Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อานีสเป็นหัด

Description: อานีสเป็นหัด

Search

Read the Text Version

ฉันชอ่ื อานี ส น่ี คือป๊ะ มะ กับน้ องนิ น

อานี สต่ืนเชา้ กนิ ขา้ วเรว็ ไว ๒

วนั น้ี แจม่ ใส ไดไ้ ปโรงเรยี น ๓

ครูอา่ นนิ ทาน เบกิ บานสขุ ใจ ๔

จบแล้วค่อยไป เลน่ ในสนาม ๕

อานี สจบั มอื กอลฟ์ ถือตกุ๊ ตา เขย่งเทา้ ข้ึนมา นั่ งชงิ ชา้ กนั ๖

อานี สกอดคอ หัวเราะสนกุ กอล์ฟจามไม่หยดุ ฮัดเชย้ ฮัดเชย้ ๗

สิบวนั ผา่ นไป อานี สมีไข้ ไปเรยี นไม่ไหว ทงั้ ไอทงั้ จาม ๘

อานี สหมดแรง หน้ าแดงตัวรุม ปากแห้งตาชมุ่ มะอุ้มออกมา ๙

ป๊ะจา๋ ดหู น่ อย ลกู น้ อยเป็นไร ๑๐

มะรอไมไ่ หว ต้องไปหาหมอ ๑๑

๑๒

หมอตรวจอาการ ไม่นาน...บอกวา่ ดที ่รี บี มา “อานี สเป็นหัด” ป๊ะมะตกใจ ทำ� ไงกันดี โรคหัดแบบน้ี หมอมียาไหม ๑๓

หมอต้องเฝ้าดู ให้รูแ้ น่ ชดั ไมใ่ ชแ่ ค่ ‘หัด’ ไวรสั ถึงปอด ๑๔

หัดแพรร่ ะบาด ประมาทไมไ่ ด้ วัคซนี กันไว้ ฉีดให้น้ องก่อน ๑๕

ออกหัดอนั ตราย หมอให้ยากิน แนะน� ำน้ องนิ น ฉีดวัคซนี เลย ๑๖

ป๊ะมะตกใจ ยาฉีดไดไ้ ง มันไม่ฮาลาล !! ๑๗

๑๘

นบีกลา่ วไว้ เม่ือใดคับขนั ถือว่าส่ิงนั้ น ฮาลาล ฮาลาล ป๊ะบอกเตม็ ใจ ยอมให้นิ นมา มะรบี พยักหน้ า ฉีดยาวัคซนี ๑๙

อานี สหายป่วย คุณหมอชว่ ยได้ และต้องจ�ำไว้ ‘หัด’ รา้ ยแรงมาก ป๊ะบอกเพ่ือนบา้ น ลกู หลานปลอดภยั วัคซนี ชว่ ยให้ ไมป่ ่วยเป็นหัด ๒๐

๒๑

คุย สร้างสุข เพ่ือการอา่ นสรา้ งสขุ โรคหัดเกิดจากเช้ือไวรัส แพรร่ ะบาดไดง้ า่ ยผา่ นการไอ จาม หรือพูดคยุ กันในระยะใกล้ชิด มกั พบการระบาดในที่รวมคนหมู่มาก เช่น ในศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ โรงเรียน ชุมชนท่ีอยู่กนั หนาแนน่ ในทกุ ภมู ภิ าคของโลก เช่น ประเทศอินเดีย ยูเครน ฟลิ ิปปนิ ส์ บราซลิ พบผู้ป่วยจำ� นวนสงู สุด ผรู้ ับเชื้อมักจะมีอาการเริ่มตน้ คลา้ ยไขห้ วัด มีไข้ มีนำ้� มูก ไอแหง้ ๆ และเริ่มมผี ื่นนนู แดง ในชว่ ง ๒ ปีที่ผา่ นมา สำ� นักระบาดวิทยาพบสถานการณร์ ะบาดในพ้นื ที่ภาคใต้ตอนลา่ งของ ประเทศไทย ผ้ปู ว่ ยสว่ นใหญ่เปน็ เดก็ ก่อนวยั เรียนและเด็กนักเรียนท่ี ไม่ได้ฉดี วัคซนี ปอ้ งกนั โรคหัด ประกอบกับภาวะทุพโภชนาการ (ภาวะจากการไดร้ ับสารอาหารไม่เพียงพอ เกิน หรือผิดสดั สว่ น) ทำ� ใหเ้ ด็กมอี ตั ราการเสยี ชีวิตสงู เนอื่ งจากภาวะแทรกซ้อน การป้องกันโรคหัดท่ี ได้ผล คอื นำ� เด็กไปรับวัคซนี ๒ ครั้ง เม่อื อายุ ๙ เดอื น และ ๒ ปีคร่ึง ตามสถานบริการสาธารณสุขของรัฐทกุ แห่งทั่วประเทศ อานสี เปน็ หดั เล่มน้ี เกิดขน้ึ จากความห่วงใยถงึ ปญั หาที่เกดิ ข้นึ ขอบคณุ ทีมนกั ศึกษาชั้นปที ่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๒) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ ไดอ้ อกแบบสรา้ งสรรค์หนังสือจากรายวิชาสร้างเสริมสุขภาพ และได้น�ำไปทดลองใชท้ ่ีโรงเรียน รัศมสี ถาปนา อ.มายอ จ.ปตั ตานี จนมกี ารเก็บขอ้ มูลเดก็ ๆ เพอ่ื ร่วมป้องกันและแก้ไขปญั หาท่ีจะเกิดข้ึน ขอบคุณ ผศ.นพ.เทอดพงศ์ ทองศรีราช ท่ีชกั ชวนแผนงานสรา้ งเสริมวฒั นธรรมการอา่ น สสส. ใหน้ �ำตน้ ฉบบั ของนักศึกษามาพัฒนาต่อ รวมท้ังการระดมทนุ จัดพิมพ์เพอ่ื ขยายผลให้กวา้ งขวาง และขอขอบคณุ เป็นพเิ ศษต่อบรรณาธกิ ารเล่ม คณุ ระพีพรรณ พัฒนาเวช กรรมการมูลนธิ ิ สรา้ งเสริมวัฒนธรรมการอ่าน และคณะ ท่ีบรรจงสร้างสรรค์ พัฒนาเรื่องและภาพอย่างออ่ นโยน และเรง่ ให้ความสำ� คัญเรื่องเงื่อนเวลา เพอื่ ใหท้ ันต่อภาวการณ์ที่ก�ำลงั ส่งผลกระทบในขณะน้ี สุดใจ พรหมเกิด ผู้จดั การแผนงานสรา้ งเสริมวฒั นธรรมการอา่ น สสส. ๒๒

ชาวมสุ ลิมฉีดวคั ซนี ไดห้ รอื ไม่ “ความจ�ำเป็น (ฎอรูเราะฮ์) มผี ลทำ� ใหส้ ง่ิ ที่ฮารอมกลายเป็นสง่ิ ท่ีฮาลาลได”้ ถอดความจากหลกั การรุคเศาะฮฺ (การผ่อนปรน) ในภาวะจำ� เป็นตามบทท่ี ๒ อัลบะเกาะเราะฮฺ โองการท่ี ๑๗๓ ปัจจุบันไดม้ ีการยนื ยันจากนักวิชาการมสุ ลมิ ปราชญ์มสุ ลิม และทา่ นจุฬาราชมนตรี ซึ่งเปน็ ผนู้ �ำของศาสนาอสิ ลามในประเทศไทยวา่ ชาวมุสลมิ สามารถฉีดวคั ซีนปอ้ งกันโรคได้ ทกุ ทา่ นใหค้ วามเหน็ ตรงกันว่า การฉดี วคั ซีน เป็นการดแู ลร่างกายที่พระเจา้ ประทานมาให้ตามคำ� สอนของพระเจ้า การไมฉ่ ีด วัคซนี นอกจากจะเป็นการทำ� ร้ายตนเองแล้ว ยังเปน็ การทำ� รา้ ยผู้อ่ืนอีกด้วย หากเราเปน็ คนแพร่เชื้อ ถอื เป็นการท�ำบาปอย่างหนึ่ง ดงั ที่ท่านนบีมุฮัมมัดไดก้ ล่าวไวว้ ่า “จะตอ้ งไมเ่ บียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน” ดังน้ัน ขอใหค้ ุณพ่อคุณแมส่ บายใจ และพาลกู นอ้ ยมาฉดี วัคซนี ได้ ๒๓

คุณ หมอชวน คุย ผศ.นพ.เทอดพงศ์ ทองศรีราช วคั ซนี คืออะไร วัคซนี คือ ผลิตภณั ฑ์ชีวภาพท่ีประกอบด้วยเชื้อไวรัส หรือแบคทีเรียไมม่ ีชีวิต หรือทำ� ใหม้ ฤี ทธ์อิ ่อนจน ไมส่ ามารถก่อโรคได้ ใช้กระตุน้ ใหร้ า่ งกายสรา้ งภูมคิ ุม้ กันโรค ซง่ึ เกิดจากเชื้อนัน้ ๆ โดยให้โดยการฉดี หรือหยอดทางปาก ทำ� ไมทกุ คนควรได้รับวคั ซนี เม่อื แรกเกิด เด็กทุกคนจะมีภูมติ า้ นทานต่�ำ เสีย่ งตอ่ โรคระบาดต่าง ๆ ท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ได้ เช่น โปลิโอ คอตีบ ไอกรน บาดทะยกั หดั ซงึ่ เชื้อเหล่านสี้ ามารถแพรก่ ระจายไดง้ ่าย ผู้ปว่ ยท่ีติดเช้ือ คอตบี ไอกรน หรือหดั อาจมอี าการรุนแรงมากถึงข้นั เสยี ชีวิตได้ แตส่ ามารถมีภูมิต้านทานโรคเหล่าน้ี โดยการรับ วคั ซีนซึ่งมีประสทิ ธภิ าพในการปอ้ งกนั โรคไดด้ ี และชว่ ยลดความรุนแรงของโรคเหล่าน้ีได้ จะรบั วคั ซนี ได้ท่ีไหน ผปู้ กครองสามารถพาบุตรหลานไปฉดี วัคซีนพนื้ ฐาน หรือวัคซนี จ�ำเปน็ ได้แก่ วัณโรค ตับอกั เสบบี คอตีบ-บาดทะยกั -ไอกรน วคั ซีนฮบิ วัคซีนโปลิโอ วัคซนี หดั -หดั เยอรมัน-คางทมู วัคซีนไข้สมอง อกั เสบเจอี ได้ฟรี ท่ีโรงพยาบาลของรัฐหรือโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพประจ�ำตำ� บล (รพ.สต.) ท่ัวประเทศ ส่วนวคั ซีนอื่น ๆ เชน่ วคั ซนี ไขห้ วัดใหญ่ วัคซนี สุกใส วัคซีนไอพีดี วัคซีนตบั อกั เสบเอ สามารถฉดี เสริมได้ เพ่ือเพิม่ ภมู คิ ุม้ กันร่างกายโดยมคี า่ ใชจ้ า่ ยเพม่ิ เตมิ วัคซนี มสี ว่ นผสมจากสุกรจริงหรือไม่ ปัจจุบันวัคซีนพ้ืนฐานส�ำหรับเด็กในแผนการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของกระทรวงสาธารณสุขของ ไทย ไมม่ วี ัคซีนท่ี ใชเ้ อนไซมท์ ริปซนิ หรือ ใชเ้ จลาตนิ จากสุกร แลว้ ๒๔

การสรา้ งภูมิคุม้ กันโรคในมมุ มองของอสิ ลาม การป้องกันโรคเป็นหนึ่งในมาตรฐานของการดูแลสขุ ภาพ มี อายะฮอัลกรุอาน และ หะดีษ หลายบท ท่ีให้ความชดั เจนในเรื่อง “การปอ้ งกนั ดกี ว่าการรักษา” การสร้างภูมิค้มุ กนั โรคจงึ มีความ สอดคลอ้ งกับหลกั การอิสลามท่ีว่า “ปิดกนั้ ทกุ หนทางท่จี ะทำ� ใหเ้ กดิ ความเสียหาย” ดงั เชน่ ในซเู ราะห์ อลั มาอดิ ะห์ อายะห์ท่ี ๓๒ ความว่า “และหากใครคนใดได้ชว่ ยเหลือชีวิตหนง่ึ ชีวติ ใด ก็ประหนงึ่ วา่ เขา ไดช้ ว่ ยเหลือชวี ิตทงั้ มวล” ข้อควรระวงั กอ่ นฉดี วัคซนี ๑. หากมีไขค้ วรเล่ือนวนั ฉีดวคั ซีนออกไปก่อน ถา้ มอี าการป่วยเล็กน้อย เชน่ เปน็ หวดั โดยไมม่ ีไข้ สามารถให้วัคซนี ได้ ๒. หากเพ่ิงได้รับเลอื ด ผลติ ภัณฑข์ องเลือด หรือ อิมมโู นโกลบุลิน ควรเล่ือนการฉีดวัคซนี ชนดิ จ�ำเปน็ (เช่น วคั ซีนหดั -หดั เยอรมัน-คางทมู วคั ซนี ไขส้ มองอักเสบเจอ)ี ออกไปก่อน เนอื่ งจาก วัคซนี อาจไมไ่ ด้ผลหรือกระตุ้นภมู คิ ุ้มกนั ได้ไมด่ ี ๓. หากแพ้วคั ซนี หรือส่วนประกอบของวัคซนี ควรหลีกเลย่ี งการใหว้ คั ซนี นนั้ ๔. ผูท้ ี่แพ้ไข่ สามารถรับวัคซีนโรคหดั ได้ ๕. ไม่ควรให้วคั ซีนเช้ือเป็นในหญิงมคี รรภ์ และ ผู้ที่มภี มู คิ ุ้มกนั บกพร่อง เช่น ได้ยากดภมู ิ ตา้ นทาน ๖. กรณีไม่ไดม้ ารับวัคซีนตามกำ� หนด ไม่จำ� เปน็ ตอ้ งเร่ิมต้นฉีดใหม่ ไมว่ ่าจะเว้นช่วงห่างไป นานเทา่ ใด ให้นับตอ่ จากวคั ซีนครั้งกอ่ นได ้ (ยกเว้นวคั ซนี พิษสุนัขบา้ ) ๗. ผทู้ ่ีสมั ผัสโรคหัด สามารถเขา้ รับวคั ซนี ปอ้ งกันหลังสัมผสั โรคได้ หากสมั ผัสโรคมาไมเ่ กนิ ๓ วนั ๘. หลังไดร้ ับวัคซนี ปอ้ งกนั โรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก เดก็ บางคนอาจมีไข้ได้ แตจ่ ะหายใน ๑-๒ วนั ควรเชด็ ตัวและให้ยาลดไข้ ๒๕

ทำ� ไมเด็กทปี่ ว่ ยเป็นโรคหดั จึงอาจมอี าการรนุ แรงมากจนเสยี ชีวิต ไวรัสหัด เปน็ ไวรัสที่ตดิ ต่อกนั ไดง้ ่ายมากจากการหายใจเอาอากาศที่มีเชื้อหัดเข้าไป ซงึ่ เช้ือหัด จะอยใู่ นสารคดั หลง่ั ของผปู้ ่วย เช่น น้ำ� มูก นำ้� ลาย ทำ� ให้แพร่กระจายสผู่ อู้ ื่นได้งา่ ย หากเด็กท่ี ไมม่ ีภมู ิ ต่อโรคนี้ได้สัมผสั โรคหัด จะมโี อกาสตดิ เชื้อไดถ้ ึง ๙๐% ไวรัสหัดจะเขา้ ไปทำ� ลายเยอ่ื บขุ องทางเดนิ หายใจ ทำ� ใหภ้ ูมคิ มุ้ กันของรา่ งกายอ่อนแอลง และ ติดเช้ือแบคทีเรียแทรกซ้อนตามมาได้ เชน่ ปอดอักเสบจากติดเช้ือแบคทีเรีย จากข้อมลู พบวา่ ปอดอกั เสบ รุนแรงเป็นสาเหตุท่ีสำ� คญั ในการเสียชีวิตของผปู้ ว่ ยโรคหดั ภาวะแทรกซอ้ นของโรคหดั มีอะไรบา้ ง อุจจาระรว่ ง ปอดบวม/ปอดอักเสบ กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ หชู ั้นกลางอักเสบ สมองอกั เสบ ตบั อักเสบ เกล็ดเลือดต�ำ่ และภาวะตดิ เชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน เช่น ปอดอักเสบรุนแรง จากเช้ือนวิ โมคอคคสั โรคหัดมกี ารรกั ษาอย่างไร ปัจจุบนั ยงั ไม่มยี าตา้ นไวรัสหัด จงึ ยงั ไมม่ ีการรักษาจ�ำเพาะส�ำหรับโรคหดั ดังนัน้ การรักษาหลัก คอื การรักษาตามอาการ เชน่ ให้สารน�้ำ ยาลดไข้พาราเซตามอล ยาแก้ไอ และใหย้ าปฏิชีวนะกรณมี ีตดิ เช้ือแบคทีเรียแทรกซ้อน โดยผปู้ ่วยหัดทุกรายต้องได้รับวติ ามนิ A เนือ่ งจากมีขอ้ มูลท่ีแสดงวา่ การให้ วิตามิน A ชว่ ยลดอตั ราการเสียชีวิตและภาวะแทรกซอ้ นในผ้ปู ่วยโรคหดั ได้ เนอ่ื งจากวิตามิน A จะช่วยเสริมความแข็งแรงของเย่อื บทุ างเดินหายใจ และเสริมภูมติ ้านทานของร่างกายในการตอ่ สู้กับ ไวรัสหดั ได้ ๒๖

ตารางการให้วคั ซนี ในเดก็ ไทย แนะน� ำโดยสมาคมโรคติดเชอ้ื ในเดก็ แห่งประเทศไทย พ.ศ.๒๕๖๒ วัคซนี จ�ำเป็นทต่ี อ้ งให้กับเด็กทุกคน วคั ซนี แรกเกิด ๑ เดือน ๒ เดือน ๔ เดือน ๖ เดือน ๙-๑๒ เดอื น ๑๘ เดอื น ๒ ปี ๒.๕ ปี ๔-๖ ปี ๑๑-๑๒ ปี BCG บีซีจี (BCG) HBV2 HBV1 ตับอกั เสบบี (HBV) DTwP-HB- DTwP-HB- DTwP-HB- DTwP DTwP Td และทกุ กระตนุ้ ๑ กระตุ้น ๒ ๑๐ ปี คอตีบ- Hib1 Hib2 Hib3 บาดทะยกั -ไอ กรนชนิดท้งั OPV1 OPV2+ IPV OPV3 OPV4 OPV5 เซลล์ (DTwP) MMR1 MMR2 ฮิบ (Hib) JE1 JE2 โปลิโอชนิดกิน Influenza ให้ ๒ เขม็ ห่างกัน ๑ เดือน ในครั้งแรก (OPV) หัด-หดั เยอรมนั - คางทูม (MMR) ไข้สมอง อกั เสบเจอี (Live JE) ไข้หวดั ใหญ่ (influenza) เอชพีวี (HPV) ด.ญ ป๕ ฉีด ๒ เข็ม ห่างกัน ๖-๑๒ เดอื น เชา้ ตร่ ู ฉนั สดใส จะไปโรงเรียน เพลง วัคซนี สดใส จงจำ� ไว ้ ต้องฉดี วัคซีน ไปโรงเรียน พบเพอ่ื นมากมาย ฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคหดั เพอื่ น ๆ รอบกาย มีตมุ่ มากมาย ท�ำนอง เพลงละหมาด ๕ เวลา มาฉีดกันนะ ฮาลาลดว้ ยนะ เพอื่ น ๆ รอบกาย มตี ุ่มมากมาย มาฉดี กนั นะ ฮาลาลด้วยนะ ตาแดง ตัวลาย หาหมอเรว็ ไว หมอบอกว่าตอ้ งฉดี วัคซีน ฉีดวคั ซีน ปอ้ งกนั โรคหดั ทุกคนฉดี แลว้ สดใส แขง็ แรง ๒๗ ไม่ต้องกลวั นะ ไมเ่ จบ็ หรอกจ้ะ ไม่ตอ้ งกลัวนะ ไม่เจ็บหรอกจะ้ นบีกล่าวไว้ ต้องรักษากาย

คณะผูจ้ ดั ทำ� ผศ.นพ.เทอดพงศ์ ทองศรีราช และชนาธปิ โทห์ ณฐั กมล พงษพ์ ลู เตชสั รัตนานสุ นธิ์ ธนกร ปรีชาสุชาต ิ ธนธรณ์ ส�ำเร็จ นลิ บุ ล อดุ มกริ ะทักษ ์ ปานรดา สมทิ ธิฐิต ิ สวรรณยา ตะบนู พงษ์ [นกั ศึกษาชนั้ ปีที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๒)] คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณาจารย์ทป่ี รึกษา อ.พญ.พทุ ธิชาติ ขันตี นพ.รพพี ฒั น์ เทวมติ ร์ อาจารยป์ ระจ�ำภาควิชากุมารเวชศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ดร.อสั มัน แตอาลี รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและวิเทศสมั พันธ์ วิทยาลยั อสิ ลามศึกษา มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี นายรอมฎอน หะสาเมาะ รองประธานมลู นธิ เิ บิกฟ้าอสิ ลาม ส�ำนักจุฬาราชมนตรี ศนู ยภ์ าคใต้ นางสาวมารีนา หมัดอะด�ำ้ นกั วิชาการศึกษา สถาบนั ฮาลาล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาพ สวนยี ์ พรวิศวารักษกูล บรรณาธกิ าร ระพีพรรณ พัฒนาเวช สุดใจ พรหมเกิด กองบรรณาธิการ หทัยรัตน์ พันตาวงษ์ นนั ทพร ณ พัทลุง สิราภรณ์ ชาวหนา้ ไม้ นติ ยา หอมหวาน ปนัดดา สงั ฆทพิ ย ์ ตัรมีซี อาหามะ จันทมิ า อินจร ธัญนรี ทองชุม นศิ ารัตน์ อำ� นาจอนนั ต ์ สธุ าทิพย์ สรวยล�ำ้ ออกแบบและจดั หน้า นำ�้ ฝน ประสานงานการผลิต สริ ิวัลย์ เรืองสุรัตน์ พิมพค์ ร้ังท่ี ๑ : ตลุ าคม ๒๕๖๒ จำ� นวน ๖,๐๐๐ เล่ม จดั พิมพ์และเผยแพร่โดย “มูลนธิ สิ รา้ งเสริมวฒั นธรรมการอา่ น” พิมพ์ท่ี : บริษทั แปลน พร้ินท์ตงิ้ จ�ำกัด โทรศพั ท์ : ๐ ๒๒๗๗ ๒๒๒๒ ISBN : 978-616-93372-8-7 แผนงานสรา้ งเสริมวฒั นธรรมการอา่ น บริหารงานโดย “มูลนธิ สิ รา้ งเสริมวฒั นธรรมการอา่ น” ได้รบั การสนบั สนนุ จากสำ� นักงานกองทุน สนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) ดำ� เนนิ งานประสานกลไก นโยบาย และปจั จัยขยายผลจากทัง้ ภาครัฐ ภาคประชาสังคม และ ภาคเอกชน ให้เอือ้ ต่อการขับเคล่ือนการสรา้ งเสริมพฤติกรรมและวัฒนธรรมการอ่านให้เขา้ ถงึ เด็ก เยาวชน และครอบครวั โดยเฉพาะกลุ่มท่ี ขาดโอกาสในการเขา้ ถึงหนังสอื และกล่มุ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ ร่วมสนบั สนนุ การขับเคล่อื นนโยบาย โครงการ และกจิ กรรมสร้างเสริมวฒั นธรรมการอ่านเพ่อื สรา้ งสังคมสขุ ภาวะไดท้ ่ี มลู นธิ ิสร้างเสริมวฒั นธรรมการอ่าน ๔๒๔ หมู่บ้านเงาไม้ ซอยจรัญสนทิ วงศ์ ๖๗ แยก ๓ ถนนจรัญสนทิ วงศ์ แขวงบางพลดั เขตบางพลัด กรุงเทพ ฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ : ๐ ๒๔๒๔ ๔๖๑๖ โทรสาร : ๐ ๒๘๘๑ ๑๘๗๗ Email : [email protected] Website : www.happyreading.in.th http://www.facebook.com/Happyreadingnews (วฒั นธรรมการอา่ น Happyreading)