เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : คมู่ อื โสดาบัน ไม่เข้าถึงแม้ซึ่งกะละภาค นั่นคือความทุกข์ของโสดาบัน ผูส้ ตั ตกั ขตั ตปุ รมะ1 ผูเ้ หน็ ชดั ตามเปน็ จรงิ วา่ “ทกุ ข์ เปน็ อยา่ งน้ี เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ เปน็ อยา่ งน้ี ความดบั ไมเ่ หลอื แห่ง ทกุ ข์ เปน็ อยา่ งน้ี ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แห่ง ทุกข์ เป็นอยา่ งน”ี้ ดงั น.ี้ ภิกษุท้งั หลาย ! เพราะเหตนุ ้นั ในเรือ่ งนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำ� ใหร้ วู้ า่ “ทกุ ข์ เปน็ อยา่ งน ้ี เหตเุ กดิ ขน้ึ แหง่ ทกุ ข์ เปน็ อยา่ งน้ี ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้ ทางดำ�เนินให้ถึง ซึง่ ความดบั ไมเ่ หลือแห่งทกุ ข์ เป็นอย่างน”ี้ ดงั น้.ี 1. ค ือ พระโสดาบัน ท่ีต้องมีก�ำเนิดอีกไม่เกิน ๗ ชาติ อันเป็นพระอริยบุคคล ชน้ั ต้นท่สี ดุ ของจ�ำพวกโสดาบัน. แมก้ ระน้ัน กต็ รสั ว่า ทุกขห์ มดไปมากกวา่ ท่ียงั เหลือ. 133
พุทธวจน - หมวดธรรม [สูตรอ่ืนอุปมาเปรียบด้วย เม็ดกรวดเท่าเม็ดถั่วเขียว ๗ เม็ด กับ ขนุ เขาหมิ าลยั (๑๙/๕๖๙/๑๗๔๕-๑๗๔๖). อกี สตู รหนงึ่ เปรยี บ นำ�้ ตดิ ปลายใบหญา้ คากบั นำ�้ ในสระกวา้ ง ๕๐ โยชน์ (๑๙/๕๗๒/๑๗๔๘). อกี สตู รหนง่ึ เปรยี บ นำ�้ ๒–๓ หยดกบั นำ้� ในแมน่ ำ้� ๕ สายรวมกนั (๑๙/๕๗๓/๑๗๔๙-๑๗๕๐). อกี สตู รหนงึ่ เปรยี บ เมด็ กระเบา ๗ เมด็ กบั มหาปฐพี (๑๙/๕๗๔/๑๗๕๑-๑๗๕๒). อกี สตู รหนง่ึ เปรยี บ นำ�้ ๒–๓ หยดกบั นำ้� ทง้ั มหาสมทุ ร (๑๙/๕๗๕/๑๗๕๓-๑๗๕๔). อกี สตู รหนงึ่ เปรยี บ เมด็ ผกั กาด ๒–๓ เมด็ กบั ขนุ เขาหมิ าลยั (๑๙/๕๗๖/๑๗๕๕-๑๗๕๖)] และยงั มสี ตู รอกี กลมุ่ หนง่ึ คอื สตู รท่ี ๑–๑๐ อภสิ มยวรรค อภสิ มยสงั ยตุ ต์ นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๖๘/๓๓๑ ตรสั แกภ่ กิ ษทุ งั้ หลายทเี่ ชตวนั ประกอบดว้ ย อปุ มาหลายอยา่ งในแตล่ ะสตู ร และมเี นอื้ หาขอ้ ความทอี่ ธบิ าย เรม่ิ ตงั้ แต่ ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ! อปุ มานฉี้ นั ใด อปุ ไมยกฉ็ นั นน้ั ... ไปจนจบประโยค วา่ ...ผเู้ ปน็ สตั ตกั ขตั ตปุ รมะ เหมอื นกนั ทกุ ตวั อกั ษร มที ต่ี า่ งกนั ตรง ขอ้ ความตอ่ ทา้ ยจากประโยคน้ี (ในทแ่ี สดงไวท้ งั้ ๑๐ สตู ร) จะตอ่ ทา้ ยค�ำ สตั ตกั ขตั ตปุ รมะ วา่ “ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! การรพู้ รอ้ มเฉพาะซงึ่ ธรรม เปน็ ไปเพอื่ ประโยชนอ์ นั ใหญ่หลวงอยา่ งน้ี การไดเ้ ฉพาะซ่ึงธรรมจกั ษุ เป็นไปเพอื่ ประโยชน์อนั ใหญ่หลวงอยา่ งนี้”. 134
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : คู่มอื โสดาบัน สามัญญผลในพุทธศาสนา 33 เทยี บกนั ไม่ได้ กับในลทั ธิอน่ื -บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๑๖๘-๑๖๙/๓๓๑-๓๓๒. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เปรยี บเหมอื นบรุ ษุ พงึ โยนกรวดหนิ มปี ระมาณเทา่ เมด็ ถว่ั เขยี วเจด็ เมด็ เขา้ ไปทเ่ี ทอื กเขาหลวง ชอื่ สเิ นร.ุ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! พวกเธอทง้ั หลายจะพงึ ส�ำ คญั ความขอ้ น้ี วา่ อยา่ งไร กรวดหนิ มปี ระมาณเทา่ เมด็ ถว่ั เขยี ว เจ็ดเม็ด ที่บุรุษโยนเข้าไป (ที่เทือกเขาหลวงชื่อสิเนรุ) เป็นส่ิงท่ีมากกว่า หรือว่าเทือกเขาหลวงชื่อสิเนรุ เป็นสิ่งที่มากกว่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! เทือกเขาหลวงช่ือสิเนรุนั้น แหละ เป็นสิ่งที่มากกว่า. กรวดหินมีประมาณเท่าเม็ดถั่วเขียว เจ็ดเม็ด ที่บรุ ุษโยนเข้าไป (ท่เี ทอื กเขาหลวงชือ่ สเิ นร)ุ มีประมาณ น้อย. กรวดหินนี้เมื่อน�ำเข้าไป เทียบกับเทือกเขาหลวงชื่อสิเนรุ ย่อมไม่เข้าถึงส่วนหนึง่ ในร้อย ส่วนหน่ึงในพัน ส่วนหน่งึ ในแสน”. 135
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! อุปมานี้ฉันใด อุปไมยก็ฉันนั้น การบรรลุคุณวิเศษ แห่งสมณพราหมณ์ และ ปริพาชกผู้เป็นเดียรถีย์เหล่าอื่น เมื่อนำ�เข้าไปเทียบกับ การบรรลุคุณวิเศษ ของอริยสาวก ซ่ึงเป็นบุคคล ผู้ถึงพร้อมด้วย (สัมมา) ทิฏฐิ ย่อมไม่เข้าถึง ส่วนหนึ่ง ในรอ้ ย สว่ นหน่ึงในพนั สว่ นหน่ึงในแสน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บคุ คลผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ย(สมั มา)ทฏิ ฐิ เป็นผู้มีการบรรลุอันใหญ่หลวงอย่างนี้ เป็นผู้มีความรู้ยิ่ง อนั ใหญห่ ลวงอยา่ งน้ี ดงั นี้ แล. 136
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : คูม่ ือโสดาบนั ลกั ษณะแห่งผู้เจรญิ อนิ ทรยี ์ขน้ั อริยะ 34 -บาลี อุปร.ิ ม. ๑๔/๕๔๕-๕๔๖/๘๖๓-๘๖๔ อานนท์ ! ผ้มู ีอินทรีย์อันอบรมแล้วในข้ันอริยะ เป็นอย่างไรเลา่ ? อานนท์ ! ในกรณนี ้ี ความพอใจ ความไม่พอใจ ความพอใจและไม่ พอใจ เกดิ ขึน้ แกภ่ ิกษุเพราะเหน็ รูปดว้ ยตา...ฟงั เสยี งดว้ ย ห.ู .. ดมกลน่ิ ดว้ ยจมกู ...ลม้ิ รสดว้ ยลนิ้ ...ถกู ตอ้ งสมั ผสั ดว้ ย ผวิ กาย...รแู้ จ้งธรรมารมณด์ ว้ ยใจ. ภิกษนุ ั้น ถา้ เธอหวงั วา่ จะเป็นผู้อยู่อย่างมีความรู้สึกว่า ไม่ปฏิกูล ในสิ่งที่เป็นปฏิกูล ดังนี้ เธอก็อยู่อย่างผู้มี ความรู้สึกว่าไม่ปฏิกูลในสิ่งที่เป็นปฏิกูลนั้นได้. ถา้ เธอหวังว่า จะเป็นผู้อยู่อย่างมีความรู้สึกว่า ปฏิกูล ในส่ิงที่ไม่เป็นปฏิกูล ดังนี้ เธอก็อยู่อย่างผู้มี ความรูส้ กึ วา่ ปฏกิ ูลในส่งิ ทไี่ ม่เปน็ ปฏิกลู นนั้ ได้. 137
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ถ้าเธอหวังว่า จะเป็นผู้อยู่อย่างมีความรู้สึกว่า ไม่ปฏิกูล ท้ังในสิ่งท่ีเป็นปฏิกูลและไม่เป็นปฏิกูล ดังน้ี เธอก็อยู่อย่างผู้มีความรู้สึกว่าไม่ปฏิกูลท้ังในส่ิงที่เป็น ปฏกิ ูลและไม่เป็นปฏกิ ูลนั้นได้. ถ้าเธอหวังว่า จะเป็นผู้อยู่อย่างมีความรู้สึกว่า ปฏิกูล ทั้งในส่ิงที่ไม่เป็นปฏิกูลและส่ิงที่เป็นปฏิกูล ดังนี้ เธอก็อยู่อย่างผู้มีความรู้สึกว่าปฏิกูลท้ังในส่ิงท่ีไม่เป็น ปฏกิ ลู และสิ่งท่ีเป็นปฏิกูลน้ันได.้ และถ้าเธอหวังว่า จะเป็นผู้อยู่อย่างเว้นขาดจาก ความรู้สึกว่าปฏิกูลและไม่ปฏิกูลทั้งสองอย่างเสียแล้ว อยอู่ ยา่ งผอู้ เุ บกขา มสี ตสิ มั ปชญั ญะ ดงั น ้ี เธอกอ็ ยอู่ ยา่ ง ผู้อุเบกขามีสติสัมปชัญญะในสิ่งเป็นปฏิกูลและไม่เป็น ปฏิกูลทง้ั สองอย่างนนั้ ได้. อานนท ์ ! อยา่ งนี้แล ชือ่ ว่า ผูม้ ีอินทรยี อ์ นั เจริญแล้วในขน้ั อริยะ. 138
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ค่มู ือโสดาบัน พระโสดาบันกับพระอรหันต์ต่างกัน 35 ในการเห็นธรรม -บาลี ขนฺธ. อํ. ๑๗/๑๙๖/๒๙๖-๒๙๗. ภิกษุทั้งหลาย ! อุปาทานขันธ์ (ความยึดมั่นใน ธรรมชาต)ิ ท้งั หลายเหล่านี ้ มีอยู่หา้ อย่าง. ห้าอยา่ ง อยา่ งไรเลา่ ? ห้าอย่าง คือ รูปปู าทานขนั ธ์ (ความยดึ มั่นในรูปกาย) เวทนูปาทานขนั ธ์ [ความยึดมน่ั ในเวทนา (สขุ ทกุ ข์ อเุ บกขา)] สัญญูปาทานขันธ์ [ความยึดมน่ั ในสญั ญา (ความจำ�ได้หมายร้)ู ] สังขารปู าทานขนั ธ์ [ความยึดมั่นในสงั ขาร (ความคิดปรงุ แต่ง)] วิญญาณูปาทานขนั ธ์ [ความยดึ มน่ั ในวิญญาณ (ผู้รแู้ จ้งซ่ึงอารมณ)์ ] 139
พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษทุ งั้ หลาย ! เมอ่ื ใด อรยิ สาวก รชู้ ดั แจง้ ตาม เปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ ขน้ึ (สมทุ ยั ) ซง่ึ ความตง้ั อยไู่ มไ่ ด้ (อตั ถงั คมะ) ซง่ึ รสอรอ่ ย (อสั สาทะ) ซง่ึ โทษอนั ต�ำ่ ทราม (อาทนี วะ) และซง่ึ อบุ ายเปน็ เครอ่ื งสลดั ออก (นสิ สรณะ) แหง่ อปุ าทานขันธท์ ัง้ ห้าเหล่านี้ ภิกษุท้ังหลาย ! อริยสาวกน้ี เราเรียกว่า เป็น โสดาบัน มีอันไม่ตกตำ่�เป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อ พระนพิ พาน มีการตรสั รพู้ รอ้ มในเบื้องหน้า. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อปุ าทานขนั ธ์เหล่านี ้ มีอยหู่ า้ อยา่ ง. หา้ อย่างอย่างไรเล่า ? หา้ อย่าง คือ รปู ูปาทานขนั ธ์ เวทนปู าทานขนั ธ์ สัญญูปาทานขันธ์ สังขารูปาทานขนั ธ์ วิญญาณูปาทานขันธ์ 140
เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : คูม่ ือโสดาบัน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมื่อใด ภกิ ษ ุ รชู้ ดั แจง้ ตามเปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ ขนึ้ ซง่ึ ความตง้ั อยไู่ มไ่ ด้ ซง่ึ รสอรอ่ ย ซึ่งโทษอันตำ่�ทราม และซ่ึงอุบายเป็นเคร่ืองสลัดออก แหง่ อปุ าทานขนั ธท์ ง้ั หา้ เหลา่ น ี้ ดงั นแี้ ลว้ เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ แลว้ เพราะไม่มคี วามยดึ มน่ั . ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุนี้ เราเรียกว่า เป็น พระอรหันต์ ผู้มีอาสวะสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำ�กิจที่ควรทำ�สำ�เร็จแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มี ประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว มีสังโยชน์ในภพส้ินไปรอบ แลว้ เป็นผหู้ ลดุ พน้ แลว้ เพราะรโู้ ดยชอบ ดงั นี้ แล. 141
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : ค่มู อื โสดาบนั 142
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : คู่มือโสดาบัน พระโสดาบนั กบั พระอรหนั ต์ต่างกนั 36ในการเหน็ ธรรม (อีกนยั หนึ่ง) -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๗๑-๒๗๒/๙๐๒-๙๐๕. ภกิ ษุท้งั หลาย ! อินทรีย์หกเหลา่ น้ี มอี ย่.ู หกเหล่าไหนเล่า ? หกเหลา่ คอื จกั ขุนทรีย์ โสตนิ ทรยี ์ ฆานนิ ทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายนิ ทรยี ์ มนนิ ทรยี ์. ภิกษุท้ังหลาย ! เม่ือใด อริยสาวก รู้ชัดแจ้ง ตามเป็นจริง ซ่ึงความเกิดขึ้น ซึ่งความต้ังอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษอันตำ่�ทราม และซึ่งอุบายเป็น เครอ่ื งสลดั ออก แห่งอินทรยี ์หกเหล่านี้ ภิกษุท้ังหลาย ! อริยสาวกน้ี เราเรียกว่า เป็น โสดาบัน มีอันไม่ตกต�่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เท่ียงแท้ต่อ พระนิพพาน จกั ตรัสรู้พร้อมในเบือ้ งหนา้ . 143
พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษทุ ้ังหลาย ! อินทรีย์หกเหล่านี้ มอี ยู.่ หกเหลา่ ไหนเล่า ? หกเหล่า คอื จักขนุ ทรีย ์ โสตินทรยี ์ ฆานนิ ทรีย์ ชวิ หินทรยี ์ กายนิ ทรยี ์ มนินทรีย.์ ภิกษุท้ังหลาย ! เมื่อใด ภิกษุ รู้ชัดแจ้ง ตามเป็นจริง ซ่ึงความเกิดขึ้น ซ่ึงความต้ังอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซ่ึงโทษอันต่ำ�ทราม และซ่ึงอุบายเป็น เครื่องสลัดออก แห่งอินทรีย์หกเหล่านี้ ดังนี้ และ เป็นผหู้ ลดุ พน้ แล้ว เพราะไมม่ ีความยดึ มั่น. ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุน้ี เราเรียกว่า เป็น พระอรหันต์ ผู้มีอาสวะส้ินแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ท�ำกิจที่ควรท�ำส�ำเร็จแล้ว มีภาระอันปลงลงแล้ว มี ประโยชน์ตนอันตามถึงแล้ว มีสังโยชน์ในภพสิ้นไปรอบ แล้ว เปน็ ผู้หลุดพ้นแลว้ เพราะรู้โดยชอบ ดังนี้ แล. (สูตรข้างบนน้ีทรงแสดงอินทรีย์โดยอายตนะภายในหก ยังมีสูตรอ่ืน (๑๙/๒๗๕/๙๑๔-๙๑๘) ทรงแสดงอินทรีย์โดย เวทนาหา้ คอื สขุ นิ ทรยี ์ ทกุ ขนิ ทรยี ์ โสมนสั สนิ ทรยี ์ โทมนสั สนิ ทรยี ์ อเุ ปกขนิ ทรีย์ ดังน้ีก็ม)ี . 144
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ค่มู อื โสดาบัน ความลดหลัน่ แห่งพระอรยิ บุคคล 37 ผปู้ ฏบิ ตั ิอยา่ งเดยี วกัน -บาลี ตกิ . อํ. ๒๐/๓๐๑-๓๐๓/๕๒๘. ภิกษุท้ังหลาย ! สิกขาบทร้อยห้าสิบสิกขาบทน้ี ย่อมมาสู่อุทเทส ทุกกึ่งแห่งเดือนตามลำ�ดับ อันกุลบุตร ผปู้ รารถนาประโยชนพ์ ากนั ศกึ ษาอยใู่ นสกิ ขาบทเหลา่ นนั้ . ภิกษุทั้งหลาย ! สิกขาสามอย่างเหล่านี้ มีอยู่ อนั เป็นท่ปี ระชุมลงของสิกขาบทท้ังปวงนน้ั . สกิ ขาสามอยา่ งนน้ั เปน็ อย่างไรเล่า ? คอื อธสิ ลี สกิ ขา อธจิ ติ ตสกิ ขา อธปิ ญั ญาสกิ ขา. ภิกษุท้ังหลาย ! เหล่านี้แล สิกขาสามอย่าง อนั เปน็ ท่ปี ระชุมลงแหง่ สิกขาบททั้งปวงน้ัน. ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ทำ�ให้ บริบูรณ์ในศีล ทำ�ให้บริบูรณ์ในสมาธิ ทำ�ให้บริบูรณ์ ในปญั ญา. เธอยงั ลว่ งสกิ ขาบทเลก็ นอ้ ยบา้ ง และตอ้ งออก จากอาบตั เิ ลก็ นอ้ ยเหลา่ นน้ั บา้ ง. ขอ้ นนั้ เพราะเหตไุ รเลา่ ? 145
พุทธวจน - หมวดธรรม ขอ้ นนั้ เพราะเหตวุ า่ ไมม่ ผี รู้ ใู้ ดๆ กลา่ วความอาภพั ต่อการบรรลุโลกุตตรธรรม จักเกิดข้ึน เพราะเหตุสักว่า การล่วงสกิ ขาบทเลก็ น้อย และการต้องออกจากอาบตั ิเลก็ น้อยเหล่าน้ี. ส่วนสิกขาบทเหล่าใดที่เป็นเบื้องต้นแห่ง พรหมจรรย์ ทเี่ หมาะสมแกพ่ รหมจรรย ์ เธอเปน็ ผมู้ ศี ลี ยงั่ ยนื มศี ลี มนั่ คงในสกิ ขาบทเหลา่ นนั้ สมาทานศกึ ษา อยู่ในสิกขาบททั้งหลาย. ภิกษุนั้น ได้กระทำ�ให้แจ้ง ซ่ึงเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะ ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยปัญญาอันย่ิงเองใน ทิฏฐธรรมนี้ เข้าถงึ แล้วแลอย.ู่ หรอื วา่ (บางพวก) ยงั ไมไ่ ดท้ �ำใหเ้ กดิ ม ี ยงั ไมไ่ ด้ แทงตลอด ซง่ึ อนาสววมิ ตุ ติ แตเ่ พราะความสนิ้ ไปรอบแหง่ โอรมั ภาคยิ สงั โยชนเ์ บอื้ งตำ�่ หา้ จงึ เปน็ อนั ตราปรนิ พิ พายี ผปู้ รินิพพานในระหว่างอายยุ ังไมท่ ันถึงกง่ึ . หรอื วา่ (บางพวก) ยงั ไมไ่ ดท้ �ำใหเ้ กดิ ม ี ยงั ไมไ่ ด้ แทงตลอด ซงึ่ อนาสววมิ ตุ ติ แตเ่ พราะความสนิ้ ไปรอบแหง่ โอรมั ภาคยิ สงั โยชนเ์ บอื้ งตำ่� หา้ จงึ เปน็ อปุ หจั จปรนิ พิ พายี ผ้ปู รนิ พิ พานเมือ่ อายพุ ้นก่งึ แลว้ จวนถึงที่สดุ . 146
เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : คมู่ อื โสดาบนั หรอื วา่ (บางพวก) ยงั ไมไ่ ดท้ �ำใหเ้ กดิ ม ี ยงั ไมไ่ ด้ แทงตลอดซง่ึ อนาสววมิ ตุ ต ิ แตเ่ พราะความสนิ้ ไปรอบแหง่ โอรมั ภาคยิ สงั โยชนเ์ บอ้ื งตำ�่ หา้ จงึ เปน็ อสงั ขารปรนิ พิ พายี ผ้ปู รนิ ิพพานด้วยไมต่ อ้ งใชค้ วามเพียรเร่ยี วแรง. หรอื วา่ (บางพวก) ยงั ไมไ่ ดท้ �ำใหเ้ กดิ ม ี ยงั ไมไ่ ด้ แทงตลอด ซง่ึ อนาสววมิ ตุ ติ แตเ่ พราะความสนิ้ ไปรอบแหง่ โอรมั ภาคยิ สงั โยชนเ์ บอื้ งตำ่� หา้ จงึ เปน็ สสงั ขารปรนิ พิ พายี ผปู้ รินิพพานดว้ ยตอ้ งใช้ความเพยี รเรีย่ วแรง. หรอื วา่ (บางพวก) ยงั ไมไ่ ดท้ �ำใหเ้ กดิ ม ี ยงั ไมไ่ ด้ แทงตลอด ซงึ่ อนาสววมิ ตุ ติ แตเ่ พราะความสนิ้ ไปรอบแหง่ โอรมั ภาคยิ สงั โยชนเ์ บอ้ื งตำ่� หา้ จงึ เปน็ อทุ ธงั โสโตอกนฏิ - ฐคามี ผ้มู กี ระแสในเบ้อื งบนไปถึงอกนฏิ ฐภพ. หรอื วา่ (บางพวก) ยงั ไมไ่ ดท้ �ำ ใหเ้ กดิ ม ี ยงั ไมไ่ ด้ แทงตลอด ซึ่งอนาสววิมุตติ แต่เพราะความสิ้นไปรอบ แห่งสังโยชน์สาม และเพราะความท่ีราคะ โทสะ โมหะ ก็เบาบางน้อยลง เป็น สกทาคามี ยังจะมาสู่โลกนี้อีก ครง้ั เดยี วเท่านั้น แลว้ ยอ่ มกระทำ�ทีส่ ดุ แหง่ ทุกข์ได.้ 147
พุทธวจน - หมวดธรรม หรอื วา่ (บางพวก) ยงั ไมไ่ ดท้ �ำใหเ้ กดิ ม ี ยงั ไมไ่ ด้ แทงตลอด ซึ่งอนาสววิมุตติ แต่เพราะความสิ้นไปรอบ แห่งสังโยชน์สาม เป็นผู้ เอกพีชี คือ จักเกิดในภพ แห่งมนุษย์อีกหนเดียวเท่านั้น แล้วย่อมกระท�ำท่ีสุดแห่ง ทกุ ขไ์ ด.้ หรือว่า (บางพวก) ยังไม่ได้ท�ำให้เกิดมี ยังไม่ ไดแ้ ทงตลอด ซงึ่ อนาสววมิ ตุ ต ิ แตเ่ พราะความสน้ิ ไปรอบ แหง่ สังโยชน์สาม เปน็ ผู้โกลังโกละ จกั ตอ้ งทอ่ งเท่ียวไปสู่ สกลุ อกี สองหรอื สามครงั้ แลว้ ยอ่ มกระท�ำทสี่ ดุ แหง่ ทกุ ขไ์ ด.้ หรอื วา่ (บางพวก) ยงั ไมไ่ ดท้ �ำใหเ้ กดิ ม ี ยงั ไมไ่ ด้ แทงตลอด ซงึ่ อนาสววมิ ตุ ติ แตเ่ พราะความสนิ้ ไปรอบแหง่ สงั โยชนส์ าม เปน็ ผู้ สตั ตกั ขตั ตปุ รมะ ยงั ตอ้ งทอ่ งเทย่ี วไป ในภพแห่งเทวดาและมนุษย์อีกเจ็ดคร้ัง เป็นอย่างมาก แลว้ ยอ่ มกระท�ำทส่ี ดุ แหง่ ทุกข์ได้. ภิกษุท้ังหลาย ! ผู้กระทำ�ได้เพียงบางส่วนย่อม ทำ�ให้สำ�เร็จได้บางส่วน ผ้ทู ำ�ให้บริบูรณ์ก็ย่อมทำ�ให้สำ�เร็จ ได้บริบูรณ์ ดังนั้น เราจึงกล่าวว่า สิกขาบททั้งหลาย ยอ่ มไมเ่ ป็นหมนั เลย ดงั น้ี แล. 148
เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : คมู่ ือโสดาบนั หมายเหตผุ รู้ วบรวม ๑. ถา้ พจิ ารณาจนจบเรอ่ื งจะเหน็ ประเดน็ แงม่ มุ ของผลทไ่ี ดไ้ มเ่ ทา่ กนั เกดิ เนอื่ งจากความบกพรอ่ งในสกิ ขาบทเลก็ นอ้ ย (อภสิ มาจาร) ของเธอซง่ึ ไมม่ ผี รู้ ใู้ ดๆ มาบอกเธอถงึ ความอาภพั ตอ่ โลกตุ ตรธรรม เพราะการกระท�ำนน้ั พวกทกี่ �ำลงั (พละ) ยงั ไมแ่ กก่ ลา้ จงึ ไมส่ ามารถ ท�ำใหเ้ กดิ มหี รอื แทงตลอดซงึ่ อนาสววมิ ตุ ตไิ ด้ จงึ มคี วามลดหลน่ั กนั ออกไปในระดับความเป็นอริยบุคคล พระองค์จึงสรุปปิดท้ายว่า สกิ ขาบททง้ั หลายทที่ รงบญั ญตั นิ นั้ มไิ ดเ้ ปลา่ ประโยชนเ์ ลย. ๒. แสดงถึงความบริบูรณ์ของสิกขาบทอันเพียงพอต่อความเป็น อรยิ บคุ คลทที่ รงหมายถงึ กค็ อื ปาฏโิ มกข์ (คอื สกิ ขาบททบี่ ญั ญตั ิ เพอ่ื เปน็ เบอ้ื งตน้ แหง่ พรหมจรรย)์ . 149
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปิด : ค่มู อื โสดาบัน คนตกนำ�้ ๗ จ�ำพวก 38(ระดบั ตา่ งๆ แห่งบุคคลผ้ถู อนตัวขึ้นจากทุกข์) -บาลี สตฺตก. อ.ํ ๒๓/๑๐-๑๒/๑๕. ภิกษุท้ังหลาย ! บคุ คลเปรยี บดว้ ยบคุ คลตกน�ำ้ เจ็ดจำ�พวก เหลา่ นี้ มอี ยู่หาได้อยู่ในโลก. เจ็ดจ�ำ พวกเหลา่ ไหนเลา่ ? ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้ (๑) บคุ คลบางคน จมน�ำ้ คราวเดยี วแลว้ กจ็ มเลย (๒) บคุ คลบางคน ผดุ ขน้ึ ครง้ั หนง่ึ แลว้ จงึ จมเลย (๓) บคุ คลบางคน ผดุ ขน้ึ แลว้ ลอยตวั อยู่ (๔) บคุ คลบางคน ผดุ ขน้ึ แลว้ เหลยี วดรู อบๆ อยู่ (๕) บคุ คลบางคน ผดุ ขน้ึ แลว้ วา่ ยเขา้ หาฝง่ั (๖) บคุ คลบางคน ผดุ ขน้ึ แลว้ เดนิ เขา้ มาถงึ ทต่ี น้ื แลว้ (๗) บคุ คลบางคน ผดุ ขน้ึ แลว้ ถงึ ฝง่ั ขา้ มขน้ึ บกแลว้ เปน็ พราหมณ์ยนื อย่.ู 150
เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : คู่มือโสดาบนั (๑) ภิกษุท้ังหลาย ! บุคคล จมนำ้�คราวเดียว แลว้ ก็จมเลย เป็นอยา่ งไรเล่า ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี ประกอบ ด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรยี กว่า จมคราวเดียวแลว้ ก็จมเลย. (๒) ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคล ผุดขึ้นครั้งหน่ึง แลว้ จงึ จมเลย เป็นอยา่ งไรเลา่ ? ภิกษุท้ังหลาย ! บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี ผุดข้ึน คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมทง้ั หลาย มหี ริ ดิ -ี มโี อตตปั ปะดี -มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. แต่ว่า ศรทั ธาเปน็ ตน้ ของเขา ไมต่ ง้ั อยนู่ าน ไมเ่ จรญิ เสอ่ื มสน้ิ ไป. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขน้ึ ครัง้ หนง่ึ แลว้ จงึ จมเลย. (๓) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บคุ คล ผดุ ขน้ึ แลว้ ลอยตวั อยู่ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภิกษุทั้งหลาย ! บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี ผดุ ขน้ึ คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมทง้ั หลาย มหี ริ ดิ -ี มโี อตตปั ปะดี 151
พุทธวจน - หมวดธรรม มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย และศรัทธา เป็นต้นของเขา ไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อยา่ งนีแ้ ล เรียกว่า ผดุ ขึน้ แล้วลอยตัวอย.ู่ (๔) ภิกษุทง้ั หลาย ! บคุ คล ผดุ ขน้ึ แล้วเหลียว ดรู อบๆ อย ู่ เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุท้ังหลาย ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดข้ึน คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมทงั้ หลาย มหี ริ ดิ -ี มโี อตตปั ปะดี -มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมท้ังหลาย. บุคคล น้ันเพราะความส้ินไปแห่งสังโยชน์สาม เป็น โสดาบัน มคี วามไมต่ กต�ำ่ เปน็ ธรรมดา เปน็ ผเู้ ทย่ี งแทต้ อ่ พระนพิ พาน มกี ารตรสั รพู้ รอ้ มในเบอ้ื งหนา้ . อยา่ งนแ้ี ล เรยี กวา่ ผดุ ขน้ึ แลว้ เหลยี วดูรอบๆ อยู่. (๕) ภิกษุท้ังหลาย ! บุคคล ผุดข้นึ แล้วว่าย เขา้ หาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลบางคนในกรณีน ้ี ผดุ ขน้ึ คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมทง้ั หลาย มหี ริ ดิ -ี มโี อตตปั ปะดี 152
เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : ค่มู ือโสดาบัน -มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมท้ังหลาย. บุคคลน้ัน เพราะความสน้ิ ไปแหง่ สงั โยชนส์ าม และเพราะความเบาบาง แห่งราคะ โทสะ โมหะ เป็น สกทาคามี มาสู่โลกน้ีอีก เพียงครั้งเดียว แล้วทำ�ที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างนี้แล เรียกวา่ ผุดข้ึนแล้ว ว่ายเข้าหาฝ่งั . (๖) ภิกษุท้ังหลาย ! บุคคล ผุดขึ้นแล้วเดิน เขา้ มาถงึ ท่ีตน้ื แล้ว เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลบางคนในกรณีน้ี ผุดข้ึน คือ มีศรัทธาดีในกศุ ลธรรมท้ังหลาย มหี ิริด-ี มโี อตตัปปะ ดี-มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคล น้ันเพราะความส้ินไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า เป็น โอปปาติกะ มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับ จากโลกนนั้ เปน็ ธรรมดา. อยา่ งนแี้ ล เรยี กวา่ ผดุ ขนึ้ แลว้ เดนิ เขา้ มาถงึ ท่ีต้นื แล้ว. (๗) ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคล ผุดขึ้นแล้ว ถึง ฝง่ั ขา้ มขนึ้ บกแลว้ เปน็ พราหมณย์ นื อยู่ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? 153
พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้งั หลาย ! บุคคลบางคนในกรณีน้ ี ผุดข้นึ คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมท้ังหลาย มีหิริดี-มีโอตตัปปะ ด-ี มวี ริ ยิ ะด-ี มปี ญั ญาดใี นกศุ ลธรรมทงั้ หลาย. บคุ คลนนั้ ได้กระทำ�ให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหา อาสวะมไิ ด้ (พระอรหนั ต)์ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ อาสวะ ทง้ั หลาย ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองในทฏิ ฐธรรมน้ี เขา้ ถงึ แลว้ อย.ู่ อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เป็นพราหมณ์ยนื อยู่. ภิกษุทั้งหลาย ! เหล่านี้แล บุคคลเปรียบด้วย บุคคลตกน้ำ�เจ็ดจ�ำ พวก ซ่ึงมีอยู่ หาได้อยู่ ในโลก. 154
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : คู่มอื โสดาบัน คนมกี เิ ลสตกนรกทั้งหมดทกุ คน 39จริงหรอื ? (บุคคลทีม่ ีเชื้อเหลอื ๙ จ�ำพวก) -บาลี นวก. อ.ํ ๒๓/๓๙๑-๓๙๖/๒๑๖. เช้าวันหนึ่ง ท่านพระสารีบุตรครองจีวร ถือบาตร เข้าไป บิณฑบาตในนครสาวัตถี ท่านเห็นว่าเวลายังเช้าเกินไปสำ�หรับ การบิณฑบาต จึงแวะเข้าไปในอารามของพวกปริพาชกลัทธิ อื่นได้ทักทายปราศรัยกันตามธรรมเนียมแล้ว นั่งลง ณ ส่วน ข้างหนึ่ง. ก็ในเวลานั้นแล พวกปริพาชกทั้งหลายนั้น กำ�ลังยก ข้อความขึ้นกล่าวโต้เถียงกันอยู่ ถึงเรื่องบุคคลใด ใครก็ตาม ที่ ยังมเี ชื้อเหลอื ถา้ ตายแล้ว ย่อมไม่พน้ เสียจากนรก จากกำ�เนดิ เดรัจฉาน จากวิสัยแห่งเปรต จากอบาย ทุคติ วินิบาต ไปได้ เลยสักคนเดียว ดังนี้. ท่านพระสารีบุตรไม่แสดงว่าเห็นด้วย และไม่คัดค้าน ข้อความของปริพาชกเหล่านั้น ลุกจากที่นั่งไป โดยคดิ วา่ ทลู ถวายพระผูม้ พี ระภาคเจา้ แลว้ จกั ไดท้ ราบความขอ้ นี.้ ครนั้ กลบั จากบณิ ฑบาต ภายหลงั อาหารแลว้ จงึ เขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ -ี พระภาคเจ้า กราบทูลถงึ เรื่องราวทีเ่ กดิ ขึน้ ในตอนเชา้ ทุกประการ. พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า 155
พุทธวจน - หมวดธรรม สารีบุตร ! พวกปรพิ าชกลทั ธอิ น่ื ยงั ออ่ นความรู้ ไม่ฉลาด จักรู้ได้อย่างไรกันว่า ใครมีเชื้อเหลือ ใครไม่มี เชอ้ื เหลอื . สารบี ตุ ร ! บคุ คลทม่ี เี ชอ้ื (กเิ ลส) เหลอื ๙ จ�ำ พวก ดังที่จะกล่าวต่อไปนี้ แม้ตายไป ก็พ้นแล้วจากนรก พ้นแล้วจากกำ�เนิดเดรัจฉาน พ้นแล้วจากวิสัยแห่งเปรต พน้ แล้วจากอบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต. บุคคลเก้าจ�ำ พวกเหลา่ นนั้ เป็นอย่างไรเลา่ ? เกา้ จำ�พวก คอื (๑) สารบี ตุ ร ! บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี เปน็ ผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นสมาธิ แตท่ �ำ ได้ พอประมาณในส่วนปัญญา. เพราะทำ�สังโยชน์ ๕ อย่าง ในเบื้องต้นให้สิ้นไป บุคคลนั้นเป็น อันตราปรินิพพายี ผ้จู ะปรินิพพานในระหว่างอายุยังไม่ทนั ถงึ กึ่ง. สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๑ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต. 156
เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : คู่มือโสดาบัน (๒) สารบี ตุ ร ! บคุ คลบางคนในกรณนี ี้ เปน็ ผู้ ท�ำไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี ท�ำไดเ้ ตม็ ทใี่ นสว่ นสมาธิ แตท่ �ำได้ พอประมาณในส่วนปัญญา. เพราะท�ำสังโยชน์ ๕ อย่าง ในเบื้องต้นให้ส้ินไป บุคคลนั้นเป็น อุปหัจจปรินิพพายี ผู้จะปรินิพพานเม่อื อายพุ น้ กง่ึ แลว้ จวนถงึ ท่ีสดุ . สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๒ ที่เมื่อตาย ก็พ้นแล้วจากนรก จากกำ�เนิดเดรัจฉาน จาก วิสัยแห่งเปรต จากอบาย ทุคติ วินิบาต. (๓) สารบี ตุ ร ! บคุ คลบางคนในกรณนี ี้ เปน็ ผู้ ท�ำไดเ้ ตม็ ทใี่ นสว่ นศลี ท�ำไดเ้ ตม็ ทใี่ นสว่ นสมาธิ แตท่ �ำได้ พอประมาณในส่วนปัญญา. เพราะท�ำสังโยชน์ ๕ อย่าง ในเบ้ืองต้นให้ส้ินไป บุคคลนั้นเป็น อสังขารปรินิพพายี ผู้จะปรินิพพานโดยไม่ตอ้ งใช้ความเพียรเรีย่ วแรง. สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๓ ที่เมื่อตาย ก็พ้นแล้วจากนรก จากกำ�เนิดเดรัจฉาน จาก วิสัยแห่งเปรต จากอบาย ทุคติ วินิบาต. 157
พุทธวจน - หมวดธรรม (๔) สารบี ตุ ร ! บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี เปน็ ผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นสมาธิ แตท่ �ำ ได้ พอประมาณในส่วนปัญญา. เพราะทำ�สังโยชน์ ๕ อย่าง ในเบ้ืองต้นให้สิ้นไป บุคคลน้ันเป็น ในเบ้ืองต้นให้สิ้นไป บุคคลนั้นเป็น สสังขารปรินิพพายีผู้จะปรินิพพานโดย ต้องใชค้ วามเพียรเรย่ี วแรง. สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๔ ที่เมื่อตาย ก็พ้นแล้วจากนรก จากกำ�เนิดเดรัจฉาน จาก วิสัยแห่งเปรต จากอบาย ทุคติ วินิบาต. (๕) สารบี ตุ ร ! บคุ คลบางคนในกรณนี ี้ เปน็ ผู้ ท�ำไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี ท�ำไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นสมาธิ แตท่ �ำได้ พอประมาณในส่วนปัญญา. เพราะท�ำสังโยชน์ ๕ อย่าง ในเบอ้ื งตน้ ใหส้ น้ิ ไป บคุ คลนน้ั เปน็ อทุ ธงั โสโตอกนฏิ ฐคามี ผมู้ กี ระแสในเบื้องบนไปถึงอกนิฏฐภพ. สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๕ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต. 158
เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : คู่มอื โสดาบนั (๖) สารีบุตร ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี แตท่ �ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นสมาธิ ท�ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๓ อยา่ ง ให้สิ้นไป และเพราะมีราคะ โทสะ โมหะ เบาบางน้อยลง เป็น สกทาคามี ยังจะมาสู่โลกนี้อีกครั้งเดียวเท่านั้น แลว้ กระท�ำ ทส่ี ุดแห่งทกุ ข์ได.้ สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๖ ที่เมื่อตาย ก็พ้นแล้วจากนรก จากกำ�เนิดเดรัจฉาน จาก วิสัยแห่งเปรต จากอบาย ทุคติ วินิบาต. (๗) สารบี ุตร ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ ท�ำได้เต็มที่ในส่วนศีล แต่ท�ำได้พอประมาณในส่วน สมาธิ ท�ำได้พอประมาณในส่วนปัญญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๓ อยา่ งใหส้ น้ิ ไป บคุ คลนนั้ เปน็ โสดาบนั ผมู้ พี ชื หนเดียว คือ จักเกิดในภพแห่งมนุษย์อีกหนเดียวเท่านั้น แลว้ กระท�ำทส่ี ุดแหง่ ทุกขไ์ ด.้ สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๗ ที่เมื่อตาย ก็พ้นแล้วจากนรก จากกำ�เนิดเดรัจฉาน จาก วิสัยแห่งเปรต จากอบาย ทุคติ วินิบาต. 159
พุทธวจน - หมวดธรรม (๘) สารีบุตร ! ุคคลบางคนในกรณีน้ี เป็นผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี แตท่ �ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นสมาธิ ท�ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๓ อยา่ ง ให้ส้ินไป บคุ คลผนู้ น้ั เปน็ โสดาบนั ผตู้ อ้ งทอ่ งเทย่ี วไปสสู่ กลุ อกี ๒ หรอื ๓ ครง้ั แลว้ กระท�ำ ทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ขไ์ ด.้ สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๘ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต. (๙) สารีบุตร ! ุคคลบางคนในกรณีน้ี เป็นผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี แตท่ �ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นสมาธิ ท�ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๓ อยา่ ง ใหส้ น้ิ ไป บคุ คลนน้ั เปน็ โสดาบนั ผตู้ อ้ งเทย่ี วไปในเทวดา และมนุษย์อีก ๗ ครั้งเป็นอย่างมาก แล้วกระทำ�ท่ีสุด แห่งทกุ ขไ์ ด.้ สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๙ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต. 160
เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : คูม่ ือโสดาบัน สารีบุตร ! ปริพาชกลัทธิอ่ืน ยังอ่อนความรู้ ไม่ฉลาด จักรู้ได้อย่างไรกันว่า ใครมีเชื้อเหลือ ใครไม่มี เชื้อเหลือ. สารีบุตร ! บุคคลเหล่าน้ีแล ท่ีมีเชื้อเหลือ ๙ จำ�พวก เม่ือตายไป ก็พ้นแล้วจากนรก จากกำ�เนิด เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แห่งเปรต จากอบาย ทคุ ติ วินิบาต. สารีบุตร ! ธรรมปริยายข้อนี้ ยังไม่เคยแสดง ให้ปรากฏ แก่หมู่ภกิ ษุ ภิกษุณี อบุ าสก อบุ าสิกาท้ังหลาย มาแตก่ าลกอ่ น. ข้อนน้ั เพราะเหตไุ รเล่า ? เพราะเราเห็นวา่ ถ้าเขาเหล่านน้ั ไดฟ้ งั ธรรมปรยิ าย ข้อน้ีแล้ว จกั พากันเกิดความประมาท อน่ึงเล่า ธรรมปริยายเช่นน้ี เป็นธรรมปริยาย ทเ่ี รากลา่ ว ต่อเมื่อถูกถามเจาะจงเท่านัน้ ดังน้ี แล. 161
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : คมู่ อื โสดาบัน ผลแปดประการอันเปน็ ภาพรวม 40 ของความเปน็ พระโสดาบัน -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๘๓-๔๘๕/๔๕๐-๔๕๑. ภิกษุทง้ั หลาย ! ถูกแลว้ ! เม่ือเปน็ อย่างน้ีกเ็ ป็นอนั วา่ พวกเธอทั้งหลายกก็ ลา่ วอย่างนน้ั แมเ้ ราตถาคตกก็ ล่าวอย่างนน้ั วา่ “เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ย่อมไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้ย่อมดับ1 1. ค�ำบาลีของประโยคนม้ี ีวา่ “อมิ สมฺ ึ อสติ อทิ ํ น โหติ อิมสสฺ นโิ รธา อิทํ นิรุชฌฺ ติ” เป็นการอธบิ ายล�ำดับเหตใุ นการดบั ไปแห่งระบบสมมติ (คอื ระบบธรรมชาตทิ ่ีมกี ารเกดิ แก่ ตาย ทุกส่ิง ท้ังรปู และนาม). 162
เปิดธรรมท่ีถูกปิด : คู่มือโสดาบนั กลา่ วคือ เพราะมคี วามดบั แหง่ อวชิ ชา จงึ มคี วามดบั แหง่ สงั ขาร เพราะมคี วามดบั แหง่ สงั ขาร จงึ มคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ เพราะมคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป เพราะมคี วามดบั แหง่ นามรปู จงึ มคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ เพราะมคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ จงึ มคี วามดับแห่งผสั สะ เพราะมคี วามดบั แหง่ ผสั สะ จงึ มคี วามดบั แหง่ เวทนา เพราะมคี วามดบั แหง่ เวทนา จงึ มคี วามดบั แหง่ ตณั หา เพราะมคี วามดบั แหง่ ตณั หา จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน เพราะมคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน จงึ มคี วามดบั แหง่ ภพ เพราะมคี วามดบั แหง่ ภพ จงึ มคี วามดบั แหง่ ชาติ เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จงึ ดบั สิ้น ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมดี ว้ ยอาการอยา่ งน”้ี . (๑) ภิกษุทั้งหลาย ! จะเป็นไปได้ไหมว่า พวก เธอเม่ือรู้อยู่อย่างน้ี เห็นอยู่อย่างน้ี จึงพึงแล่นไปสู่ ทิฏฐิ อันปรารภที่สุดในเบื้องต้น (ความเห็นท่ีนึกถึงขันธ์ในอดีต) ว่า “ในกาลยืดยาวนานฝ่ายอดีต เราได้มีแล้วหรือหนอ 163
พุทธวจน - หมวดธรรม เราไม่ได้มีแล้วหรือหนอ เราได้เป็นอะไรแล้วหนอ เราได้ เปน็ อยา่ งไรแลว้ หนอ เราเป็นอะไรแลว้ จงึ ไดเ้ ปน็ อะไรอกี แลว้ หนอ” ดงั น ้ี? “ขอ้ นั้น หามิได้ พระเจา้ ขา้ !”. (๒) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เมื่อรู้อยู่อย่างน้ี เห็นอยู่อย่างนี้ จะพึงแล่นไปสู่ ทิฏฐิอันปรารภที่สุดในเบื้องปลาย (ความเห็นท่ีนึกถึงขันธ์ใน อนาคต) ว่า “ในกาลยืดยาวนานฝ่ายอนาคต เราจักมี หรือหนอ เราจักไม่มีหรือหนอ เราจักเป็นอะไรหนอ เราจักเป็นอย่างไรหนอ เราเป็นอะไรแล้ว จักเป็นอะไร ตอ่ ไปหนอ” ดังน้ี ? “ขอ้ นนั้ หามไิ ด้ พระเจา้ ข้า !”. (๓) ภิกษุทั้งหลาย ! หรือว่า จะเป็นไปได้ไหม ว่าพวกเธอ เมื่อรู้อยู่อย่างน้ี เห็นอยู่อย่างน้ี จะพึงเป็นผู้ มีความสงสัยเก่ียวกับตน ปรารภกาลอันเป็นปัจจุบัน ในกาลนี้ว่า “เรามีอยู่หรือหนอ เราไม่มีอยู่หรือหนอ เรา เป็นอะไรหนอ เราเป็นอย่างไรหนอ สัตว์น้ีมาจากที่ไหน แล้ว จักเป็นผ้ไู ปสู่ทีไ่ หนอีกหนอ” ดังน ี้ ? “ขอ้ นนั้ หามไิ ด้ พระเจา้ ข้า !”. 164
เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : ค่มู ือโสดาบนั (๔) ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เม่ือรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ แล้วจะพึงกล่าว ว่า “พระศาสดาเป็นครูของพวกเรา ดังน้ัน พวกเรา ต้องกล่าวอย่างท่ีท่านกล่าว เพราะความเคารพใน พระศาสดานน่ั เทียว” ดงั น ้ี ? “ข้อนน้ั หามิได้ พระเจา้ ขา้ !”. (๕) ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เม่ือรู้อยู่อย่างน้ี เห็นอยู่อย่างนี้ แล้วจะพึงกล่าว ว่า “พระสมณะ (พระพุทธองค์) กล่าวแล้วอย่างน้ี แตส่ มณะทง้ั หลายและพวกเราจะกลา่ วอยา่ งอน่ื ” ดงั น ้ี ? “ข้อน้นั หามิได้ พระเจ้าข้า !”. (๖) ภิกษทุ ง้ั หลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เมื่อรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จะพึงประกาศ การนับถือศาสดาอืน่ ? “ข้อนัน้ หามิได้ พระเจ้าข้า !”. (๗) ภิกษทุ ง้ั หลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เมื่อรู้อยู่อย่างนี้เห็นอยู่อย่างน้ี จะพึงเวียนกลับ ไปสู่การประพฤติซ่ึงวัตตโกตูหลมงคลท้ังหลายตาม 165
พุทธวจน - หมวดธรรม แบบของสมณพราหมณ์ท้ังหลายเหล่าอ่ืนเป็นอันมาก โดยความเปน็ สาระ ? “ขอ้ นน้ั หามิได้ พระเจ้าข้า !”. (๘) ภกิ ษุทง้ั หลาย ! พวกเธอ จะกล่าวแตส่ งิ่ ท่ี พวกเธอรเู้ อง เห็นเอง รู้สกึ เองแลว้ เท่านนั้ มใิ ช่หรอื ? “อย่างน้นั พระเจา้ ข้า !”. ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! ถูกแล้ว. ภิกษุทง้ั หลาย ! พวกเธอทงั้ หลาย เป็นผทู้ ่เี ราน�ำ ไปแลว้ ดว้ ยธรรมนี้ อนั เปน็ ธรรมทบ่ี คุ คลจะพงึ เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง (สนทฺ ฏิ โิ ก) เปน็ ธรรมใหผ้ ลไม่จ�ำ กัดกาล (อกาลโิ ก) เปน็ ธรรมทีค่ วรเรยี กกันมาดู (เอหิปสสฺ โิ ก) ควรน้อมเข้ามาใสต่ ัว (โอปนยโิ ก) อันวิญญูชนจะพึงรูไ้ ด้เฉพาะตน (ปจจฺ ตตฺ ํ เวทติ พโฺ พวญิ ญฺ หู )ิ . ภิกษุท้ังหลาย ! คำ�นี้เรากล่าวแล้ว หมายถึง คำ�ท่ีเราได้เคยกล่าวไว้แลว้ วา่ “ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ธรรมน้ี เป็นธรรมท่ีบุคคลจะพึงเห็นได้ด้วยตนเอง เป็นธรรม ใหผ้ ลไมจ่ �ำ กดั กาล เปน็ ธรรมทค่ี วรเรยี กกนั มาด ู ควร นอ้ มเขา้ มาใสต่ น อนั วญิ ญชู นจะพงึ รไู้ ดเ้ ฉพาะตน” ดงั น.้ี 166
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปิด : คูม่ ือโสดาบนั ระวังตายคาประตนู ิพพาน ! 41 -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๖๖-๖๙/๗๖. สุนกั ขตั ตะ ! ขอ้ นเ้ี ปน็ ฐานะที่มีได้ คอื จะมภี กิ ษุ บางรปู ในกรณนี ้ี มีความเขา้ ใจของตน มคี วามหมายอนั สรุปได้อย่างน้ี เป็นต้นว่า “ตัณหานั้น สมณะกล่าวกันว่า เป็นลูกศร โทษอันมีพิษของอวิชชา ย่อมงอกงาม เพราะ ฉนั ทราคะและพยาบาท ลกู ศร คอื ตณั หานน้ั เราละไดแ้ ลว้ โทษอันมพี ษิ ของอวิชชา เรากน็ ำ�ออกไปหมดแล้ว เราเปน็ ผู้น้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ” ดังนี้. แต่เธอนั้น ย่อมตามประกอบซ่ึงธรรมท้ังหลาย อันไม่เป็นที่สบาย แก่ผู้น้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ คือ ตามประกอบ ซ่งึ ธรรมอันไม่เป็นท่สี บาย ในการเห็นรูปด้วยตา ฟังเสียง ด้วยหู ดมกล่นิ ดว้ ยจมูก ล้มิ รสด้วยลนิ้ ถูกต้องโผฏฐพั พะ ดว้ ยกาย ร้สู ึกธรรมารมณด์ ว้ ยใจ อันลว้ นไมเ่ ป็นท่สี บาย. เมอ่ื เธอตามประกอบซงึ่ ธรรมอนั ไมเ่ ปน็ ทสี่ บายเหลา่ นี้ อย ู่ ราคะยอ่ มเสยี บแทงจติ ของเธอ เธอมจี ติ อนั ราคะเสยี บแทง แล้ว ย่อมถงึ ความตายหรือความทกุ ข์เจียนตาย. 167
พุทธวจน - หมวดธรรม สนุ กั ขตั ตะ ! เปรยี บเหมอื นบรุ ษุ ถกู ยงิ ดว้ ยลกู ศร อันอาบไว้ด้วยยาพิษอย่างแรงกล้า. มิตรอำ�มาตย์ญาติ- สาโลหิตของเขา จัดหาหมอผ่าตัดมารักษา หมอได้ใช้ ศสั ตราช�ำ แหละปากแผลของเขา แลว้ ใชเ้ ครอื่ งตรวจคน้ หา ลกู ศร พบแลว้ ถอนลกู ศรออก ก�ำ จดั โทษอนั เปน็ พษิ ทยี่ งั มี เช้ือเหลือติดอยู่ จนรู้ว่าไม่มีเช้ือเหลือติดอยู่แล้วกล่าวแก่ เขาอยา่ งนวี้ า่ “บรุ ษุ ผเู้ จรญิ ! ลกู ศรถกู ถอนออกแลว้ โทษ อันเป็นพิษเรานำ�ออกจนไม่มีเชื้อเหลืออยู่แล้ว ท่านไม่มี อันตรายอีกแล้ว. และท่านจะบริโภคอาหารได้ตามสบาย แตอ่ ยา่ ไปกนิ อาหารชนดิ ทไี่ มส่ บายแกแ่ ผลอนั จะท�ำ ใหแ้ ผล อกั เสบ และจงลา้ งแผลตามเวลา ทายาทปี่ ากแผลตามเวลา เมือ่ ทา่ นล้างแผลตามเวลา ทายาทปี่ ากแผลตามเวลา อย่า ให้หนองและเลอื ดเกรอะกรงั ปากแผล และท่านอยา่ เท่ยี ว ตากลมตากแดด เมื่อเที่ยวตากลมตากแดด ก็อย่าให้ฝุ่น ละอองและของโสโครกเขา้ ไปในปากแผล. บรุ ุษผเู้ จรญิ ! ท่านจงเป็นผู้ระวังรักษาแผล มีเรื่องแผลเป็นเรื่องสำ�คัญ เถอะนะ” ดังน้.ี 168
เปิดธรรมที่ถกู ปิด : คู่มอื โสดาบนั บุรุษนั้น มีความคิดว่า “หมอถอนลูกศรให้เรา เสรจ็ แลว้ โทษอนั เปน็ พษิ หมอกน็ �ำ ออกจนไมม่ เี ชอื้ เหลอื อยู่แลว้ เราหมดอนั ตราย” เขาจึงบริโภคโภชนะทีแ่ สลง เมอ่ื บรโิ ภคโภชนะทแี่ สลง แผลกก็ �ำ เรบิ และเขาไมช่ ะแผล ตามเวลา ไม่ทายาท่ีปากแผลตามเวลา เม่ือเขาไม่ชะแผล ตามเวลา ไม่ทายาท่ีปากแผลตามเวลา หนองและเลือด ก็เกรอะกรังปากแผล และเขาเท่ียวตากลมตากแดด ปล่อยให้ฝุ่นละอองของโสโครกเข้าไปในปากแผล และ เขาไม่ระวังรักษาแผล ไม่มีเร่ืองแผลเป็นเร่ืองสำ�คัญ. เขานำ�โทษพิษอันไม่สะอาดออกไปด้วยการกระทำ�อัน ไม่ถูกต้องเหล่าน้ี แผลจึงมีเชื้อเหลืออยู่ แผลก็บวมข้ึน เพราะเหตุทั้งสองน้ัน. บุรุษนั้นมีแผลบวมแล้ว ก็ถึงซึ่ง ความตายบ้าง หรอื ความทกุ ขเ์ จยี นตายบ้าง นฉ้ี นั ใด สุนักขัตตะ ! ข้อน้ีก็ฉันนั้นเหมือนกัน คือ ข้อท่ี ภิกษุบางรูป สำ�คัญตนว่าน้อมไปแล้วในนิพพานโดย ชอบ... แต่ตามประกอบในธรรมไม่เป็นท่ีสบายแก่การ นอ้ มไปในนพิ พานโดยชอบ... ราคะกเ็ สยี บแทงจติ ของเธอ. เธอมีจิตอันราคะเสียบแทงแล้ว ย่อมถึงความตาย 169
