายของมนุษยและสัตวเลือดอุน รวมท้ังมีความปลอดภัยตอการผบู รโิ ภค4. สรปุ ผล จากการศึกษาครั้งนี้พบวาคุณภาพทางกายภาพบางประการและคุณภาพทางดานจุลชีววิทยาของน้ําดื่มบรรจุขวดชนิดพลาสตกิ ขุน ของจงั หวดั นานเปนไปตามมาตรฐานของนา้ํ ดื่มในภาชนะบรรจทุ ่ีปด สนิทของประเทศไทยเพียง 75% และเพื่อทําใหผูบริโภคมีความมั่นใจในผลิตภัณฑนํ้าดื่มบรรจุขวดชนิดพลาสติกขุน จึงควรมีการตรวจสอบกระบวนการผลิตนํ้าด่ืมบรรจุขวดกลุมน้ีท่ีมีการจําหนายในจังหวัดนานนี้ใหมากข้ึน รวมท้ังควรทําการทดสอบเพ่ิมเติมถึงคุณสมบัติทางดานอ่ืน ๆ ไดแก ปริมาณสารแขวนลอย ความขนุ ความกระดางของน้ํา ปริมาณสารเคมีและโลหะหนัก เปนตน เน่ืองจากยังมีการศึกษาทางดานคุณสมบัติอืน่ ๆ ของตวั อยา งน้ําดม่ื บรรจุขวดยังมีไมม ากนกั ของนาํ้ ดม่ื บรรจุขวดชนดิ ขวดพลาสติกขุน ในจงั หวัดนี้และในจังหวัดอื่น ๆ ของประเทศไทย5. เอกสารอางองิเกศรนิ ฑฆี ายุ และ สมทบ สันติเบญ็ จกุล. 2555. การหาปรมิ าณแคฟเฟอนี ในเครอ่ื งดม่ื ทจ่ี าํ หนายในเขตเทศบาลตําบลบางพระ อาํ เภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ .ี วารสารวิจยั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก. 1(2) : 48-55.ดษุ ณี สทุ ธปรยี าศรี อญั ชลี ตัณฑศุภศริ ิ และ นิภาพรรณ กังสกุลนติ ิ. 2539. คุณภาพนํ้าดื่มในกรุงเทพฯ. วารสารมหิดล 3(4) :167-171.สัตถาพร สโิ รตมรัตน. 2549. การตรวจหาแบคทีเรยี กอโรคทองรวงและสารเคมีปนเปอนในอาหาร. วารสารวจิ ัยวิทยาศาสตร การแพทย 20(1): 87-101.Ahmed, A., T.M. Noonari, H. Magsi, and A. Mahar. 2013. Risk assessment of total and faecal coliform bacteria from drinking water supply of Badin City, Pakistan. Journal of environmental professionals Sri Lanka 2(1): 52-64.Benito, A. A., and J.P. Sutherland. 1999. A survey of the microbiological quality of bottled water sold in the UK and changes occurring during storage. International journal of food microbiology 48:59-95.Kassenga, G.R. 2007. The health-related microbiological quality of bottled drinking water sold in Dar es Salaam, Tanzania. Journal of water and health 5(1):179-185.Olaoye, O.A., and A.A., Onilude. 2009. Assessment of microbiological quality of sachet-packaged drinking water in Western Nigeria and its public health significance. Journal of public health 123: 729-734. 111


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook