Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชีวิตมีทางเลือก ร้อยแปดพันเก้าวิธีเพื่อหาทางออก

ชีวิตมีทางเลือก ร้อยแปดพันเก้าวิธีเพื่อหาทางออก

Description: ชีวิตมีทางเลือก ร้อยแปดพันเก้าวิธีเพื่อหาทางออก

Search

Read the Text Version

ความกงั วลของการทำ�หมนั ชาย ผูช้ ายส่วนใหญ่ มักจะสบั สนว่า การท�ำ หมันชายเปน็ การตอนตัดลูกอณั ฑะออก จน ไมส่ ามารถท�ำ งานได้ตามปกติ และมีความเสือ่ มถอยในสมรรถภาพ ทางเพศ การศึกษาวจิ ยั ต้ังแต่อดตี จนถึงปัจจบุ นั พบว่า การทำ�หมัน ชายเปน็ วธิ กี ารทป่ี ลอดภยั และไมม่ ผี ลเสยี ตอ่ การท�ำ งานของระบบ ต่างๆ ในร่างกาย มีผู้ชายจำ�นวนหน่ึงมีเพศสัมพันธ์ไม่ก่ีวันหลังจากการ ทำ�หมัน เพราะต้องการทดสอบว่าอวัยวะของตนเองยังใช้การได้ หรือไม่ ทำ�ให้ยังคงมีอสุจิเหลือค้างอยู่ในท่อทางเดิน ส่งผลให้ ภรรยาต้ังครรภ์ทงั้ ๆ ทีท่ ำ�หมันแล้ว • เลอื กการคมุ ก�ำ เนดิ ใหเ้ หมาะกบั ตนเองอยา่ งไรดี หญิงและชายแต่ละคนมีเงื่อนไขชีวิต สุขภาพ สถานะการเงิน และวิถีทางเพศสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน จึงต้องเลือกวิธีการคุมกำ�เนิดที่ เหมาะสมตามสภาพการณ์ของแต่ละคน ตารางต่อไปน้ีแสดงราย ละเอยี ดเพ่ือพิจารณาวิธีการทีเ่ หมาะสมกบั ตัวเอง 101คุมกำ�เนิดเพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อม

วิธี เหมาะส�ำ หรับ ประสิทธภิ าพในการ คมุ กำ�เนิด คมุ กำ�เนดิ 8 (รอ้ ยละ) ราคา9 ใชจ้ รงิ ใน ใช้ โดย ทางปฏบิ ตั ิ อยา่ งถูก ประมาณ และอาจมี ตอ้ งไม่มี (บาท) ความผิด ผิด พลาดได้ พลาด ถุงยาง ใช้ไดท้ ุกโอกาส 85.0 98.0 30-35 อนามยั ชาย ไม่มขี อ้ ยกเวน้ 79.0 (บรรจุ 3 ชิ้น) เหมาะส�ำ หรบั ผ้มู ีเพศสมั พันธ์ 95.0 120-200 ถุงอนามัย ชวั่ คราว นอกจากน้ี (1 ชน้ิ ) หญิง ยังเหมาะส�ำ หรับใช้ เมอื่ เกดิ การ ผดิ พลาดในการ คมุ ก�ำ เนดิ ดว้ ย วธิ กี ารอ่นื ๆ 8 อ้างอิงจาก http://www.health.co.th/Journal2/54-54_Contraception Efficacy.html.html 9 องค์การแพธ ร่วมกับ สำ�นักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข และ UNFPA. การศกึ ษาการกระจายเวชภณั ฑ์คมุ กำ�เนิดในประเทศไทย. ธนั วาคม 2555 102 ชวี ติ มีทางเลอื ก

ประสทิ ธภิ าพในการ คุมกำ�เนดิ (รอ้ ยละ) วิธี เหมาะส�ำ หรบั ใช้จรงิ ใน ใช้ ราคา คมุ กำ�เนิด ทางปฏบิ ตั ิ อยา่ งถูก โดย และอาจมี ตอ้ งไมม่ ี ประมาณ ความผดิ ผิด (บาท) พลาดได้ พลาด ยาเม็ด ผู้ต้องการคุมก�ำ เนดิ 92.0 99.7 20-450 คมุ กำ�เนดิ ชวั่ คราว และมวี นิ ัย 92.0 99.7 420-450 แผ่นแปะ ในการใช้ยา 92.0 99.7 420-490 คุมก�ำ เนิด สามารถใชไ้ ดอ้ ยา่ ง วงแหวนคมุ ถูกตอ้ ง กำ�เนดิ ยาเมด็ ใช้ในกรณีฉุกเฉิน ไม่มขี ้อมูล 85.010 25-50 คุมกำ�เนิด เทา่ น้นั คอื หลังมี ฉกุ เฉนิ เพศสมั พันธแ์ ล้วพบ ว่าลืมคุมก�ำ เนิด หรือถงุ ยางแตก ยาฉีด ผตู้ ้องการคุมก�ำ เนิด 97.0 99.7 35-120 คมุ ก�ำ เนิด ชว่ั คราว และไมต่ อ้ ง (ไม่รวม คา่ ฉีด) การกนิ ยาทุกวัน 10 สญั ญา ภทั ราชยั . การคมุ ก�ำ เนิดฉุกเฉิน (Emergency Contraception) 103คุมกำ�เนิดเพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อม

ประสทิ ธิภาพในการ คุมก�ำ เนดิ (รอ้ ยละ) วิธี เหมาะสำ�หรบั ใชจ้ ริงใน ใช้ ราคาโดย คุมกำ�เนดิ ทางปฏบิ ตั ิ อยา่ งถูก ประมาณ และอาจมี ต้องไม่มี (บาท) ความผิด ผดิ พลาดได้ พลาด ห่วงอนามัย - ผู้ท่ตี ้องการวิธี 99.2 99.4 500-600 คมุ ก�ำ เนิดท่ีมี ประสทิ ธภิ าพใน ระยะเวลา ทีย่ าวนานขึ้น 99.95 99.95 1,800- ยาฝัง - ผทู้ ม่ี ักลืมกนิ / 3,000 คุมก�ำ เนดิ แปะยา ลืมฉดี ยา (ไมร่ วมคา่ บรกิ าร) - ผู้ที่ขาดทักษะชวี ติ ในการใชย้ าคุม- ก�ำ เนิดอนื่ ๆ - คู่สมรสทีม่ ีบุตร เพยี งพอแต่ไม่ ตดั สนิ ใจท�ำ หมนั ทำ�หมันชาย ผู้ที่มบี ุตร 99.85 99.9 ไม่เสยี เพยี งพอแล้ว ค่าใช้จ่าย กรณโี รง ท�ำ หมันหญงิ ผู้ทม่ี ีบตุ ร 99.5 99.5 พยาบาล เพยี งพอแลว้ รัฐ 104 ชวี ติ มีทางเลอื ก

การคุมกำ�เนดิ หลังยตุ กิ ารตั้งครรภม์ คี วามสำ�คญั หากไม่มีภาวะแทรกซ้อนหลังแท้ง จะมีการตกไข่รวดเร็ว ภายหลังแท้ง ควรเร่ิมคุมกำ�เนิดได้ทันที หรืออย่างช้าไม่เกิน 2 สัปดาห์หลังแท้ง เน่ืองจากมีโอกาสต้ังครรภ์เร็วมากแม้ว่าประจำ� เดอื นยงั ไมม่ ากต็ าม นอกจากนั้นแล้ววธิ ีคมุ ก�ำ เนดิ แบบดัง้ เดมิ เช่น การนับวันปลอดภัย หรือการหลั่งภายนอก มีโอกาสล้มเหลวใน ทางปฏิบัติสูงถึงเกือบร้อยละ 30 จึงเป็นวิธีท่ีไม่ควรเลือกใช้อีกต่อ ไป • สถานบรกิ ารสขุ ภาพแตล่ ะประเภทใหบ้ รกิ ารอะไรไดบ้ า้ ง มกั มคี �ำ ถามวา่ จะไปหาบรกิ ารคมุ ก�ำ เนดิ วธิ กี ารตา่ งๆ ทม่ี อี ยไู่ ดท้ ่ี ไหนบา้ ง กอ่ นอนื่ ตอ้ งท�ำ ความเขา้ ใจวา่ สถานบรกิ ารบางแหง่ ไมส่ ามารถ ให้บริการคุมกำ�เนิดได้ทุกวิธี เช่น กรณีใส่ห่วง หรือฝังยา ผ้ใู ห้บริการ ต้องมที ักษะเฉพาะ ดงั นัน้ จึงขึน้ อยูก่ ับว่าสถานบรกิ ารนั้นๆ มีผู้ทผี่ า่ น การอบรมทักษะเฉพาะน้ีหรือไม่ แต่การฉีดยาคุมกำ�เนิด เป็นทักษะ ทั่วไปจงึ ให้บรกิ ารได้ ซึ่งยาฉีดกพ็ บว่ามีขายในรา้ นขายยาเชน่ เดยี วกนั โดยเป็นการซื้อเพ่ือนำ�ไปฉีดที่สถานบริการ การให้บริการวิธีการคุม ก�ำ เนดิ แตล่ ะวธิ ี สามารถแยกไดต้ ามสถานบรกิ ารโดยครา่ วๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 105คุมกำ�เนิดเพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อม

 มีบริการ  มีผลติ ภณั ฑ์ให้เลือกหลากหลาย  มีบริการในบางสถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล หรือมีจำ�หน่ายใน ร้านขายยาบางร้านเทา่ นั้น  ไม่มีบริการ วิธคี มุ ก�ำ เนดิ สถานบรกิ าร โรงพยาบาล สถานี รา้ นยา จังหวัด/อ�ำ เภอ อนามัย* คลนิ กิ หรอื โรงพยาบาล รัฐ เอกชน ถงุ ยางอนามยั     ชาย ถงุ อนามัย    หญงิ ยาเมด็ คุมกำ�เนิด     แผ่นแปะ    คมุ ก�ำ เนิด วงแหวน    คุมกำ�เนิด ยาเมด็ คุมกำ�เนดิ     ฉุกเฉิน 106 ชวี ติ มที างเลอื ก

วธิ ีคมุ ก�ำ เนิด สถานบริการ โรงพยาบาล สถานี ร้านยา จังหวัด/อำ�เภอ อนามัย* คลินิก หรือ โรงพยาบาล รัฐ เอกชน ยาฉดี คุมกำ�เนิด    ห่วงอนามัย    ยาฝงั คมุ กำ�เนิด     ท�ำ หมนั หญงิ     ท�ำ หมันชาย    * ปัจจุบันสถานีอนามัยเกือบทุกแห่งจะเปลี่ยนช่ือเป็น โรงพยาบาลส่งเสริม สขุ ภาพต�ำ บล (รพ.สต.) • การรบั บริการท่สี ถานบริการสุขภาพของรฐั และเอกชน การรบั บรกิ ารคร้ังแรกของผู้ใช้บรกิ าร จะได้รบั บริการดงั นี้ o ลงทะเบยี นและทำ�บัตรประจำ�ตัวโรงพยาบาล o การซกั ประวัตแิ ละการคัดกรองเบ้ืองตน้ o การให้คำ�ปรึกษาและการให้ความรู้วิธีการคุมกำ�เนิดชนิด ต่างๆ 107คุมกำ�เนิดเพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อม

o การตรวจร่างกายและการให้บริการคุมกำ�เนิดท่ีเลือกใช้ ซึ่งควรเป็นวิธีท่ีผู้ใช้และคู่ได้ตัดสินใจร่วมกันว่าเหมาะสม พรอ้ มขอ้ จ�ำ กดั ของวธิ กี ารคมุ ก�ำ เนดิ ทเ่ี ลอื ก ตลอดจนความ ผิดพลาดท่ีเกิดข้ึนได้ ภาวะแทรกซ้อนท่ีอาจพบ และวิธี แก้ไข o นัดหมายตรวจติดตามเพื่อสอบถามอาการข้างเคียงและ อาการผิดปกติท่ีพบ และให้ความม่ันใจในการคุมกำ�เนิด แกผ่ ใู้ ชบ้ ริการและคู่ • กรณรี ับบริการท่ีรา้ นขายยา โดยท่ัวไป ร้านขายยาไม่มีขั้นตอนการให้บริการเหมือนสถาน บริการสุขภาพของรัฐและเอกชน โดยให้บริการตามท่ีผู้ใช้บริการ ร้องขอ การให้คำ�แนะนำ�แกผ่ ู้ใชบ้ ริการข้นึ อยกู่ ับจำ�นวนผู้มาใช้บรกิ าร ณ ขณะน้นั อย่างไรกต็ าม หากเปน็ รา้ นทม่ี เี ภสัชกรประจำ� และไดพ้ บ กับเภสัชกรก็สามารถซักถามและขอคำ�แนะนำ�ในการใช้ยาและ เวชภัณฑ์คุมก�ำ เนดิ ได้ 108 ชวี ิตมีทางเลือก

• เขา้ ใจ เทา่ ทนั ขอ้ จ�ำ กดั ของหนว่ ยบรกิ ารในประเทศไทย ผู้มีสทิ ธิในหลักประกันสขุ ภาพ สามารถเข้ารบั บรกิ ารคุมกำ�เนดิ ได้ทห่ี นว่ ยบรกิ ารทข่ี ึ้นทะเบียนไว้โดยไมต่ ้องเสียคา่ ใช้จา่ ย แต่ถา้ ไปรบั บริการทหี่ นว่ ยบริการทไี่ ม่ได้ขึน้ ทะเบียนไวก้ ต็ อ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายเอง ต้ังแต่ปี 2545 เป็นต้นมา การคุมกำ�เนิดด้วยห่วงอนามัยและ ยาฝงั คมุ ก�ำ เนดิ สถานบริการสขุ ภาพสว่ นใหญ่จะไม่มีบรกิ ารเน่ืองจาก เวชภัณฑ์มีราคาแพง โดยมักจะแนะนำ�ให้ใช้วิธีอื่นที่มีอยู่ เช่น ยาเม็ด คุมก�ำ เนดิ และยาฉีดคุมก�ำ เนดิ แต่ปัจจุบัน สำ�นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีโครงการ สนับสนุนการคุมกำ�เนิดด้วยห่วงอนามัยและยาฝังคุมกำ�เนิดให้กับ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารแมว่ ยั รนุ่ /วยั รนุ่ อายตุ ่�ำ กวา่ 20 ปี ตง้ั แตเ่ ดอื นมถิ นุ ายน 2557 เปน็ ตน้ ไป จงึ ควรตดิ ตอ่ สอบถามวา่ มบี รกิ าร คุมก�ำ เนิดทีต่ ้องการหรอื ไม่ก่อนเข้ารับบรกิ าร 109คุมกำ�เนิดเพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อม

อายตุ ่ำ�กวา่ 18 ปี เข้ารับบรกิ ารคมุ กำ�เนิดเองไดไ้ หม ขอรับบริการด้วยตนเองได้เลย (แม้ว่าอาจมีผู้ให้บริการท่ี ไม่เข้าใจมองด้วยสายตาท่ีไม่ดีนัก เน่ืองจากอาจรู้สึกว่าเรามี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร แต่ก็ต้องให้บริการตามสิทธิ) โดย เราควรยืนยนั ความตอ้ งการในการรับบริการคมุ ก�ำ เนดิ ยกเวน้ กรณีผ้บู กพร่องทางกายหรอื จิต (ไมจ่ ำ�กดั อายุ) ตอ้ ง มผี ปู้ กครองมาเซน็ รบั รองดว้ ย และ การทำ�หมันหญิง (กรณีแต่งงานแล้ว) ต้องมีสามีมา เซน็ รบั รองดว้ ย 110 ชีวิตมีทางเลอื ก

เครอื ขา่ ยสนบั สนนุ ทางเลอื กของผหู้ ญงิ ทท่ี อ้ งไมพ่ รอ้ ม เป็นการรวมตัวของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาควิชาการ ตั้งแต่ ปี 2550 ท่ีทำ�งานในด้านเพศศึกษา อนามัยเจริญพันธุ์ การวางแผนครอบครัว การปรึกษาทางเลือกเมื่อท้องไม่พร้อม การยุติการต้ังครรภ์ที่ปลอดภัย การให้ความ ช่วยเหลือผู้ถูกกระทำ�ด้วยความรุนแรง รวมทั้งสถานท่ีพักพิง บ้านพักรอคลอด การเลี้ยงดูอุปการะเด็กเป็นบุตรบุญธรรม และกลุ่มสนับสนุนพ่อแม่เลี้ยงเดี่ยว ในปี 2557 เครอื ขา่ ยฯ มีสมาชิกรวมทงั้ ส้ิน 68 องคก์ ร เครือข่ายท้องไม่พร้อม มีวัตถุประสงค์ในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ การทำ�งาน แสวงหาทิศทางและความร่วมมือในการทำ�งานร่วมกัน เพื่อดำ�เนิน กิจกรรมอย่างครบวงจร สอดคล้องกับภาพรวมของการแก้ไขปัญหาท้องไม่พร้อม เพ่ือให้ผู้หญิงที่ประสบปัญหาได้มีทางออกท่ีเหมาะสมกับเง่ือนไขชีวิตต่อไป โดยมี เป้าหมายในระยะยาว เพ่ือให้ผู้หญิงและ/หรือเด็กที่เกิดมามีสุขภาวะและคุณภาพ ชีวิตทดี่ ี โดยมขี อบข่ายการด�ำ เนินงานดังน้ี 1. ป้องกันท้องไม่พร้อม ส่งเสริมการเรียนรู้เพศศึกษาและทักษะชีวิต และ บริการคุมก�ำ เนดิ ทม่ี คี ณุ ภาพ 2. เสริมพลังให้กับผู้หญิงท้องไม่พร้อม และพัฒนาบริการปรึกษาทางเลือกที่ ผู้หญงิ เขา้ ถึงได้ 3. พฒั นาเครอื ข่ายส่งตอ่ ใหค้ วามช่วยเหลือทางสุขภาพและทางสงั คม 4. สรา้ งความเขา้ ใจต่อสงั คมและขบั เคลอ่ื นนโยบายในประเดน็ ท้องไม่พร้อม ตดิ ตามงานของเครอื ขา่ ยทอ้ งไมพ่ รอ้ มได้ท่ี www.choicesforum.wordpress.com 111ท้องไม่พร้อม มีทางเลือก

รายนามคณะท�ำ งาน 1. รศ. ดร. กฤตยา อาชวนิจกลุ สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวทิ ยาลยั มหิดล 2. นพ. พรเพชร ปัญจปยิ ะกลุ สำ�นักบรหิ ารการสาธารณสขุ ส�ำ นักปลัดกระทรวงสาธารณสขุ 3. นพ. บุญฤทธ์ิ สุขรตั น์ สำ�นักอนามยั เจรญิ พนั ธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ 4. บุญพลอย ตลุ าพนั ธ์ ส�ำ นกั บริหารการสาธารณสขุ ส�ำ นกั ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 5. เรณู ชนู ลิ สำ�นกั อนามยั การเจริญพนั ธ์ุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ 6. ธัชณชั พนั ตรา สำ�นกั อนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ 7. วรภทั ร แสงแกว้ โรงพยาบาลปทมุ ธานี 8. มณีทพิ ย์ วีระรตั นมณ ี โรงพยาบาลพระนครศรอี ยธุ ยา 9. ดร. ขนษิ ฐา บูรณพนั ศกั ด ์ิ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลมิ พระเกียรติ 10. พ.ต.อ. หญิง ชุติมา พันธุ โรงพยาบาลตำ�รวจ 11. วรญั ญา พิทกั ษ์เทพสมบตั ิ สมาคมวางแผนครอบครัวแหง่ ประเทศไทยฯ 12. ดร. วราภรณ์ แชม่ สนิท แผนงานสุขภาวะผู้หญิง สมาคมเพศวถิ ีศึกษา 13. วรรณภา นาราเวช มูลนิธิคอนเซพ็ ท์ 14. สปุ รีชา เบาทพิ ย์ Women on Web 15. เอมอร คงศร ี สายปรึกษาเอดส์ ท้องไมพ่ ร้อม 1663 มลู นธิ เิ ข้าถึงเอดส์ 16. สมรธรรม สุขนิรันดร ์ สมาคมพฒั นาประชากรและชมุ ชน 17. สุมาลี โตกทอง มลู นิธิสร้างความเข้าใจเร่ืองสขุ ภาพผู้หญงิ 18. ทัศนัย ขันตยาภรณ์ มูลนิธิแพธทเู ฮลท์ 19. พรนุช สถาผลสวัสด์ิ มลู นธิ แิ พธทูเฮลท์ 20. ชยุต พว่ งมหา มูลนธิ ิแพธทูเฮลท์ 21. อังศญิ านาถ ศรีจันทร ์ มูลนิธแิ พธทูเฮลท์ 112 ชวี ติ มีทางเลอื ก