Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 100ชนิดปลาสวยงามของไทย pink

100ชนิดปลาสวยงามของไทย pink

Description: 100ชนิดปลาสวยงามของไทย

Search

Read the Text Version

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย สรอยขาว ชื่อสามญั Jullien’s mud carp, Siamese mud carp ชื่อวิทยาศาสตร Henicorhynchus siamensis (Sauvage, 1881) ช่ือวงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศยั แมน ำ้ ลำคลอง และหนองบึงท่ัวทกุ ภาคของประเทศ ลักษณะทว่ั ไป ลำตวั ยาวเพรียว แบนขาง ปากมขี นาดเล็ก กงึ่ กลางของริมปากลางมีปุม กระดูกยื่นออกมา ซึ่งเปนลักษณะเดนของปลาในสกุลนี้ ไมมีหนวด ขนาดเฉล่ียความยาวประมาณ 18 ซม. อาหาร พชื นำ้ และแมลงนำ้ การเลีย้ งในตปู ลา เล้ยี งเปน ฝงู ในตูป ลาขนาดกลาง สีสันไมเ ดนสะดดุ ตา จงึ ควรเลย้ี งรวมกบั ปลาชนิดอนื่ ท่ีมีสสี นั เชน ปลากระแห ตะเพยี นทอง 50 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอื่ ไทย กาดำ เพ้ีย กาเผอื ก ช่อื สามญั Black shark ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Labeo chrysophekadion (Bleeker, 1850) ชื่อวงศ Cyprinidae ถ่นิ อาศยั แมน้ำและอางเก็บน้ำทุกภาคของประเทศไทย และพบในประเทศลาว เขมร และอนิ โดนเี ซีย ทเ่ี กาะสมุ าตรา ชวา และบอรเนยี ว ลกั ษณะทัว่ ไป ลำตัวยาวเรียวแบนขางเล็กนอย สันหลังโคงสูง สวนทองแบน สีลำตัว และครีบทุกครีบสีดำสนิท หรือสีน้ำเงินอมดำหรือเทาอมน้ำตาล ในปลา ที่มีอายุมากบริเวณของเกล็ดที่อยูบริเวณดานขางลำตัวมีจุดสีแดง ดานลางของสวนหัวและบริเวณทองจะมีสีจางกวาบริเวณหลังและ บริเวณดานขางลำตัว ปากอยูต่ำยืดหดไดและมีลักษณะแบบปากดูด รมิ ฝปากบนและลางหยัก มหี นวด 2 คู ครบี หลังมีขนาดใหญแ ละสูงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับความยาวของหัวและความลึกของลำตัว พบวา ความสงู ของครีบหลังมมี ากกวาความยาวของหัวและยาวเทา ๆ กบั หรอื ยาวกวาความลึกของลำตัว ครีบทองยาวถึงตอนตนของครีบกนครีบหาง เวา ลกึ ปลากาดำขนาดใหญน ยิ มนำมาบรโิ ภค เน่ืองจากมรี สชาตดิ ี ลูกปลา ขนาดเลก็ นยิ มเลย้ี งเปน ปลาสวยงาม ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 25 ซม. อาหาร ตะไครน ้ำ พชื น้ำขนาดเลก็ ซากพืช แพลงกตอนสัตวแ ละตัวออ นแมลงนำ้ การเลีย้ งในตปู ลา ปลาขนาดเล็กนิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงามในตูที่มีพรรณไมน้ำเลี้ยงรวมกับ ปลาชนิดอื่น อุปนิสัยชอบดูดกินตะไครที่เกาะตามพื้นกนตู กอนหิน และใบไม 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 51

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย บา ชอ่ื สามัญ Pink-tail barb, Golden shark, Mad barb ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Leptobarbus hoevenii (Bleeker, 1851) ชื่อวงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศยั แมน ้ำเจาพระยา แมน ำ้ มูล แมนำ้ นาน และแมนำ้ โขง และพบในประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซยี ลกั ษณะท่ัวไป ลำตัวคอนขางกลม เรียวยาว แบนขางเล็กนอย หัวคอนขางใหญ ลำตัว ดานหลังและดานขางมีสีเขียวอมเหลืองแตดานหลังสีคล้ำกวาดานขาง ลำตัว บริเวณทองสีขาว กระพุงแกมสีเหลือง หลังกระพุงแกมมีจุดสีดำ ในปลาขนาดเล็กจะมแี ถบสีดำพาดตามความยาวลำตวั 1 แถบ แตแ ถบน้ี จะหายไปเมื่อปลาโตขึ้น ครีบหลังสีเขียว ครีบทองและครีบกนสีแดงสด ครีบหางบรเิ วณปลายครบี สแี ดงแตบรเิ วณฐานครีบสเี ขียวหมน ครีบอกใส ปากอยูปลายสุดเฉียงลงเล็กนอย มีหนวด 2 คู ขนาดเฉลี่ยความยาว ประมาณ 55 ซม. อาหาร พชื น้ำ ผลไม และเมล็ดพชื บางชนดิ การเลย้ี งในตูปลา เล้ียงเปนฝงู ในตูป ลาขนาดใหญ วายน้ำรวดเร็ว มสี สี ันสวยงาม เลี้ยงรวม กบั ปลาชนดิ อ่นื ได 52 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอ่ื ไทย น้ำหมึก ชอื่ สามัญ Stream barilius ช่อื วทิ ยาศาสตร Opsarius pulchellus (Smith, 1931) ช่ือวงศ Cyprinidae ถนิ่ อาศยั แมนำ้ ลำธาร บนทส่ี งู ในภาคเหนอื และภาคกลางตอนบน ลักษณะท่ัวไป ลำตัวคอนขางเรียวยาว ดานบนของลำตัวมีสีเขียวอมเหลือง บริเวณ สวนลางจะมีสีจางลงตามขางลำตัวมีแถบสีดำชัดเจนขวางอยูเปนระยะ ประมาณ 7-9 แถบ ครีบหลังมีลายสีดำแซมอยูประปรายเชนเดียวกับ ปลานางอาว ขนาดเฉลยี่ ความยาวประมาณ 8 ซม. อาหาร แพลงกตอนสัตว ลูกปลา แมลงที่บินตกลงบนผิวน้ำ ลูกกุง และตัวออน แมลงน้ำ การเลีย้ งในตปู ลา เลย้ี งเปน ฝงู ในตูป ลาขนาดกลาง วา ยนำ้ รวดเรว็ มสี สี นั สวยงาม เลย้ี งรวม กบั ปลาชนดิ อน่ื ได 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 53

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย แปบควาย ชือ่ สามญั - ช่ือวทิ ยาศาสตร Paralaubuca harmandi Sauvage, 1883 ชื่อวงศ Cyprinidae ถ่นิ อาศัย แมน้ำสายใหญท่ไี หลเชยี่ ว พบตั้งแตแมน ้ำโขงถึงแมน ้ำเจา พระยา ลกั ษณะทวั่ ไป รปู รา งยาว ลำตัวแบนขางมาก ปากเลก็ ตาโต ทองเปนสนั คม ดา นทอง คอนขางกวางออก ครีบอกยาว ครีบหางเวาลึกมีสีเหลืองออนปลาย ครีบมีสีเขม เกล็ดเลก็ ละเอียดสีเงินแวววาว เสน ขา งลำตัวไมต อเนอ่ื งกัน ขนาดเฉลีย่ ความยาวประมาณ 15 ซม. อาหาร แพลงกตอนสตั วแ ละตัวออนแมลงน้ำ การเลี้ยงในตูปลา เลี้ยงเปนฝูงรวมกับปลาชนิดอื่น เชน ปลาในกลุมตะเพียน ชอบวายเปน ฝงู บรเิ วณผิวนำ้ 54 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชือ่ ไทย จาด ช่อื สามญั Goldfin tinfoil barb ชือ่ วิทยาศาสตร Poropuntius malcolmi (Smith, 1945) ชื่อวงศ Cyprinidae ถิ่นอาศยั แมน ำ้ โขง และแมน ำ้ แมกลอง ลกั ษณะทัว่ ไป ลำตัวยาวรีและแบนขาง เกล็ดขนาดคอนขางใหญเปนมันแวววาว พื้นลำตัวสีขาวเงิน แผนหลังสีเขียวอมน้ำตาล มีครีบทั้งหมด 7 ครีบ ครีบกนมีลักษณะโคงเหมือนเคียว ครีบหางเวาลึก ขอบดานบนสีคล้ำ หรือสีแดงสม ครีบหลังสูง ครีบและหางเปนสีแดงหรือสีสม ขนาดเฉลี่ย ความยาวประมาณ 12 ซม. อาหาร แพลงกต อนสัตวและตวั ออนแมลงน้ำ การเลีย้ งในตปู ลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดกลาง วายน้ำรวดเร็ว เลี้ยงรวมกับปลาชนิด อืน่ ได เชน ปลาในกลุมปลาตะเพียน 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 55

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย ยสี่ กไทย ชื่อสามญั Seven-stripped carp, Isok barb ชอ่ื วิทยาศาสตร Probarbus jullieni Sauvage, 1880 ชอ่ื วงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศยั แมน้ำสายใหญ เชน แมน้ำแมกลอง แมน้ำเจาพระยา แมน้ำปาสัก และแมน้ำโขง ลักษณะทั่วไป ลำตัวยาวเรียวแบนขางเพียงเลก็ นอ ยเกลด็ บริเวณลำตวั จะมสี ีเหลอื งนวล หรือเหลืองทองและมีแถบสีน้ำตาลดำพาดไปตามความยาวลำตัว 6-8 แถบ สบี ริเวณหวั เปนสีเหลอื งแกมเขียว ปากอยูต่ำ รมิ ฝปากยืดหดได มีฟนในคอหอย มีหนวดสั้นที่ขากรรไกรบน 1 คู ครีบอก ครีบทอง และครีบกนเปน สีชมพู ครบี หางสีดำ เปน ปลาที่มีขนาดใหญร องลงมาจาก ปลากระโห ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 80 ซม. น้ำหนักเฉลี่ย 6 -18 กก. ขนาดใหญสุดพบมคี วามยาวประมาณ 120 ซม. อาหาร หอย ปู พชื นำ้ และตะไครน้ำ การเลีย้ งในตูปลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดใหญ อุปนิสัยชอบอมกรวดขนาดเล็กตามพื้นตู แลวพนออกมา และชอบยืดหดริมฝปากบอย ๆ 56 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ช่ือไทย เสือปา พรุ ช่อื สามญั - ชื่อวทิ ยาศาสตร Puntius hexazona (Weber & de Beaufort, 1912) ช่ือวงศ Cyprinidae ถ่นิ อาศัย อยูเปนฝูงในแหลงน้ำของพรุตั้งแตแองน้ำและลำคลอง พบเฉพาะในพื้นที่ พรุดั้งเดิมและพรุฟนตัว ในประเทศไทยพบที่พรุโตะแดงและใกลเคียงไป จนถงึ มาเลเซีย สุมาตรา บอรเนยี ว รวมทง้ั ประเทศกมั พูชาและเวยี ดนาม ลักษณะทว่ั ไป รูปรางคลายปลาเสือขางลายแตลำตัวเรียวยาวกวา ปากเล็กมีหนวดยาว 1 คู ทข่ี ากรรไกรบน เกล็ดใหญ ครบี หลังกา นครีบแขง็ ทม่ี หี ยกั เลก็ ทีข่ อบ ดานหลัง ครีบหางเวาลึก ตัวมีสีสมอมน้ำตาล มีแถบดำพาดขวางตั้งแต แนวลกู ตาบนลำตวั ถงึ โคนหาง 6 แถบ แตล ะแถบมขี อบสจี าง ครบี มสี สี ม สด ครีบหางสสี มจาง ขนาดใหญสดุ พบความยาวประมาณ 6 ซม. อาหาร แพลงกตอนสัตว ตัวออนแมลงนำ้ การเลยี้ งในตูป ลา เล้ียงเปนฝงู ในตูข นาดเล็กท่ีมีพรรณไมน ้ำ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 57

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย ตะเพยี นลาย ตะเพียนขางลาย ช่ือสามญั Striped barb ชอื่ วทิ ยาศาสตร Puntius johorensis (Duncker, 1904) ชื่อวงศ Cyprinidae ถ่นิ อาศัย พบอยูเ ปนฝงู ในลำคลองและแองนำ้ ของพรดุ ั้งเดมิ ลกั ษณะทัว่ ไป มีรูปรางแบบปลาตะเพียนแตลำตัวเรียวแบบกระสวย สวนหัวและจะ งอยปากคอนขางเรียว ปากเล็ก มีหนวด 2 คู ครีบหางเวาลึก ลำตัวมี สีน้ำตาลแดงหรือเหลืองเขม ขางแกมและดานทองสีจาง เกล็ดมี สีเงนิ เหลอื บ มีแถบสดี ำตามแนวยาวของลำตวั 5-6 แถบ ตัง้ แตด านหลงั จนถึงดา นทอ ง แถบใหญสุดอยูท ี่กลางลำตัว ตามแนวเสน ขา งตัวไปถงึ โคน ครบี หาง ในปลาตัวเล็กมบี ั้งตามแนวขวางลำตวั 4 บงั้ บนพืน้ สีเหลืองออน เมื่อเริ่มโตขึ้นจะเปลี่ยนเปนแถบตามแนวยาว ขนาดใหญสุดพบความยาว ประมาณ 10 ซม. อาหาร แพลงกต อนสัตวและตวั ออนแมลงน้ำ การเลยี้ งในตปู ลา เลย้ี งเปน ฝูงในตูป ลาขนาดเล็กทีม่ พี รรณไมน ้ำเปนปลาปา พรุที่เลีย้ งไมยาก ปรับตัวงาย เลี้ยงรวมกับปลาอื่นไดหลายชนิด สามารถเลี้ยงจนมีไขใน ตูปลาขนาดเลก็ 58 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ช่ือไทย แกม ชำ้ ชอ่ื สามญั Red-cheek barb, Javaen barb ชอ่ื วิทยาศาสตร Puntius orphoides (Valenciennes, 1842) ช่ือวงศ Cyprinidae ถ่นิ อาศยั แมน้ำ สาขาของแมน้ำและอางเก็บน้ำที่มีทางน้ำติดตอกับแมน้ำทุกภาค ของประเทศไทยและประเทศอินโดนเี ซีย ลกั ษณะทว่ั ไป ลำตวั ยาวรแี บนขา งเลก็ นอ ย เกลด็ บรเิ วณดา นขา งลำตวั และทอ งมสี ขี าวเงนิ ดานหลังสีนำ้ ตาลหรือสนี ้ำเงิน ขอบหลังของกระพงุ แกม มีรอยสแี ดงเร่ือๆ หลังชองเหงอื กมแี ถบหรอื แตม สีดำดา นละ 1 แถบ มหี นวด 2 คู ครีบหลงั ครีบทองและครีบกนสีแดงเขม ครีบอกสีสมออนหรือสีเหลืองอมสม ครีบหางสีแดงขอบบนและขอบลางของแพนหางมีแถบสีดำ มีจุดสีดำ ทโี่ คนหางขางละ 1 จดุ ขนาดใหญสดุ มคี วามยาวประมาณ 25 ซม. อาหาร แพลงกต อน พืชนำ้ และตวั ออนแมลงนำ้ บางชนดิ การเลี้ยงในตปู ลา เลีย้ งเปน ฝงู ในตูปลาที่ตกแตงดวยขอนไม ไมใ สพรรณไมน้ำเพราะเปนปลา ท่ชี อบกนิ พืชนำ้ เล้ยี งรวมกบั ปลาอืน่ ได 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 59

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย เสือขางลาย เสอื สุมาตราไทย ชื่อสามัญ Tiger barb, Five-banded barb ชื่อวิทยาศาสตร Puntius partipentazona Fowler, 1934 ชอ่ื วงศ Cyprinidae ถ่ินอาศัย แมน้ำ อางเก็บน้ำ และธารน้ำบนภูเขาทั่วทุกภาคของไทย ประเทศ มาเลเซยี ลักษณะทัว่ ไป ลำตัวแบนขางมาก ลำตัวสีเหลืองออน เหลืองอมเขียวหรือเหลืองอม น้ำตาล มีแถบสีดำพาดขวางลำตัว 5 แถบ แถบที่ 1 พาดผานหัวจาก บนลงลางผานตาพอดี แถบที่ 3 สั้นมากเริ่มจากโคนครีบหลังยาวลงมา เพียงกึ่งกลางลำตัวถึงแนวเสนขางตัว แถบที่ 5 อยูบริเวณโคนครีบหาง เสนขางลำตัวไมตอเปนเสนเดียวกัน ในปลาตัวผูจะมีสีเขมสดใสกวา ปลาตัวเมีย ครีบหลังสีสมมีกานครีบแข็งอันสุดทายแข็งและหยักเปน หนาม ครีบทองสีเหลืองนวลหรือสีขาวขอบสีสมหรือสีแดง ครีบอก ครีบกน และครบี หางใสไมม สี ี จะงอยปากสสี ม เปนปลาขนาดเล็กโตเต็มท่ี ความยาวไมเกิน 5 ซม. ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 3.5 ซม. ในธรรมชาตชิ อบอยูร วมกันเปน ฝูง อาหาร แพลงกต อนสตั ว ตวั ออ นแมลงนำ้ และลูกกงุ ขนาดเล็กทม่ี ีชวี ติ การเลย้ี งในตปู ลา เลย้ี งเปนฝงู ในตูปลาขนาดเลก็ ที่มพี รรณไมน ้ำ เปนปลาที่ไดรบั ความนิยม เน่อื งจากมีสสี นั สวยงาม และเล้ียงงา ย 60 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ช่ือไทย มะไฟ มุงหมาย ชือ่ สามญั Indian barb ช่ือวทิ ยาศาสตร Puntius stoliczkanus Day, 1871 ชื่อวงศ Cyprinidae ถ่ินอาศัย ลำธาร นำ้ ตก พบต้ังแตแ มนำ้ สาละวิน ตน แมน ้ำเจา พระยา และแมนำ้ โขง ตอนกลาง ในภาคเหนอื ของไทย ลักษณะทว่ั ไป รูปรางลำตัวสี่เหลี่ยมปอมเล็กนอย หัวสั้นตาเล็ก ปากเล็ก ไมมีหนวด เกลด็ คอ นขางใหญ ครีบหลังส้ัน ครีบหางเวา ลึก ลำตัวสเี งนิ มีแตม สคี ล้ำ ที่เหนือครบี อกและโคนครีบหาง ในตวั ผูและฤดูผสมพันธจุ ะมีแดงเหลอื บ บนลำตัว ครีบใสมีสีแดงแตมและมีแถบสีคล้ำเล็กนอย ขนาดใหญสุดมี ความยาวประมาณ 5 ซม. อาหาร แพลงกตอนสตั ว ตัวออนแมลงน้ำ การเลย้ี งในตปู ลา เลี้ยงเปน ฝงู ในตูปลาขนาดเล็กทม่ี ีพรรณไมน ำ้ เปน ปลาท่เี ลี้ยงงาย ปรบั ตัว อยใู นตูและผสมพนั ธุวางไขจนลูกปลาเจรญิ เตบิ โตอยูใ นตปู ลาขนาดเลก็ ได 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 61

ภาพโดย : ชาญทอง ภนู ิยม ชื่อไทย ซิวหางแดง ชื่อสามญั Blackline rasbora ชือ่ วิทยาศาสตร Rasbora borapetensis Smith, 1934 ชอื่ วงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศยั อยเู ปน ฝงู ใหญในแหลง น้ำนิง่ และในท่นี ำ้ หลากพบตง้ั แตล ุมแมน ้ำแมกลอง ถึงแมนำ้ โขง และภาคใตไปจนถึงมาเลเซียและสิงคโปร ลักษณะทั่วไป มีรูปรางยาว ลำตัวแบนขางเล็กนอย ปากเล็ก ครีบหางเวาลึก เกล็ด คอ นขา งใหญ หวั และดา นทอ งสีเงนิ ตัวมีสีเหลืองออ น มีแถบสีดำพาดตาม แนวยาวตลอดกลางลำตวั และมีแถบสที องขนาบดา นบน ครีบใส ยกเวน โคนครีบหางมีสีแดงสด ขนาดใหญสุดมีความยาวประมาณ 6 ซม. ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 3.5 ซม. อาหาร ลกู น้ำ แพลงกต อนสตั ว ตวั ออนแมลงนำ้ การเลยี้ งในตูปลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดเล็กที่มีพรรณไมน้ำ เปนปลาที่เลี้ยงงาย ปรบั ตัวอยูในตูไดดี 62 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย ซิวทอง ชอ่ื สามญั Brilliant rasbora ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Rasbora einthovenii (Bleeker, 1851) ช่ือวงศ Cyprinidae ถิน่ อาศัย ลำธารและอางน้ำบริเวณพรุโตะแดงจนถึงพรุในมาเลเซียและ สุมาตรา บอรเนียว ลักษณะทั่วไป มีรูปรางทรงกระบอกเรียวแบนขางเล็กนอย ครีบหลังตั้งอยูกึ่งกลาง ลำตัวครีบหางเวาลึก เสนขางลำตัวไมสมบูรณมีถึงเพียงบริเวณหนา ครีบกน ตัวมีสีสมอมทอง เกล็ดสีเงินวาว มีแถบดำพาดตั้งแตจะ งอยปากไปถึงขอบครีบหางตอนกลาง แถบมีขนาดใหญในตอนทายลำตัว ครีบสีสมทอง ครีบหลังมีแถบสีคล้ำหรือเรื่อที่ขอบบน ปลายครีบสีจาง ครีบหางสีสมสด ครีบกนมีขลิบสีคล้ำ ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 8 ซม. อาหาร ไรน้ำ ลกู นำ้ แพลงกตอนสตั ว ตัวออนแมลงนำ้ การเลย้ี งในตูปลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดเล็กที่มีพรรณไมน้ำ เปนปลาที่หายาก พบนอย ในแหลงน้ำธรรมชาติ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 63

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย ซวิ ควาย ชอ่ื สามัญ Myer’s silver rasbora ชอื่ วทิ ยาศาสตร Rasbora myersi Brittan, 1954 ชื่อวงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศยั แมน้ำและลำธารเกือบทุกภาคของไทย ในลุมน้ำโขง เจาพระยา ภาคตะวันออกและภาคใตถึงบอรเนียว ในพื้นที่พรุพบปลาซิวชนิดนี้ใน ลำคลองทอี่ ยรู อบพรแุ ละผา นพรุ ลักษณะท่ัวไป ลำตัวยาว เสนขางลำตัวอยูคอนไปทางกลางลำตัวโดยมีแถวเกล็ด จากดานทองไปถึงเกล็ดเสนขางลำตัว 3 แถว ตัวและหัวมีสีเทาเงิน ดานหลังสีเหลืองออน ดานทองสีจาง มีแถบสีเหลืองและสีดำพาดกลาง ตามความยาวลำตวั ครีบหลงั มีสีเหลืองออ น ครบี อ่นื ๆ สีจาง ครีบหางมี สีเหลืองออนอมเทา ขอบมีสีคล้ำ ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 10 ซม. อาหาร แพลงกต อนสัตว ตวั ออนแมลงนำ้ การเลยี้ งในตปู ลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดกลาง อุปนิสัยปราดเปรียวชอบวายอยูบริเวณ ผวิ น้ำ เลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่น ๆ ได 64 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : นณณ ผาณิตวงศ ชอ่ื ไทย ซิวแถบเหลอื ง ซิวแถบทอง ชื่อสามัญ Redstripe rasbora ชื่อวิทยาศาสตร Rasbora pauciperforata Weber & de Beaufort, 1916 ช่ือวงศ Cyprinidae ถิน่ อาศยั พบที่พรุคันธุลี จังหวัดสุราษฎรธานี และพรุโตะแดง จนถึงประเทศ มาเลเซยี ลักษณะท่วั ไป มีรูปรางลำตัวคลายกับปลาซิวผอมแตปอมสั้นกวา เกล็ดใหญ ครีบหลัง และครีบกนสั้นกวาของปลาซิวผอม หัวและลำตัวมีสีเหลืองและมีแถบ สีทองกับสีดำพาดตั้งแตสวนทายของหัวดานบนโดยแถบสีทองอยูดานบน พาดกลางลำตัวมาจนถึงโคนครีบหาง ทองและแกมสีเงินวาว ดานลางลำตัวสีจาง ครีบใส ครีบหลังและครีบหางมีสีเหลืองทอง ขนาดใหญสดุ ความยาวประมาณ 5 เซนติเมตร อาหาร แพลงกต อนสัตว ตัวออ นแมลงน้ำขนาดเล็ก การเลย้ี งในตูปลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดเล็กที่มีพรรณไมน้ำ เปนปลาที่พบนอยใน แหลง น้ำธรรมชาติ 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 65

ภาพโดย : ชาญทอง ภูนยิ ม ช่ือไทย ซิวหางกรรไกร ชื่อสามัญ Scissortail rasbora, Three-lined rasbora ช่ือวิทยาศาสตร Rasbora trilineata Steindacher, 1870 ช่ือวงศ Cyprinidae ถิ่นอาศยั อาศัยเปนฝูงใหญในแหลงน้ำนิ่งและแมน้ำ ตั้งแตลุมน้ำแมกลอง กับ แมน ำ้ โขง และภาคใต จนถึงอนิ โดนีเซีย พบบอยในพ้นื ที่พรุ ลกั ษณะทัว่ ไป ลำตัวยาวเรียวและแบนขางเล็กนอย สวนหัวและปากมีขนาดเล็ก ไมมี หนวดลำตัวมีสีเขียวออน สวนลางของลำตัวมีสีซีดกวาบริเวณดานขาง และดานหลังของลำตัว กลางลำตัวมีแถบสีดำพาดจากหัวถึงโคนหาง และยาวเลยไปถึงสวนของกานครีบหางดวย เหนือแถบสีดำมีแถบสีเงิน เล็ก ๆ ขางละ 1 แถบ พาดขนานไปกับแถบสีดำนี้ เหนือฐานครีบกน มีแถบสีดำเล็ก ๆ ขางละแถบ ตอนปลายของแถบทั้งสองนี้จะไปชนกัน บริเวณปลายฐานครีบกนแลวยาวเลยไปถึงโคนครีบหาง ปลาชนิดนี้มี จุดเดนอยูที่ครีบหางเนื่องจากมีแถบสีดำพาดขวางแพนหางทั้งบนและ ลาง ซึ่งแถบสีดำนี้อยูคอนไปทางสวนปลายของแพนหาง ขอบในและ ขอบนอกของแถบสีดำนี้มีแถบสีขาวพาดขนานคูกันไปอีกดวย สีดำและ สีขาวนี้จะตัดกับสีเหลืองออนซึ่งเปนสีพื้นของครีบหางสวยสะดุดตา มาก ครีบหลังมีกานครีบเปนสีเหลืองออน สวนครีบกน ครีบทองและ ครีบอกใสไมมีสี ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 13 ซม. ขนาดเฉลี่ย ความยาวประมาณ 6 ซม. อาหาร แพลงกต อนสตั ว ตวั ออ นแมลงน้ำขนาดเล็ก การเล้ียงในตูปลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดเล็กที่มีพรรณไมน้ำ ไดรับความนิยมในตลาด ตา งประเทศ 66 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชือ่ ไทย ซิวขา งขวานเล็ก ชอ่ื สามัญ Lambchop rasbora ชือ่ วิทยาศาสตร Trigonostigma espei (Meinken, 1967) ช่ือวงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศยั แหลง นำ้ ไหลเชย่ี วในภาคใต ปา พรโุ ตะแดง จังหวัดนราธิวาส และบริเวณ น้ำตกในภาคตะวนั ออกของไทย ลักษณะทัว่ ไป เปนปลาขนาดเล็ก พื้นลำตัวสีเทาเงิน กลางลำตัวเปนสีน้ำตาลอมแดง และกึ่งกลางลำตัวถึงโคนครีบหางมีแถบสามเหลี่ยมสีดำโดยฐาน สามเหลี่ยมอยูที่กึ่งกลางลำตัว ปลายสามเหลี่ยมเรียวเล็กไปทางโคนหาง ลักษณะคลายขวาน ครีบหลัง ครีบกน และครีบหางมีกานครีบบางสวน เปนสีแดงออนหรือสีสมโคนครีบหางก็มีสีแดงออนหรือสีสม ปลาตัวผูจะ มีสีเขมกวาตัวเมียและขนาดลำตัวเล็กกวาตัวเมีย ขนาดใหญสุด ความยาวประมาณ 2.5 ซม. ชอบอยรู วมกันเปน ฝูง วายนำ้ ตลอดเวลา อาหาร แพลงกต อน พชื น้ำ และตัวออนแมลงนำ้ การเล้ียงในตปู ลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดเล็กที่มีพรรณไมน้ำ เปนปลาสวยงามที่ไดรับ ความนยิ มสงู ในตลาดตา งประเทศ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 67

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย ซิวขา งขวานใหญ ชื่อสามญั Red rasbora, Harlequin rasbora ช่อื วิทยาศาสตร Trigonostigma heteromorpha (Duncker, 1904) ชื่อวงศ Cyprinidae ถิน่ อาศัย แหลงน้ำไหลบรเิ วณนำ้ ตก พบมากในภาคใตและภาคตะวันออกของไทย ลักษณะทั่วไป เปนปลาขนาดเล็ก พื้นลำตัวสเี ทาเงิน แตกลางลำตวั เปน สีน้ำตาล อมแดง และกึ่งกลางลำตัวถึงโคนครีบหางมีแถบสามเหลี่ยมสีดำ โดยฐาน สามเหลี่ยมอยูที่กึ่งกลางลำตัว ปลายสามเหลี่ยมเรียวเล็กไปทางโคนหาง ลกั ษณะคลา ยขวานซงึ่ ลกั ษณะขวานจะใหญแ ละหนากวาซิวขา งขวานเลก็ Trigonostigma espei ครีบหลัง ครีบกน และครีบหางมีกา นครบี บางสวน เปนสีแดงออนหรือสีสมโคนครีบหางก็มีสีแดงออนหรือสีสม ปลาตัวผูจะมี สีเขมกวาตัวเมียและขนาดลำตัวเล็กกวาตัวเมีย ขนาดเฉลี่ยความยาว ประมาณ 2.5 ซม. อาหาร แพลงกตอน พืชน้ำ และตวั ออ นแมลงน้ำ การเล้ียงในตปู ลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดเล็กที่มีพรรณไมน้ำ เปนปลาสวยงามที่ไดรับ ความนยิ มสูงในตลาดตา งประเทศ 68 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : นณณ ผาณติ วงศ ชอื่ ไทย ซวิ สมพงษ ช่อื สามัญ - ชอ่ื วิทยาศาสตร Trigonostigma somphongsi (Meinken, 1958) ชื่อวงศ Cyprinidae ถน่ิ อาศัย - ลกั ษณะทั่วไป เพศผูมีรูปรางลักษณะรูปรางเรียวยาวและมีขนาดเล็กวาปลาเพศเมีย บริเวณลำตัวมีสีเหลืองสมและลวดลายขาง ลำตัวจะเขมชัดเจนเมื่อใกล ฤดูผสมพันธุ เพศเมียมีลักษณะรูปรางปอมมีสีซีดจางและลวดลาย ขางลำตัวไมชัดเจน อุปนิสัยชอบวายไปมาตลอดเวลา ปรับตัวเขากับ สิ่งแวดลอ มไดงาย ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 3 ซม. อาหาร แพลงกต อน พืชนำ้ และตัวออ นแมลงน้ำ นิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงาม การเลี้ยงในตปู ลา เลี้ยงเปนฝูงในตูปลาขนาดเล็กที่มีพรรณไมน้ำ เปนปลาสวยงามที่หายาก พบนอยในแหลงนำ้ ธรรมชาติ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 69

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย กระเบนกติ พิ งษ ช่ือสามญั - ช่ือวทิ ยาศาสตร Himantura kittipongi Vidthayanon & Roberts, 2005 ช่อื วงศ Dasyatidae ถ่นิ อาศยั พบอาศยั อยูในลำนำ้ แมกลอง จังหวัดกาญจนบรุ ี ลักษณะทว่ั ไป มีลักษณะที่แตกตางจากปลากระเบนชนิดอื่น ๆ ก็คือ ดานหลังจะมี สีน้ำตาลเขมอมเหลือง รอบวงของลำตัว หาง ชองหายใจ ชองเหงือก และขอบดานลางของตัวเปนสีคล้ำ จำนวนของฟนซึ่งมีลักษณะเปนซี่ เล็ก ๆ บริเวณขากรรไกรลางมีจำนวนมากถงึ 14-15 แถว ขนาดใหญสดุ ความยาวประมาณ 60 ซม. อาหาร ปู ปลา กุง หอยและสัตวน ำ้ ซง่ึ อยตู ามหนาดินเปนอาหาร โดยปลากระเบน กิติพงษจะแทรกตัวอยูใตผิวดินทองน้ำโผลขึ้นมาเพียงชองหายใจกับลูกตา แลวใชจะงอยตรงปากจบั เหยอ่ื และกดทบั ไวกอ นกนิ เปนอาหาร การเล้ียงในตปู ลา เลี้ยงในตูปลาขนาดใหญโลง ๆ ปูพื้นดวยกรวดขนาดเล็ก อุปนิสัยชอบ วา ยไปมาตามพน้ื กรวด และฝงตัวอยูตามพื้นกรวด สามารถปรับตัวอยูใน ตูไดด ีจนสามารถผสมพันธอุ อกลกู ในตูปลาได 70 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ช่ือไทย เสอื ตอลายใหญ ชือ่ สามญั Siamese tiger perch ชอื่ วทิ ยาศาสตร Datnioides pulcher (Kottelat, 1998) ชอ่ื วงศ Datnioididae ถิ่นอาศัย แมน้ำสายใหญในภาคกลางของประเทศไทย เชน แมน้ำเจาพระยา แมน้ำแมกลอง แมน้ำทาจีน ในภาคอีสานเชน แมน้ำโขงและสาขา ตางประเทศพบที่กัมพูชาและเวียดนาม แตปจจุบันไมมีรายงานการพบ มานานแลว จนเชอื่ วาสญู พันธุจ ากธรรมชาตแิ ลว ในประเทศไทย ลักษณะท่วั ไป รปู รา งแบนขาง ปากยาวสามารถยดื ได ครีบกน เลก็ มีกานครบี แขง็ 3 ชน้ิ ครีบหลังแบงเปน 2 ตอน ตอนแรกเปนกานครีบแข็งมีเงี่ยง 13 ชิ้น ตอนหลังเปนครีบออน พื้นลำตัวสีเหลืองน้ำตาลจนถึงสีสมอมดำ มีแถบ สีดำคาดขวางลำตัวในแนวเฉยี งรวมทัง้ สนิ้ ประมาณ 5 - 6 แถบ สวนหัว มลี กั ษณะลาดเอยี งมาก เกลด็ เปนแบบสาก (Ctenoid) มีลกั ษณะนิสัยอยู เปนฝูงเล็ก ๆ ใตน้ำ โดยมักจะอาศัยบริเวณใกลตอไมหรือโพรงหินดวย การอยูลอยตัวอยูนิ่ง ๆ หัวทิ่มลงเล็กนอย หากินในเวลากลางคืน โดยกนิ อาหารแบบฉกงบั (Snap) ขนาดใหญส ดุ ความยาวประมาณ 40 ซม. อาหาร สตั วนำ้ ขนาดเล็กและแมลงตาง ๆ การเลี้ยงในตูปลา เลย้ี งในตปู ลาขนาดใหญ ตกแตงดวยกอ นหินและขอนไม 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 71

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย เสือตอลายเล็ก ชอ่ื สามัญ Mekong tiger perch ชือ่ วทิ ยาศาสตร Datnioides undecimradiatus (Roberts & Kottelat, 1994) ชื่อวงศ Datnioididae ถิ่นอาศยั พบในแมน ำ้ โขงและสาขา ลกั ษณะทว่ั ไป มีรูปรางและพฤติกรรมคลายเสือตอลายใหญ แตมีขนาดเล็กกวา หวั มีสวนลาดกวา มีลายเสนที่เล็กกวามาก เกล็ดมีขนาดใหญกวา พื้น ลำตัวคอนขางไปทางสีเหลืองออนหรือขาว ขนาดใหญสุดความยาว ประมาณ 30 ซม. อาหาร สัตวนำ้ ขนาดเลก็ และแมลงตา ง ๆ การเล้ยี งในตูปลา เลยี้ งในตูป ลาท่ีตกแตงดวยกอ นหนิ และขอนไม 72 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย บูหมาจู ช่อื สามัญ Bumblebee fish ช่อื วทิ ยาศาสตร Brachygobius doriae (Günther, 1868) ช่ือวงศ Gobiidae ถิ่นอาศยั ปากแมน้ำใกลทะเล พบในประเทศไทย อินเดีย พมา มาเลเซีย และอนิ โดนเี ซยี ลกั ษณะทว่ั ไป เปนปลาสวยงามขนาดเล็กมาก มีรูปรางและลวดลายสีสันที่แปลกตา ลำตัวมีสีดำสลับเหลืองคลายแมลงภู ซึ่งจะมีลักษณะเดน ๆ คือ มีครีบหนามอยูดานหนาครีบหลัง และมีการพัฒนาครีบหนาไปเปน Suction cup เอาไวยึดเกาะกับผิวหนาของของแข็งที่เจาปลาบูเกาะ อยางเชน หนิ ไม เปน ตน ขนาดใหญส ดุ ความยาวประมาณ 5 ซม. อาหาร ไรนำ้ แพลงกต อนสตั ว ตัวออนแมลงน้ำ การเลยี้ งในตูปลา เลยี้ งในตปู ลาขนาดเลก็ ท่มี ีพรรณไมน ำ้ สามารถเลยี้ งรวมกบั ปลาชนดิ อ่นื ๆ ที่มีนิสัยไมกาวราว เปนปลาสวยงามขนาดเล็กที่ไดรับความนิยมสูงใน ตลาดตา งประเทศ 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 73

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย บกู ลว ย ชอื่ สามญั - ช่อื วทิ ยาศาสตร Stigmatogobius sadanundio (Hamilton, 1822) ชอ่ื วงศ Gobiidae ถ่ินอาศยั ประเทศไทย อนิ เดีย ศรลี ังกา สงิ คโปร และอินโดนเี ซีย ลักษณะทั่วไป ลำตัวคอนขางกลม หางแบน หัวโต นัยนตามีขนาดใหญ ลำตัวมี สีน้ำตาลออนอมเหลือง ลำตัวมีจุดแตมสีดำหรือสีน้ำตาลเขม มีจุดประสี เขมขนาดเล็กกระจายอยางไมเปนระเบียบทั่วทั้งลำตัว ครีบหลังยาว แบงเปนสองตอน ตอนหนาเปนเสนยาว ตอนหลังแผกางมีจุดประสีดำ กระจายทั่วอยางเปนระเบียบ ครีบหางใหญปลายมนมีจุดประสีเขม กระจายทวั่ ครบี ทองมีจดุ ประ ครบี อกใส อปุ นิสยั ชอบนอนนิง่ ๆ แผค รบี กางออกอวดสีสนั สวยงาม ขนาดเฉลยี่ ความยาวประมาณ 6 ซม. อาหาร ไรน้ำ แพลงกต อนสัตว ตัวออนแมลงนำ้ การเล้ยี งในตูปลา เลี้ยงในตูปลาขนาดเล็กที่มีพรรณไมน้ำ เปนปลาสวยงามที่หายาก ในปจ จบุ ัน 74 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย นำ้ ผึ้ง ลกู ผง้ึ อดี ดู ชอ่ื สามญั Chinese algae-eater ช่อื วิทยาศาสตร Gyrinocheilus aymonieri (Tirant, 1883) ชอื่ วงศ Gyrinocheilidae ถน่ิ อาศัย แมน้ำ อา งเก็บน้ำท่วั ทกุ ภาคของประเทศไทย ลกั ษณะทั่วไป ลำตวั ยาวเรยี วรูปรางทรงกระบอก ลำตวั มีสนี ำ้ ตาล บรเิ วณหลงั มจี ุดแตม สีดำหรือสีน้ำตาลเขม สวนหัวสั้น ดานลางของสวนหัวและสวนทอง แบนราบ ไมมีหนวด ตาอยูคอนไปทางดานบนของสวนหัว จะงอยปาก คอนขางยาวและกวาง บริเวณจะงอยปากมีตุมเล็ก ๆ กระจายทั่วไป ปากดัดแปลงเปนอวัยวะสำหรับเกาะติดกับสิ่งอื่นได ครีบทุกครีบไมมี กานครบี แขง็ ครีบมสี เี หลืองอมนำ้ ตาลและมจี ดุ ดำเลก็ ๆ กระจายอยูท ั่วไป ครบี หางเวา เล็กนอย ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 13 ซม. ขนาดใหญส ุด ความยาวประมาณ 20 ซม. อาหาร ตะไครน้ำ การเล้ยี งในตูปลา เลี้ยงในตูปลาที่ตกแตงดวยพรรณไมน้ำหรือตูพรรณไมน้ำ อุปนิสัย การชอบใชป ากดดู กนิ ตะไครน ำ้ ทเ่ี กาะตามตปู ลา ปจ จบุ นั มกี ารคดั สายพนั ธุ เปน ปลาเผอื กซง่ึ ไดร บั ความนยิ มมากเรยี กวา “นำ้ ผง้ึ เผอื ก” เปน ปลาสวยงาม ท่ไี ดรบั ความนิยมสูงในตลาดตา งประเทศ 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 75

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย หมอตาล ชอ่ื สามัญ Kissing gourami ชอื่ วิทยาศาสตร Helostoma temminkii Cuvier, 1829 ช่อื วงศ Helostomatidae ถ่นิ อาศัย แมนำ้ เจา พระยา แมน ำ้ นา น ลักษณะท่วั ไป รูปรางปอมสั้น ลำตัวแบน หัวเล็ก จะงอยปากสั้นทู ปากเล็กยืดหดได ริมฝปากหนา นัยนตาอยูในระดับเดียวกันกับมุมปาก มีเกล็ดขนาด ปานกลางปกคลุมสวนหัวและลำตัว ครีบทองและครีบกนยาว ลำตัว เปนสีเขียวปนเทา หลังสีเทาปนดำ ทองสีขาว ขนาดใหญสุดความยาว ประมาณ 20 ซม. อาหาร สาหรา ย ไรนำ้ และแมลงตา ง ๆ การเล้ียงในตูปลา เลีย้ งในตูปลาขนาดกลาง ตกแตงดวยกอนหินและขอนไม 76 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอื่ ไทย เขม็ เข็มเผอื ก ชอ่ื สามัญ Freshwater halfbeak, Werstling halfbeak ชือ่ วทิ ยาศาสตร Dermogenys pusilla Kuhl & van Hasselt, 1823 ชอ่ื วงศ Hemiramphidae ถิ่นอาศยั แหลงนำ้ ท่วั ๆ ไปของประเทศไทย ประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซยี ลักษณะท่วั ไป มีรูปรางเรียวยาว ลำตัวเกือบกลมมีสวนแบนตรงโคนหาง ลำตัวมี สีน้ำตาลออน หางสีเหลือง ทองสีขาวเหลืองฟา หัวเล็ก มีจะงอย ปากแหลมยื่นยาวออกไป ครีบหลังและครีบกนมีสีเหลืองอยูคอนไป ทางดานหาง ครีบหางกลมมนมีขนาดใหญ ขนาดใหญสุดความยาว ประมาณ 4 ซม. ปจจุบันมีการคัดสายพันธุเปนปลาเผือกซึ่งได รบั ความนิยมมากเรียกวา “เขม็ เผือก” อาหาร แพลงกต อน ตวั ออ นแมลง ชอบวายหากนิ อยบู รเิ วณใกลผวิ น้ำ การเลย้ี งในตปู ลา เล้ยี งในตูปลาทต่ี กแตง ดว ยพรรณไมน ำ้ อุปนิสัยชอบวายลอยตวั บนผิวน้ำ 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 77

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย กระทิงไฟ ช่ือสามัญ Fire eel ช่อื วิทยาศาสตร Mastacembelus erythrotaenia Bleeker, 1850 ชื่อวงศ Mastacembelidae ถิ่นอาศยั แมน้ำในภาคกลางและภาคใตของประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย และ อินโดนีเซีย ลักษณะทั่วไป มลี ำตวั ยาวคลา ยงู แบนขางเลก็ นอย ลำตัวมีสีดำและแถบสแี ดงประมาณ 4-5 แถบ พาดตามความยาวลำตวั ยกเวนสวนทายลำตัว ซง่ึ แถบสีแดงจะ ไมคอยติดตอกันตลอดทำใหดูมีลักษณะคลายจุดสีแดง ครีบหลัง ครีบหาง ครีบอก และครีบกนมีสีดำ จะงอยปากยื่นยาว ที่ปลายของ จะงอยปากมีจมูกลักษณะคลายทอและมีชองเปดตรงปลาย เปน ปลาขนาดใหญ ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 1 เมตร อาหาร กุงและสัตวนำ้ ขนาดเล็ก การเลี้ยงในตูปลา เลี้ยงในตูปลาขนาดใหญ ตกแตงดวยกอนหินหรือขอนไมเพื่อใหเปนที่ หลบซอนตัว 78 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอ่ื ไทย หลด หลดจุด ชอ่ื สามญั Spotted spiny eel ชอ่ื วิทยาศาสตร Macrognathus siamensis (Günther, 1861) ชื่อวงศ Mastacembelidae ถิ่นอาศัย ทกุ ภาคของประเทศไทย และในประเทศอินเดีย พมา มาเลเซีย และ อินโดนเี ซีย ลกั ษณะท่ัวไป ลำตัวยาวเรียวแบนขางเล็กนอย สีลำตัวเปนสีน้ำตาลหรือน้ำตาลอมเทา ลักษณะเดนของปลาชนิดนี้คือไมมีหนามแหลมที่กระดูกใตนัยนตา บริเวณฐานของครีบหลังและฐานครีบกนมีจุดดำขอบขาว แตจำนวน จดุ น้ีจะไมเทากันทุกตัว บริเวณฐานครีบหลงั จุดดำนี้จะอยเู รียงกนั เปน แถว ประมาณ 1-5 จุด สวนฐานครีบกน อาจมี 1-2 บนฐานครีบหลัง ระหวางจุดดำมีจุดขาวเล็ก ๆ อยูกระจายเรียงกันเปนระเบียบคั่นสลับ เปนปลาที่ชอบอาศัยอยูในที่กำบัง จะออกจากที่กำบังเมื่อไมมีแสงสวาง หรอื ออกมาเพอ่ื กนิ อาหารเทา นน้ั โดยปกตจิ ะมดุ ลงไปฝง ตวั อยตู ามพน้ื โคลน หรือพื้นทรายและโผลปลายจะงอยปากขึ้นมาหายใจ ขนาดใหญสุด ความยาวประมาณ 35 ซม. ขนาดเฉล่ียความยาวประมาณ 15 ซม. อาหาร ไสเดอื น หนอน กุง แมลงน้ำ ตวั ออนแมลงนำ้ ลกู ปลาขนาดเลก็ ทีอ่ ยตู าม หนาดินและพืน้ ทราย ปลาหลดชอบออกหากินในเวลากลางคืน การเลย้ี งในตูปลา เลี้ยงในตูปลาขนาดเล็ก ตกแตงดวยกรวดแมน้ำและกอนหินเพื่อใหเปน ทห่ี ลบซอ นตวั 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 79

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชื่อไทย หลดลาย หลดภเู ขา ชอ่ื สามญั Zizzag eel ชือ่ วิทยาศาสตร Macrognathus taeniagaster (Fowler, 1935) ชอ่ื วงศ Mastacembelidae ถิน่ อาศยั ลมุ น้ำเจา พระยา แมน ำ้ แมกลอง ลกั ษณะท่ัวไป ลำตัวยาวเรียวแบนขาง สีลำตัวเปนสีน้ำตาลหรือน้ำตาลอมเหลือง ครีบหลงั ครีบหาง และครบี กนติดตอรวมกนั ปลายครบี หางกลม บนหลงั มีกานครีบแข็งปลายแหลมอยูหลายอัน ครีบอกใหญ ตาเล็ก ปากเล็ก ปลายจมูกเปน งวงสัน้ ๆ มลี ายดำพาดขวางลำตวั ชอบอาศยั อยใู นท่ีกำบงั ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 16 ซม. อาหาร ไสเ ดือน หนอน กุง แมลงนำ้ ตวั ออ นแมลงน้ำ ลูกปลาขนาดเล็กท่อี ยูต าม หนา ดินและพ้ืนทราย ปลาหลดชอบออกหากนิ ในเวลากลางคนื การเลย้ี งในตปู ลา เลยี้ งในตูปลาทต่ี กแตง ดวยกอ นหินเพ่ือใหเ ปน ที่หลบซอ นตวั 80 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย เฉ่ียวหิน ชื่อสามัญ Moon fish, Silver moony ชื่อวิทยาศาสตร Monodactylus argenteus (Linnaeus, 1758) ชอ่ื วงศ Monodactylidae ถนิ่ อาศยั ปากแมน้ำทเ่ี ปนนำ้ กรอย ปลาเฉย่ี วหินเปนปลาสองน้ำ เมือ่ ยงั เล็กสามารถ เล้ียงในนำ้ จืดเติมเกลอื เล็กนอย แตปลาที่โตข้นึ จะตอ งการน้ำท่ีมคี วามเค็ม มากขึน้ และจะสามารถแพรพ นั ธไุ ดในน้ำทีม่ คี วามเค็มใกลเ คียงกับนำ้ ทะเล ลักษณะท่วั ไป รูปรางแบน ลำตัวแบนขางมาก หัวเล็ก ปากเฉียงขึ้น ฟนเล็กละเอียด นัยนตาโต ครีบหลังและครีบกนตั้งอยูในแนวเดียวกัน พื้นลำตัวสีขาวเงิน ดา นหลงั มสี เี ขยี วแกมเหลอื ง มแี ถบดำพาดผา นตา ครบี หลงั เหลอื งหรอื สม ขอบคล้ำ ครีบกนมีแถบดำ ครีบหางมีสีเหลืองจางๆ ขนาดเฉลี่ย ความยาวประมาณ 22 ซม. อาหาร กุง แมลง การเลยี้ งในตูปลา เลย้ี งในตปู ลาขนาดกลาง ตกแตงดวยกอนหนิ และขอนไม 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 81

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย เสอื ดำ ชอื่ สามัญ Bornean leaffish ชื่อวิทยาศาสตร Nandus nebulosus (Gray, 1835) ช่อื วงศ Nandidae ถ่นิ อาศยั น้ำตก ลำธารมี่มีพรรณไมหนาแนนและในพรุ พบตั้งแตลุมน้ำเพชรบุรี ภาคตะวันออกและภาคใตถ งึ บอรเ นียว ลักษณะทั่วไป ลำตัวแบนขาง หัวโต ตาโต จะงอยปากมน บนแผนปดเหงือกมีหนาม เล็กๆ 1 อัน เกล็ดใหญตัวมีสีน้ำตาลแดง มีลายบั้งและประสีคล้ำ พาดขวางลำตัว 5-6 บั้ง มีแถบสีดำพาดตั้งแตปลายปากถึงทายทอย ครบี หลังตอนแรกสเี หมือนลำตัว ตอนหลงั ใส มจี ุดสีคล้ำ กระจายเชนเดยี ว กับครบี หางและครีบกนตอนทาย ครบี อกใส ครีบทอ งและครีบกน ตอนหนา สคี ลายของลำตวั ขนาดใหญส ดุ มคี วามยาวประมาณ 10 ซม. ขนาดเฉล่ยี ความยาวประมาณ 7 ซม. อาหาร ไรน้ำ สตั วน ้ำขนาดเลก็ การเลย้ี งในตปู ลา เลี้ยงในตูปลาขนาดเล็ก ตกแตงดวยกอนหิน อุปนิสัยชอบอยูนิ่ง ๆ หลบ ซอนตัวอยตู ามกอนหิน 82 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : ชาญทอง ภนู ิยม ชอื่ ไทย ตองลาย ชื่อสามัญ Stripped knife fish, Tiger knife fish, Blanc’s stripped featherback ชื่อวิทยาศาสตร Chitala blanci (d’Aubenton, 1965) ชือ่ วงศ Notopteridae ถ่นิ อาศยั แมน้ำโขง ลักษณะทว่ั ไป เปน ปลาทีม่ ีขนาดคอนขา งใหญ ลำตวั ดา นขางแบนมาก ลำตัวมสี ีขาวเงนิ ครึ่งทายของลำตัวมีแถบสีดำหลายแถบทอดขวางไปถึงครีบกนและ ครีบหาง บริเวณสวนหนาของลำตัวมีจุดสีดำขนาดปานกลางกระจายอยู ท่วั ไป เกลด็ ขนาดเล็กละเอยี ด ครบี กน ยาวมากเชื่อมกบั ครบี หางเปนครีบ เดียวกัน ครีบหลังและครีบหูมีขนาดไลเลี่ยกัน ครีบทองขนาดเล็กมาก ขนาดเฉล่ยี ความยาวประมาณ 60 ซม. อาหาร ปลาขนาดเลก็ ลูกกุง และสตั วน ้ำขนาดเล็ก การเลย้ี งในตปู ลา เลี้ยงในตูปลาขนาดใหญ ตกแตงดวยขอนไม หรือพรรณไมน้ำ หากเลี้ยง เปนฝงู เลก็ ตอ งมขี นาดไลเลยี่ กนั 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 83

ชื่อไทย กราย กรายเผอื ก ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชือ่ สามัญ Clown featherback ช่อื วทิ ยาศาสตร Chitala ornata (Gray, 1831) ชอ่ื วงศ Notopteridae ถิ่นอาศยั แหลงน้ำไหลและแหลงน้ำนิ่งขนาดใหญทั่วทุกภาคของประเทศไทย พมา อนิ เดยี เขมร มาเลเซีย และอนิ โดนีเซยี ลกั ษณะทัว่ ไป ลำตัวบางแบนขางมากและยาวเรียวไปทางสวนหางคลายใบมีด สวนหัว มีขนาดเล็กและแยกจากลำตัวเห็นชัดเจน รอยเวาบริเวณตนคอมีมาก กวาปลาชนิดอื่นในสกุลเดียวกันนี้ ปากคอนขางกวาง มุมปากอยูเลย หลังขอบตาออกไปมาก ลำตัวบริเวณหลังสีคล้ำ ดานขางลำตัวมี สีน้ำเงินหรือสีเงินปนเทา สวนหัวและสวนหลังมีสีคล้ำกวาสวนทอง เหนือครีบกนมีจุดดำขนาดใหญเรียงขนานไปกับครีบกนประมาณ 5-10 จุด ในปลาขนาดเลก็ จะมแี ถบสีดำพาดขวางลำตวั ประมาณ 10-15 แถบ และแถบเหลานี้จะหายไปเมื่อปลาโตขึ้นและมีจุดเกิดขึ้นแทน เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียด ครีบตาง ๆ ทุกครีบเปนกานครีบออนทั้งหมด ครีบกนยาวมากและติดตอกับครีบหางเปนอันเดียวกัน ครีบหลังเล็ก ตั้งอยูประมาณกึ่งกลางหลังลักษณะคลายขนนกเสียบอยู ขนาดใหญสุด ความยาวประมาณ 75 ซม. อาหาร ตัวออนแมลงน้ำ กงุ และลูกปลาขนาดเลก็ ท่ีอาศยั บรเิ วณผวิ นำ้ การเลีย้ งในตปู ลา เลี้ยงในตูปลาขนาดใหญที่ตกแตงดวยขอนไมและพรรณไมน้ำ หากเลี้ยง เปนฝูงเล็กตองมีขนาดไลเลี่ยกัน ปลากรายขนาดเล็กเปนปลาสวยงามที่ สงออกจำหนายยังตางประเทศ ปจจุบันมีการคัดสายพันธุเปนปลาเผือก ซ่ึงไดรับความนยิ มเรียกวา “กรายเผอื ก” 84 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย กัดหัวโมง ชือ่ สามญั Mouthbrooder betta ช่อื วิทยาศาสตร Betta prima Kottelat, 1994 ช่ือวงศ Osphronemidae ถิน่ อาศัย จะอาศัยอยูตามกอหญาริมน้ำตกหรือธารน้ำไหล ในแถบภาคตะวันออก ของไทย ลกั ษณะทัว่ ไป เปนปลากัดประเภทอมไข ปลากัดหัวโมงมีตัวโต ปลายปากแหลม ครีบ ทุกครีบใสโปรง แสง ลำตัวสเี ขยี วออน มีแถบสีดำพาดตามความยาวลำตวั 3 แถบ ตากลมโตสเี หลือง มใี หญส ุดความยาวประมาณ 10 ซม. ปลาตวั ผู ครีบทุกครีบแหลมยาวกวาตัวเมีย ตัวเมียไมมีจุดไขนำเหมือน ปลากดั ประเภทกอ หวอด ปจ จบุ นั สามารถเพาะขยายพนั ธไุ ดแ ลว ในทเ่ี ลย้ี ง อาหาร ไรนำ้ ลกู น้ำ ตวั ออนแมลงน้ำ การเลย้ี งในตปู ลา ปลากัดชนิดนี้เปนปลาที่มาจากเขตน้ำไหล ตองการออกซิเจนสูงจึงตอง ใสหัวทราย หรือเครื่องพนน้ำเพื่อใหปลาไดรับออกซิเจนเพียงพอ เปนปลาที่ชอบกระโดด จึงควรปลูกไมน้ำทึบเขาไวหรือตองมีฝาปดเสมอ ไมมีพฤติกรรมดุราย กาวราวเหมือนปลากัดจำพวกกอหวอด จึงสามารถ เลยี้ งรวมกนั ไดห ลายตัว 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 85

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย กัดอีสาน ช่ือสามญั Blue betta ชือ่ วทิ ยาศาสตร Betta smaragdina Ladiges,1972 ช่อื วงศ Osphronemidae ถ่นิ อาศัย พบในแหลงน้ำตื้นที่นิ่ง และที่น้ำไหลเอื่อย ๆ ในพื้นที่ภาคอีสานของ ประเทศไทย ลกั ษณะทว่ั ไป เปนปลากัดประเภทกอหวอด มีรูปรางและพฤติกรรมคลายปลากัด ภาคกลาง (Betta splendens) แตม รี ูปรา งท่เี พรยี วยาวกวา เกล็ดมีสเี ขียว มากกวา ท้ังทขี่ างแกม และลำตวั ในบางตวั อาจมเี หลือบสีฟา ครีบมสี ีเขยี ว หรือฟาและมีลายประสีดำ ขนาดใหญส ุดความยาวประมาณ 5 ซม. อาหาร ไรนำ้ ลกู นำ้ ตัวออนแมลงนำ้ การเล้ียงในตปู ลา เปนปลาสวยงามที่นิยมเลี้ยงเฉพาะตัวผู เนื่องจากลำตัวและครีบตาง ๆ มสี ีสนั สวยงาม เลย้ี งในโหลขนาดเลก็ โหลละตวั หากวางโหลใกลก ันจะแผ กางครบี เพราะเปน ปลาทีม่ นี ิสัยชอบการตอสู 86 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย กัด กัดภาคกลาง ชื่อสามญั Siamese ghting fish ชื่อวิทยาศาสตร Betta splendens Regan, 1910 ชอ่ื วงศ Osphronemidae ถนิ่ อาศยั พบทุกภาคของประเทศไทย อาศยั อยูในอา งเกบ็ น้ำ ทะเลสาบ หนอง บงึ แองนำ้ ลำคลอง และกระจายทั่วไปในเขตเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต ลักษณะทว่ั ไป ลำตัวทรงกระบอกและแบนขางเล็กนอย หัวสั้น ปากเล็ก ครีบหางใหญ และปลายกลม ครีบทองเปนเสนยาว ลำตัวสีน้ำตาลออนเหลือบแดง น้ำเงิน หรือเขียว ครีบสีแดงมีแถบสีเหลืองประ ตัวผูสีสันสดใสกวา ตัวเมีย ปจจุบันมีการคัดพันธุจนมีลักษณะครีบ และสีที่หลากหลาย ไดรับความนิยมสูงในตลาดตางประเทศ เชน ประเภทสองหาง หางมงกุฎ หางพระจันทรครึ่งเสี้ยว หรือประเภทสองสี และหลายสี เปน ตน ขนาดเฉลีย่ ความยาวประมาณ 5 ซม อาหาร ไรน้ำ ลกู นำ้ ตัวออ นแมลงนำ้ การเล้ียงในตปู ลา เปนปลาสวยงามที่นิยมเลี้ยงเฉพาะตัวผู เนื่องจากลำตัวและครีบตาง ๆ มีสีสันสวยงาม เลี้ยงในโหลขนาดเล็กโหลละตัว หากวางโหลใกลกันจะ แผกางครีบเพราะเปนปลาที่มีนิสัยชอบการตอสู เปนปลาสวยงามที่ มูลคา สูงและมีชือ่ เสยี งของประเทศไทย 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 87

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย ชอ นเข็ม ชอ่ื สามัญ Pikehead ชื่อวิทยาศาสตร Luciocephalus pulcher (Gray, 1830) ชอ่ื วงศ Osphronemidae ถ่นิ อาศยั พบเฉพาะในถิ่นอาศัยแบบพรุดั้งเดิม ตั้งแตพรุโตะแดงถึงสุมาตราและ บอรเนยี ว ลักษณะทว่ั ไป รูปรา งคลา ยปลาชอ นแตส วนหวั และจะงอยปากแหลมยืน่ จะงอยปากลา ง ยาวกวาปากบน ตาโต เกล็ดใหญ ครีบหลังอันเล็กมีฐานสั้นอยูคอนไป ทางดานทายใกลกับคอดหาง ครีบหางมีปลายมน ครีบกนมีฐานยาว แบงออกเปนสองตอนโดยเวาที่ตอนกลาง ครีบทองเล็กมีกานครีบ อันแรกยาวเปนเสน ครีบอกเล็ก ตัวมีสีน้ำตาลไหมหรือน้ำตาลอมเขียว ดานหลังมีสีจางกวาตอนกลางมีแถบใหญสีคล้ำขอบสีจางพาดจากจะ งอยปากไปถึงโคนครีบหางและมีแถบสีจางพาดบริเวณดานทอง โคนครีบหางมีจุดจางสีดำขอบขาว ดานทองสีจาง ครีบหลังมีสีคล้ำ ครีบหางมลี ายสคี ลำ้ ประ ครีบดา นลางใส วา ยอยูใกลผิวนำ้ เปนกลมุ เลก็ ๆ 5-10 ตัว หรือลอยอยูเหนือใบไมเพื่อนรอเหยื่อ ขนาดใหญสุดความยาว ประมาณ 20 ซม. อาหาร แมลง สัตวน ้ำขนาดเลก็ การเลย้ี งในตูป ลา เลี้ยงในตูขนาดเลก็ ตกแตง ดวยขอนไมแ ละพรรณไมน้ำ เปนปลาที่เล้ยี ง คอ นขา งยาก ถกู รวบรวมเพอ่ื สง ออกเปน จำนวนมากเชน กนั จากพรโุ ตะ แดง 88 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอื่ ไทย แรด แรดเผือก ชอื่ สามัญ Giant gourami ชอ่ื วิทยาศาสตร Osphronemus goramy Lacepède, 1801 ช่ือวงศ Osphronemidae ถน่ิ อาศยั อา งเกบ็ นำ้ แมน ำ้ สายใหญ ๆ และสาขาทกุ ภาคของไทย ประเทศอนิ โดนเี ซยี และหมูเ กาะอนิ เดียตะวันออก ลักษณะทั่วไป ลำตัวลึกและแบนขางมาก หัวคอนขา งเลก็ จะงอยปากแหลม ขากรรไกร ลา งยื่นกวา ขากรรไกรบนเลก็ นอย มฟี น ซเี่ ล็ก ๆ บนขากรรไกรบนและลา ง ครีบหลังและครีบกนยาวมาก มีเกล็ดบนฐานครีบ ความสูงของกานครีบ บริเวณตอนปลายของครีบทั้งสองจะสูงกวาตอนตนของครีบ ครีบทอง มีกานครีบแข็ง 1 อัน กานครีบออน 5 อัน กานครีบออนอันแรกของ ครีบทองมีลักษณะเปนเสนยาว อาจจะยาวถึงหรือยาวเลยปลายครีบหาง ครบี หางกลม ขนาดเฉลยี่ ความยาวประมาณ 30 ซม อาหาร แพลงกตอนพืช แพลงกต อนสัตว พันธไุ มน ้ำและซากพชื ท่เี นา เปอ ย การเลยี้ งในตูปลา เลี้ยงในตขู นาดใหญ ตกแตง ดว ยขอนไม 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 89

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชื่อไทย กระด่ีมุก ชื่อสามญั Pearl gourami, leeri, Mosaic gourami ชอ่ื วิทยาศาสตร Trichogaster leerii (Bleeker, 1852) ช่อื วงศ Osphronemidae ถิน่ อาศัย หนอง บึง ลำหวย ซึ่งมีพืชพรรณไมน้ำหนาแนน พบเฉพาะภาคกลาง และภาคใต ลกั ษณะทว่ั ไป ลำตัวเพรียวยาวและแบนขางมาก พ้นื ลำตัวมสี นี ้ำตาล ตามตวั มจี ุดสีขาว ประกระจายอยูทั่วไป ที่กลางลำตัวจากปากจรดโคนหางมีแถบสีดำ คาดตามความยาวลำตัว โคนหางมีจุดดำขางละ 1 จุด ครีบมีลักษณะ เรียวยาวคลายหนวด เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียด ขนาดเฉลี่ยความยาว ประมาณ 12 ซม อาหาร แพลงกต อน พืชน้ำขนาดเล็ก ตัวออนแมลงน้ำ และซากพชื ท่ีเนาเปอ ย การเลยี้ งในตูปลา เลี้ยงในตูที่มีพรรณไมน้ำ เปนปลาสวยงามที่ไดรับความนิยมสูงเพราะ มีสีสันสวยงาม มีการจัดประกวดทั้งในประเทศ (งานประมงนอมเกลาฯ) และตา งประเทศ เชนในงาน Aquarama ประเทศสงิ คโปร ปจ จบุ ันมีการ คัดพันธุใหมีลักษณะลำตัวสั้น หรือ shortbody ซึ่งกำลังเปนที่นิยมใน วงการปลาสวยงาม 90 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอื่ ไทย กระดน่ี าง กระเดดิ ชอื่ สามญั Moonlight gourami ชอื่ วทิ ยาศาสตร Trichogaster microlepis (Günther, 1861) ชื่อวงศ Osphronemidae ถิ่นอาศัย แหลงน้ำทั่วไป ทุกภาคของประเทศไทยและในประเทศแถบอินโดจีน ลักษณะทวั่ ไป รูปรางคลายคลึงกับปลากระดี่หมอแตขนาดโดยเฉลี่ยจะโตกวา บริเวณ ลำตัวและครีบเรียบไมมีลาย เกล็ดบริเวณลำตัวเปนสีขาวเงิน หรือ สีฟาออ น ครบี สขี าว เกล็ดดานขางลำตัวมขี นาดเลก็ ครีบทอ งมีกา นครีบ อันแรกเปลี่ยนเปนเสนยาว ครีบกนยาว ครีบหางเวาตื้น ขนาดโดยเฉลี่ย ประมาณ 13 ซม. ปลาตัวผูสังเกตไดจากขอบครีบทองและขอบครีบกน จะมสี ีสม อาหาร แพลงกต อน พชื น้ำขนาดเล็ก ตัวออนแมลงนำ้ และซากพชื ทีเ่ นาเปอ ย การเล้ียงในตูปลา เลยี้ งในตทู ี่มีพรรณไมนำ้ 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 91

ภาพโดย : ชาญทอง ภูน ยิ ม ชื่อไทย กระดี่ กระดหี่ มอ ชอ่ื สามญั Blue gourami, Three-spot gourami ชอ่ื วิทยาศาสตร Trichogaster trichopterus (Pallas, 1770) ชื่อวงศ Osphronemidae ถน่ิ อาศยั แหลงนำ้ ท่ัวไปในภาคของประเทศไทยและประเทศอ่นื ในแถบอนิ โดจนี ลกั ษณะทัว่ ไป ลำตัวเพรียวยาวและแบนขางมาก พื้นลำตัวมีสีเทาออน มีแถบสีน้ำตาล อมเทาพาดเฉียงตลอดลำตัว ดานขางลำตัวมีจุดสีสมอมน้ำตาลหรือสีดำ ขนาดใหญ 2 จุด อยบู ริเวณก่งึ กลางลำตัว 1 จดุ บริเวณโคนครบี หางอกี 1 จดุ แตเหตุท่ีมีชอื่ เรียกเรยี ก Three spot gourami เน่อื งจากนบั รวมตา เขา ไปอีก 1 จุด บรเิ วณครบี หลงั ครีบกน และครบี หางมจี ุดสเี หลอื งกระจาย ทั่วไป ในปลาตัวผู สจี ะเขมจนเปนสีสม ปากมขี นาดเล็กยน่ื เฉียงขึ้นดา นบน ตาโตต้งั อยใู นระดับเดยี วกับปาก ขนาดเฉลย่ี ความยาวประมาณ 10 ซม. อาหาร แพลงกตอนพชื พชื น้ำขนาดเลก็ ตวั ออ นแมลงนำ้ การเลี้ยงในตูปลา เลี้ยงในตูที่มีพรรณไมน้ำ ปจจุบันมีการคัดพันธุใหไดสายพันธุเผือกเรียก “กระด่เี ผือก” 92 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย กระด่ีนางฟา ชอ่ื สามญั Blue gourami, Cosby strain, ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Trichogaster trichopterus (Pallas, 1770) ชอื่ วงศ Osphronemidae ถ่นิ อาศยั พบไดใ นแหลงน้ำนิ่งทุกภาคของประเทศไทย ลกั ษณะทัว่ ไป ลำตัวแบนขางมาก เกล็ดมีขนาดเล็กละเอียด พื้นลำตัวมีสีฟาสลับดวย ลวดลายสีฟาอมน้ำเงินจนถึงดำ ครีบอกมีลักษณะเรียวยาวคลายหนวด ครีบหลังและครีบทวารมีกานครีบที่แหลมคม ขนาดเฉลี่ยความยาว ประมาณ 12 ซม อาหาร แพลงกต อนพชื พชื น้ำขนาดเลก็ ตวั ออนแมลงน้ำทง้ั ทมี่ ชี วี ติ และไมม ชี วี ติ การเล้ียงในตปู ลา เลย้ี งในตูท่ีมีพรรณไมน ำ้ เปนปลาท่มี ีความปราดเปรียวและปรับตวั เขา กับ สภาพแวดลอมไดดี ไดรับความนิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงามเพราะมี สีสวยงาม 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย 93

ภาพโดย : ชวลิต วิทยานนท ชื่อไทย กรมิ สี ชอ่ื สามญั Pygmy gourami ชือ่ วิทยาศาสตร Trichopsis pumila (Arnold, 1936) ชอ่ื วงศ Osphronemidae ถ่นิ อาศยั แหลงน้ำนิ่งและแมน้ำ ตั้งแตลุมน้ำเจาพระยาจนถึงแมน้ำบางปะกง และ แมนำ้ โขงตอนลางและบรเิ วณพรุในภาคตะวันออก ลกั ษณะทัว่ ไป ลำตัวแบนขาง สวนหัวเรียว ปากเล็ก ตาโต เกล็ดเล็ก ครีบหลังเรียว ครีบหางปลายแหลมมีกานครีบเปนเสนเรียว ครีบกนมีฐานครีบยาว ครีบทองเปนเสนยาว ลำตัวมีสีน้ำตาลออน มีแถบสีคล้ำพาดตามยาว ตั้งแตปลายปากถึงโคนหาง มีจุดประสีแดงสม หรือน้ำตาลแดงบนครีบ ตาง ๆ และลำตัว และมีจุดเหลือบสีฟาสดหรือเขียวออนบนลำตัว ขอบตามีสีฟาวาว ดานทองสีจาง ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 4.5 ซม. ขนาดเฉล่ยี ความยาวประมาณ 3 ซม. อาหาร แพลงกต อนพชื พืชนำ้ ขนาดเลก็ ตวั ออ นแมลงน้ำทั้งที่มชี วี ิตและไมมชี ีวิต การเล้ยี งในตปู ลา เลยี้ งในตขู นาดเล็ก ท่ตี กแตง ดวยพรรณไมน้ำ 94 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : ชวลติ วิทยานนท ชอื่ ไทย กรมิ ควาย ช่อื สามญั Croaking gourami ช่ือวิทยาศาสตร Trichopsis vittata (Cuvier, 1831) ชอ่ื วงศ Osphronemidae ถิ่นอาศยั แหลง น้ำน่งิ ทัว่ ไป ตัง้ แตแ มน้ำสาละวนิ ถึงแมน้ำโขง และบอรเ นยี ว ลักษณะท่ัวไป สวนหัวคอนขางเรียว ปากเล็กเชิดขึ้นเล็กนอย ลำตัวรูปไขทรงเรียว แบนขางเล็กนอย ครีบหลังอยูตอนกึ่งกลาง ครีบหางปลายแหลมยาว ในตวั ผคู รบี กน ยาวครบี ทอ งเลก็ มปี ลายเรยี วยาวเกลด็ ใหญไมม เี สน ขา งตวั ลำตัวมีสีคล้ำอมน้ำตาลหรือน้ำตาลแดง มีแตมกลมสีคล้ำที่เหนือครีบอก มีเหลือบสีเขียวออนและมีจุดประสีแดงที่ครีบ ครีบกนมีขอบสีแดงคล้ำ มีเหลือบสีเขียวออนหรือฟาตามครีบในตัวผู ตามีสีฟาที่มานตา ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 7 ซม. อาหาร แพลงกต อนพืช พืชน้ำขนาดเลก็ ตวั ออ นแมลงน้ำทัง้ ทมี่ ชี ีวิตและไมม ชี วี ิต การเลีย้ งในตูป ลา เล้ยี งในตูข นาดเล็ก ท่ีตกแตง ดว ยพรรณไมน ้ำ 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 95

ภาพโดย : ชาญทอง ภูน ิยม ชื่อไทย ตะพดั มงั กร ช่อื สามัญ Asian bonytongue, Asian Arowana ชื่อวิทยาศาสตร Scleropages formosus (Müller & Schlegel, 1844) ชอ่ื วงศ Osteoglossidae ถ่นิ ทีอ่ าศยั เคยพบทางภาคตะวันออก ไดแก จังหวดั ระยอง จันทบุรี และตราด ตาม ลำธารหรอื ลำคลองทน่ี ำ้ ไหลเออ่ื ย ๆ ซง่ึ ทอ งนำ้ มกั เปน หนิ ปนทราย ปจ จบุ นั พบที่จังหวัดสุราษฎรธานี สตูล และพบในประเทศมาเลเซีย และ อินโดนีเซีย ลักษณะท่ัวไป ลำตัวแบนดานขาง สวนทองแบนเปนสันคม เกล็ดมีขนาดใหญและหนา เกล็ดบนเสนขางตัวมี 21-24 เกล็ด ครีบหลังและครีบกนตั้งอยูคอนไป ทางปลายหาง สวนครีบอกยาวประมาณหนึ่งในสามของความยาวลำตัว ครีบหางกลม ปากกวางเฉียงขึ้นดานบน ที่ปลายขากรรไกรลางมีหนวด ขนาดใหญแ ตส้นั จำนวน 1 คู ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 1 เมตร อาหาร กบ เขยี ด สัตวเล้ือยคลานขนาดเล็ก และแมลงขนาดใหญ เชน แมลงสาบ จิง้ จก การเล้ียงในตปู ลา เลี้ยงในตูขนาดใหญ ตกแตงดวยกอนหินและพรรณไมน้ำ มีความทนทาน อยใู นตไู ดนาน 96 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรณุ ี รอดลอย ชอื่ ไทย สวาย สวายเผือก ชื่อสามัญ Albino Stripped catfish ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Pangasianodon hypophthalmus (Sauvage, 1878) ชอ่ื วงศ Pangasiidae ถิน่ อาศยั แมน ้ำเจาพระยา ทาจีน ปา สกั และแมน ำ้ โขง รวมท้งั สาขาและแหลง นำ้ ขนาดใหญที่มีการติดตอกับแมน้ำดังกลาวของไทย ประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม ลกั ษณะท่ัวไป เปนปลาไมมีเกล็ดขนาดใหญ ลำตัวเรียวยาว แบนขางเล็กนอย หัวแบน ลงเล็กนอย สีลำตัวในปลาโตเต็มวัยเปนสีเทาเขมหรือเทาอมน้ำตาล บริเวณทองสีขาว ในลูกปลาทีมีขนาดต่ำกวา 20 ซม. จะมีแถบสีดำ 3 แถบ ตามความยาวลำตัว แถบแรกอยูคอนไปทางดานหลัง แถบที่ สองอยูแนวเสนขางตัว แถบที่สามอยูเหนือฐานครีบอกแลวโคงลงจน จรดปลายครบี กน แถบสดี ำจะจางลงไปเมอ่ื ลกู ปลาโตขน้ึ และจะหายไปหมด เม่อื ปลามีขนาดความยาวประมาณ 35 ซม. ปากอยูตำ่ ขากรรไกรลางยาว กวาขากรรไกรบน ฟนที่ขากรรไกรเล็กละเอียด ตามีขนาดเล็กอยูหลัง มุมปากอยใู นระดับเดยี วกบั มมุ ปากหรือตำ่ กวาเพียงเลก็ นอย มีหนวด 2 คู ครีบหางคอ นขา งยาวและเวาลกึ อาหาร พืชน้ำและสัตวนำ้ ขนาดเล็ก การเลยี้ งในตูป ลา เลี้ยงในตูขนาดใหญ ตกแตงดวยกอนหิน ปจจุบันมีการคัดสายพันธุเปน ปลาเผอื กซ่งึ ไดรับความนิยมเรยี กวา “สวายเผือก” การเลี้ยงในตปู ลานิยม เลย้ี งปลาสวายเผอื กขนาดเล็กมากกวา ปลาทมี่ ีขนาดใหญ 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 97

ภาพโดย : ชาญทอง ภนู ิยม ชื่อไทย เทพา ชอ่ื สามญั Chao-phya giant catfish, Giant pangasius ช่ือวทิ ยาศาสตร Pangasius sanitwongsei Smith, 1931 ชือ่ วงศ Pangasiidae ถ่ินอาศัย แมนำ้ เจาพระยา แมน้ำโขง ลักษณะท่ัวไป เปน ปลาไมม เี กลด็ ขนาดใหญลำตวั ยาวและคอ นขา งปอ มแบนขา งเลก็ นอ ย พื้นลำตัวมีสีเทาเงินสวนหลังสีคล้ำ สวนทองสีขาว บริเวณขางตัวเหนือ ฐานของครีบอก มีจดุ สีขาวขนาดใหญ มหี นวดท่ีมุมปาก 1 คู และทใี่ ตค าง อกี 1 คู ทีค่ รีบอก ครีบทอ งและครบี หลงั กา นครีบเด่ยี วจะยื่นยาวออกไป กวากานครีบอื่น ๆ มาก เปนปลาน้ำจืดที่มีขนาดใหญที่สุดชนิดหนึ่งของ ประเทศไทย ขนาดใหญส ดุ ความยาวประมาณ 2 เมตร น้ำหนักมากกวา 100 กิโลกรัม อาหาร ปลาท่ีมีขนาดเลก็ กวา ซากสตั ว การเลย้ี งในตูปลา เลี้ยงในตูขนาดใหญ ตกแตงดวยกอนหิน นิยมเลี้ยงเปนปลาสวยงาม ทั้งขนาดเลก็ และขนาดใหญ รูปรา งปราดเปรียววา ยนำ้ ไปมาอยางรวดเรว็ 98 100 ชนิด ปลาสวยงามของไทย

ภาพโดย : อรุณี รอดลอย ชอื่ ไทย หนวดพราหมณ ชอ่ื สามญั Paradise threadfin ชอื่ วทิ ยาศาสตร Polynemus paradiseus Linnaeus, 1758 ชือ่ วงศ Polynemidae ถ่ินอาศยั พบมากในแมนำ้ เจา พระยาตอนลา ง แมน ้ำบางปะกง แมน ้ำแมกลอง และ แมน้ำโขงตอนลา ง ในตางประเทศพบไดจนถงึ บอรเ นียวและเกาะสมุ าตรา ลักษณะทว่ั ไป มีสวนหัวขนาดเล็ก ตามีขนาดเล็กอยูเกือบสุดปลายสวนหัวและมีเยื่อ ไขมันคลุม ปากกวางมีฟนซี่เล็กละเอียดบนขากรรไกร ลำตัวแบนขาง ครีบอกยาว สวนที่เปนเสนยาวมีความยาวมากกวาลำตัวถึง 2 เทา โดยเฉพาะเสนบนมีทั้งหมดขางละ 10 เสน ครีบหางเวาลึกปลายแหลม เกล็ดเล็กละเอียดมีลักษณะเปนปากฉลาม ตัวมีสีเงินวาวอมชมพูหรือ สีเนื้อ หัวสีจางอมชมพูหรือสีเนื้อ ครีบสีจาง ดานทองสีจาง ขนาดเฉลี่ย ความยาวประมาณ 12 ซม. ขนาดใหญสุดความยาวประมาณ 20 ซม. อาหาร สัตวน ำ้ ขนาดเล็ก ตัวออ นแมลงน้ำ การเลย้ี งในตปู ลา เลย้ี งในตขู นาดใหญเ พราะตอ งการพน้ื ทใ่ี นการวา ยนำ้ มาก เปน ปลาสวยงาม ทมี่ คี วามโดดเดน บรเิ วณครีบอกทเี่ ปน เสนยาวออกมา ตลาดตางประเทศมี ความตองการแตยังมีปญหาเรื่องการขนสงที่ตองใชความละเอียดออน และความระมัดระวังในการสงออก 100 ชนดิ ปลาสวยงามของไทย 99