Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เยอบีร่า

Description: เยอบีร่า

Keywords: เยอบีร่า,ดอกไม้

Search

Read the Text Version

เยอบีรา กรมสง เสรมิ การเกษตร

เยอบีรา ชอื่ สามญั : Transvaal Daisy ชื่อวทิ ยาศาสตร : Gerbera hybrid เยอบีรา เปนไมตัดดอกทน่ี ยิ มใชโ ดยทัว่ ไป เดมิ เกษตรกรนยิ มปลูกเยอบรี าพนั ธไุ ทย ปจ จบุ ันหันมาปลูกพันธุยโุ รปแทน เน่ืองจากมีความหลากหลาย มีทงั้ ดอกช้นั เดี่ยว และดอกซอ น กลบี ดอกหนาและกวาง ดอกใหญ และอายกุ ารปกแจกันทนนานขึ้น สว นเยอบีราสายพันธไุ ทย กลีบดอกจะแคบ กานไมแ ขง็ แรง อายกุ ารใชงานส้นั กวา และไมมสี ายพนั ธใุ หม ๆ มากนกั ถงึ กระน้นั ก็ตามเยอบรี า พันธุย ุโรปมพี ืน้ ท่ผี ลิตคอนขางจํากดั เน่ืองจากเปน พชื เมอื งหนาว หากอุณหภูมสิ ูง ดอกจะมีขนาดเล็ก โดยเฉพาะในฤดูรอ น เยอบีราจะไมท นดนิ แนนและแฉะ ไมเ ชนน้นั ตนจะออ นแอ และเกดิ โรคทางดินไดงา ย และในฤดูฝนหากไมมีหลังคาพลาสตกิ ดอกจะไดร บั ความเสียหาย ดังนน้ั เกษตรกรผผู ลติ เยอบีรา จงึ ควรปลูกในพ้ืนที่ ๆ เหมาะสม ภายใตหลังคาพลาสติก และมีการเตรียมดินหรือวัสดุปลูกท่ี เหมาะสม กลมุ ส่อื สงเสรมิ การเกษตร สํานกั พฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร

ลักษณะทั่วไป ดอกเยอบีรามีลักษณะดอกเปน ดอกรวม ประกอบดว ยดอกยอยเลก็ ๆ ( florets ) จาํ นวนมากอัดตวั รวมกันแนน มีฐานรองดอก ( involucral bract) เปนรูประฆังรองรบั ดอกยอ ยนี้ แบง เปน 2 ประเภท คอื ดอกชน้ั นอก เรยี กวา เร ฟลอเรต็ ( ray florets ) เปน ดอกตวั เมยี ไมม เี กสรตวั ผู และดอกชน้ั ใน เรียกวา ดิส ฟลอเรต็ ( disc florets ) เรียงอยชู ั้นในรอบใจกลางดอก ซึง่ เปน ดอก สมบรู ณเพศ มีทงั้ เกสรตวั ผูและตัวเมีย เกสรตวั เมียของ ดิส ฟลอเรต็ สว นใหญจ ะเปน หมนั พันธุ เยอบรี าสามารถแบง ตามสายพนั ธุ แหลงท่มี า และลักษณะดอกไดดงั นี้ 1. สายพนั ธไุ ทย ( Thai strain ) เปน พนั ธทุ พี่ ฒั นามาจากพนั ธดุ ง้ั เดมิ ทน่ี าํ เขา มาปลกู ผสมและคดั เลอื กพันธุใหม ๆโดยเกษตรกร มีลักษณะกลบี ดอกแคบยาวซอ นลดหล่นั ลงมา มีสีสนั ไมค อ ยสดใสนกั บางพนั ธอุ าจมกี ลบี ดอกเปน ฝอย เรยี กวา นา ยงุ กา นดอกเลก็ และสน้ั ใบมขี นาดเลก็ ปรบั ตวั เขา กบั สภาพอากาศของภาคกลางไดด ี แตอ ายกุ ารปก แจกนั สน้ั เชน พนั ธขุ าวจกั รยาว ( ขาว ) , ขาวจักรสั้น ( ขาว ) , เหลืองถอ ( เหลือง ) , เหลืองพังสี ( เหลือง ) , บัวหลวง ( ชมพู ) , มณฑา ( ชมพู ) , ลกู รกั ( ชมพู ) , สรุ เสน ( แสด ) , จําปา ( แสด ) , แดงลกั แทง ( แดง ) เปน ตน 2. สายพนั ธยุ โุ รป ( European strain ) เปน เยอบรี า ทมี่ กี ารพฒั นาพนั ธใุ นหลาย ประเทศในยุโรป มีดอกชั้นเดียว ซอน หรือกึ่งซอน กลีบดอกกวางกวาพันธุไทย 2 – 3 เทา กลบี ดอกหนา ไสกลางใหญ กานดอกใหญ ยาว และแข็งแรง มีอายุการปกแจกันนาน ใบมี ขนาดใหญก วา สายพนั ธไุ ทย ใจกลางดอกใหญส ว นมากจะเปน สเี หลอื ง หากเปน สดี ําหรอื นํา้ ตาลเขม เรยี กวา ไสด าํ ( black center , black heart ) เยอบรี า สายพนั ธยุ โุ รปอาจแบง ยอ ยตามการซอื้ ขายใน ตลาดโลกไดด งั น้ี ดอกชนั้ เดียว (single flowered) มีกลีบดอกกวา ง ปอ ม ชน้ั เดียว และหนา เยอบรี าประเภทนี้ ไดร บั ความนิยมมากในปจ จุบัน เชน พนั ธุ เออบานสั เทอรา เฟม (Terra Fame – สเี หลอื ง) , แปซฟิ ก ( Pacific – สชี มพู ) , ซนิ มิ า ( Ximena – สแี ดง ) กลมุ สอื่ สงเสริมการเกษตร สํานกั พฒั นาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร 2

ดอกซอ น และกง่ึ ซอ น (double and semi – double flowered) มกี ลีบดอก หลายชน้ั เชน ดอกซอ นพนั ธวุ เิ ซดิ (Wizard – สชี มพแู ดง / ขาว ) , ฟกาโร (Figaro – สีชมพู) , เทอรา สปริท (Terra Spirit – สแี สดแดง) , อมิ พาลา (Impala – สขี าว ) ไสด าํ ( Black center type ) เชน พนั ธุ เออบานสั (Urbanus – สที องแดง) , แพนเทอร (Panther – สแี ดง) , รจิ ลิ โิ อ ( Rigilio – สแี ดง ) , เลบ็ เพดิ (Leopard– สเี หลอื ง) , ฟลามงิ โก (Flamingo – สชี มพ)ู 3. สายพันธุอเมรกิ า และสายพันธุออสเตรเลยี ( American and Australian ) ลกั ษณะของกลีบดอกแคบยาว ใจกลางดอกมีขนาดเลก็ กานดอกเลก็ ยาว คณุ ภาพ และอายุการปกแจกันสูพ นั ธยุ ุโรปไมได การขยายพนั ธุ แมป จ จบุ นั การขยายพนั ธเุ ยอบรี า เปน การคา นยิ มการแยกกอ และการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอื่ โดยเฉพาะการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอื่ จะทาํ ใหไดตนพนั ธทุ ีแ่ ข็งแรงและปราศจากโรค และสามารถใหด อก ไดภ ายใน 3 – 4 เดอื น แตก ารขยายพนั ธขุ องเยอบรี า สามารถทาํ ไดห ลายวิธี ดังน้ี 1. การเพาะเมลด็ วธิ นี ไ้ี มน ยิ มขยายพนั ธเุ พอื่ การตดั ดอกเปน การคา เนอ่ื งจากตน ทไ่ี ดจ ากการเพาะเมลด็ มกั จะมคี วามแตกตางทางพันธกุ รรม จงึ มกั จาํ กดั ในหมนู ักปรับปรงุ พนั ธุพ ืชเทา นนั้ ทั้งนใ้ี นปจจบุ ัน มีการผลิตเมล็ดพนั ธุล ูกผสม F1 ( F1 hybrid ) ซง่ึ มคี วามสมาํ่ เสมอ แตเมลด็ มรี าคาสูง และมกั ใช สาํ หรับเยอบีรากระถาง กลุมสอื่ สงเสริมการเกษตร สาํ นกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร 3

การเพาะเมลด็ ใชว ัสดุเพาะ เชน ขุยมะพรา วกับทรายหยาบ อัตราสว น 1 : 1 ใสใน กระบะพลาสติกท่ีรองดว ยกระดาษหนงั สือพมิ พ เกลย่ี หนาใหเ รยี บเสมอกนั ใชไมท าํ รองตามขวาง ของกระบะ หา งกนั ประมาณ 1 นวิ้ นําเมล็ดวางเรียงในรอ ง กลบดวยวสั ดุเพาะ แลว รดน้ําใหช มุ เมล็ดจะงอก ประมาณ 3 – 5 วนั เมื่อตนกลามีใบจรงิ แลว 2 – 3 ใบ ทําการยายลงถุงปก ชาํ โดยใช ดนิ ผสมทม่ี ดี ินรว น , ปุยคอก , แกลบ และถา นแกลบ ในอัตราสว น 1: 1: 1: 1 เปนวสั ดุปลูก นําไป วางในท่ีรําไร เมื่อตนกลามีอายุ 2.5 – 3 เดือน ก็พรอมท่ีจะยายปลูกลงแปลง หรือกระถางตอไป ซงึ่ ใชเวลาประมาณ 4 – 4.5 เดือน จงึ เริม่ ใหด อก 2. การแยกหนอ เปนวิธที นี่ ยิ มในหมเู กษตรกร เพราะทาํ ไดงายและสะดวก การแยกหนอควรทาํ เม่อื ตน เยอบรี ามีอายมุ ากกวา 7 เดือน โดยการขุดตน เยอบรี าขน้ึ มาทั้งกอ ลางดนิ ออกใหห มด จึงแยกหนอ บางครงั้ ตน จะแยกไดง า ย กรณที ต่ี น ไมแ ยกจากกนั ใหใ ชม ดี คมตดั แบง ใหแ ตล ะตน มยี อดอยอู ยา งนอ ย 1 ยอด มใี บ 4 – 5 ใบ และมรี ากติดอยา งนอย 3 ราก ตัดรากและใบออกประมาณคร่ึงหน่งึ เพ่อื ลด การคายนา้ํ และนําหนอ ทีแ่ ยกไปชาํ ในถงุ ที่มีวัสดชุ าํ เชน ทราย และขยุ มะพรา ว อัตราสว น 1 : 1 ควรระวังไมใหดินกลบยอดเพราะจะทาํ ใหเนาไดงาย 3. การเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อ ปจ จบุ นั การปลกู เยอบรี าตัดดอกมักใชตน พันธุทมี่ าจากการเพาะเล้ยี งเน้ือเยอ่ื ทั้งสน้ิ ท้ังน้เี พราะตนเยอบีราจะมีความสมํา่ เสมอ แตกตาขางดี แขง็ แรง และปราศจากโรค กลุมสอ่ื สงเสรมิ การเกษตร สํานักพฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร 4

การปลูก 1. สภาพทเี่ หมาะสมในการผลติ เยอบรี าตัดดอก เยอบรี าสามารถปลกู ไดทัง้ บนแปลงปลูกและในกระถาง โดยวสั ดปุ ลกู ไดแ ก ดนิ หรอื วสั ดปุ ลกู ทไี่ มม ดี นิ การปลกู เยอบรี า กระถางเปน ทนี่ ยิ มมากขน้ึ เนอื่ งจากความสะดวกในการจดั การการปลกู และเปนการปอ งกันการแพรก ระจายของโรคอกี ดว ย กระถางทใ่ี ชค วรมีความลกึ 10 – 12 น้ิว และมี ความจุ 12 – 15 ลติ ร วสั ดปุ ลกู ในดนิ ทรี่ วนซุย อาการถา ยเทดี และมคี วามช้นื ในดนิ สมา่ํ เสมอ การระบายน้ําดี มอี นิ ทรยี ว ตั ถสุ งู ควรหลกี เลยี่ งการปลกู ในดนิ เหนยี ว ที่ระบายนํ้าไมด ี ดนิ ควรมี pH 5.5 – 6.5 อณุ หภมู ิ อุณหภูมิท่ีเหมาะสมในการเจริญของเยอบีราคือชวงกลางคืน 15 – 17 องศาเซลเซียส และกลางวัน 21 – 25 องศาเซลเซียส แสง ควรปลกู ใตซ าแรนพรางแสงรอยละ 50 ใหม คี วามเขม ของแสง ประมาณ 40,000 ลกั ซ ความชื้น ความชนื้ สมั พทั ธท เ่ี หมาะสมคอื รอ ยละ 80 ในฤดฝู นควรคลมุ แปลง ดว ยพลาสตกิ ใส เพอื่ ใหค ณุ ภาพของดอกดี และปราศจากโรค 2. การปลูก แปลงปลูก ควรยกแปลงปลกู สูงจากพ้นื ดนิ ประมาณ 30 เซนติเมตร แปลงกวา ง 65 – 70 เซนตเิ มตร ทางเดิน 50 เซนติเมตร ระยะปลูก ปลูก 2 แถวตอ แปลง ระยะระหวางแถว 30 – 40 เซนตเิ มตร ระยะระหวา งตน 30 – 35 เซนตเิ มตร ควรปลกู ใหตนอยรู ะดับ ผวิ ดินหรือเหนอื กวา เลก็ นอย ไมควรปลกู ลึกและอยา ใหว ัสดปุ ลูก กลบยอดมิฉะนัน้ จะทาํ ใหต น เนาตายได กลมุ ส่ือสงเสรมิ การเกษตร สาํ นักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร 5

การดูแลรกั ษา การใหน ํ้า เยอบรี า ตอ งการน้ํามากแตไ มช อบนาํ้ ขงั ระยะ 2 – 3 สปั ดาหแ รก ควรใหน ํ้าแบบสปรงิ เกอร ตอ มาควรใหน ํ้าแบบหยด เพราะทําใหไ ดน ํ้าสม่าํ เสมอ และนํ้าไมเ ปย กใบและดอก การใหน ํ้าไมส มา่ํ เสมอ จะทาํ ใหกานดอกเปราะ แตก และหักไดงา ย การใหปยุ การใหป ุย ควรใหเ ปน 2 ชวง 1. ชว งกอนการออกดอก เม่ือตน กลา เร่มิ แตกใบใหม ใหป ยุ เกรด็ สูตร 21 – 21– 21 อตั รา 3 ชอ นโตะ ผสมน้าํ 20 ลิตร (ควรใหธ าตอุ าหารรองดว ย) รดทกุ ๆ 7 วนั จนมี ดอกแรก 2. ชว งออกดอก ใหป ยุ สูตร 10 – 52 – 17 อตั รา 3 ชอ นโตะ ผสมน้ํา 20 ลติ ร รดสลบั กบั การใหป ยุ ยเู รยี โดยให ทกุ ๆ 15 วนั การแตง พุม เยอบรี าเปนพืชที่มกี ารแตกหนอทําใหกอใหญข น้ึ ใบกจ็ ะเพ่ิมจาํ นวนมากขน้ึ เรือ่ ย ๆ พมุ ตน แนน ใบดา นบนจะบงั ใบดา นลา ง ทาํ ใหใ บดา นลา งไมส ามารถสงั เคราะหแ สงสรา งอาหารเองได จงึ ตอ งอาศยั อาหารจากใบบนดว ย ทาํ ใหป รมิ าณของดอกลดลง เนื่องจากใบดานลางน้ันแยงอาหาร ท่ีจะไปสรา งดอก ดงั น้ันจึงจาํ เปนตอ งแตงใบออกบางเมือ่ พุมตน แนน การแตง ควรใหแตละกอเหลือ ใบประมาณ 20 – 25 ใบ ตอ ตน กลุมส่อื สงเสริมการเกษตร สํานกั พัฒนาการถา ยทอดเทคโนโลยี กรมสง เสรมิ การเกษตร 6

การปองกนั และกาํ จดั ศัตรูพชื โรคทสี่ ําคัญ - สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Cercospora sp 1. โรคใบจุดหรอื ตากบ - จดุ สนี ํ้าตาลกลมบนใบ - สามารถทาํ ไดโ ดยเลอื กพันธทุ ป่ี ราศจากโรค และใช ลกั ษณะการเขาทําลาย การปองกันกาํ จดั สารเคมแี มนโคเซบ็ หรอื คลอโรธาโลนลิ ฉดี พน เปน ประจํา 2. โรคเหยี่ ว - หรอื โรคราเมลด็ ผกั กาด สาเหตเุ กดิ จากเชอ้ื รา Sclerotium sp ลักษณะการเขา ทําลาย - ใบจะเหีย่ วเฉา และคอย ๆ แหง และตายไปในทีส่ ุด การปอ งกนั กําจดั โคนตน และรากจะเนา มกั พบวา มเี สน ใยและเมด็ กลมๆ 3. โรครากเนา โคนเนา สีนํา้ ตาลของเชื้อรา ( ราเมล็ดผกั กาด ) ลักษณะการเขาทําลาย - ใชต น พนั ธทุ ป่ี ราศจากโรค ไมป ลกู ซา้ํ ทเี่ ดมิ หรอื ปลกู ใน การปอ งกนั กาํ จดั ทท่ี ม่ี โี รคนร้ี ะบาด ตรวจสอบดนิ หากพบวา pHของดนิ ตาํ่ ใหป รบั สภาพดนิ ดว ยปนู ขาวกอ นปลกู และอาจปอ งกนั ดว ยการราดดนิ เปน ระยะ ๆ ดว ย บโี นบลิ หรอื ไธแรม เม่อื พบตนที่เปนโรคควรขุดตน ทีเ่ ปนโรคเผาและราด บริเวณดว ยเทอรราคลอร - สาเหตุ เกดิ จากเชอ้ื รา Phytophthora cryptogea - มักเกิดกบั ดอกและใบแก ที่อยใู นสภาพความช้ืนสงู และมนี ้าํ เกาะ สว นทถ่ี กู ทําลายจะแหง และเหน็ สปอรส เี ทา - กําจดั โดยใชส ารเคมเี มธาแลก็ ซลิ หรอื ไธแรม ราดวสั ดปุ ลกู 4. โรคดอกไหม โคนเนา - สาเหตุเกดิ จากเช้ือราสเี ทา Botrytis cinerea ลกั ษณะการเขาทําลาย - ใบจะเหีย่ ว แหง จนกลายเปน สนี า้ํ ตาลแดง การปอ งกันกาํ จดั สว นโคนตน (crown) จะมสี คี ล้ําและเนา รากมลี กั ษณะ ฉํ่าน้ํา มีสนี า้ํ ตาล โดยทวั่ ไปจะตายภายใน 2 สปั ดาห อาการจะรนุ แรงมากขนึ้ เมอื่ วสั ดปุ ลกู เปย กชน้ื อยเู สมอ - รักษาความสะอาดของแปลงปลูก และลดความช้นื ในแปลง ใชสารเคมเี บนโนมลิ หรือโอโปรไดโอน 5. โรครากปม - สาเหตุ เกิดจากไสเดอื นฝอย Meloidogyne incognita ลกั ษณะการเขาทําลาย - จะมลี กั ษณะตนแคระแกรน รากเปน ปมโปง นนู การปอ งกันกาํ จัด - ทาํ ไดโดยการอบฆาเช้ือในดนิ กอนปลกู กลุมส่อื สงเสรมิ การเกษตร สํานักพฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร 7

แมลงที่สาํ คญั 1. เพลี้ยไฟ ลักษณะการเขาทําลาย - จะทาํ ลายทง้ั ตน ใบ และดอก ตนที่ถูกทาํ ลาย ใบจะหงิกงอ หยาบกราน และมขี นาดเลก็ กวา ปกติ ดอกทถ่ี กู ทาํ ลายจะมรี อยดา งสขี าว และมกั จะระบาดมาก การปองกันกําจัด ในชวงที่มีอากาศรอ นและแหงแลง - ปอ งกนั กาํ จดั โดยใชส ารเคมโี ปรโพเซอร มาลาไธออน ไดอะซนิ อน ไดเมท็ โธเอท ฉดี พน ทกุ 4 – 5 วัน 2. ไรตาง ๆ รวมทงั้ ไรแดง ลกั ษณะการเขา ทําลาย - อาการระยะแรก จะมจี ดุ สเี ทา หรอื เหลอื งบนแผน ใบ ถา ระบาดมาก ไรแดงจะเขา ทําลายดอกดวย ทาํ ให ดอกออ น ขอบหรอื ปลายใบหงกิ งอ และจะเหน็ ใย บนกลีบดอกและดานลา งของใบ ซ่งึ อาการนีจ้ ะพบ เมอ่ื ไรแดงเขา ทาํ ลายแลวระยะหน่ึง ซงึ่ จะเปนผลเสยี ตอ การผลติ ดงั น้ันจงึ ควรกําจัดไรแดงเสียตง้ั แต เม่ือพบอาการระยะแรกปรากฏ ไรแดงขยายพันธุ การปอ งกนั กาํ จัด อยา งรวดเรว็ ในอุณหภูมสิ ูง และความช้ืนต่ํา - ควรเกบ็ ใบและดอกทแี่ สดงอาการเผาทง้ิ และฉดี พน ดวยสารเคมี เชน ไดโคฟอล 3. หนอนชอนใบ - สว นของใบทถี่ กู หนอนชอนจะเหน็ เปน ทางสอี อ นกวา เนอ้ื ใบ ลกั ษณะการเขาทาํ ลาย - ควรฉดี พน ดว ยสารเคมเี มธามโิ ดฟอส และอะบาเมค็ ตนิ การปอ งกนั กําจดั กลมุ สื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร 8

การจดั การผลผลิต ระยะทเี่ หมาะสมในการเกบ็ ดอก คอื เมอ่ื กลบี ดอกชน้ั ในบานได 2 วง หากเกบ็ เรว็ เกนิ ไป จะทาํ ใหคอดอกหักพบั ไดง า ย และอายกุ ารปกแจกันสนั้ หากไมแ นใ จใหต ดั ดอกเมอ่ื กา นดอกแขง็ แลว เทานั้น หรือปลอ ยใหดอกแกมากขึ้น การเกบ็ ดอกทําโดยถอนกา นดอกขนึ้ มา และโยกลงขา ง ๆ เลก็ นอย ไมใชกรรไกรตดั จากนนั้ ตดั โคนกา นออกประมาณ2 – 5เซนตเิ มตร ดวยมีดท่ีคมและสะอาด แลวนําไปแชในถงั นํ้า ทใ่ี สส ารฟอกผาขาว ( sodium hypochlorite : เชน คลอรอ ก หรอื ไฮเตอร ) ในสดั สว น 7 มลิ ลลิ ติ ร ตอ น้าํ สะอาด 1 ลติ ร คดั เกรดตามทต่ี ลาดตอ งการ จากนั้นควรหุมดอกดวยถุงพลาสติกใส ขนาด 3 X 5 น้ิว หากดอกใหญมากใชขนาด 4 X 6 น้ิว โดยตดั มมุ ลา งของถงุ เสียบกา นลงไป เพ่อื ใหถงุ สวมดอกไว เปน การปองกันไมใหกลบี ดอกรอบนอก แอน เสยี ทรง จากนน้ั จงึ เขา กาํ ๆ ละ 5 – 10 ดอก แลว จงึ แชน ํ้าผสมสารฟอกผา ขาวอยา งนอ ย 4 ชว่ั โมง เพ่ือใหดอกดูดน้าํ เต็มทก่ี อนการบรรจุเพอ่ื การขนสง ไมเ ชนนน้ั ดอกจะมอี ายุการใชง านสั้น เรยี บเรียง : ดร.เศรษฐพงศ เลขะวฒั นะ กลมุ สงเสรมิ การผลิตไมด อกไมป ระดับ ทมี่ า : กรมสง เสริมการเกษตร. 2549. ไมดอกไมประดบั เฉลิมพระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหวั เนือ่ งในวโรกาสทรงครองสิรริ าชสมบตั คิ รบ 60 ป. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พชุมนุมสหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทยจาํ กดั . จัดทาํ และเผยแพรทางเว็บไซต : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สวนสงเสริมและเผยแพร สาํ นักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กลมุ สื่อสงเสริมการเกษตร สํานกั พฒั นาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสง เสริมการเกษตร 9


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook