Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 100ชนิดปลาสวยงามของไทย pink

100ชนิดปลาสวยงามของไทย pink

Description: 100ชนิดปลาสวยงามของไทย

Search

Read the Text Version

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย มา ชอ่ื สามัญ Boeseman croaker ชือ่ วิทยาศาสตร Boesemania microlepis (Bleeker, 1858) ช่ือวงศ Sciaenidae ถนิ่ อาศยั ในแมน้ำตอนลางบริเวณที่ใกลจากปากแมน้ำ และแมน้ำในภาคกลาง ภาคเหนอื และแมน ้ำโขง ลักษณะท่วั ไป รปู รางเพรยี ว เลก็ ไปทางดานทา ย หวั โต หนาผากเวา ตาอยูสูงดานบนของ หัวปากกวางอยูดานลางของจะงอยปาก ครีบหลังยาวตลอดสวนหลัง ตอนหนาเปนกานแข็งตอนทายเปนกานออน โคนหางเล็กเรียว ครีบกน มกี านแข็งอันใหญหนา ครีบอกยาว ครบี ทอ งมปี ลายเปนเสนยาวเชน เดยี ว กับครีบหาง เกล็ดเล็กมาก ตัวมีสีเทาออนเหลือบเงินดานหลังมีสีคล้ำ ดานขา งลำตัวมแี ถบสคี ลำ้ จาง ๆ เปน แนวเฉียงหลายแถบ ดา นทองสีจาง ครีบใส ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 60 ซม. ขนาดเฉลี่ยความยาว ประมาณ 30 ซม. อาหาร ปลาขนาดเล็ก กุง แมลง การเลีย้ งในตูปลา เลย้ี งในตูข นาดคอ นขางใหญ ตกแตงดว ยกอนหนิ และพรรณไมน ำ้ 100 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ชอ่ื ไทย กา งพระรวง ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอ่ื สามญั Glass catfish ชื่อวิทยาศาสตร Kryptopterus bicirrhis (Valenciennes, 1840) ช่อื วงศ Siluridae ถน่ิ อาศัย แหลงน้ำไหล แหลงน้ำตามธรรมชาติในภาคกลางพบที่จังหวัดนครนายก จันทบุรี และตราด ทางภาคใตพบแถบจังหวัดสุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช สตูล พัทลุง และสงขลา ลกั ษณะทั่วไป ลำตัวยาวแบนขาง มีหนวด 2 คู หนวดคูแรกอยูบนขากรรไกรบน มี ขนาดยาวและชี้ไปดานหนา สวนหนวดคูที่ 2 มีขนาดสั้นอยูบน ขากรรไกรลาง ครีบหลังมีขนาดเล็กและสั้นมากแทบมองไมเห็น ครีบกน ยาวตลอดจนถึงครีบหาง หัวมีขนาดเล็ก จะงอยปากสั้น ตากลมโต เน้อื ปลาจะมลี กั ษณะโปรง แสง ทำใหมองเหน็ กางภายในตัวไดอยา งชัดเจน เฉพาะสวนของหัวและกระเพาะอาหารเทานั้นที่ทึบแสง ขนาดเฉลี่ย ความยาวประมาณ 8 ซม. ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 15 ซม. อาหาร ไรนำ้ แพลงกต อนสัตว การเลยี้ งในตูปลา เลี้ยงในตูที่ตกแตงดวยพรรณไมน้ำ เปนปลาสวยงามที่ไดรับความนิยม ตลาดตา งประเทศมีความตองการสงู ปจจุบนั การสงออกยงั มกี ารรวบรวม จากธรรมชาติ เนือ่ งจากไมสามารถเพาะพันธุใหไ ดในปริมาณมาก 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 101

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย ขาไก ช่อื สามญั - ช่อื วทิ ยาศาสตร Kryptopterus cryptopterus (Bleeker, 1851) ชอื่ วงศ Siluridae ถ่นิ อาศัย แมน้ำของทุกภาคของไทย ยกเวนแมน ำ้ สาละวิน ลกั ษณะทวั่ ไป เปนปลาไมมีเกล็ดขนาดเล็ก มีรูปรางเพรียว ลำตัวแบนขาง สวนหัวสั้น ปากเล็ก ตาโตอยูต่ำกวามุมปาก สวนหลังไมยกสูง มีหนวดยาว 2 คู หนวดที่ริมฝปากยาวถึงบริเวณขอบแผนปดเหงือก หนวดใตคางสั้น ครีบหลังเล็กมากเห็นเปนเสนส้นั ๆ ครีบอกใหญมีกานแข็งที่ยาวเกอื บเทา ความยาวของครบี ครบี กนยาวมหี างเวาตื้นตัวมีสีเหลอื งออ นเหลอื บเขียว ตัวคอนขางใส ครีบสีจาง ขอบครีบกนมีสีคล้ำเชนเดียวกับครีบหาง ครีบอกในตัวผทู ่ีโตเตม็ วัยมีสีคลำ้ ขนาดเฉลีย่ ความยาวประมาณ 10 ซม. อาหาร กงุ แมลง การเลีย้ งในตูป ลา เลีย้ งในตทู ่ตี กแตงดวยกอนหิน ขอนไม และพรรณไมน ้ำ 102 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอ่ื ไทย ปกไก ชอื่ สามัญ Shealfish, Isolasimonni ชือ่ วทิ ยาศาสตร Kryptopterus cheveyi Durand, 1940 ชือ่ วงศ Siluridae ถ่ินอาศยั ลุมนำ้ แมก ลอง เจา พระยา แมน้ำโขง และแมน ้ำในภาคใต ลกั ษณะท่วั ไป ลำตัวแบนขางและเรียวไปทางดานทาย หัวเล็ก ปากเล็ก ตาคอนขางโต มีหนวด 2 คู หนวดที่ขากรรไกรบนยาวเลยขอบเหงือกเล็กนอย ไมม ีครีบหลงั ครบี ทอ งเลก็ ครบี กนยาว ครีบหางเวา ลึก พ้นื ลำตัวสีเทาเงิน ดานทอ งสีจาง ขนาดความยาวเฉลยี่ ประมาณ 20 ซม. อาหาร ลูกนำ้ กงุ แมลง การเลีย้ งในตูปลา เลย้ี งในตทู ่ตี กแตงดวยกอ นหนิ ขอนไม และพรรณไมน้ำ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 103

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ช่อื ไทย นำ้ เงนิ ช่ือสามัญ Common sheathfish ชื่อวิทยาศาสตร Phalacronotus apogon (Bleeker, 1851) ช่ือวงศ Siluridae ถิน่ อาศยั แมน ้ำสายใหญใ นภาคเหนอื ภาคอสี าน และภาคกลาง ลกั ษณะท่ัวไป เปนปลาไมม ีเกลด็ ขนาดกลาง ลำตัวเรียวยาว แบนขา งและเพรียวยาวไป ทางดานทาย พื้นลำตัวสีขาวเงิน สวนหลังมีสีดำอมเขียว หัวแบนสั้น และตาเล็ก ปากคอนขางกวางมีฟนแหลมคมอยูบนขากรรไกร ทั้งสองขาง ครีบหูใหญปลายมน ครีบทองมีขนาดเล็ก ครีบกน เปนแผงยาวแตไมมีครีบหลัง สันหลังบริเวณตนคอสูงและลาดต่ำลงไป ทางปลายหาง ครีบหางยาวเปนแฉกเวาลึก ขนาดใหญสุดความประมาณ 1.5 เมตร มักพบอยูรวมกันเปน ฝงู ในระดบั กลางนำ้ อาหาร ไรนำ้ แพลงกต อนสตั ว ลกู ปลาขนาดเล็ก การเลยี้ งในตปู ลา เลยี้ งในตทู ตี่ กแตงดวยกอ นหนิ ขอนไม และพรรณไมน ้ำ 104 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอ่ื ไทย ปกเปา สมพงษ ช่ือสามญั Redeye puffer ชอื่ วิทยาศาสตร Carinotetraodon lorteti (Tirant, 1885) ช่ือวงศ Tetraodontidae ถน่ิ อาศยั แมน ำ้ ลำคลองทว่ั ประเทศ หรอื ในบรเิ วณนำ้ กรอ ยตามชายฝง ของทวปี เอเชยี ลกั ษณะทวั่ ไป มีพื้นลำตัวสีเทาอมเขียว ใตทองสีขาว มีลวดลายสีเทาเขมขนาดใหญ พาดบนแผนหลังและขางลำตัว สามารถปรับเปลี่ยนสีลำตัวใหเขมหรือ จางไดตามสภาพแวดลอ ม ตามีสแี ดงสามารถกรอกกลงิ้ ไปมาได ปลาตวั ผู จะมีขนาดลำตัวที่ใหญกวาตัวเมีย ลำตัวสีแดง ตัวเมียมีขนาดเล็ก ลำตัวสีเขียว มีลาดพาดตามลำตัว ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 7.5 ซม. อาหาร กงุ หอย แมลงนำ้ การเล้ียงในตปู ลา เล้ยี งในตขู นาดเลก็ ทตี่ กแตง ดวยกอ นหนิ และพรรณไมน ำ้ 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 105

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย ปลาปกเปา ซีลอน ช่อื สามญั Palembang puffer, Figure-eight puffer, Eyespot pufferfish ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Tetraodon biocellatus Tirant, 1885 ชือ่ วงศ Tetraodontidae ถ่ินอาศยั ชายทะเลและปากแมน้ำในเขตนำ้ กรอย ลักษณะ รูปรางหนาตาจะคลายกับปกเปาเขียวจุดมากแตมีขนาดเล็กกวา พื้นลำตัวสีดำหรือน้ำเงินปนดำ บนหลังมีลายเหลืองเปนรูปเลข 8 ใตครีบหลังมีวงกลมเหลือง มุมปากและโคนหางมีจุดดำแหงละ 1 จุด ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 15 ซม. อาหาร กุง หอย แมลงน้ำ การเลีย้ งในตูปลา เลี้ยงในตขู นาดเลก็ ทต่ี กแตง ดวยกอนหินและพรรณไมน้ำ นยิ มนำมาเลี้ยง เพื่อใหกินหอยที่ติดมากับพรรณไมน้ำและแพรพันธุในตูปลา หรือเลี้ยง เพื่อใหกินหอยในบอ ชำนำ้ ของพรรณไมน ำ้ 106 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอ่ื ไทย ปก เปา ดำ ปกเปาตาแดง ชอ่ื สามญั - ชอ่ื วิทยาศาสตร Tetraodon leiurus Bleeker, 1851 ช่อื วงศ Tetraodontidae ถน่ิ อาศยั พบปก เปา ชนิดน้ีไดตามริมน้ำ หนอง บงึ เข่อื น เกอื บทัว่ ประเทศ ลกั ษณะทว่ั ไป รูปรางกลมปอมหัวทายเรียว ปากเล็ก ตาโต ดานหลังและดานทอง มผี วิ สากเปน หนามเลก็ ละเอียด ดา นทอ งนิม่ ขยายตัวไดมาก ครบี หลังเลก็ เชนเดยี วกบั ครีบกน ลำตวั สีเขียวอมเทาคลำ้ หรือสีน้ำตาลเขม มดี วงหรอื ลายสีดำประทั่วตัว บางตัวอาจมีสีจางที่ดานทอง ตาแดง ครีบสีจาง ขนาดใหญสดุ ความยาวประมาณ 13 ซม. อาหาร กุง หอย แมลงน้ำ การเล้ยี งในตปู ลา เลยี้ งในตขู นาดเล็กทต่ี กแตง ดว ยกอนหนิ และพรรณไมน ำ้ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 107

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย ปกเปา เขียวจดุ ชอ่ื สามัญ Green blow fish, Spotted green pufferfish ช่ือวทิ ยาศาสตร Tetraodon nigroviridis Marion de Procè, 1822 ชอ่ื วงศ Tetraodontidae ถ่นิ อาศยั พบท่วั ไปตามแมน ำ้ ลำคลอง ลักษณะทว่ั ไป เปนปลาน้ำจืดขนาดเล็ก นิสัยคอนขางดุราย มีสารพิษในอวัยวะสืบพันธุ และระบบยอยอาหาร ไมนิยมบริโภค ลำตัวคอนขางกลม หัวโต ตาเล็ก ลำตัวสีเขียวมะกอก ทองสีขาวจาง มีจุดประสีดำอยูตอนบนของ ลำตวั ขนาดเฉลีย่ ความยาวประมาณ 6 ซม. อาหาร กุง หอย แมลงน้ำ การเลี้ยงในตูปลา เลี้ยงในตูขนาดเล็กที่ตกแตงดวยกอนหินและพรรณไมน้ำ นิยมนำมาเลี้ยง เพื่อใหกินหอยที่ติดมากับพรรณไมน้ำและแพรพันธุในตูปลา หรือเลี้ยง เพือ่ ใหก ินหอยในบอชำน้ำของพรรณไมน้ำ 108 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : ชาญทอง ภูนิยม ชอ่ื ไทย เสอื พน น้ำ เสือ ชอ่ื สามัญ Archer fish, Largescale archerfish ชอื่ วิทยาศาสตร Toxotes chatareus (Hamilton, 1822) ชอื่ วงศ Toxotidae ถิน่ อาศัย แมน้ำและแหลงน้ำที่มีทางติดตอกับทะเล อางเก็บน้ำ บริเวณที่เปน น้ำกรอยในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต ลักษณะทัว่ ไป ลำตัวสั้นปอมแบนขางมาก แนวสันหลังจากจะงอยปากถึงหนาครีบหลัง เกือบเปนเสนตรง ปากเฉียงขึ้นขางบน ตาอยูใกลแนวสันหลัง มีรอยประสีดำบริเวณสวนครึ่งบนลำตัว 5-6 แตม ขอบครีบหลังและ ครีบกนมีสีดำ ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 25 ซม. เปนปลาที่ชอบ วายอยูผิวน้ำ มีความสามารถพนน้ำไปไดไกล ๆ เพื่อลาแมลงตาง ๆ มา เปนอาหาร การพน น้ำทำไดโ ดยแรงกดดนั อยางรวดเรว็ ของแผนปด เหงอื ก และรองแคบ ๆ ใตเ พดานปาก เมอ่ื พน น้ำโดนแมลงจนตกลงไปในนำ้ จงึ จะ วายไปกนิ อยางรวดเรว็ อาหาร แมลงนำ้ แพลงกต อน ตัวออนแมลงนำ้ การเล้ยี งในตปู ลา เลี้ยงในตูขนาดกลางตกแตงดวยกอนหินและพรรณไมน้ำ สามารถเลี้ยง และใหพน นำ้ จับแมลงในบอ แบบ touch pool หรือในตูไ ด 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 109

บรรณานุกรม คีรี กออนันตกุล ชวลิต วิทยานนท อภิชาต เติมวิชชากร ชัยศิริ ศิริกุล และ นิพนธ จันทรประทัด. 2546. พรรณปลาในบึงบอระเพ็ด (ลุมแมน้ำเจาพระยา). กลุมวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพสัตวน้ำจืดสำนักวิจัยและพัฒนา ทรัพยากรประมงน้ำจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย. 82 หนา . ครี ี กออนันตกุล วิชัย กอ งรตั นโกศล วไิ ลวรรณ เหมศริ ิ อรณุ ี รอดลอย รจิต จาละ ชาญชัย ภูรักษเกียรติ และ พิเชษฐ แกวเขียว. พรรณปลาในสถานแสดง พันธุสัตวน้ำจืด จังหวัดพะเยา. กลุมวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพสัตวน้ำจืด สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรประมงน้ำจืด สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 102 หนา. คีรี กออนนั ตกลุ วชิ ยั กองรตั นโกศล วไิ ลวรรณ เหมศริ ิ และ อรณุ ี รอดลอย. พรรณปลา ในสถานแสดงพันธุสตั วน้ำจดื จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา. กลมุ วจิ ัยความหลากหลาย ทางชีวภาพสตั วน้ำจืด สถาบันวิจยั และพฒั นาทรพั ยากรประมงน้ำจืด สำนกั วิจัยและ พฒั นาประมงน้ำจดื กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ. โรงพิมพสยามศลิ ป : นครสวรรค. 60 หนา. ชวลิต วิทยานนท. 2545. พรรณปลาในพื้นที่พรุของประเทศไทย. สำนักงานนโยบายและ แผนสงิ่ แวดลอ ม. กรุงเทพฯ: อินทเิ กรต โปรโมชั่น เทคโนโลยี. 136 หนา. สมโภชน อัคคะทวีวัฒน และ กาญจนรี พงษฉวี. 2543. อนุกรมวิธานของปลาสวยงาม เพอ่ื การสง ออกของไทย. กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 214 หนา . http://www.fishbase.org/ http://en.wikipedia.org/wiki/wiki http://www.aqua-fish.net/ http://www.aboutfishonline.com/ 110 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ดัชนีชอ่ื ภาษาไทย ก กาเผอื ก 51 แกมชำ้ 59 กดดำ 15 กดหมอ 15 ข กดหัวเสยี ม 22 กดหนิ 21 ขาไก 102 กระจก 11 เขม็ 77 กระดี่ 92 เข็มเผอื ก 77 กระดีน่ าง 91 แขยงขางลาย 18 กระดี่นางฟา 93 แขยงธง 16 กระดี่มุก 90 แขยงธงเผอื ก 16 กระดห่ี มอ 92 แขยงนวล 19 กระเดดิ 91 แขยงใบขา ว 17 กระทิงไฟ 78 แขยงหนิ 21 กระทุงเหว 24 กระทุงเหวเมอื ง 24 ค กระเบนกิตตพิ งษ 70 กระสูบ 49 คอหางแดง 23 กระสูบขีด 49 แคห มู 21 กระแห 39 กราย 84 จ กรมิ ควาย 95 กรมิ สี 94 จาด 55 กัด 87 จุกกี 44 กดั ภาคกลาง 87 กดั หวั โมง 85 ฉ กัดอีสาน 86 กา งพระรว ง 101 เฉ่ยี วหนิ 81 กาดำ 51 กาแดง 46 ช กาแดงเผอื ก 46 ชอ นเขม็ 88 ชอนงเู หา 26 ชอนดอกจนั ทร 26 ชอนทอง 28 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 111

ชอนเผอื ก 28 เทพา 98 ชะโด 27 ชะโอน 20 น ชะโอนทอง 20 นวลจันทร 41 ซ นวลจันทร 46 นวลจนั ทรน ำ้ จืด 41 ซอนทราย 29 นำ้ เงนิ 104 ซิวขางขวานเลก็ 67 นำ้ ผึ้ง 75 ซิวขางขวานใหญ 68 นำ้ หมึก 53 ซิวขาวสาร 10 ซิวควาย 64 บ ซิวแถบเหลือง 65 ซิวแถบทอง 65 บา 52 ซิวทอง 63 บกู ลวย 74 ซวิ ใบไผ 44 บูหมาจู 73 ซิวใบไผร าชนิ ี 44 ซิวใบไผเ ลก็ แถบขาว 43 ป ซิวเพชรนอย 40 ซิวสมพงษ 69 ปลอ งออ ย 30 ซิวหนวดยาว 47 ปลาปก เปา ซลี อน 106 ซิวหางกรรไกร 66 ปกเปา เขียวจุด 108 ซิวหางแดง 62 ปกเปา ดำ 107 ปก เปา ตาแดง 107 ต ปก เปา สมพงษ 105 ปก ไก 103 ตองลาย 83 แปน 11 ตะพดั 96 แปนแกว 11 ตะเพียนขางลาย 58 แปนแกว ยักษ 12 ตะเพียนทอง 38 แปบควาย 54 ตะเพียนทองเผอื ก 38 ตะเพยี นลาย 58 พ ท เพีย้ 51 ทรงเคร่ือง 45 ม 112 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย มะไฟ 61

