Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบบริหารราชการของสาธาณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

ระบบบริหารราชการของสาธาณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

Description: ระบบบริหารราชการของสาธาณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

Search

Read the Text Version

ระบบบริหารราชการของ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม 1

ระบบบริหารราชการของ สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม จดั ทำ�โดย : ส�ำ นักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน (ก.พ.) 47/111 ถนนติวานนท์ ตำ�บลตลาดขวัญ อ�ำ เภอเมอื ง นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0 2547 1000 โทรสาร 0 2547 1108 หวั หน้าโครงการ : รศ.ดร.จิรประภา อคั รบวร ที่ปรกึ ษาโครงการ : นายสุรพงษ์ ชัยนาม ผเู้ ชีย่ วชาญด้านระบบราชการใน ASEAN นักวิจยั : นางสาววิภาวี อคั รบวร นางสาววรรณพรรษศรณ์ ตริยะเกษม บรรณาธกิ าร : ดร.ประยรู อัครบวร ผปู้ ระสานงานและตรวจทานค�ำ ผิด : นางสาวเยาวนชุ สุมน เลขมาตรฐานประจำ�หนังสอื : 978-616-548-149-6 จ�ำ นวนพิมพ์ : 5,400 เลม่ จำ�นวนหน้า : 200 หน้า พมิ พท์ ี่ : กรกนกการพิมพ์ 2

ค�ำ นำ� สำ�นักงาน ก.พ. ในฐานะองค์การกลางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ภาครัฐ และได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบตามแผนงานการจัดตั้งประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในการเพ่ิมขีดความสามารถของทรัพยากร บุคคลในระบบราชการ จากการด�ำ เนนิ การทผี่ า่ นมาแมว้ า่ ส�ำ นกั งาน ก.พ. ไดด้ �ำ เนนิ การจดั อบรม หลักสูตรความรู้เกี่ยวกับอาเซียนให้แก่ข้าราชการหลายครั้ง แต่ก็ ยังไม่ครอบคลุมบุคลากรภาครัฐซ่ึงมีจำ�นวนมากกว่า 2 ล้านคน สำ�นักงาน ก.พ. จึงเห็นควรพัฒนาชุดการเรียนรู้ “อาเซียน กูรู” เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั ระบบราชการ ซง่ึ มคี วามหลากหลายของประเทศสมาชกิ อาเซียนท้ัง 10 ประเทศ ให้แก่บุคลากรภาครัฐซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ การปฏบิ ตั ิงานของบคุ ลากรภาครฐั ทั้งนี้ทางสำ�นักงาน ก.พ. จึงทำ�ความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตพัฒน- บรหิ ารศาสตร์ (นดิ า้ ) จดั ท�ำ หนงั สอื เรอื่ ง “ระบบบรหิ ารราชการของประเทศ อาเซียน” เพื่อเสริมทักษะความรู้เกี่ยวกับการบริหารราชการให้แก่บุคลากร ภาครัฐทุกระดับ หวังว่าท่านผู้อ่านคงได้รับความรู้และเพลิดเพลินไปกับ หนงั สือชุดน้ี ส�ำ นักงาน ก.พ. ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม 3

ขอ้ คดิ จากบรรณาธกิ าร หนังสือเร่ือง “ระบบบริหารราชการของประเทศอาเซียน” เป็นหนังสือ ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเสริมทักษะความรู้แก่ข้าราชการไทย เพื่อเรียนรู้และเข้าใจ ระบบการบรหิ ารงานภาครฐั ของประเทศตา่ งๆ ในอาเซยี น อนั จะเปน็ ประโยชน์ ในการตดิ ต่อประสานงานกับขา้ ราชการของประเทศเหล่าน้ใี นอนาคต โดยรปู แบบของหนงั สอื ไดป้ ูความรใู้ หผ้ ู้อ่านตงั้ แต่ประวัติ ขอ้ มลู เกย่ี วกับ ประเทศ วิสยั ทศั น์ รวมถงึ ความเป็นมาของระบบราชการ นโยบายการเข้าสู่ ประชาคมอาเซยี น และทน่ี า่ จะเปน็ ประโยชนใ์ นการเรยี นรรู้ ะบบราชการของ ประเทศเหล่านี้คือเน้ือหาในส่วนของยุทธศาสตร์และภารกิจของแต่ละ กระทรวง ระบบการพัฒนาข้าราชการ ท้ายเล่มผู้เขียนได้รวบรวมกฎหมาย สำ�คัญท่ีควรรู้ และลักษณะเด่นของระบบราชการที่น่าเรียนรู้ไว้ได้อย่าง นา่ สนใจ หนังสือระบบบริหารราชการของประเทศในอาเซียนท้ัง 10 น้ี อาจมี เน้ือหาแตกต่างกันไปบ้าง เน่ืองจากผู้วิจัยไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลของ บางประเทศได้ด้วยข้อจำ�กัดด้านภาษา และบางประเทศยังไม่มีการจัดทำ� ยุทธศาสตร์ของรายกระทรวง ทางคณะผู้จัดทำ�หนังสือหวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนงั สอื เลม่ นจี้ ะมสี ว่ นในการตดิ อาวธุ องคค์ วามรภู้ าครฐั ใหแ้ กข่ า้ ราชการไทย ไม่มากก็น้อย สุดท้ายต้องขอขอบคุณเจ้าของรูปภาพและเว็ปไซต์ท่ีช่วยกัน เผยแพรใ่ หอ้ าเชียนเปน็ หนึง่ เดยี วรว่ มกนั ดร.ประยูร อคั รบวร บรรณาธิการ 4

สารบัญ 9 10 1.ประวตั แิ ละขอ้ มูลประเทศและรฐั บาลโดยย่อ 10 1.1 ประวัติและข้อมูลประเทศโดยย่อ 14 1.1.1 ขอ้ มูลทวั่ ไป 17 1.1.2 ลักษณะทางภมู ศิ าสตร์ 23 1.1.3 ประวตั ศิ าสตร์ 24 1.1.4 ลกั ษณะประชากร 26 1.1.5 ข้อมลู เศรษฐกิจ 29 1.1.6 ขอ้ มลู การเมืองการปกครอง 32 1.1.7 ลกั ษณะทางสังคมและวัฒนธรรม 43 1.1.8 โครงสร้างพน้ื ฐานและระบบสาธารณูปโภค 44 1.1.9 ระบบสาธารณสขุ 46 1.1.10 ระบบการศกึ ษา 47 1.1.11 ระบบกฎหมาย 49 1.1.12 ความสมั พันธ์ระหว่างไทยกับเวยี ดนาม 53 1.2 ประวัตแิ ละข้อมลู รัฐบาลโดยย่อ 54 2.วสิ ยั ทัศน์ เปา้ หมาย และยทุ ธศาสตร ์ 54 2.1 วสิ ยั ทัศน์ 55 2.2 เป้าหมาย 59 2.3 ยุทธศาสตร ์ 60 3.ประวตั ิความเป็นมาของระบบราชการ 64 3.1 การปฏริ ปู ระบบราชการ 3.2 ระบบราชการภายใต้การเมอื งการปกครอง ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนาม 5

4.ภาพรวมของระบบราชการ 67 4.1 รัฐบาล นโยบายรฐั บาล และนโยบายการเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น 68 4.2 จ�ำ นวน และรายช่ือกระทรวงพรอ้ มที่ตดิ ตอ่ 89 4.3 จำ�นวนข้าราชการทั่วประเทศ พร้อมคุณลักษณะหลกั หรือคณุ ลักษณะหลกั ในการเขา้ สู่ประชาคมอาเซยี น 96 4.3.1 จำ�นวนข้าราชการท่ัวประเทศ 96 4.3.2 คุณลกั ษณะหลักของข้าราชการ 98 4.3.3 คณุ ลักษณะหลักของข้าราชการในการเขา้ สู ่ ประชาคมอาเซยี น 98 5. ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจของแตล่ ะกระทรวงและหนว่ ยงานหลัก 101 ที่รับผิดชอบงานทีเ่ กีย่ วกบั ASEAN 102 5.1 ยุทธศาสตร์ และภารกิจของแตล่ ะกระทรวง 122 5.2 หนว่ ยงานหลกั ที่รับผิดชอบงานทีเ่ ก่ียวกบั ASEAN 6.ระบบการพฒั นาขา้ ราชการ 131 6.1 ภาพรวมของการพัฒนาขา้ ราชการ 132 6.2 วิธีพฒั นาข้าราชการ 132 6.3 หน่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบด้านการพัฒนาขา้ ราชการ 142 7.กฎหมายสำ�คัญที่ควรรู ้ 157 7.1 กฎระเบียบข้าราชการ 158 7.2 กฎหมายแรงงาน 162 7.3 กฎหมายเขา้ เมอื ง 173 7.4 กฎหมายอื่นๆ ท่ีควรร ู้ 175 8.ลักษณะเดน่ ของระบบราชการท่นี ่าเรียนร ู้ 179 บรรณานกุ รม 191 6

สารบัญภาพ ภาพที่ 1 แผนทป่ี ระเทศเวียดนาม 14 ภาพท่ี 2 จักรพรรดิ เบาได๋ 18 ภาพท่ี 3 ประธานาธิบดี โง ดนิ ห์ เดยี ม 20 ภาพที่ 4 นายพล เหงียน วัน เทยี ว 21 ภาพท่ี 5 เส้นทางการคมนาคมขนส่งทางรถไฟ 34 ของเวียดนาม 41 ภาพท่ี 6 เส้นทางการคมนาคมขนสง่ ทางอากาศ 51 ของเวยี ดนาม 60 ภาพท่ี 7 โครงสร้างการปกครองของเวียดนาม 87 ภาพท่ี 8 ข้าราชบริพารเวียดนามใน ยุคสมบรู ณาญาสิทธริ าช ภาพท่ี 9 ASEAN ICT Master Plan 2015 ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 7

สารบญั ตาราง ตารางท่ี 1 อตั ราการข้นึ เงนิ เดอื นขา้ ราชการ 160 เวียดนาม พ.ศ. 2542 – 2552 167 ตารางที่ 2 สดั สว่ นการจ่ายประกันสังคมและ 172 การประกันสขุ ภาพระหวา่ งนายจา้ งและ ลูกจ้างในแต่ละเดอื น ตารางที่ 3 อตั ราค่าแรงข้นั ตำ่�ในเวยี ดนามระหว่าง พ.ศ.2551-2555 8

1 ประวัตแิ ละขอ้ มลู ประเทศ และรัฐบาลโดยย่อ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม 9

1.1 ประวัตแิ ละขอ้ มลู ประเทศโดยยอ่ ประเทศเวยี ดนามเปน็ ประเทศทผ่ี า่ นสงครามอนั ยาวนาน แตเ่ ปน็ เพยี ง ไมก่ ป่ี ระเทศทไี่ มท่ งิ้ การศกึ ษาระหวา่ งการท�ำ สงครามและหนงึ่ ในแฉกดาว ของเวยี ดนามบง่ บอกถงึ การเคารพคนมคี วามรู้ เวยี ดนามจงึ เปน็ ประเทศ ในกลุ่มในอาเซียนท่ีนา่ สนใจ ซ่งึ มีรายละเอยี ดดังนี้ 1.1.1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป ชื่อประเทศอย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) เมืองหลวง ฮานอย (Hanoi) พน้ื ท ่ี มีพ้ืนท่ี 329,247 ตารางกิโลเมตร มีรูปร่างเป็นรูปตัวเอส (S) ลักษณะเป็น แนวยาว ต้ังอยู่ทางด้านตะวันออกของ คาบสุมทรอินโดจีน มีภูมิประเทศเป็น ภูเขาสูงก้ันระหว่างที่ราบลุ่มแม่น�ำ ท่ี อุดมสมบรู ณท์ างตอนเหนือและใต้ เขตแดน ทิศเหนือติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นระยะทาง 1,281 กิโลเมตร ทิศใต้ ติดกับทะเลจีนใต้ ทิศตะวันตก ติดกับ สปป.ลาว เป็นระยะทาง 2,130 กิโลเมตร กัมพูชาเป็นระยะทาง 1,228 กิโลเมตร และอ่าวไทย ทิศตะวันออกติดกับอ่าว ตงั เกี๋ยและทะเลจนี ใต้ 10

ประชากร 93.4 ลา้ นคน (2557) [24] วนั ชาติ 2 กนั ยายน ภาษาราชการ เวียดนาม ระบอบการปกครอง ระบอบสงั คมนิยม โดยมีพรรคคอมมวิ นิสต์ เวียดนาม (Communist Party of Vietnam) เป็นพรรคการเมืองเดียว และมอี ำ�นาจสูงสดุ ธงชาติ มีช่ือเรียกโดยทั่วไปอีกชื่อหน่ึงว่า “ธง แดงดาวเหลือง” เป็นธงส่ีเหล่ียมผืนผ้า พื้นสีแดง กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ตรง ก ล า ง มี รู ป ด า ว ห้ า แ ฉ ก สี เ ห ลื อ ง ท อ ง สี แ ด ง นั้ น ห ม า ย ถึ ง ก า ร ต่ อ สู้ เ พ่ื อ กู้ เอกราช ของชาวเวียดนาม สีเหลืองคือ สีของชาวเวียดนาม ส่วนดาวห้าแฉกนั้น เป็นที่เข้าใจกันท่ัวไปว่าหมายถึงชนชั้น ต่างๆ ในสังคมเวียดนาม คือ คนมีความรู้ ชาวนา กรรมกร พ่อค้า และทหาร อย่างไรก็ตาม ภายหลังการรวมชาติ เวียดนามในปี พ.ศ. 2519 ความหมาย ในธงได้มีการอธิบายใหม่ในทางการเมือง ว่า สีแดงหมายถึงการปฏิวัติโดยชนชั้น กรรมาชีพ และดาวสีทองหมายถึงการ ชี้นำ�ของพรรคคอมมวิ นสิ ตเ์ วยี ดนาม ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม 11

ตราแผน่ ดนิ มี รู ป แ บ บ เช่ น เ ดี ย ว กั บ ป ร ะ เ ท ศ คอมมิวนิสต์อื่นๆ มีรูปดาวสีเหลืองบน พ้นื สแี ดง มรี ปู เฟืองและรวงขา้ ว หมายถงึ ความร่วมมือกันระหว่างชาวนาและ กรรมกรตามแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์ มี ลั ก ษ ณ ะ ค ล้ า ย ต ร า แ ผ่ น ดิ น ข อ ง เยอรมนั ตะวนั ออกและตราแผน่ ดนิ ของ จีน ซ่ึงถูกนำ�มาสร้างเป็นตราแผ่นดิน ของเวียดนามเหนือเม่ือวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 เมื่อรวมชาติ กบั เวยี ดนามใตแ้ ลว้ จงึ น�ำ มาใชเ้ ปน็ ตรา แผน่ ดนิ เวยี ดนามเมอ่ื วนั ท่ี 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 ดอกไมป้ ระจ�ำ ชาติ ดอกบวั (Lotus) เป็นสัญลักษณ์ของหัวใจและความ นกึ คดิ ทงั้ ยงั เปน็ ตวั แทนของอายยุ นื ยาว สขุ ภาพช่ือเสียงและโชคดี 12

เขา้ เป็นสมาชิกอาเซียน 28 กรกฎาคม 2538 สกลุ เงินตรา ดอ่ ง (Dong – VND) อัตราแลกเปลยี่ น 655 ด่อง ≈ 1 บาท (2557) [1] 21,080 ดอ่ ง ≈ 1 ดอลลารส์ หรฐั (2557) [1] ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ (GDP) 320.1 หมน่ื ลา้ นดอลลาร์ (2555) [1] รายไดป้ ระชาชาตติ อ่ หวั (GDP per Capita) 3,500 ดอลลารส์ หรฐั /ปี [1] ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 13

1.1.2 ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์ ประเทศเวียดนามเป็นอีกประเทศหน่ึงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท่ีอยู่ทางดา้ นตะวนั ออกสดุ ของคาบสมทุ รอนิ โดจนี มรี ปู รา่ งเปน็ รปู ตวั เอส (S) ลกั ษณะเปน็ แนวยาว จงึ ท�ำ ใหท้ งั้ สภาพภมู ปิ ระเทศและสภาพภมู อิ ากาศ แตกตา่ งกวา่ ประเทศอนิ โดจนี อนื่ ๆ ภาพท่ี 1 แผนท่ีประเทศเวยี ดนาม ท่ีมา: คู่มือการคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐเวียดนาม. กรมส่งเสรมิ การส่งออก กระทรวงพาณชิ ย.์ 2011 14

สภาพภมู ิประเทศ ภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงก้ันระหว่างที่ราบลุ่มแม่น้ำ�ที่อุดมสมบูรณ์ มลี กั ษณะเปน็ แนวยาว โดยมคี วามยาวจากเหนอื จรดใต้ 1,650 กโิ ลเมตร ขนานไปตามแนวยาวของคาบสมุทรอินโดจีน และมีหมู่เกาะต่างๆ อกี นบั พันเกาะเรียงรายตง้ั แตอ่ า่ วตงั เกี๋ยไปจนถึงอ่าวไทย เวยี ดนามมลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ ทร่ี าบลมุ่ แมน่ ำ้�ขนาดใหญ่ 2 แหง่ คือ ที่ราบลุ่มแม่น้ำ�แดงอยู่ทางตอนเหนือและท่ีราบลุ่มแม่นำ้�โขงอยู่ทาง ตอนใต้ และตอนเหนอื ของประเทศมีท่ีราบสูง มีภูเขาฟาน ซี ปัง (Phan Xi Pung) ซง่ึ เปน็ ยอดเขาทส่ี งู ทส่ี ดุ ในอนิ โดจนี มีความสงู ถงึ 3,143 เมตร (10,312 ฟุต) ตัง้ อยู่ในจงั หวดั เล่าไค ลักษณะดังกล่าวท�ำ ใหเ้ กดิ การแบง่ เขตเปน็ 3 ภาค ดงั นี้ • ภาคเหนือ มีภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขาสูง มีแม่นำ้�กุง (Cung) ซ่ึงไหลไปบรรจบกับแม่นำ้�แดงเกิดเป็นสามเหล่ียมปากแม่นำ้�แดง (Red River Delta) ทม่ี ีความอุดมสมบูรณเ์ หมาะแก่การเพาะปลกู • ภาคกลาง ยังมีชนกลุ่มน้อยอาศัยอยู่มากมาย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็น ท่ีราบสูงซ่ึงเต็มไปด้วยหินภูเขาไฟ หาดทราย เนินทราย และทะเลสาบ เป็นเขตพ้ืนท่ีป่าไม้สาคัญที่สุดของเวียดนาม สภาพภูมิอากาศค่อนข้าง ร้อนตลอดปี และมีเพียง 2 ฤดู คือ ฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม – ตุลาคม) และฤดแู ลง้ (เดือนตุลาคม – เมษายน) • ภาคใต้ มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท่ีราบสูง และมีที่ราบลุ่มสำ�คัญ คือ บรเิ วณสามเหลย่ี มปากแมน่ ้ำ�โขง (Mekong River Delta) หรอื ทรี่ จู้ กั กนั ในช่ือ “กู๋ลองยาง” (Cuu Long Giang) ซึ่งเป็นแหล่งเพาะปลูกสำ�คัญ ขนาดใหญท่ ่ีสดุ ของเวียดนาม ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สังคมนิยมเวยี ดนาม 15

สภาพภมู อิ ากาศ เวียดนามเป็นเขตมรสุมฤดูร้อน ชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกเปิดโล่ง รับลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือท่ีพัดผ่านทะเลจีนใต้ทำ�ให้มีโอกาส รับลมมรสุมและพายุหมุนเขตร้อน จึงมีฝนตกชุกในฤดูหนาวโดยฝนจะ ตกตลอดปี เน่ืองจากได้รับอิทธิพลลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มคี วามชน้ื ประมาณรอ้ ยละ 84 ตลอดปี และมอี ณุ หภมู เิ ฉลย่ี ตง้ั แต่ 5 - 37 องศาเซลเซียส ด้วยเหตุนี้จึงทำ�ให้มีความแตกต่างด้านภูมิอากาศ อยา่ งมากระหวา่ งเวียดนามภาคเหนอื และภาคใต้ เวยี ดนามทางตอนใต้ มภี มู อิ ากาศคลา้ ยแถบเสน้ ศนู ยส์ ตู ร มอี ณุ หภมู ิ เฉลี่ยคล้ายประเทศไทย คือ ประมาณ 27 – 30 องศาเซลเซียส และ มี 2 ฤดู คือ ฤดูฝน (เดือนพฤษภาคม – ตุลาคม) และฤดูร้อน (เดือน พฤศจกิ ายน – เมษายน) เวยี ดนามทางตอนเหนอื มอี ณุ หภมู แิ ตกตา่ งกนั อยา่ งมากระหวา่ งชว่ ง ร้อนที่สุดและหนาวท่ีสุด โดยมี 4 ฤดู คือ ฤดูใบไม้ผลิ (เดือนมีนาคม – เมษายน) อุณหภูมิระหว่าง 17 – 23 องศาเซลเซียส ฤดูร้อน (เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม) อุณหภูมิระหว่าง 30 - 39 องศาเซลเซียส ฤดูใบไมร้ ว่ ง (เดือนกนั ยายน – พฤศจิกายน) อณุ หภมู ิระหวา่ ง 23 – 28 องศาเซลเซียส ฤดูหนาว (เดอื นธันวาคม – กมุ ภาพันธ์) อณุ หภมู ริ ะหว่าง 7 – 16 องศาเซลเซียส [2] 16

1.1.3 ประวตั ศิ าสตร์ เวยี ดนามเปน็ ประเทศทมี่ ปี ระวตั ศิ าสตรข์ องการตอ่ สอู้ นั ยาวนาน เรมิ่ ตั้งแต่การก่อตั้งเป็นประเทศในนามของอาณาจักรวันลาง เม่ือประมาณ 3,000 ปีก่อนคริสตกาล ในบางครั้งมีการแบ่งแยกออกเป็นอาณาจักร เล็กๆ และในบางครั้งกลับมารวมกันได้อีก จนกระทั่งตกอยู่ภายใต้การ ปกครองของจีน ตั้งแต่ 111 ปีก่อนคริสตกาล จนถึงปี พ.ศ. 1481 (ค.ศ. 938) จึงได้รับอิสรภาพจากจีน และมีการตั้งราชวงศ์ต่างๆ ข้ึนมา ปกครองประเทศ แต่ก็ยังมีการรบพุ่งกันเองระหว่างตระกูลใหญ่ รบกับ จีนเป็นคร้ังคราว รวมทั้งพวกจามปาและเขมรด้วยพร้อมกัน จนกระท่ัง เหงียนอั๋นห์สามารถรวบรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียวกันได้ และตั้ง ราชวงศ์เหงียนขึ้นปกครองเวียดนาม ในปี พ.ศ. 2345 (ค.ศ. 1802) โดยความช่วยเหลือจากไทยสมัยรัชกาลท่ี 1 และฝรั่งเศสสถาปนา เหงียนอน๋ั ห์เป็นจกั รพรรดยิ าลอง ปี พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) ฝร่งั เศสบกุ โจมตไี ซง่ อ่ น จกั รพรรดติ ือดึ๊ก เซ็นสัญญายอมแพ้และตกเป็นเมืองข้ึนของฝรั่งเศส ช่วงปี พ.ศ. 2483 – 2497 (ค.ศ. 1940 – 1954) โฮจิมินห์นำ�ประชาชนต่อสู้กับฝรั่งเศสและ พยายามกลบั มามอี ทิ ธพิ ล ท�ำ ใหเ้ กดิ สงครามระหวา่ งฝรง่ั เศสกบั เวยี ดมนิ ห์ ซง่ึ ในชว่ งเวลาดังกลา่ วหลังจากสงครามโลกครงั้ ที่ 2 สิน้ สุดลง กองกำ�ลงั เวยี ดมนิ หไ์ ดพ้ ามวลชนลกุ ขนึ้ สใู้ นทกุ หวั เมอื งของเวยี ดนามในเดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) เรียกกนั วา่ “การปฏวิ ัติเดือนสิงหาคม” และได้ รับชัยชนะ โฮจิมินห์ได้รับตำ�แหน่งประธานาธิบดีคนแรก และได้มีการ เลือกตั้งท่ัวประเทศ แต่ในปี พ.ศ. 2489 ฝร่ังเศสก็อ้างสิทธิ์กลับเข้ามา ครอบครองอีกคร้ัง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวยี ดนาม 17

จนถึงปี พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954) ฝร่ังเศสพ่ายแพ้แก่กองกำ�ลัง เวียดมินห์ที่ค่ายเดียนเบียนฟู และมีการทำ�สนธิสัญญาเจนีวา สงบศึกที่ นครเจนวี า ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ ผลการเจรจาสงบศกึ ตกลงวา่ ฝรงั่ เศส ตอ้ งใหเ้ อกราชแกเ่ วยี ดนาม และประเทศเวยี ดนามจะตอ้ งแบง่ เปน็ 2 สว่ น ดว้ ยเสน้ ขนานท่ี 17 องศาเหนอื โดยเวยี ดนามเหนอื อยภู่ ายใตก้ ารปกครอง ของโฮจิมินห์ และเวียดนามใต้อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิ เบาได๋ ซง่ึ ตอ่ มาพระองคท์ รงแตง่ ตง้ั นกั ชาตนิ ยิ ม ครสิ ตน์ กิ ายโรมนั คาทอลกิ คอื โง ดนิ ห์ เดียมเป็นนายกรฐั มนตรี ภาพท่ี 2 จักรพรรดิ เบาได๋ 18

ในปี พ.ศ. 2498 โง ดินห์ เดียม ได้จัดการลงประชามติเพ่ือขับไล่ พระจักรพรรดิเบาได๋ ออกจากราชบัลลังก์และเปล่ียนมาใช้ระบอบ สาธารณรัฐโดยเขาเป็นประธานาธิบดี พระองค์จึงต้องสละราชบัลลังก์ อกี ครงั้ และลภ้ี ัยไปทป่ี ารีสและพ�ำ นักอยู่ทีน่ ัน่ ตลอดพระชนม์ชพี การปกครองของประธานาธบิ ดี โง ดนิ ห์ เดยี ม เปน็ การปกครองแบบ ครอบครัว โดยมี โง ดินห์ นู น้องชายเป็นท่ีปรึกษาของประธานาธิบดี สว่ นนอ้ งสะใภ้ (มาดาม นู หรอื จน่ั เล ซวน) เขา้ มามบี ทบาทในการตดั สนิ ใจ ในเรื่องต่างๆ ช่วงน้ีมีการปราบปรามประชาชน ผู้ท่ีมีความเห็นแตกต่าง ทางด้านการเมืองและศาสนาอย่างหนัก ขณะเดียวกันผู้คนในชาติก็มี ความแตกแยกทางความคิด และมีการดึงเอาศาสนาเข้ามาเก่ียวข้อง มกี ารจ�ำ กดั การกระท�ำ พธิ ที างศาสนาพทุ ธในวนั ส�ำ คญั ตา่ งๆ ซงึ่ ประชาชน ชาวเวียดนามใต้ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จนเหตุการณ์แตกหัก ในวนั ท่ี 11 มถิ นุ ายน พ.ศ.2506 หลวงพอ่ ทดิ กวา๋ ง ดก๊ึ (Hòa thựợng Thich Quảng Đức) ได้ตัดสินใจพลีชีพเพื่อประท้วง โดยการจุดไฟเผา ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวียดนาม 19

ตัวเอง และมรณภาพด้วยความสงบ เหตุการณ์ก็คงไม่มีอะไรมาก ถ้า มาดาม นู ไม่ออกมาให้สัมภาษณ์แก่ผู้สื่อข่าวว่า “วันน้ีมีคนหัวล้าน หนา้ โงจ่ ดุ ไฟเผาตวั เองเพอ่ื ท�ำ บารบ์ คี วิ ” ซงึ่ โหมความเกลยี ดชงั และโกรธ แคน้ ใหแ้ ก่ชาวพุทธในเวียดนามออกมาต่อตา้ นรัฐบาลมากข้นึ ภาพที่ 3 ประธานาธิบดี โง ดนิ ห์ เดยี ม ประกอบกับการท่ีประธานาธิบดี โง ดินห์ เดียม เป็นคนหัวแข็ง ไม่เชื่อฟังคำ�สั่ง และไมท่ �ำ ตามนโยบายสงครามตอ่ ต้านคอมมิวนิสต์ ตาม แบบฉบบั อเมรกิ า จงึ ถกู รฐั ประหารยดึ อ�ำ นาจประธานาธบิ ดี โง ดนิ ห์ เดยี ม ในวันท่ี 11 พฤษจิกายน พ.ศ. 2506 ซึ่งประธานาธิบดี โง ดินห์ เดียม และ นอ้ งชาย ไดถ้ กู ฆา่ ตายในรถถงั ทใี่ ชใ้ นการหลบหนี สว่ นประธานาธบิ ดี ใหม่คือนายพล เหงียน วัน เทียว ซึ่งสร้างภาพให้คนดูว่าเป็น นักประชาธิปไตย แต่ภายในกลับเป็นเผด็จการท่ีรวบอำ�นาจท้ังบริหาร อำ�นาจนิติบัญญัติไว้ในกำ�กับ และเล่นการเมืองแบบไม่กลัวใคร 20

ให้ผลประโยชน์แก่พวกพ้อง ทั้งการใช้ผลประโยชน์เข้าล่อ เพ่ือหา แนวรว่ มแลกมากบั การไดร้ บั การสนบั สนนุ ใหก้ บั ตวั เอง รวมทงั้ ใชก้ ศุ โลบาย ในการสร้างความแตกแยกให้เกิดกับฝ่ายตรงข้าม และ หลังจาก ประธานาธิบดีเหงียน วัน เทียว ข้ึนปกครองประเทศ สงครามระหว่าง ชนชาติเดียวกันฆา่ กันเอง เรม่ิ รนุ แรงข้ึนเป็นล�ำ ดบั ภาพท่ี 4 นายพล เหงยี น วัน เทยี ว สหรัฐอเมริการ่วมกับอีก 7 มิตรประเทศเข้าร่วมสงครามเวียดนาม เต็มรูปแบบ ท้ังให้การสนับสนุนทง้ั เงนิ ตรา อาวธุ ยุทโธปกรณ์ และกำ�ลัง ทหารเป็นจำ�นวนมาก ในชว่ งการรบพุ่งท่ีรนุ แรงในปี พ.ศ.2510 อเมรกิ า ไดส้ ง่ ทหารเขา้ ประจำ�การในเวียดนามใต้มากกวา่ 500,000 นาย การรบต่อเน่ืองจนกระท่ังถึงปี พ.ศ. 2516 แม้ว่าทหารอเมริกันจะ แข็งแกร่งเพียงใด แต่ก็ไม่อาจจะสู้รบกับสงครามกองโจร หรือสงคราม จรยทุ ธของเวยี ดกงในสมรภมู ทิ ไี่ มค่ นุ้ เคยได้ ทหารอเมรกิ นั ทถ่ี กู สง่ เขา้ ไป ในเวียดนามถึง 2,500,000 นาย เสียชีวิตไปกว่า 58,000 นาย บาดเจ็บ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม 21

นับ 200,000 นาย และเชื่อว่าฆ่าตัวตายจำ�นวนมาก เพราะทนสภาพ ความโหดร้ายไม่ไหว ส่งผลให้เกิดการเดินขบวนต่อต้านสหรัฐอเมริกา เพื่อป้องกันไม่ให้เหตุการณ์ลุกลามไปมากกว่านี้ จึงได้ทำ�สนธิสัญญา สันติภาพ (Paris Peace Accords) ในวันท่ี 27 มกราคม พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ณ กรงุ ปารสี และการมสี ว่ นรว่ มทางทหารของสหรฐั อเมรกิ า ยุติลงเมื่อวนั ที่ 15 สงิ หาคม 2516 โดยสหรัฐอเมริกาโอนภารกจิ ทง้ั หมด ใหร้ ฐั บาลเวยี ดนามใตเ้ ปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ซง่ึ สงครามเวยี ดนามยงั คงด�ำ เนนิ ตอ่ ไป จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) เม่ือกองทัพเวียดกงบุกเข้า ถึงกรุงไซ่ง่อน (เมืองหลวงของเวียดนามใต้ในขณะน้ัน) ไซ่ง่อนแตก การสู้รบสิ้นสุดลง เดือง วัน มินห์ ประธานาธิบดีเวียดนามใต้ประกาศ ยอมแพ้ จึงเป็นการสิ้นสุดอำ�นาจของสหรัฐอเมริกาในเวียดนาม โดย ประเทศเวยี ดนามเรยี กสงครามนวี้ า่ “สงครามปกปอ้ งชาตจิ ากอเมรกิ นั ” วันท่ี 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976) เวียดนามเหนือและ เวียดนามใต้รวมเป็นประเทศเดียวกันในชื่อ “สาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม” มีการปกครองแบบสังคมนิยม โดยมี “ฮานอย” เป็น เมอื งหลวง และเปลยี่ นชอ่ื เมอื งไซง่ อ่ นเปน็ โฮจมิ นิ หซ์ ติ ี้ ปกครองโดยพรรค คอมมวิ นสิ ต์ หลังจากได้รับเอกราชเวียดนามได้รับความช่วยเหลือจากจีนและ สหภาพโซเวยี ต แตต่ อ่ มาเกดิ ปญั หาท�ำ สงครามกบั จนี จงึ รบั ความชว่ ยเหลอื 22

ด้านต่างๆ จากสหภาพโซเวียตมาโดยตลอด แต่จากระบบเศรษฐกิจ สงั คมนยิ มแบบเวยี ดนามเปน็ ระบบเศรษฐกจิ แบบนารวมหรอื เปน็ ของรฐั ไมส่ ามารถกระตนุ้ การเพม่ิ ผลผลติ ได้ ท�ำ ใหร้ ะบบเศรษฐกจิ ของเวยี ดนาม ชะงกั งนั ในทส่ี ดุ ในเดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2529 รฐั บาลเรมิ่ ใชน้ โยบายปฏริ ปู เศรษฐกิจ รัฐบาลเวียดนามประกาศนโยบาย “โด่ย เหมย” (Doi Moi) หรือการเปล่ียนใหม่ที่ผ่อนผันให้ประชาชนเป็นเจ้าของท่ีดินได้ ทำ�ให้ ประชาชนพ้นจากสภาพความเป็นอยู่แร้นแค้น และทำ�ให้คุณภาพชีวิต ดขี นึ้ และเมอื่ เกดิ การลม่ สลายของสหภาพโซเวยี ตในปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) เวียดนามต้องพ่ึงพาตนเองมากข้ึน จึงได้ปรับเปล่ียนนโยบาย เปิดประเทศรับการลงทุนจากต่างประเทศ พร้อมกับมีการสถาปนา ความสมั พันธท์ างการทตู กบั ประเทศต่างๆ รวมท้งั สหรัฐอเมริกา [6] 1.1.4 ลกั ษณะประชากร เวียดนามมีประชากรท้ังหมด ณ ปี 2557 จำ�นวน 93.4 ล้านคน มากเป็นอันดับสามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากอินโดนีเซียและ ฟิลปิ ปนิ ส์ และเป็นอนั ดบั 13 ของโลก ชาวเวยี ดนามมสี ญั ชาตเิ วยี ดนามมากกวา่ รอ้ ยละ 86 เปน็ เชอ้ื ชาตขิ นิ่ (Khin) หรอื เวยี ด (Viet) นอกนน้ั เปน็ ชนกลมุ่ อนื่ ๆ อกี 53 เชอ้ื ชาติ กระจาย อยู่ตามเทอื กเขาและท่รี าบสูง [7] ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม 23

ชาวเวยี ดนามสว่ นใหญไ่ มน่ บั ถอื ศาสนา แตน่ บั ถอื ลทั ธติ า่ งๆ ถงึ รอ้ ยละ 80.8 นอกจากน้ันมีการนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ร้อยละ 9.3 ครสิ ต์นกิ ายโรมนั คาทอลกิ ร้อยละ 6.7 ฮัว เฮา (Hua Hao) รอ้ ยละ 1.5 Cao Dai ร้อยละ 1.1 คริสต์โปรแตสแทนท์ ร้อยละ 0.5 และอิสลาม รอ้ ยละ 0.1 [3] 1.1.5 ขอ้ มลู เศรษฐกจิ ภายหลังรัฐบาลใช้นโยบายปฏริ ปู เศรษฐกิจ “โด่ย เหมย” (Doi Moi) เพื่อลดการผูกขาดและรวมศูนย์ที่รัฐบาลกลาง ท้ังความพยายามปฏิรูป ระบบเศรษฐกจิ ภายในประเทศอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ท�ำ ใหเ้ ศรษฐกจิ ของเวยี ดนาม มีความเจริญก้าวหน้าอย่างเห็นได้ชัดในช่วง 10 ปีท่ีผ่านมา (พ.ศ. 2543 – 2552) มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉล่ียร้อยละ 7.0 ต่อปี และ ในปี พ.ศ. 2552 มีอัตราเพ่ิมร้อยละ 5 จากความสำ�คัญของการลงทุนจากต่างประเทศ รัฐบาลเวียดนาม มนี โยบายสง่ เสรมิ ใหช้ าวตา่ งชาตเิ ขา้ มาท�ำ การคา้ โดยมกี ารปรบั ปรงุ และ แก้ไขกฎระเบียบ เพื่อให้เอื้ออำ�นวยต่อการจัดตั้งบริษัทธุรกิจ (Trading Company) โดยอนญุ าตใหช้ าวตา่ งชาตสิ ามารถจดั ตง้ั บรษิ ทั จดทะเบยี น เป็นเจ้าของได้ท้ังหมด เวียดนามเป็นหนึ่งในประเทศท่ีนักลงทุนต่างชาติ ให้ความสนใจ เนื่องจากมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณ์ และมี ค่าจา้ งแรงงานไม่สูง 24

ในปี พ.ศ. 2556 มีการลงทุนจากต่างประเทศรวม 1,275 โครงการ คดิ เปน็ มลู คา่ 14,272.4 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั โดยประเทศทลี่ งทนุ ในเวยี ดนาม สูงสุด ได้แก่ เกาหลีใต้ สัดส่วนร้อยละ 26.3 ญี่ปุ่น ร้อยละ 21.1 จีน รอ้ ยละ 16 และประเทศไทยเปน็ อนั ดบั ที่ 8 รอ้ ยละ 2.5 ในปี พ.ศ. 2557 รฐั บาลเวยี ดนามก�ำ หนดเปา้ การเจรญิ เตบิ โตของ GDP เทา่ กบั รอ้ ยละ 5.8 อตั ราเงนิ เฟอ้ ร้อยละ 7 ในด้านการค้าตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2557 เวียดนามมีมูลค่า การค้ากบั ทั่วโลกรวม 21.48 พนั ลา้ นเหรยี ญสหรฐั โดยเวยี ดนามส่งออก มูลค่า 11.46 พันล้านเหรียญสหรัฐ และนำ�เข้ามูลค่า 10.02 พันล้าน เหรยี ญสหรฐั ในสว่ นของสินคา้ ส่งออกและนำ�เขา้ พอสรุปไดด้ ังนี้ • สินค้าส่งออก เคมีภัณฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องจักรไฟฟ้าและ สว่ นประกอบ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ อปุ กรณแ์ ละสว่ นประกอบ เครอื่ งจกั ร ใช้ในอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องใช้ไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์พลาสติก กระดาษ กระดาษแขง็ น้ำ�มันดบิ • สนิ ค้าน�ำ เข้า สินคา้ เกษตรและอาหาร นำ้�มนั สำ�เรจ็ รปู เครือ่ งใช้ ไฟฟา้ และสว่ นประกอบอน่ื ๆ อปุ กรณแ์ ละสว่ นประกอบรถยนต์ เหลก็ กลา้ และผลติ ภณั ฑ์ นอกจากน้ีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะเวลา 10 ปี (พ.ศ. 2554 – 2563) ซง่ึ มเี ปา้ หมายทจี่ ะท�ำ ใหเ้ วยี ดนาม เปน็ ประเทศอตุ สาหกรรมทท่ี นั สมยั (Modern Industrialized Country) ภายในปี พ.ศ. 2563 โดยมรี ะบบเศรษฐกจิ การตลาดแบบสงั คมนยิ ม และ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม 25

ในขณะช่วงเวลาเดียวกัน คือ ช่วงปี พ.ศ. 2554 – 2573 เวียดนามมี แนวทางยุทธศาสตร์เก่ียวกับการขยายตัวในการรักษาส่ิงแวดล้อมโลก เพื่อมุ่งไปสู่เศรษฐกิจ “สีเขียว” และช่วยยกระดับประสิทธิภาพและ ขีดความสามารถในการแข่งขัน เพ่ือเป็นการปรับตัวให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และลดปริมาณการปล่อยก๊าซ ท่กี ่อให้เกิดปฏกิ ริ ิยาเรอื นกระจกตอ่ โลก โดยสรปุ แลว้ ทศิ ทางการพฒั นาของเวยี ดนามจะเปลยี่ นจากเศรษฐกจิ ททร่เี ตพั ิบยโาตกจราบกคุ กคาลรคพณุ ึง่ พภิงาเพงนิตล�ำ่ ไงปทสุนเู่ จศำ�รนษวฐนกมจิ ทากเ่ี ตใบิ ชโท้ ตรอัพยยา่ งามกคีรธณุ รภรมาพชทาตอี่ แิาศละยั เทคโนโลยี ใช้ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพสูง และใช้ทักษะการจัดการ ที่ทันสมยั [2] 1.1.6 ขอ้ มลู การเมอื งการปกครอง เวยี ดนามปกครองดว้ ยระบอบสงั คมนยิ ม โดยพรรคคอมมวิ นสิ ตแ์ หง่ เวยี ดนาม (Communist Party of Vietnam: CPV) เปน็ องคก์ รทม่ี อี �ำ นาจ สงู สดุ เพยี งพรรคการเมอื งเดยี วตามรฐั ธรรมนญู ซงึ่ มบี ทบาทในการก�ำ หนด แนวทางการจัดการทุกด้าน ทำ�ให้เสถียรภาพทางการเมืองมีเอกภาพสูง และเวียดนามมีการกระจายอำ�นาจไปสู่การปกครองส่วนท้องถิ่น โดย แต่ละจังหวัดจะมีคณะกรรมการประชาชน (Provincial People’s Committee) ท�ำ หนา้ ทบ่ี รหิ ารงานภายในทอ้ งถน่ิ ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญ นโยบาย และกฎระเบียบต่างๆ ท่ีบัญญัติโดยองค์กรของรัฐ ท่ีอยู่ในระดับสูงกว่า ระบบการบริหารราชการท้องถิ่นของเวียดนาม 26

แบง่ เขตการปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ออกเปน็ 8 ภาค ประกอบดว้ ย 59 จงั หวดั (Tinh) 5 นคร (Thu Do) 600 อำ�เภอ/เทศบาล และตำ�บล/หมู่บ้าน ประมาณ 10,000 ต�ำ บล/หมบู่ า้ นดงั น้ี 1) ภาคเหนือฝง่ั ตะวนั ออก มี 4 จงั หวัด มชี ายแดนติดลาวและจนี 2) ภาคเหนอื ฝัง่ ตะวันตก มี 11 จงั หวดั 3) เขตทรี่ าบลุ่มแมน่ � แดง มี 9 จังหวดั และ 2 นคร คอื กรงุ ฮานอย ที่เป็นเมืองหลวง และนครไฮฟองท่เี ปน็ เมอื งท่า 4) เขตชายฝ่ังทะเลภาคกลางทางตอนเหนือ มี 6 จังหวัด ซึ่งทุก จงั หวัดตดิ สปป.ลาว 5) เขตชายฝ่ังทะเลภาคกลางตอนใต้ มี 5 จังหวัดและ 1 นคร คือ นครดานงั 6) เขตท่ีราบสูงภาคกลาง มี 5 จังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ชนกลุ่มนอ้ ยสว่ นใหญอ่ าศยั อย่ใู นเขตนี้ 7) ภาคใตฝ้ ่งั ตะวันออก มี 7 จงั หวดั และ 1 นคร คอื นครโฮจมิ ินห์ ซงึ่ เป็นศนู ย์กลางการคา้ ของประเทศ 8) ท่ีราบล่มุ แมน่ �โขง มี 12 จงั หวัด ซ่งึ สว่ นใหญ่มีขนาดเล็ก และ 1 นคร คือ นครเก่ินเทอ มชี ายแดนตดิ กมั พชู า ในแตล่ ะภาคยงั แบง่ การบรหิ ารออกเป็น 3 ระดบั คือ (1) ระดับจังหวัดและเทียบเท่า มี 59 จังหวัด กับอีก 5 นคร คือ ฮานอย โฮจิมินห์ ไฮฟอง ดานัง และเก่ินเทอ ซ่ึงได้รับงบประมาณจาก ส่วนกลางโดยตรง รวมทั้งข้าราชการจะได้รับการแต่งต้ังโดยตรงจาก สว่ นกลาง จงึ มอี �ำ นาจในการตดั สนิ ใจอยา่ งเตม็ ท่ี ชว่ ยใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตวั ในการบริหารงาน แต่ละจังหวัดจะปกครองโดยสภาประชาชน ซึ่งได้รับ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม 27

การคัดเลือกจากประชาชน สภาประชาชนจะแต่งตั้งคณะกรรมการ ประชาชนเพอื่ ท�ำ หนา้ ทบี่ รหิ ารงานภายในทอ้ งถน่ิ ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย รัฐธรรมนูญ นโยบาย และกฎระเบียบต่างๆ ท่ีบัญญัติโดยองค์กรของรัฐ ท่ีอยใู่ นระดบั สงู กว่า (2) ระดับเทศบาลนครจะมีอิสระในการปกครองตนเองมากกว่า ได้รบั งบประมาณจากสว่ นกลางโดยตรง รวมทง้ั ขา้ ราชการจะไดร้ บั การแตง่ ตง้ั โดยตรงจากสว่ นกลาง จงึ มอี �ำ นาจในการตดั สนิ ใจอยา่ งเตม็ ท่ี ชว่ ยใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตัวในการบริหารงาน (3) ระดับเมืองและเทศบาลมีประมาณ 600 หนว่ ย และระดบั ต�ำ บล มีประมาณ 10,000 ตำ�บล แผนที่เขตการปกครองของเวียดนาม 28

1.1.7 ลกั ษณะทางสงั คมและวฒั นธรรม วัฒนธรรมของเวยี ดนาม เวียดนามนับเป็นประเทศหน่ึงในแถบคาบสมุทรอินโดจีนท่ีมี ขนบธรรมเนยี มประเพณี และวฒั นธรรมเกา่ แกท่ สี่ ง่ั สมมาเปน็ ระยะเวลา นาน และยังคงสืบทอดมาถึงปัจจุบัน โดยท่ีเวียดนามมีความสัมพันธ์กับ จนี มากอ่ นการปฏวิ ตั ริ ะบบการปกครอง จงึ ท�ำ ใหค้ วามเชอ่ื ศลิ ปะ วถิ กี าร ดำ�รงชีวิต ตลอดจนประเพณีและวัฒนธรรมต่างๆ ของจีนมีอิทธิพลต่อ เวียดนามด้วย รวมทั้งลัทธิขงจื๊อที่ให้ความสำ�คัญต่อการนับถือเซ่นไหว้ บรรพบรุ ษุ ลทั ธเิ ตา๋ ทส่ี อนเรอื่ งความสมดลุ ของธรรมชาติ รวมไปถงึ ศาสนา พุทธนิกายมหายานที่สอนเร่ืองกรรมดีและกรรมช่ัว ซึ่งแม้ว่ารัฐบาล คอมมิวนิสต์ของเวยี ดนามจะท�ำ ลายความเชอ่ื และศาสนาส่วนหน่งึ ไปใน ช่วงปฏิวัติระบบการปกครอง แต่ปัจจุบันมีการผ่อนปรนมากขึ้น ชาวเวยี ดนามเชอ่ื วา่ ทกุ หนทกุ แหง่ มเี ทพเจา้ สถติ ยอ์ ยู่ ไมว่ า่ จะเปน็ เทพเจา้ ดนิ เทพเจ้าน� หรือเทพเจ้าอ่ืนๆ ดังนั้น นอกจากวัดในศาสนาพุทธ (จัว่ - Chua) ศาลาประชาคม (ดนิ ห์ - Dinh) หรอื แท่นบูชาจักรพรรดใิ น อดีต (เดน - Den) แล้ว ยังมีการต้ังแท่นบูชาเทพเจ้า (เหมียว - Mieu) มการสะกัจกายารอะยบู่โชูดายใทนั่ววไันปท่ีป1รแะลชะาช1น5นคิย�ำ่ มนำ�ดอกไม้ธูป เทียน และผลไม้ เมื่อสมัยท่ีฝรั่งเศสเข้ามาปกครอง เวียดนามก็ได้รับอิทธิพลจาก วฒั นธรรมฝรง่ั เศสดว้ ยอยา่ งการนอนพกั กลางวนั การสรา้ งตกึ ทอ่ี ยอู่ าศยั ทีด่ ูทันสมัย เปน็ ตกึ สีเหลืองสไตลโ์ คโลเนียลท่มี ีให้พบเห็นมากมาย ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวียดนาม 29

นอกจากน้ีเวียดนามยังคงรักษาวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมา อย่าง การจัดงานเทศกาลสำ�คญั ทางศาสนาของเวียดนาม เชน่ • เต๊ดเหวียนดาน (Tet Nguyen Dan) แปลว่า “เทศกาลแห่ง รงุ่ อรณุ แรกของป”ี ทช่ี าวบา้ นนยิ มเรยี กกนั สน้ั ๆ วา่ “เทศกาลเตด๊ (Tet)” เป็นเทศกาลท่ีสำ�คัญที่สุด โดยจะเริ่มต้นข้ึน 1 สัปดาห์ก่อนจะถึงวันข้ึน ปีใหม่ตามจันทรคติ คือ อยู่ระหว่างปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือน กุมภาพันธ์ ในวันขึ้น 15 ค� ของวันท่ีดวงอาทิตย์อยู่ไกลเส้นศูนย์สูตร มากทส่ี ดุ ในฤดหู นาว กบั วนั ทก่ี ลางวนั ยาวเทา่ กบั กลางคนื (วษิ วุ ตั ) ในฤดู ใบไม้ผลิ เทศกาลน้ีเป็นการเฉลิมฉลองในภาพรวมท้ังหมดของความเชื่อ ในเทพเจ้า ลทั ธิเต๋า และขงจ๊ือ ศาสนาพทุ ธ รวมถึงการเคารพบรรพบุรุษ ภาพเทศกาล เต๊ดเหวยี นดาน (Tet Nguyen Dan) 30

ค�ำ่ เด•อื เทนศ8กขาอลงกทลกุ าปงีฤชดาวูใบบา้ไมนจ้ร่วดั งปรโะดกยวนดับ“ตขานมมจบันนัทตรรคงัตทิต”ู รงหกรับอื วขันนขมึ้นเป1ย๊ี 5ะ โก๋ญวน ท่ีมีรูปร่างกลม มีไส้ถั่วและไส้ผลไม้ พร้อมท้ังจัดขบวนแห่เชิด มงั กรขน้ึ เพอื่ แสดงความเคารพตอ่ พระจนั ทร์ ในบางหมบู่ า้ นอาจประดบั โคมไฟ พรอ้ มทงั้ จดั งานขับร้องเพลงพ้ืนบ้าน [42] ภาพร้านคา้ ในงานเทศกาลกลางฤดใู บไม้รว่ ง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม 31

1.1.8 โครงสรา้ งพน้ื ฐานและระบบสาธารณปู โภค ระบบคมนาคม การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ท�ำ ใหเ้ วยี ดนามกลายเปน็ ประเทศท่มี ีระบบคมนาคมขนสง่ ดที ่สี ุดแหง่ หน่ึงของเอเชยี และมีผลอยา่ ง สำ�คัญต่อความสำ�เร็จของการพัฒนาเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมา สำ�หรับ โครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นระบบคมนาคมขนสง่ ทส่ี �ำ คญั ของเวยี ดนามสรปุ ได้ ดงั น้ี การคมนาคมทางบก โดยมที ้ังการคมนาคมทางถนน และทางรถไฟ ซง่ึ มสี าระดังน้ี การคมนาคมทางถนน เวยี ดนามมรี ะบบเครอื ขา่ ยทางถนนยาว 2.1 แสนกโิ ลเมตร ประกอบ ดว้ ย ทางหลวงแผน่ ดนิ ยาวประมาณ 14,935 กโิ ลเมตร ปจั จบุ นั เวยี ดนาม ก�ำ ลงั กอ่ สรา้ งทางดว่ นพเิ ศษหลายแหง่ และมโี ครงการปรบั ปรงุ ถนนหลวง ให้มีมาตรฐาน ซ่ึงบรรลุเป้าหมายแล้วในปี พ.ศ. 2553 โดยถนนทุกสาย ในจังหวัดมีการลาดยางหรือเป็นคอนกรีต โดยรัฐบาลเปิดให้ต่างชาติ เข้ามาลงทุนพัฒนา ปัจจุบันประกอบไปด้วยทางหลวงแผ่นดินท่ีส�ำ คัญๆ 7 สาย คอื • เส้นทางหมายเลข 1 ฮานอย-ดานงั -นครโฮจมิ นิ ห์ ถงึ จงั หวดั มนิ หไ์ ฮ ทางใต้สุดของเวยี ดนาม • เส้นทางหมายเลข 2 ฮานอย-ฮา ยาง ถึงชายแดนมณฑลยูนนาน ของจนี • เส้นทางหมายเลข 3 ฮานอย-กาวบ่ัง ถึงชายแดนมณฑลยูนนาน ของจีน 32

• เสน้ ทางหมายเลข 5 ฮานอย-ไฮฟอง • เส้นทางหมายเลข 8 ฮาต่ิงห์-วินห์ ถึงชายแดนแขวงบอลิคำ�ไซ ของสปป.ลาว •เสน้ ทางหมายเลข 9 ดานงั -เว-้ กวา๋ งจิ ถงึ ชายแดนแขวงสะหวนั นะเขต ของสปป.ลาว • เส้นทางหมายเลข 51 นครโฮจิมนิ ห์-หวุงเตา่ การคมนาคมทางรถไฟ เครือข่ายระบบขนส่งทางรถไฟของเวียดนาม มีความยาวประมาณ 2,600 กโิ ลเมตร โดยเปน็ เสน้ ทางรางเดย่ี วทง้ั หมด และมจี �ำ นวนชานชาลา 260 แห่ง เสน้ ทางทย่ี าวทส่ี ุด และมคี วามสำ�คญั มาก คือ ฮานอย – นคร โฮจมิ นิ ห์ มคี วามยาวประมาณ 1,730 กโิ ลเมตร ซงึ่ เสน้ ทางนใี้ หก้ ารบรกิ าร ด้วยรถไฟความเร็วพิเศษ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 30 ชั่วโมง และยัง เชื่อมต่อระหว่างเวียดนามถึงจีน สำ�หรับเส้นทางรถไฟทั่วประเทศมี 6 สายดว้ ยกัน ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวียดนาม 33

ภาพที่ 5 เส้นทางการคมนาคมขนสง่ ทางรถไฟของเวียดนาม ท่มี า: http://commons.wikimedia.org/wiki/File:VietnamRailwayMap.png การคมนาคมทางอากาศ เวยี ดนามใชก้ ารคมนาคมทางอากาศในการขนสง่ ผโู้ ดยสารและสง่ิ ของ โดยมีสนามบนิ นานาชาตไิ วร้ องรับเทย่ี วบนิ 3 แหง่ คือ 34

• ทา่ อากาศยานนานาชาตโิ หนย่ บา่ ย (Noi Bai International Airport) ตง้ั อยทู่ างตอนเหนอื หา่ งจากกรงุ ฮานอย ประมาณ 30 กโิ ลเมตร ใหบ้ รกิ าร ขนส่งผู้โดยสารและสนิ ค้า • ทา่ อากาศยานนานาชาตดิ านงั (Da Nang International Airport) ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 35

ตั้งอยู่ทางภาคกลาง ห่างจากใจกลางนครดานังไปทางตะวันตกเฉียง ใต้ประมาณ 2.5 กโิ ลเมตร เนอื้ ทีร่ วม 150 เฮกตาร์ เคยเปน็ ฐานทัพของ สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันให้บริการการบินภายในประเทศและระหว่าง ประเทศ รองรับผู้โดยสารประมาณ 0.8 - 1.0 ล้านคนต่อปี • ทา่ อากาศยานนานาชาตติ นั เซนิ ยทั (Tan Son Nhat International Airport) เป็นสนามบินท่ีใหญ่ที่สุดของประเทศ ต้ังอยู่ห่างจากนครโฮจิมินห์ ประมาณ 7 กโิ ลเมตร มเี ท่ียวบนิ ไปทั่วโลก สนามบนิ แห่งนมี้ ีโครงการจะ ย้ายหา่ งออกไปอีก 40 กิโลเมตร เพ่ือก่อสรา้ งสนามบินใหม้ ีขนาดที่ใหญ่ ขึ้น และสามารถรองรับผ้โู ดยสารได้เพ่ิมขึน้ เป็น 100 ลา้ นคนต่อปี นอกจากสนามบินนานาชาติแล้ว เวียดนามยังมีสนามบินขนาดใหญ่ อกี 2 แหง่ ประกอบไปดว้ ย สนามบนิ ลองถา่ น สนามบนิ จลู าย และสนามบนิ เลก็ 36

ตามจงั หวัดต่างๆ อกี 18 แห่ง เพือ่ รองรบั การขนสง่ ภายในประเทศ ท้ังนี้ ยงั มสี นามบนิ ทกี่ �ำ ลงั กอ่ สรา้ งบนสองเกาะใหญๆ่ เพอ่ื รองรบั อตุ สาหกรรม ทอ่ งเทย่ี วดว้ ย คอื สนามบนิ บนเกาะกอนดา่ ว และเกาะฟกู ว๊ ก ปัจจุบันเวียดนามมีสายการบินแห่งชาติ 2 แห่ง คือ สายการบิน เวียดนาม (Vietnam Airline) ให้บริการท้ังภายในและต่างประเทศ และสายการบินแปซิฟิค (Pacific Airline) ท่ีเน้นการให้บริการเฉพาะ ภกาารยคในมปนราะคเมททศางน�ำ้ จากประเทศท่ีมีชายฝั่งตะวันออกยาวจากภาคเหนือสู่ภาคใต้และ เปน็ ปากทางแมน่ �ำ้ ทเ่ี รยี กวา่ “มงั กรเกา้ สาย” เวยี ดนามจงึ มที า่ เรอื พาณชิ ย์ ทงั้ หมด 17 ทา่ รองรบั สนิ ค้าไดป้ ระมาณ 15 ล้านตนั ต่อวัน และสามารถ รองรับเรือระวางบรรทกุ สงู สุด 1 หม่ืนตัน โดยทา่ เรือท่ีส�ำ คัญ ไดแ้ ก่ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวียดนาม 37

• ทา่ เรอื ไซง่ ่อน เป็นท่าเรือใหญ่ท่ีสุดของประเทศอยู่ในโฮจิมินห์ซิตี้ มีท่าเทียบเรือ โดยสารเดินทะเล 1 ท่า ท่าเทียบเรือขนส่งสินค้า 31 ท่า พื้นที่โกดัง 5 แสนตารางเมตร เครนขนาด 25 – 100 ตัน 16 ตัว มีการขนส่งสินค้า กว่า 10 ลา้ นตนั ตอ่ ปี • ท่าเรอื ดานัง ดานงั มที า่ เรอื น�้ำ ลกึ เตยี่ นซา (Tien Sa Seaport) นบั เปน็ ทา่ เรอื ส�ำ คญั ของเวียดนามในภาคกลาง รัฐบาลกำ�ลังพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้สามารถ ขนถา่ ยต้คู อนเทนเนอร์ไดเ้ พิม่ ข้นึ เป็น 20 ตตู้ ่อชั่วโมง และขนถา่ ยสินคา้ ได้ 7,000 ตันต่อวัน มีการก่อสร้างท่าเทียบเรือท่ีมีความยาว จาก 250 เมตร เปน็ 450 เมตรในอนาคต นอกจากนนั้ ยงั เตรยี มความพรอ้ มในการ อำ�นวยความสะดวกให้แก่ภาคอุตสาหกรรมการผลิต รวมท้ังมีนโยบาย 38

การรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มควบคกู่ บั การพฒั นาทา่ เรอื อกี ดว้ ย รฐั บาลมนี โยบาย ผลกั ดันใหท้ า่ เรอื แห่งนี้เปน็ ทา่ เรอื ท่ใี หญอ่ นั ดบั 5 ของโลก นอกจากนี้ ดานังยังมีท่าเรือแม่นำ้�อีกแห่ง คือ Han River Port สามารถรองรบั เรือขนาดไม่เกิน 5 พันตนั ปรมิ าณขนสง่ สนิ ค้า 1 ล้านตนั ต่อปี • ท่าเรือไฮฟอง ตั้งอยูใ่ นเมอื งไฮฟอง เป็นทา่ เรือท่ใี หญเ่ ปน็ อนั ดับ 2 ของประเทศ แต่ ใหญท่ สี่ ดุ ในเขตภาคเหนอื มปี รมิ าณสนิ คา้ ผา่ นทา่ เรอื นป้ี ระมาณ 7 – 10 ล้านตันต่อปี สามารถรองรับเรือระวางบรรทุก 7,000 - 10,000 ตัน ไฮฟองเปน็ ศนู ยก์ ลางการสง่ ออกสนิ คา้ ของจงั หวดั ตา่ งๆ ในเขตภาคเหนอื ของเวียดนาม ระยะทางจากท่าเรือไฮฟองออกสู่ทะเลประมาณ 40 กิโลเมตร ท่าเรอื ไฮฟองเปน็ กลุ่มทา่ เรอื ซึง่ แบ่งออกเปน็ 3 เขต ดงั น้ี ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวยี ดนาม 39

- เขตท่ี 1 Main Port เป็นท่าเรือแม่น้ำ� ร่องน้ำ�ลึกเพียง 9 เมตร สามารถรองรับเรือท่ีมีระวางขับนำ้�ไม่เกิน 1.5 หมื่นตัน เรือใหญ่ต้อง ขนถา่ ยที่ทา่ เรอื ดา้ นนอกกอ่ น - เขตที่ 2 Chua Ve Port เป็นท่าเรือขนถ่ายตู้คอนเทนเนอร์ (Container Terminal) ได้รับเงินสนับสนุนจาก ODA (Official Development Assistance) ของญป่ี นุ่ ทงั้ ในดา้ นการกอ่ สรา้ งเครน และ ระบบซอฟต์แวร์ในการควบคุมท่าเรือ มีระดับน�ลึก 7.5 เมตร ปัจจุบัน อยใู่ นระหวา่ งการขดุ รอ่ งน�้ำ เพม่ิ เตมิ ผา่ นหมเู่ กาะกท๊ั ไห่ (Cat Hai Islands) เพือ่ ใหร้ องรับเรอื ขนาดใหญ่ไดม้ ากข้ึน จากปัจจุบันทรี่ บั ไดเ้ ฉพาะเรือที่มี ระวางขบั นำ้�ไมเ่ กิน 1.5 หมื่นตัน - เขตที่ 3 Dinh Vu Port อย่ใู นแหลมดิงห์วู มี 7 เครน สามารถ รองรบั เรอื ขนาดใหญ่ข้ึน แต่ไม่เกนิ 2 หม่นื ตนั นอกจากนี้ ยงั มกี ารสรา้ ง เขตขนถา่ ยสนิ คา้ จากเรอื ใหญไ่ ปสเู่ รอื ขนาดเลก็ เพอื่ เขา้ สพู่ นื้ ทดี่ า้ นในอกี ด้วย [42] 40

ภาพท่ี 6 เส้นทางการคมนาคมขนสง่ ทางอากาศของเวียดนาม ท่ีมา: http://www.mapsofworld.com/international-airports/asia/vietnam.html ระบบไฟฟา้ การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของเวียดนามในช่วง 10 ปีท่ี ผ่านมา และการเติบโตในภาคอุตสาหกรรมและการก่อสร้าง ท่ีต้องการ ใชไ้ ฟฟา้ เปน็ จ�ำ นวนมาก ท�ำ ใหเ้ กดิ ปญั หาการขาดแคลนไฟฟา้ ในเวยี ดนาม โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงนำ้�แล้ง เขื่อนไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ท�ำ ใหเ้ กดิ ปญั หาไฟฟา้ ดบั เปน็ ประจ�ำ ในบรเิ วณเมอื งใหญๆ่ เชน่ นครโฮจมิ นิ ห์ กรงุ ฮานอย นครไฮฟอง นครดานงั และนครเกน่ิ เทอ อยา่ งไรกต็ าม แมว้ า่ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม 41

รฐั บาลไดพ้ ยายามสง่ เสรมิ การผลติ ไฟฟา้ แตก่ ย็ งั ไมเ่ พยี งพอ ซงึ่ การไฟฟา้ เวียดนามได้คาดการณ์ว่า ความต้องการใช้ไฟฟ้าในเวียดนามจะเติบโต เพิ่มขึ้น ร้อยละ 25 ต่อปี และภายในปี พ.ศ. 2558 เวียดนามจะมีความ ตอ้ งการพลงั งานไฟฟา้ เพิม่ ขึ้นถงึ 190,000 ลา้ นกิโลวตั ต์ เพม่ิ ขนึ้ เกอื บ 4 เท่าของปริมาณการใช้ไฟฟ้าปัจจุบันในเวียดนาม จำ�นวน 59,000 ล้าน กโิ ลวัตต์ ความตอ้ งการพลงั งานไฟฟา้ เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ ท�ำ ใหร้ ฐั บาลเวยี ดนาม ได้หาแนวทางท่จี ะผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ด้วย โดยจะพัฒนา การผลติ ไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์จากสถานีทดลองเตาปฏิกรณ์ปรมาณู ขนาดเล็กท่ีเมืองดาลัท (Da Lat) ที่จังหวัดลั่มดอง (Lam Dong) ในภาคกลางตอนใต้ของเวียดนามเป็นสถานีผลิตกระแสไฟฟ้าจาก พลังงานนิวเคลียร์ ขนาด 2,000 เม็กกะวัตต์ภายในปี พ.ศ. 2563 ทั้งน้ีจากข้อมูลการสำ�รวจของกระทรวงอุตสาหกรรมเวียดนามคาดว่า เวยี ดนามจะมแี หลง่ แร่ยเู รเนยี มอยู่ประมาณ 300,000 ตนั ระบบประปา ระบบน�ำ้ ประปายงั ไมส่ ามารถกระจายการบรกิ ารใหแ้ กป่ ระชาชนได้ อยา่ งทว่ั ถงึ ในชมุ ชนพน้ื ทห่ี า่ งไกล และไมค่ วรดมื่ น�ำ้ ประปาโดยตรง เพราะ ประเทศเวยี ดนามยงั ขาดคณุ ภาพเรอื่ งความสะอาดของน�้ำ โดยน�้ำ ประปา จากบริษัท Dong Nai Water Supply Construction มีกำ�ลังการจ่าย น้ำ�ประปา 30,000 ลูกบาศกเ์ มตรตอ่ วัน 42

ระบบโทรศัพท์ การให้บริการโทรคมนาคมในเวียดนามประกอบด้วย 3 บริการหลัก ได้แก่ โทรศัพท์พ้ืนฐาน โทรศัพท์เคลื่อนท่ี และอินเทอร์เน็ต ซ่ึงขยาย ตวั อย่างรวดเร็วตามระดบั การพัฒนาประเทศและความตอ้ งการ บรกิ าร ติดตอ่ ส่อื สารทสี่ ะดวกและรวดเร็ว 1.1.9 ระบบสาธารณสขุ จากสถติ ใิ นเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2553 ชาวเวยี ดนามมปี ระกนั สขุ ภาพ (ทง้ั โดยภาคบงั คบั และสมคั รใจ) รอ้ ยละ 62 สว่ นอกี รอ้ ยละ 38 ยงั ไรส้ ทิ ธิ ประโยชน์ ต้องออกเงินค่ารักษาเอง (Out of pocket) เวลาเกิดการ เจบ็ ปว่ ยตอ้ งเขา้ รบั การรักษาพยาบาลในหนว่ ยบรกิ ารระดับตา่ งๆ ระบบบริการสุขภาพของเวียดนามเป็นระบบผสมผสาน (Mixed) ระหวา่ งกลมุ่ ทหี่ นง่ึ คอื มปี ระกนั สขุ ภาพ และกลมุ่ ทสี่ องมาจากเงนิ สมทบ ที่รัฐบาลจัดมาให้ร้อยละ 10.2 ของงบประมาณที่รัฐบาลใช้จ่ายในเร่ือง สุขภาพ ดังน้ัน ชาวเวียดนาม เม่ือเดินเข้าโรงพยาบาลก็จะมีทั้งกลุ่มท่ีรัฐ ดูแลค่ารักษาพยาบาลให้ทั้งหมด เช่น กลุ่มท่ีได้รับการปกป้องทางสังคม (Social Protection Group) และกลุ่มที่ผ่านระบบเงินประกันสุขภาพ ทห่ี กั ไวจ้ ากเงนิ เดอื นหรอื คา่ แรง และผา่ นระบบการรว่ มจา่ ยโดยมเี งนิ ภาษี ของรฐั มาชว่ ยสนบั สนนุ อกี สว่ นหนงึ่ ดว้ ย แตโ่ ดยภาพรวมกย็ งั ถอื วา่ ไมค่ อ่ ย พอเพยี ง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวียดนาม 43

1.1.10 ระบบการศกึ ษา หลงั ปี พ.ศ. 2518 การศกึ ษาของเวยี ดนามไดน้ �ำ รปู แบบมาจากระบบ การศกึ ษาของสหภาพโซเวยี ตรสั เซยี มาใช้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม โดยภาพรวม การศึกษาเวียดนามยังได้รับอิทธิพลจากจีนและฝรั่งเศสด้วย เน่ืองจาก เคยตกอยภู่ ายใตอ้ าณานคิ มของสองประเทศดงั กลา่ ว โดยเฉพาะอทิ ธพิ ล ในเร่ืองของการใช้ตัวหนังสือหรืออักษรที่ใช้ในการเรียน กล่าวคือ ได้รับ อิทธิพลจากอักษร “Hán” (หาน) หรือ “ฮ่ัน” จากจีน ซึ่งปัจจุบันน้ี ค�ำ ศัพทต์ ่างๆ ในภาษาเวยี ดนามประมาณรอ้ ยละ 80 ยืมมาจากคำ�ศพั ท์ ในภาษาหานของจนี และตวั อกั ษรโรมนั ทเ่ี วยี ดนามใชก้ นั ปจั จบุ นั ทเ่ี รยี กวา่ “Quốcngữ” (กว๊ ก หงอื ) นั้น ไดร้ ับอทิ ธิพลจากฝร่งั เศส ท่ถี กู บงั คับใช้ใน ช่วงเป็นอาณานิคมฝรั่งเศสได้ประกาศให้เวียดนามใช้ตัวอักษรก๊วกหงือ เปน็ อกั ษรทางการ และบงั คบั ใหใ้ ชใ้ นการเรยี นการสอนตามโรงเรยี นและ มหาวิทยาลัยตา่ งๆ ของเวียดนามทัว่ ประเทศ ในส่วนของแนวคิดต่างๆ ที่ปรากฏในแผนการเรียนการสอนของ เวยี ดนามนน้ั ถอื วา่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากสหภาพโซเวยี ตรสั เซยี สงู มาก เพราะ มีการบังคับนักศึกษาในมหาวิทยาลัยทุกแห่งต้องเรียนวิชาการปกครอง แบบสงั คมนยิ ม รวมทง้ั วชิ าปรชั ญาแนวคดิ ของมารก์ เลนนิ และโฮจมิ นิ ห์ สว่ นการศกึ ษาในปัจจุบนั เวยี ดนามจัดแบง่ เป็น 5 ลกั ษณะ คอื 44

1) การศกึ ษาระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา (Pre-School Education) ประกอบดว้ ย การรับเลย้ี งดเู ด็กอายุ 6 เดือนถึง 3 ปี และอนุบาลสำ�หรบั เดก็ อายุ 3 – 5 ปี 2) การศึกษาสามัญ (5 – 4 – 3) • ระดบั ประถมศึกษาเปน็ การศกึ ษาภาคบังคบั 5 ปี ชน้ั 1 – 5 • ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คอื ช้ัน 6 – 9 • ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คือ ช้ัน 10 – 12 3) การศึกษาดา้ นเทคนิคและอาชพี มีเทียบเคียงทัง้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย 4) การศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา แบง่ เป็นระดบั อนปุ ริญญา (Associate Degree) และระดับปรญิ ญา 5) การศึกษาต่อเนอ่ื ง เป็นการศึกษาสำ�หรับประชาชนท่ีพลาดโอกาสการศึกษาในระบบ สายสามัญและสายอาชีพ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 45

1.1.11 ระบบกฎหมาย ระบบกฎหมายของเวียดนามใช้กฎหมายท่ีมีรากฐานจากกฎหมาย แนวความคิดสังคมนิยม (Communist Legal Theory) และระบบ กฎหมายประมวลกฎหมายของฝร่ังเศส (French Civil Law) และปรับ ประยกุ ต์ใช้ตามกฎหมายสากล ส่วนระบบศาลยุติธรรมของเวียดนามได้แบ่งศาลของเวียดนาม ออกเปน็ 3 ระดับ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2524 ไดแ้ ก่ 1) ศาลทอ้ งถน่ิ ระดบั อ�ำ เภอ (Local Court) ซง่ึ ขนึ้ ตรง และรายงาน ตอ่ รัฐบาลท้องถน่ิ ระดับจังหวัด 2) ศาลทอ้ งถนิ่ ระดบั จงั หวดั (The Provincial Municipal Court) ซึ่งข้นึ ตรง และรายงานต่อศาลฎีกาในกรงุ ฮานอย 3) ศาลฎีกา (Supreme People’s Court) 46

นอกจากน้ี ยังมีศาลพิเศษท่ีจัดต้ังขึ้นเพ่ือพิจารณาพิพากษาคดี บางประเภทโดยเฉพาะอีกด้วย ได้แก่ ศาลปกครอง (Administrative Courts) ศาลเศรษฐกิจ (Economic Courts) ศาลแรงงาน (Labor Courts) และศาลทหาร (Military Court) กระบวนพิจารณาของตุลาการศาลในประเทศเวียดนามมีขั้นตอน การพิจารณาเช่นเดียวกับการพิจารณาคดีของศาลยุติธรรมในประเทศ ฝรง่ั เศส ผพู้ พิ ากษาศาลฎกี าได้รบั การแต่งตั้ง และสามารถถอดออกจาก ตำ�แหน่งได้โดยประธานาธิบดี ผู้พิพากษาศาลฎีกามีวาระคราวละ 5 ปี ทง้ั นอี้ ธบิ ดผี พู้ พิ ากษาศาลฎกี าจะเปน็ ผมู้ อี �ำ นาจในการแตง่ ตงั้ ผพู้ พิ ากษา ของศาลอทุ ธรณ์และศาลชั้นต้น 1.1.12 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งไทยกบั เวยี ดนาม ไทยได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับเวียดนามเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2519 ไทยและเวียดนามมีการวางกรอบความร่วมมือ ทวภิ าคหี ลายดา้ นในระดบั ตา่ งๆ ทง้ั การเปดิ ความรว่ มมอื ดา้ นการคา้ โดย ทั้งสองฝ่ายมีเป้าหมายใน “แถลงการณ์ร่วมว่าด้วยกรอบความร่วมมือ ไทย-เวยี ดนามในทศวรรษแรกของศตวรรษท่ี 21” เมอื่ ตน้ ปี พ.ศ. 2547 ที่จะให้มูลค่าการค้ารวมเพิ่มจาก 1.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็น 3 พนั ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ภายในปี พ.ศ. 2553 ซง่ึ ทง้ั สองฝา่ ยสามารถบรรลุ เปา้ หมายนใี้ นปี พ.ศ. 2548 เรว็ กวา่ ทกี่ �ำ หนดถงึ 5 ปี ปจั จบุ นั ทงั้ สองฝา่ ย ได้กำ�หนดวิสัยทัศน์ร่วมกันท่ีจะเพิ่มมูลค่าการค้ารวมให้ได้ 5 พันล้าน ดอลลาร์สหรฐั ภายในปี พ.ศ. 2553 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั สังคมนิยมเวยี ดนาม 47

ไทยมีความร่วมมือกับเวียดนามในด้านการค้าข้าวโดยผ่านสภา ความรว่ มมอื คา้ ขา้ ว (Council on Rice Trade Cooperation) ซง่ึ สมาชกิ ประกอบด้วยประเทศผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่ของโลก 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย จนี เวียดนาม อนิ เดีย และปากีสถาน นอกจากน้ี ไทยไดแ้ สดงท่าที สนับสนุนเวียดนามให้เข้าร่วมในความร่วมมือด้านยางพาราสามฝ่าย (ไทย-มาเลเซีย-อินโดนีเซีย) เน่ืองจากเวียดนามเป็นผู้ส่งออกยางพารา ทีส่ ำ�คัญรายหนึ่ง ส่วนในด้านสังคม วัฒนธรรม และการศึกษา ไทยมีความร่วมมือ ทางวิชาการกับเวียดนามต้ังแต่ปี พ.ศ. 2535 ทั้งสองฝ่ายยังเห็นความ ส�ำ คญั ของการแลกเปลย่ี นการสอนภาษาระหวา่ งกนั โดยไทยไดร้ บั ความ ร่วมมือในการเปิดหลักสูตรสอนภาษาไทยในมหาวิทยาลัย 5 แห่งของ เวยี ดนาม ขณะทเี่ วยี ดนามสนบั สนนุ งบประมาณ 3.5 แสนดอลลารส์ หรฐั สรา้ งโรงเรยี นสอนภาษาเวยี ดนามทจ่ี ังหวดั นครพนม นอกจากนเ้ี วยี ดนามใหค้ วามสนใจในเรอ่ื งการพฒั นาหมบู่ า้ นมติ รภาพ ไทย-เวียดนาม ที่บ้านนาจอก จังหวัดนครพนม ซ่ึงเป็นสถานที่ที่อดีต ประธานาธิบดีโฮจิมินห์ เคยพำ�นักในช่วงกอบกู้เอกราช ขณะน้ีไทย- เวยี ดนามรว่ มกนั พฒั นาหมบู่ า้ นดงั กลา่ วใหเ้ ปน็ อกี สญั ลกั ษณห์ นงึ่ ของการ ฉลองครบรอบ 30 ปี ของการสถาปนาความสัมพันธท์ างการทูตระหวา่ ง กัน โดยฝ่ายไทยได้จัดสรรงบประมาณ 2 ลา้ นบาท เพอื่ สรา้ ง “ห้องสมดุ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส”์ ภายในหมบู่ า้ นดงั กลา่ วส�ำ หรบั เผยแพรค่ วามรดู้ า้ นความ สัมพันธ์และความร่วมมือด้านวัฒนธรรมของสองประเทศ เพื่อเป็นการ “ตอ่ ยอด” โครงการหมูบ่ ้านมิตรภาพฯ [28] 48

1.2 ประวตั แิ ละข้อมลู รัฐบาลโดยยอ่ ประเทศเวียดนามปกครองดว้ ยระบบสังคมนิยม มรี ปู แบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ มการผกู ขาด และรวมศนู ยท์ รี่ ฐั บาลกลาง ปจั จบุ นั เวยี ดนาม ใช้รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2535 ในการปกครอง ซ่ึงกำ�หนดให้ พรรคคอมมวิ นสิ ตเ์ ปน็ สถาบนั ทางการเมอื งทมี่ อี �ำ นาจสงู สดุ เปน็ ผนู้ �ำ ของ ประชาชนทกุ ชนั้ เวยี ดนามมรี ฐั ธรรมนญู เปน็ กฎหมายสงู สดุ ของประเทศ และวางกรอบพน้ื ฐานใหก้ บั หนว่ ยงานทงั้ 3 ของประเทศซงึ่ ประกอบดว้ ย ฝ่ายนติ บิ ัญญัติ ฝา่ ยบรหิ าร และฝ่ายตุลาการ • ฝา่ ยบริหาร ฝา่ ยบรหิ าร ประกอบดว้ ย ประธานาธบิ ดี นายกรฐั มนตรี คณะรฐั มนตรี รวมไปถึงตำ�แหน่งสำ�คัญในพรรคคอมมิวนิสต์ เช่น สมัชชาของพรรค คอมมิวนิสต์ มีวาระดำ�รงตำ�แหน่ง 5 ปี มีหน้าท่ีพิจารณาให้ความเห็น เก่ียวกับการดำ�เนินงานขององค์กรบริหารระดับสูง เลขาธิการพรรค คอมมวิ นสิ ตเ์ ปน็ ผมู้ อี �ำ นาจสงู สดุ ของพรรค คณะกรรมการกลางของพรรค คอมมิวนิสต์ ทำ�หน้าท่ีกำ�หนดนโยบายด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม กรมการเมอื ง (Politburo) เปน็ องคก์ รบรหิ ารสงู สดุ เปน็ ศูนย์กลางอำ�นาจในการกำ�หนดนโยบายและควบคุมการดำ�เนินงานให้ เป็นไปตามแนวทางท่ีกำ�หนด ส่วนในด้านพิธีกรรม ประธานาธิบดีเป็น ประมุขของรัฐ นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารและคณะรัฐบาล รัฐบาลแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี โดยมนี ายกรฐั มนตรเี ป็นผเู้ สนอรายชอื่ คณะรฐั มนตรแี ละรบั รองโดยสภาแห่งชาติวาระ 5 ปี ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม 49