พุทธวจน - หมวดธรรม หรือความทุกข์เจียนตาย. สุนักขัตตะ ! ในอริยวินัยน้ี ความตายหมายถึงการบอกคืนสิกขา เวียนไปสู่เพศต่ำ� ความทกุ ขเ์ จยี นตายหมายถงึ การตอ้ งอาบตั ิ อนั เศรา้ หมอง อย่างใดอย่างหน่ึง แล. (ภกิ ษุในกรณีน้ี มกี ารศกึ ษาดี ต้ังความปรารถนาดี แตม่ ี ความเข้าใจผิดเก่ียวกับตนเองและธรรมะ คือ เข้าใจไปว่า ลูกศร คอื ตณั หาเปน็ สง่ิ ทล่ี ะไดโ้ ดยไมต่ อ้ งถอน อวชิ ชาเปน็ สง่ิ ทเ่ี หวย่ี งทงิ้ ไปได้โดยไม่ต้องก�ำจัดตัดราก และเข้าใจตัวเองว่า น้อมไปแล้วสู่ นพิ พานโดยชอบดงั นี้ แตแ่ ลว้ กม็ ากระท�ำผดิ ในสง่ิ ทไี่ มเ่ ปน็ ทส่ี บาย แก่การน้อมไปในนิพพานนั้น ทั้งทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จนราคะเกิดขึ้นเสียบแทงถึงแก่ความตายในอริยวินัย จึงเรียกว่า เขาลม้ ลงตายตรงหนา้ ประตแู หง่ พระนิพพาน นนั่ เอง). 170
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : คมู่ ือโสดาบัน ธรรมเปน็ เครื่องอย่ขู องพระอรยิ เจา้ 42 -บาลี ทสก. อํ. ๒๔/๓๑-๓๔/๒๐. ภิกษุทั้งหลาย ! การอยู่แบบพระอริยเจ้า ซึ่ง พระอรยิ เจา้ ทง้ั หลาย ไดอ้ ยมู่ าแลว้ กด็ ี กำ�ลงั อยใู่ นบดั นก้ี ด็ ี จักอยตู่ อ่ ไปก็ดี มเี ครอื่ งอย่สู บิ ประการเหลา่ น.้ี สบิ ประการ อะไรบ้างเล่า ? สิบประการ คอื ภิกษุทั้งหลาย ! ภกิ ษใุ นกรณีนี้ เป็นผูล้ ะองค์หา้ ไดข้ าด เปน็ ผู้ประกอบพรอ้ มด้วยองคห์ ก เปน็ ผมู้ ีอารักขาอยา่ งเดยี ว เปน็ ผู้มพี นกั พงิ สด่ี า้ น เป็นผูถ้ อนความเหน็ ว่าจรงิ ด่งิ ไปคนละทางขึน้ เสยี แล้ว เปน็ ผลู้ ะการแสวงหาสน้ิ เชงิ แลว้ เป็นผูม้ คี วามด�ำ ริอันไมข่ ุ่นมวั เป็นผู้มีกายสังขารอันสงบรำ�งบั แล้ว เปน็ ผมู้ จี ติ หลุดพน้ ด้วยดี เปน็ ผู้มีปัญญาในความหลุดพน้ ดว้ ยด.ี 171
พุทธวจน - หมวดธรรม (๑) ภกิ ษุเปน็ ผูล้ ะองคห์ า้ ไดข้ าด เปน็ อยา่ งไรเล่า ? ภิกษุในกรณีน้ี เป็นผ้ลู ะกามฉันทะ ละพยาบาท ละถนี มทิ ธะ ละอทุ ธจั จกกุ กจุ จะ และละวจิ กิ จิ ฉาไดแ้ ลว้ . ภิกษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษอุ ยา่ งน้ี ชอ่ื วา่ เปน็ ผลู้ ะองคห์ า้ ไดข้ าด. (๒) ภิกษเุ ปน็ ผู้ประกอบพรอ้ มด้วยองค์หก เป็นอย่างไรเลา่ ? ภกิ ษใุ นกรณนี ี้ ไดเ้ หน็ รปู ดว้ ยตา ไดฟ้ งั เสยี งดว้ ยหู ไดด้ มกลน่ิ ดว้ ยจมกู ไดล้ ม้ิ รสดว้ ยลนิ้ ไดส้ มั ผสั โผฏฐพั พะ ด้วยกาย และได้รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ว ก็เป็นผู้ไม่ดีใจ ไม่เสียใจ มีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะอยู่ได้. ภิกษุ ท้ังหลาย ! ภิกษุอย่างน้ี ช่ือว่าเป็นผู้ประกอบพร้อมด้วย องคห์ ก. (๓) ภกิ ษุเปน็ ผู้มีอารักขาอยา่ งเดยี ว เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ ประกอบการรักษาจิตด้วยสติ. ภิกษุทง้ั หลาย ! ภิกษอุ ย่างน้ี ชื่อวา่ มีอารักขาอยา่ งเดยี ว. 172
เปิดธรรมที่ถกู ปิด : ค่มู ือโสดาบัน (๔) ภิกษเุ ป็นผู้มพี นักพิงส่ีดา้ น เปน็ อย่างไรเลา่ ? ภิกษุในกรณีนี้ พิจารณาแล้วเสพของสิ่งหนึ่ง พิจารณาแล้วอดกล้ันของสิ่งหน่ึง พิจารณาแล้วเว้นขาด ของสิ่งหนึ่ง พิจารณาแล้วบรรเทาของส่ิงหนึ่ง. ภิกษุ ทงั้ หลาย ! ภกิ ษุอยา่ งน้ี ชื่อว่าเปน็ ผู้มีพนักพงิ สีด่ า้ น.1 (๕) ภิกษุเป็นผู้ถอนความเห็นว่าจริงดิ่งไป คนละทางขนึ้ เสยี แลว้ เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ถอน สละ คาย ปล่อย ละ ทิ้งเสียแล้ว ซ่ึงความเห็นว่าจริงด่ิงไปคนละทางมากอย่าง ของเหล่าสมณพราหมณ์มากผู้ด้วยกัน ท่ีมีความเห็นว่า “โลกเท่ียง บ้าง โลกไม่เท่ียง บ้าง โลกมีท่ีสุด บ้าง โลกไมม่ ที ีส่ ดุ บ้าง ชีวะก็อนั นั้น สรีระกอ็ นั นน้ั บา้ ง ชีวะ ก็อันอ่ืน สรีระก็อันอ่ืน บ้าง ตถาคตภายหลังแต่การตาย ย่อมมีอีก บ้าง ตถาคตภายหลังแต่การตาย ย่อมไม่มีอีก บ้าง ตถาคตภายหลังแต่การตาย ย่อมมีอีกก็มี ไม่มีอีก 1. ก ารพจิ ารณาแลว้ เสพ อดกลน้ั งดเวน้ บรรเทา หาดรู ายละเอยี ดทตี่ รสั ไวไ้ ด้ ในหนังสอื อรยิ สจั จากพระโอษฐภ์ าคตน้ หน้า ๖๓๐-๖๓๓. 173
พุทธวจน - หมวดธรรม ก็มี บ้าง ตถาคตภายหลังแต่การตาย ย่อมมีอีกก็หามิได้ ไม่มีอีกก็หามิได้ บ้าง. ภิกษุทงั้ หลาย ! ภกิ ษุอย่างนี้ ชื่อ วา่ เปน็ ผูถ้ อนความเหน็ วา่ จรงิ ดิง่ ไปคนละทาง ขน้ึ เสยี แลว้ . (๖) ภิกษุเปน็ ผู้ละการแสวงหาสิน้ เชงิ แล้ว เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ละการแสวงหากามแล้ว เปน็ ผลู้ ะการแสวงหาภพแลว้ และการแสวงหาพรหมจรรย์ ของเธอนนั้ กร็ ะงบั ไปแลว้ . ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ภกิ ษอุ ยา่ งน้ี ชอื่ ว่าเป็นผูล้ ะการแสวงหาส้นิ เชงิ แล้ว. (๗) ภกิ ษเุ ป็นผู้มคี วามดำ�รไิ มข่ ุ่นมัว เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ละความดำ�ริในทางกาม เสียแล้ว เปน็ ผลู้ ะความด�ำ ริในทางพยาบาทเสียแลว้ และ เป็นผู้ละความดำ�ริในทางเบียดเบียนเสียแล้ว. ภิกษุ ทง้ั หลาย ! ภกิ ษอุ ยา่ งนี้ ชอื่ วา่ เปน็ ผมู้ คี วามด�ำ รไิ มข่ นุ่ มวั . (๘) ภกิ ษเุ ปน็ ผมู้ กี ายสงั ขารอนั สงบร�ำ งบั แลว้ เป็นอย่างไรเล่า ? 174
เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : คูม่ ือโสดาบัน ภกิ ษุในกรณีนี้เพราะละสุขเสียได้ เพราะละทกุ ข์ เสยี ได้ และเพราะความดบั หายไปแหง่ โสมนสั และโทมนัส ในกาลก่อนจึงบรรลุฌานท่ี ๔ อันไม่มีทุกข์และสุข มีแต่ ความทส่ี ตเิ ปน็ ธรรมชาตทิ บ่ี รสิ ทุ ธเ์ิ พราะอเุ บกขา แลว้ แลอย.ู่ ภิกษุท้ังหลาย ! ภิกษุอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้มีกายสังขาร อันสงบร�ำ งบั แลว้ . (๙) ภิกษุเปน็ ผู้มจี ติ หลดุ พน้ ดว้ ยดี เปน็ อย่างไรเล่า ? ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี เปน็ ผมู้ จี ติ หลดุ พน้ แลว้ จากราคะ จากโทสะ จากโมหะ. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ภกิ ษอุ ยา่ งนี้ ชอื่ วา่ เปน็ ผูม้ จี ติ หลุดพ้นด้วยด.ี (๑๐) ภกิ ษเุ ปน็ ผมู้ ปี ญั ญาในความหลดุ พน้ ดว้ ยด ี เป็นอย่างไรเลา่ ? ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี ยอ่ มรชู้ ดั วา่ “เราละ ราคะ โทสะ โมหะ เสียแล้ว ถอนข้นึ ได้กระท่งั ราก ทำ�ให้เหมือนตาลยอดเน่า ไม่ให้มี ไม่ให้เกิดได้อีกต่อไป” ดังน้ี. ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษอุ ยา่ งนี้ ชอื่ ว่าเปน็ ผ้มู ปี ญั ญาในความหลดุ พน้ ด้วยดี. 175
พุทธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ในกาลยดื ยาวฝา่ ย อดตี พระ- อรยิ เจา้ เหลา่ ใดเหลา่ หนงึ่ ไดเ้ ปน็ อยแู่ ลว้ อยา่ งพระอรยิ เจา้ พระอริยเจ้าทั้งหมดเหล่าน้ัน ก็ได้เป็นอยู่แล้วในการอยู่ อยา่ งพระอริยเจ้าสบิ ประการนเ้ี หมอื นกนั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ในกาลยดื ยาวฝา่ ย อนาคต พระ- อริยเจ้าเหล่าใดเหล่าหนึ่ง จักเป็นอยู่อย่างพระอริยเจ้า พระอริยเจ้าทั้งหมดเหล่านั้น ก็จักเป็นอยู่ในการอยู่อย่าง พระอริยเจ้าสิบประการนี้เหมือนกัน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ในกาล บดั น้ี พระอรยิ เจา้ เหลา่ ใด เหลา่ หนง่ึ ก�ำ ลงั เปน็ อยอู่ ยา่ งพระอรยิ เจา้ พระอรยิ เจา้ ทง้ั หมด เหลา่ นน้ั กก็ �ำ ลงั เปน็ อยใู่ นการอยอู่ ยา่ งพระอรยิ เจา้ สบิ ประการ นเ้ี หมอื นกนั . ภิกษุทั้งหลาย ! การอยู่แบบพระอริยเจ้า ซึ่ง พระอริยเจ้าท้ังหลายได้อยู่มาแล้วก็ดี กำ�ลังอยู่ในบัดนี้ก็ดี จกั อยู่ตอ่ ไปก็ดี มีเครอื่ งอยสู่ บิ ประการเหล่าน้แี ล. 176
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : ค่มู ือโสดาบัน ผ้สู ามารถละอาสวะทั้งหลาย 43 ในสว่ นท่ลี ะได้ด้วยการเห็น -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๒-๑๖/๑๒. ภิกษุทั้งหลาย ! อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็น พระอริยเจ้า ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับ การแนะนำ�ในธรรมของพระอริยเจ้า ได้เห็นสัปบุรุษ ฉลาดในธรรมของสปั บรุ ษุ ไดร้ บั การแนะน�ำ ในธรรมของ สปั บุรุษ ยอ่ มรูช้ ัด ซึ่งธรรมทัง้ หลายทีค่ วรกระทำ�ไวใ้ นใจ และไม่ควรกระท�ำ ไว้ในใจ. อริยสาวกนั้น รู้ชัดอยู่ซึ่งธรรมทั้งหลายที่ควร กระทำ�ไว้ในใจและไม่ควรกระทำ�ไว้ในใจ ท่านย่อม ไม่กระทำ�ไว้ในใจซ่งึ ธรรมท้งั หลายท่ไี ม่ควรกระทำ�ไว้ในใจ จะกระทำ�ไว้ในใจแต่ธรรมท้ังหลายท่ีควรกระทำ�ไว้ในใจ เทา่ นั้น. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ธรรมทงั้ หลายอนั ไมค่ วรกระท�ำ ไวใ้ นใจ ทอ่ี รยิ สาวกทา่ นไมก่ ระท�ำ ไวใ้ นใจนนั้ เปน็ อยา่ งไร เลา่ ? 177
พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! เมื่อบุคคลกระทำ�ไว้ในใจซ่ึง ธรรมเหล่าใด อยู่ กามาสวะ ภวาสวะ หรืออวิชชาสวะ กต็ าม ทย่ี งั ไมเ่ กดิ ยอ่ มเกดิ ขน้ึ หรอื ทเ่ี กดิ ขนึ้ แลว้ ยอ่ มเจรญิ ย่ิงขึ้น ธรรมเหล่านี้แล เป็นธรรมที่ไม่ควรกระทำ�ไว้ในใจ ซึง่ อรยิ สาวกทา่ นไม่กระทำ�ไวใ้ นใจ. ภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมทั้งหลาย อันเป็นธรรม ที่ควรกระทำ�ไว้ในใจ ที่อริยสาวกท่านกระทำ�ไว้ในใจนั้น เป็นอยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! กามาสวะ ภวาสวะ หรอื อวชิ ชาสวะ ก็ตาม ที่ยังไม่เกิดย่อมไม่เกิดขึ้น หรือที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมละไป แก่บุคคลผ้กู ระทำ�ซ่งึ ธรรมเหล่าใดไว้ในใจ อยู่ ธรรมเหลา่ นแ้ี ล เปน็ ธรรมทค่ี วรกระท�ำ ไวใ้ นใจ ซง่ึ อรยิ สาวก ท่านกระทำ�ไว้ในใจ. เพราะอรยิ สาวกนั้น ไม่กระทำ�ไว้ในใจ ซึ่งธรรมทั้งหลายที่ไม่ควร กระท�ำ ไวใ้ นใจ แต่มากระทำ�ไว้ในใจ ซึ่งธรรมทั้งหลายที่ควร กระทำ�ไว้ในใจเท่านั้น 178
เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : คมู่ ือโสดาบนั อาสวะท้ังหลายที่ยังไม่เกิด จึงไม่เกิดข้ึน และ อาสวะท้ังหลายทเ่ี กิดข้นึ แล้ว ยอ่ มละไป. อริยสาวกนัน้ ย่อม กระท�ำ ไว้ในใจโดยแยบคาย ว่า “ทุกข์เป็นอย่างนี้ เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างนี้ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ขเ์ ปน็ อยา่ งน ้ี ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ซึ่งความดับไม่เหลอื แหง่ ทกุ ข์เปน็ อยา่ งนี”้ ดังน้ี. เม่ืออริยสาวกน้ี กระทำ�ไว้ในใจโดยแยบคายอยู่ อย่างนี้ สังโยชน์สาม คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สลี พั พตปรามาส ย่อมละไป. ภิกษุท้ังหลาย ! น้ีเรากลา่ วว่า อาสวะทง้ั หลายจะพงึ ละเสียดว้ ยการเห็น. 179
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : ค่มู อื โสดาบนั 180
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : คมู่ ือโสดาบนั ความต่างแหง่ ผล 44 เพราะความต่างแหง่ อินทรยี ์ -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๖๖/๘๗๘-๘๗๙. ภิกษุท้ังหลาย ! อินทรีย์ ๕ ประการเหล่านี้มีอยู่ ๕ ประการเป็นอย่างไร? คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์. ภิกษุท้ังหลาย ! เหล่าน้แี ล อินทรีย์ ๕ ประการ. ภิกษุท้ังหลาย ! บุคคลเป็นอรหันต์ เพราะ อินทรีย์ ๕ ประการน้ีเต็มบริบูรณ์ เป็นอนาคามี เพราะ อนิ ทรยี ์ ๕ ยงั ออ่ นกวา่ อนิ ทรยี ข์ องอรหนั ต ์ เปน็ สกทาคามี เพราะอินทรีย์ ๕ ยังอ่อนกว่าอินทรีย์ของอนาคามี เป็น โสดาบนั เพราะอนิ ทรยี ์ ๕ ยงั ออ่ นกวา่ อนิ ทรยี ข์ องสกทาคาม ี เป็นธัมมานุสารี เพราะอินทรีย์ ๕ ยังอ่อนกว่าอินทรีย์ของ โสดาบัน เป็นสัทธานุสารี เพราะอินทรีย์ ๕ ยังอ่อนกว่า อินทรยี ข์ องธัมมานุสารี. ภิกษุท้ังหลาย ! ด้วยอาการอย่างนี้ ความต่าง แห่งผลย่อมมีได้เพราะความต่างแห่งอินทรีย์ ความต่าง แห่งบุคคลยอ่ มมไี ด้เพราะความต่างแหง่ ผล. 181
พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย ! อินทรีย์ ๕ ประการเหล่าน้ีมีอยู่ ๕ ประการเป็นอย่างไร? คือ สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์. ภิกษุทั้งหลาย ! เหลา่ นแ้ี ล อินทรีย์ ๕ ประการ. ภิกษุทั้งหลาย ! บุคคลเป็นอรหันต์ เพราะ อนิ ทรยี ์ ๕ ประการนี้เตม็ บรบิ รู ณ์ เปน็ อนั ตราปรนิ ิพพายี เพราะอินทรีย์ ๕ ยังอ่อนกว่าอินทรีย์ของอรหันต์ เป็น อุปหัจจปรินิพพายี เพราะอินทรีย์ ๕ ยังอ่อนกว่าอินทรีย์ ของอันตราปรินิพพายี เป็นอสังขารปรินิพพายี เพราะ อนิ ทรยี ์ ๕ ยงั ออ่ นกวา่ อนิ ทรยี ข์ องอปุ หจั จปรนิ พิ พาย ี เปน็ สสังขารปรินิพพายี เพราะอินทรีย์ ๕ ยังอ่อนกว่าอินทรีย์ ของอสังขารปรินิพพายี เป็นอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี เพราะอนิ ทรยี ์ ๕ ยงั ออ่ นกวา่ อนิ ทรยี ข์ องสสงั ขารปรนิ พิ พาย ี เป็นสกทาคามี เพราะอินทรีย์ ๕ ยังอ่อนกว่าอินทรีย์ของ อุทธังโสโตอกนิฏฐคามี เป็นโสดาบัน เพราะอินทรีย์ ๕ ยงั ออ่ นกวา่ อนิ ทรยี ข์ องสกทาคาม ี เปน็ ธมั มานสุ ารี เพราะ อนิ ทรยี ์ ๕ ยงั ออ่ นกวา่ อนิ ทรยี ข์ องโสดาบนั เปน็ สทั ธานสุ ารี เพราะอนิ ทรยี ์ ๕ ยังอ่อนกวา่ อินทรียข์ องธมั มานสุ ารี. 182
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300