มังกร 96 เสือพน น้ำ 109 มา 100 เสอื สุมาตราไทย 60 มุงหมาย 61 แมลงภู 27 ห ย หนวดพราหมณ 99 หนามหลังหางดำ 37 ยางบอน 21 หนา สน้ั 20 ยีส่ กไทย 56 หมอแคระแมนำ้ แคว 14 หมอจำปะ 25 ร หมอจำปา 25 หมอตาล 76 รากกลวย 29 หมขู างลาย 32 แรด 89 หมขู าว 33 แรดเผือก 89 หมูคอ 34 หมคู อก 34 ล หมูนาน 35 หมมู นั 33 ลกู ผง้ึ 75 หมูลายเสือ 31 เล็บมือนาง 42 หมเู หลือง 33 เลียหิน 48 หมอู ารยี  36 หลด 79 ส หลดจุด 79 หลดภูเขา 80 สบธง 24 หลดลาย 80 สยมุ พร 20 หัวตะกวั่ 13 สรอยขาว 50 หางเหย่ยี ว 37 สวาย 97 หางไหม 37 สวายเผอื ก 97 สิงหดำ อ สดู 49 เสอื 109 อีดูด 75 เสือขา งลาย 60 เสอื ดำ 82 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 113 เสือตอลายเล็ก 72 เสอื ตอลายใหญ 71 เสอื ปา พรุ 57

ดัชนีชือ่ วิทยาศาสตร A Datnioides undecimradiatus (Roberts & Kottelat, 1994) 72 Acantopsis choirorhynchos (Bleeker,1854) 29 Aplocheilus panchax (Hamilton, 1822) 13 Dermogenys pusilla Kuhl & van Hasselt, 1823 77 B Devario regina (Fowler, 1934) 44 Badis khwae Kullander & Britz, 2002 14 Balantiocheilos melanopterus (Bleeker, 1851) 37 E Barbonymus altus (Günther, 1868) 38 Barbonymus schwanenfeldii (Bleeker, 1853) 39 Epalzeorhynchos bicolor (Smith, 1931) 45 Belontia hasselti (Cuvier, 1831) 25 Epalzeorhynchos munense (Smith, 1934) 46 Betta prima Kottelat, 1994 85 Esomus metallicus (Ahl, 1923) 47 Betta smaragdina Ladiges,1972 86 Betta splendens Regan, 1910 87 G Boesemania microlepis (Bleeker, 1858) 100 Boraras maculates (Duncker, 1904) 40 Garra cambodgiensis (Tirant, 1883) 48 Botia beauforti (Smith, 1931) 31 Gyrinocheilus aymonieri (Tirant, 1883) 75 Brachygobius doriae (Günther, 1868) 73 H C Hampala macrolepidota Kuhl & Carinotetraodon lorteti (Tirant, 1885) 105 Van Hasselt, 1823 49 Channa marulia (Hamilton, 1822) 26 Channa micropeltes (Cuvier, 1831) 27 Helostoma temminkii Cuvier, 1829 76 Channa striata (Bloch, 1797) 28 Hemibagrus wyckii (Bleeker, 1858) 15 Chitala blanci (d’Aubenton, 1965) 83 Henicorhynchus siamensis (Sauvage, 1881) 50 Chitala ornata (Gray, 1831) 84 Himantura kittipongi Vidthayanon & Cirrhinus microlepis (Suavage, 1878) 41 Crossocheilus reticulatus (Fowler, 1934) 42 Roberts, 2005 70 D K Danio albolineatus (Blyth, 1860) 43 Kryptopterus bicirrhis (Valenciennes, 1840) 101 Datnioides pulcher (Kottelat, 1998) 71 Kryptopterus cheveyi Durand, 1940 103 Kryptopterus cryptopterus (Bleeker, 1851) 102 114 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย L Labeo chrysophekadion (Bleeker, 1850) 51

Leptobarbus hoevenii (Bleeker, 1851) 52 Poropuntius malcolmi (Smith, 1945) 55 Luciocephalus pulcher (Gray, 1830) 88 Probarbus jullieni Sauvage, 1880 56 Pseudomystus siamensis (Regan, 1913) 21 M Puntius hexazona (Weber & de Beaufort, Macrognathus siamensis (Günther, 1861) 79 1912) 57 Macrognathus taeniagaster (Fowler, 1935) 80 Puntius johorensis (Duncker, 1904) 58 Mastacembelus erythrotaenia Puntius orphoides (Valenciennes, 1842) 59 Puntius partipentazona Fowler, 1934 60 Bleeker, 1850 78 Puntius stoliczkanus Day, 1871 61 Monodactylus argenteus (Linnaeus, 1758) 81 Mystus bocourti (Bleeker, 1864) 16 R Mystus singaringan (Bleeker, 1846) 17 Mystus vittatus (Bloch, 1794) 18 Rasbora borapetensis Smith, 1934 62 Mystus wolffii (Bleeker, 1851) 19 Rasbora einthovenii (Bleeker, 1851) 63 Rasbora myersi Brittan, 1954 64 N Rasbora pauciperforata Weber & de Beaufort, Nandus nebulosus (Gray, 1835) 82 1916 65 Rasbora trilineata Steindacher, 1870 66 O S Ompok bimaculatus (Bloch, 1797) 20 Opsarius pulchellus (Smith, 1931) 53 Schistura nicholsi (Smith, 1933) 23 Oryzias minutillus Smith, 1945 10 Scleropages formosus (Müller & Schlegel, Osphronemus goramy Lacepde, 1801 89 1844) 96 P Sperata seenghala (Sykes, 1839) 22 Stigmatogobius sadanundio (Hamilton, Pangasianodon hypophthalmus (Sauvage, 1878) 97 1822) 74 Syncrossus beauforti (Smith, 1931) 31 Pangasius sanitwongsei Smith, 1931 98 Syncrossus hymenophysa (Bleeker, 1852) 32 Pangio kuhlii (Valenciennes, 1846) 30 Paralaubuca harmandi (Sauvage, 1883) 54 T Parambassis siamensis (Fowler, 1937) 11 Parambassis wolffii (Bleeker, 1851) 12 Tetraodon biocellatus Tirant, 1885 106 Phalacronotus apogon (Bleeker, 1851) 104 Tetraodon leiurus Bleeker, 1851 107 Polynemus paradiseus Linnaeus, 1758 99 Tetraodon nigroviridis Marion de Proc, 1822 108 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 115

Toxotes chatareus Hamilton, 1822 109 Trichogaster leerii Bleeker, 1852 90 Trichogaster microlepis Günther, 1861 91 Trichogaster trichopterus Pallas, 1770 92 Trichogaster trichopterus Pallas, 1770 93 Trichopsis pumila Arnold, 1936 94 Trichopsis vittata Cuvier, 1831 95 Trigonostigma espei Meinken, 1967 67 Trigonostigma heteromorpha Duncker, 1904 68 Trigonostigma somphongsi Meinken, 1958 69 X Xenentodon cancila Hamilton.1822 24 Y Yasuhikotakia modesta Bleeker, 1864 33 Yasuhikotakia morleti Tirant, 1885 34 Yasuhikotakia nigrolineata Kottelat & Chu, 1987 35 Yasuhikotakia sidthimunki Klausewitz, 1959 36 116 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย