Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการความรู้เทคโนโลยีการผลิตมะคาเดเมีย

การจัดการความรู้เทคโนโลยีการผลิตมะคาเดเมีย

Description: การจัดการความรู้เทคโนโลยีการผลิตมะคาเดเมีย

Keywords: เทคโนโลยีการผลิตมะคาเดเมีย,การผลิตมะคาเดเมีย,การจัดการความรู้

Search

Read the Text Version

บทที่ 6 เทคโนโลยกี ารผลติ มะคาเดเมีย 6.1 ปจ จัยของสภาพแวดลอมทม่ี อี ิทธิพลตอ การเจรญิ เตบิ โตของมะคาเดเมยี จากการศึกษาการปลูกมะคาเดเมียต้ังแตระยะเริ่มแรกจนถึงปจจุบันและจากรายงานการวิจัย ของตา งประเทศสามารถสรุปปจจัยตา ง ๆ ท่มี ีผลตอ การเจรญิ เติบโตของมะคาเดเมีย ดังน้ี 6.1.1 อุณหภมู ิ อุณหภูมิเปนปจจัยที่สําคัญในการปลูกมะคาเดเมีย จากการศึกษาระดับอุณหภูมิบริเวณเมือง Kona เกาะฮาวาย ซงึ่ เปน แหลงท่ีมีผลผลิตตอพ้ืนที่สูงท่ีสุดในปจจุบัน พบวา มีชวงอุณหภูมิสูงสุด-ต่ําสุด ระหวาง 32 องศาเซลเซียส และ 9 องศาเซลเซียส อัตราการสะสมน้ําหนักแหงสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 20-30 องศาเซลเซยี ส (Trochoulias and Lahav, 1983) และถา หากอุณหภมู มิ ากกวา 30 องศาเซลเซยี ส จะทํา ใหก ารสังเคราะหแ สงลดลงและมะคาเดเมียบางพันธุ เชน พนั ธุ #508 จะแสดงอาการใบไหมเนื่องมาจาก สภาพอากาศรอน (heat stress) โดยใบออนเหลืองซีดและปลายใบมีอาการไหม (Allan, 1983) นอกจากน้อี ณุ หภูมิกลางคืนยงั มีอิทธิพลตอการกาํ เนิดตาดอกของมะคาเดเมยี พบวา ท่ีอุณหภูมิ 18 องศา เซลเซียส ทําใหเ กิดตาดอกไดด ที ีส่ ดุ และหากไดร ับอุณหภูมิระดบั นีน้ านเกิน 30 วัน จะทําใหตาดอกมีการ พฒั นาเปนชอดอกไดด ี แตถ าอุณหภูมิลดลงเปน 12 องศาเซลเซียส หรอื เพ่ิมข้ึนเปน 21 องศาเซลเซียส มี ผลทําใหต าดอกลดลง (Nakata, 1976) ในสภาพแวดลอมของเครือรัฐออสเตรเลีย การพัฒนาของตาดอกเกิดขึ้นประมาณตนเดือน พฤษภาคมซึง่ เปน ชว งเวลาทกี่ ลางวันสน้ั และอุณหภูมิกลางคืนต่ําระหวาง 11-15 องศาเซลเซียส โดยเร่ิม จากตาดอกหยดุ พกั ตัว แลว ขยายเปนชอดอกใน 50-60 วัน ชวงต้ังแตกําเนิดชอดอกจนถึงดอกบาน และ ไดร บั การผสมแลวใชเวลา 137-153 วัน ทั้งนีข้ นึ้ อยูกับพนั ธุและสถานที่ (Moncur et al., 1985) อยางไร กต็ ามท่อี ณุ หภูมิกลางคืน 20 องศาเซลเซียส จะสงเสริมใหเ กิดการสะสมคารโบไฮเดรต หรือปรับสมดลุ ของ สารควบคุมการเจรญิ ของตาดอก มีผลทาํ ใหตน มะคาเดเมยี สรา งชอ ดอกขึ้นมาใหมเพอื่ ทดแทนชอดอกแรก ๆ ท่ีสูญเสียไปกอนการผสมเกสร (Jackson and Sweet, 1972; Nakata, 1976; Stephenson and Gallagher, 1986a) ในชว งการพฒั นาของผลถา อุณหภูมสิ ูงมากจะทําใหกะลาแข็งตัวเร็ว เนื้อในขยายไมไดทําใหผลมี ขนาดเล็ก กลา วโดยสรปุ คอื อณุ หภมู ทิ ่ีเหมาะสมตอ การเจรญิ เตบิ โตควรอยใู นชวง 10-30 องศาเซลเซียส (Trochulias et al., 1984) และชวงฤดูออกดอกควรอยูในชวง 18-20 องศาเซลเซียส และชวงท่ีผลกําลัง เจริญเตบิ โตควรมีอณุ หภมู ิระหวาง 20-25 องศาเซลเซียส และไมควรเกิน 30 องศาเซลเซียส (Stephenson and Gallagher, 1986b) 6.1.2 ปริมาณนา้ํ ฝนและความชน้ื ในแหลงปลกู มะคาเดเมยี ควรมปี ริมาณนํ้าฝนอยางนอย 1,000 มิลลิเมตรตอป และตกกระจายตลอดป (Storey, 1969) แตสว นใหญปริมาณนํ้าฝนในแหลงปลูกของประเทศไทยจะมีปญหาไมกระจายตลอดป ปรมิ าณนํ้าฝนจะอยูใ นชวง 1,200-2,500 มิลลเิ มตรตอป มีจาํ นวนเดือนทฝ่ี นตก 6-7 เดือน และมีชวงแลง 5-6 เดือน แลวแตพืน้ ที่ ชวงแลงจะเร่มิ ต้ังแตเดอื นพฤศจิกายนถงึ เมษายน ซง่ึ เปน ชวงเขาฤดูหนาว อากาศ หนาวเยน็ กระตนุ ใหมะคาเดเมยี ออกดอกตดิ ผลและชว งการติดผลจะผานตลอดชวงฤดูรอน ถาไมมีการให นํ้าชวงนี้ผลจะรวงและผลเล็ก ดังนั้นการปลูกมะคาเดเมียในประเทศไทยจะตองมีการใหน้ําชวงฤดูแลง (ดําเกงิ , 2534) ในพ้นื ท่ที ่มี คี วามสูง 800-1,300 เมตรจากระดับทะเล ในรอบ 1 ป มะคาเดเมียจะออกดอก 2 ชว งใหญ ๆ คอื ชวงเดอื นกรกฎาคม-สิงหาคม และ เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ ซึ่งในขณะออกดอกและ 42

ตดิ ผลในฤดูแลง โดยเฉพาะชวงเดอื นมกราคม-กุมภาพันธ มีความชนื้ สัมพัทธตาํ่ ประมาณรอ ยละ 50 จึงควร ใหนํ้าเพ่ือเพ่ิมความช้ืนใหสูงขึ้นประมาณรอยละ 70-75 จะชวยใหชอดอกมีการติดผลมากข้ึน อยางไรก็ ตามชวงฤดูฝนในพื้นที่ที่มีฝนตกมาก ในชวงออกดอกจะมีปญหาเกี่ยวกับความช้ืนสูง มีผลตอการ แพรกระจายของละอองเกสรในการผสมพนั ธุ 6.1.3 แสง จากการศกึ ษาของ Radspinner (1971) ในมลรัฐฮาวาย พบวา หากฝนตกมากชวง 2 เดือนกอน ออกดอก สง ผลใหข นาดผลเลก็ ลง เนือ่ งจากมีปรมิ าณแสงนอ ย ซ่งึ จะไปลดกระบวนการสงั เคราะหแสงและ สรา งคารโบไฮเดรตสาํ หรบั การเจริญเติบโตของสวนตาง ๆ ของตน ทําใหการสะสมคารโบไฮเดรตลดลง และไมสามารถไปสนับสนุนการเจริญเติบโตของผล พ้ืนที่ท่เี หมาะสมควรมีชวงแสงนาน 8-10 ช่วั โมงตอวัน อยา งไรก็ตาม อณุ หภูมเิ ปน ปจ จยั ทส่ี ําคญั กวา แสงในการออกดอกของมะคาเดเมยี 6.1.4 ดิน สภาพพน้ื ทีป่ ลูกมะคาเดเมียควรมกี ารระบายนํา้ ดี หากเปนดนิ เหนียวจะเปนปญ หาทีส่ ําคัญ ทําให รากมะคาเดเมียท่ีมีบางสวนฟูเหมือนรังบวบ (proteoid roots) ไมเจริญเติบโต ดังน้ัน ควรเลือกดินท่ีมี ช้ันดนิ ลึกอยางนอย 50 เมตร ความเปนกรด-ดาง อยูระหวาง 5.5-6.5 โดยท่ัวไปดินในประเทศไทยสวน ใหญเปนกรดถงึ กรดจัด จึงตอ งวิเคราะหดินและปรบั สภาพดินใหเหมาะสม ในระยะท่ีปลูกพืชอายุ 1-2 ป หากดินมีสภาพเปนกรด ควรใสปูนขาวตนละ 0.5 กิโลกรัม เม่ืออายุ 4-5 ปข้ึนไป เพิ่มเปนตนละ 1-2 กิโลกรัม (อุทยั และคณะ, 2551ก) 6.1.5 ไมบังลม ไมบังลมนับวาเปนปจจัยที่สําคัญท่ีจะตองพิจารณาในการเลือกพ้ืนที่สรางสวนมะคาเดเมีย เนือ่ งจากมะคาเดเมียเปนไมเ นอื้ แข็งแตเปราะหักงา ย ถามีพายุ ลมจะทําใหต นโคนลม กิ่งฉกี กิง่ หกั เสียหาย ได ถาปลูกไมบังลมกอนจะทําใหมะคาเดเมียเจริญเติบโตเร็ว เพราะตนไมถูกลมโยก ไมบังลม ไดแก ทองหลางใบมนจากฮาวาย (Wili wili; Erythrina lithosperma) สนอินเดีย (Silver oak or silky oak; Grevillea robusta) เสมด็ ฮาวาย (Paper bark; Melaleuca leucadendron L.) สนฉตั ร (Norfolka pine; Araucaria excelsa) หวา (Jambolan; Eugeinea cumini Druce.) ไผต ง และไผร วกตาง ๆ โดยสรปุ จะเห็นไดว า ปจ จัยดงั กลาวมผี ลตอ การเจริญเตบิ โต ผลผลิต และคุณภาพของมะคาเดเมีย ซ่ึงเปนพืชที่ตองการอุณหภูมิเย็นพอสมควร สําหรับประเทศไทย พื้นท่ีท่ีเหมาะสมท่ีสุดตอผลผลิตและ คุณภาพจะอยูที่ระดับความสูง 800-1,000 เมตรจากระดับทะเล ในเขตจังหวัดเชียงใหม เชียงราย แมฮองสอน ลําปาง แพร นาน ตาก เพชรบูรณ และเลย หากตองการปลูกในพื้นท่ีท่ีมีความสูง 400-800 เมตรจากระดับทะเล พ้นื ทนี่ ้ันควรอยเู หนือเสนรงุ ท่ี 19.8 องศาเหนอื ข้นึ ไป (อทุ ัย และคณะ, 2551ก) 6.2 การขยายพันธุม ะคาเดเมีย การขยายพันธุมะคาเดเมียมีหลายวิธีแตท่ีนิยมโดยท่ัวไปมี 2 วิธี คือ การทาบก่ิง และการเสียบ ยอด การจะเลือกใชว ธิ ีไหนขนึ้ อยูก บั ความเหมาะสม ความชํานาญ และความตองการของผูป ลูก ซ่งึ จะมที งั้ ขอ ดี ขอ เสีย แตกตา งกนั ไป การขยายพนั ธุทัง้ 2 วิธี จะตอ งใชตน ตอท่เี พาะจากเมล็ด ชนิดของมะคาเดเมียท่ีใชทําตนตอในตางประเทศ เดิมเปน Macadamia tetraphylla หรือ มะคาเดเมยี ชนิดเมล็ดผวิ ขรุขระ (rough shell type) ซึ่งมกี ารเจรญิ เตบิ โตเร็ว แข็งแรง ตนตอสามารถใช ทาบก่ิงไดเร็วกวาตนตอ M. integrifolia ที่เปนชนิดเมล็ดผิวเรียบ (smooth shell type) ถึง 6 เดือน หลังจากเสียบยอดแลว ตนจะเจรญิ อยา งรวดเร็วและสามารถใหผลเร็วกวา ตนตอ M. integrifolia ถึง 2 ป รากตนตอชนิดผิวขรุขระมีประสิทธิภาพในการดูดซึมธาตุเหล็กไดดีกวา ออนแอเพียงเล็กนอยตอเชื้อรา 43

Phytophthora cinnamomi ที่เปนสาเหตุของโรครากและโคนตนเนา และเช้ือรา Dethiorella gregaria ซึ่งเปนสาเหตุโรคแคงเกอรกับก่ิงมะคาเดเมีย (Storey, 1948) การปลูกมะคาเดเมียในสภาพไรของ มลรฐั ฮาวาย และเครอื รฐั ออสเตรเลยี อดีตใชต นตอ M. tetraphylla (ชนดิ ผิวขรขุ ระ) รอยตอ เขา กันไมได ตนพันธุดีเจริญเร็วกวาตนตอ (Hamilton, 1988; Bittenbender and Hirae, 1990) เปนสาเหตุใหเกิด รอยแตกหกั หรอื เปลือกฉีกตรงบริเวณเหนือและใตรอยตอเมื่ออายุมากขึ้น ทําใหรูปทรงตนไมสม่ําเสมอ ปจจุบันใชพันธุ Hinde (H2) หรือ Renown (D4) เปนตนตอจากเมล็ดมะคาเดเมียชนิดผิวเรียบ ซึ่งเปน ชนดิ ทปี่ ลกู เปน การคา สําหรับพนั ธทุ ใ่ี ชเปน ตนตอ ในประเทศไทยใชตน ตอทไี่ ดจาก พนั ธุ H2 #344 OC และเชียงใหม 700 (#741) เนื่องจากระบบ รากมกี ารเจริญเตบิ โตดี และแผกวาง แตป จ จบุ นั ใชพนั ธุ H2 เปนหลกั ในการผลติ ตน ตอ 6.2.1 การเตรียมตน ตอ มีขนั้ ตอนตงั้ แตก ารเพาะเมล็ด ดงั นี้ 1) เลอื กพื้นท่ีทีน่ ํา้ ไมท ว มถงึ ขุดเปนรอง กวาง 1-1.5 เมตร ความยาวแลวแตพ้ืนที่ ลึกประมาณ 50 เซนติเมตร แยกหนาดนิ ไวห รอื อาจกอ ดวยอิฐบลอ็ กใหส งู ประมาณ 30-40 เซนติเมตร 2) เตรยี มวสั ดุเพาะ ไดแก แกลบเกา ปุยคอกหรือปุยหมัก หนาดิน อัตราสวน 1:1:1 ตามปริมาตร ของแปลงเพาะ 3) ใสวัสดุเพาะลงรองท่ีขุดหรือในกระบะ โดยการใสปุยคอกหรือปุยหมัก แกลบเกา และหนาดิน ตามลําดบั คลกุ เคลา ใหเ ขากัน วัสดุเพาะจะตองสูงพอดีกับขอบกระบะ เม่ือรดนํ้าจะตํ่ากวาขอบ กระบะประมาณ 5 เซนติเมตร สวนในรองดินใหผ สมสงู กวา ขอบรอ งประมาณ 16-20 เซนตเิ มตร 4) การคัดเมลด็ ที่เพาะ เมล็ดทีจ่ ะนาํ มาเพาะควรเปน เมล็ดสดและใหม จะมรี อยละความงอกดีกวาเมล็ดเกา เพราะเมล็ดมะคาเดเมยี มีระยะการพักตัวสั้น ถาเกบ็ ไวน านเกิน 3 เดือน รอยละความงอกจะลดลง 5) แชเมล็ดทั้งกะลา (nut in shell) ในน้ํา แยกเมล็ดลอยออกท้ิง สวนเมล็ดท่ีจมจะเปนเมล็ดที่ สมบูรณส ําหรบั นําไปเพาะ 6) นําเมล็ดแชไวในสารเคมีปองกันกําจัดโรคพืช แมนโคเซบ (mancozeb) 80% ดับเบิลยูพี อัตรา 20 กรมั ตอนาํ้ 10 ลติ ร แชป ระมาณ 1 คนื 7) ทําแนวแถวเพาะหางกัน 5 นิ้ว ลึก 1 น้ิว วางเมล็ดตามแนวใหหางกันประมาณ 2½-3 นิ้ว พ้ืนที่ 1 ตาราง เมตร จะไดประมาณ 100-125 ตน การวางเมล็ดควรหันเมล็ดดานท่ีมีรู (micropyle) และ แนวรอยแตก (suture) ขนานกับพ้ืน เพื่อใหรากแทงลงพื้นโดยตรง ถาวางหงายขึ้นหรือหันขาง รากแกวจะโคง งอ 8) กลบดว ยดินผสมหนาประมาณ 1 นิ้ว รดนา้ํ และราดสารเคมปี อ งกนั กําจดั โรคพืช แมนโคเซบ 80% ดับเบลิ ยูพี หลังจากนัน้ ประมาณ 25-30 วนั เมลด็ จะงอกและมีใบเลี้ยง ใหถ อนตนกลา ลงถงุ ขนาด 6x12 นิ้ว ถงึ 6x16 นิว้ เปน ตน ตอสําหรับการเสยี บยอด ในสว นของตนตอสาํ หรบั การทาบก่งิ เลย้ี ง ไวใ นกระบะเพาะใหม ีอายปุ ระมาณ 6-12 เดือน (ภาพท่ี 20) 44

(ก) แชเ มล็ดในน้ํา คัดแยกเมลด็ ลอยทง้ิ เมลด็ จม (ข) ทาํ แนวแถวเพาะหา งกนั 5 นิ้ว ลึก 1 น้ิว นาํ ไปเพาะ (ค) การวางเมลด็ ควรหนั เมลด็ ดา นทม่ี รี ู และแนว (ง) วางเมลด็ ตามแนวใหห างกันประมาณ 2½-3 นิ้ว รอยแตกขนานกบั พืน้ (จ) กลบดวยดินผสมหนาประมาณ 1 นว้ิ (ฉ) รดน้ําและราดสารเคมปี องกันกาํ จัดโรคพชื ภาพที่ 20 ขั้นตอนการเพาะเมล็ดตน ตอ (ก-ฉ) 6.2.2 การดูแลรกั ษาตนกลา หลังจากตนกลาตน ตอต้ังตัวดีแลวประมาณ 3 เดือน ใสปุยสูตร 15-15-15 อัตราตนละประมาณ 1 ชอ นชา หรือตารางเมตรละ 200-300 กรัม ในกรณีเพาะและดูแลรักษาในแปลง ใสปุย 2-3 เดือนครั้ง การเสียบยอดในแปลงเพาะเหมาะสําหรับการสงจําหนายไปปลูกแบบลางรากในพื้นท่ีหางไกลหรือ ตางประเทศ รดนํ้าเชา-เย็น เม่ืออายุ 6-12 เดือน หรือตนขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.5-1.0 เซนติเมตร นาํ ขน้ึ ทาบได หรอื เสียบยอดในแปลงได 45

6.3 วิธีการขยายพนั ธุ 6.3.1 การขยายพนั ธมุ ะคาเดเมียโดยการทาบกิง่ สาํ หรบั วธิ ีการทาบกง่ิ ทาํ ไดห ลายวธิ ี ไดแ ก การทาบกิ่งแบบปาด (spliced approach grafting) การทาบก่ิงแบบเสียบขาง (modified veneer side grafting) การทาบกิ่งจะใชกับตนตอที่อายุนอย ในการทาบกิง่ จะมขี อเสยี คอื จะไดรากแกวที่ไมใชรากแรก เน่ืองจากตองตัดออกใหสั้น เพื่อใสถุงอัดขุย มะพราว (ตุม) ขึ้นทาบถา จะใหไ ดระบบรากแกวทสี่ มบูรณ และลึกอาจปลูกตนตอลงในสวนกอน สําหรับ ในสวนท่ีมคี วามพรอมทั้งดานบุคลากรและก่ิงพันธุ เม่ือตนอายุประมาณ 10-12 เดือน ทําการเสียบยอด ในแปลงเลยเนื่องจากมะคาเดเมยี เปนไมเ นือ้ แข็ง และไมผลดั ใบ เทคนคิ ทจ่ี ะทําใหรอ ยละการตดิ สูงกอนจะ นํากิ่งพันธุดีมาเสียบควรทําการคว่ันก่ิงพันธุดีกอน (girdle) ประมาณ 6-8 สัปดาห เพื่อตัดทอสงอาหาร และทําใหมีการสะสมคารโบไฮเดรตภายในก่ิงพันธุดี สวนที่จะนํามาเสียบควรมีใบสีเขียวออกเทาซ่ึงจะ ทําใหการเสียบยอดประสบความสําเร็จมากกวาใชก่ิงออน และควรทาบก่ิงมะคาเดเมียในชวงเดือน พฤษภาคม และเดือนพฤศจิกายน การเตรยี มตนตอสาํ หรบั การทาบก่ิงมะคาเดเมยี 1) นาํ ตนตอมะคาเดเมียที่เตรียมไวสาํ หรับเปนตนตอที่มรี ะบบรากดี ขนาดเสนผาศนู ยก ลาง 0.5-1.0 เซนตเิ มตร อายุ 6-12 เดือน เตรียมตนตอ โดยการขุดถอนทัง้ รากนน้ั จากกระบะเพาะกลา ตนตอ 2) ตดั แตง ใบออก ตัดแตงรากฝอยทีย่ าวเกินออกไป ตัดสว นรากแกวใหเหลือจากโคนตนถงึ ปลายราก ประมาณ 4 เซนตเิ มตร 3) การเตรียมขยุ มะพราว ตองเปน ขุยมะพรา วทีใ่ หม เตมิ นาํ้ สะอาดจนขยุ มะพรา วชมุ นํ้า 4) นําตนตอท่ีเตรียมตัดแตงรากแกว นําไปแชในฮอรโมน Indole-3-butyric acid (IBA) ความ เขม ขน 6,000 ppm ท่ีเตรียมไวน าน 10 วนิ าที (ภาพท่ี 21) 5) นําใสถุงพลาสติก ขนาด 4x6 เซนติเมตร เจาะรูดานขางถุง 1 รู เพื่อเปนที่ระบายน้ํา ใสขุย มะพรา วลงกนถงุ ประมาณ 2 เซนติเมตร ใสตนตอมะคาเดเมีย อัดขุยมะพราวใหแนน ใชเชือก ฟางมดั ปากถงุ ใหแนน ใชเชือกฟางอีกเสนยาวประมาณ 35-40 เซนติเมตร มัดระหวางกลางถุง โดยปลอ ยปลายเชอื กฟางไว 2 ขาง เผือ่ มัดกิง่ หลังจากการทาบกิ่ง การทาบก่ิงแบบปาด (Spliced approach grafting) 1) เลอื กกิ่งพนั ธดุ ขี นาดเทากับตน ตอ และเปน กิง่ แกทอี่ ายหุ ลายป ถาเปนกง่ิ ใหมร อยละการตดิ จะต่ํากวา 2) เฉอื นกง่ิ พันธดุ แี ละตน ตอเปนรูปโลยาว 1½-2 น้ิว เทา กับตนตอ ไมต องตัดยอดออก 3) ประกบแผลตน ตอและก่ิงพันธดุ ใี หเยือ่ เจรญิ (Cambium) ตรงกนั 4) พนั ผาพลาสตกิ ใหแ นน 2 รอบ จากบนลงลา งและจากลางขน้ึ บน 5) ผกู เชือกปากถุงตนตอยึดกบั ก่ิงพนั ธุดีใหแ นน 6) ประมาณ 30-45 วัน รอยแผลติดสนิทแลว หรือสังเกตรากของตนตอ เจริญดีแสดงวารอยทาบ ติดดี ตดั ยอดตนตอทง้ิ 7) ควั่นก่ิงพันธุดีใตรอยทาบ หลังจากนั้นอีกประมาณ 2 สัปดาห ตัดลงจากตนไดและนําลงชําใน โรงเรอื น ควบคมุ ความช้ืน 46

การทาบกิง่ แบบเสียบขา ง (Modified veneer side grafting) 1) เลือกกิ่งพันธุดีขนาดเทาหรือใหญกวาตนตอเล็กนอย และเปนกิ่งอายุหลายปซึ่งจะใหรอยละ การติดสูงกวา ก่งิ ออน 2) เฉอื นกง่ิ พันธดุ เี ฉียงเขา เนอื้ ไมเลก็ นอย ยาว 1½ -2 นว้ิ และเฉอื นดานบนเฉียง 45 องศา ทาํ เปนลิ้น 3) เฉือนตน ตอเปนปากฉลามยาวเทากบั รอยแผลกิ่งพนั ธดุ ี และเฉอื นดานหลงั เลก็ นอย 4) สอดตน ตอเขากบั แผลก่ิงพันธุด ี ใหแ นวเย่ือเจริญตรงกนั ดานใดดา นหน่ึงหรอื ท้งั สองดาน 5) พันผา พลาสติกใหแ นน 2 รอบ จากบนลงลา งและพนั จากลางข้นึ บนอกี รอบหนง่ึ 6) ผูกเชอื กปากถุงยึดกับกิ่งใหแ นน 7) ประมาณ 30-40 วนั แผลติดกันดแี ลว หรอื สังเกตดูรากของตนตอเจริญดี แสดงวารอยแผลติดดี ตดั ยอดตน ตอทิ้ง ขอด:ี ของการทาบกงิ่ แบบน้ี คอื ทําไดร วดเร็ว รอยตอ แข็งแรง (ภาพที่ 22) (ก) ชง่ั สารบรสิ ทุ ธ์ิ IBA 3,000 มิลลกิ รัม (ข) ทําละลายสาร IBA ดวยโซเดยี มไฮดรอกไซด (NaOH) 30 มลิ ลลิ ิตร (ค) ผสมสารละลาย IBA ดว ยนา้ํ กลัน่ 500 มลิ ลิลติ ร (ง) การเกบ็ สารละลาย ควรเกบ็ ไวใ หพนแสงแดด ไดส ารละลาย IBA 6,000 ppm ภาพที่ 21 การเตรียมฮอรโ มน IBA 6,000 ppm (3,000 มลิ ลกิ รมั ตอ 500 มลิ ลลิ ติ ร) (ก-ง) 47

(ก) ถอนตน ตอในกระบะเพาะ อายุ 6-12 เดือน (ข) ตดั แตงรากฝอยทยี่ าวเกนิ ออกไปใหเ หลือ สูงประมาณ 45-50 เซนตเิ มตร ความยาวประมาณ 4 เซนตเิ มตร (ค) จมุ ฮอรโ มน IBA 6,000 ppm (ง) นาํ ตน ตอมาอดั ตุม (จ) เฉอื นกง่ิ พันธดุ ีเฉยี งเขาไปในเนอ้ื ไมเลก็ นอ ย (ฉ) เฉือนตนตอเปน ปากฉลาม ยาว 1½ -2 น้ิว ยาว 1½-2 นิ้ว และเฉือนดานบนทําเปนลม่ิ 48

(ช) สอดตนตอเขา รอยแผลก่ิงพนั ธดุ ใี หแนวเยื่อ (ซ) พันผา พลาสติกใหแ นนจากบนลงลา ง เจรญิ ตรงกนั ดานใดดา นหนงึ่ หรอื ทงั้ 2 ดาน และพนั จากลางข้นึ บน (ฌ) ผกู เชือกยึดเกบ็ กงิ่ ใหแนน (ญ) สังเกตการเจรญิ ของระบบราก ภาพท่ี 22 การทาบกิ่งแบบเสยี บขาง (Modified veneer side grafting) (ก-ญ) การปฏิบัติหลังการทาบกง่ิ 1) ตัดก่งิ พนั ธดุ เี ม่อื รอยแผลติดกันสนทิ และรากตนตอเจริญดี จากน้นั ทาํ การตัดก่ิง และแกะถุงออก แลว จมุ นํ้ายาเรง ราก 2) นําตนกลาลงถุงเพาะขนาด 4x12 น้ิว วัสดุที่ใชเพาะชํากลา ดินดํา (หนาดิน): แกลบเกา หรือ ขยุ มะพรา ว: แกลบเผา: ปุยคอกหรอื ปุยหมัก อัตรา 1: 1: 1: 1 ในสวนผสม 1 ลูกบาศกตารางเมตร ผสม กับโดโลไมต 1 กิโลกรมั 3) ไมหลักค้ํากันตนลม ใชไมไผผาซีกยาวประมาณ 50-60 เซนติเมตร ปกตรงกลางระหวางถุง ระหวา งตน กลาท่ชี ํา ผูกลําตนกลาท่ีชาํ ลงถุงกับไมค ้ําเพื่อปองกันการโคนลมของตน กลา จากกิ่งทาบ 4) นําตน กลามาเลย้ี งดใู นโรงเรือนพลาสติกควบคุมความช้ืน ประมาณ 2-3 เดอื น ใหระบบรากเจริญ ไดด แี ละแตกใบใหม 5) นํากลามะคาเดเมียพรอมปลูก ความสูง 60-80 เซนติเมตร ออกมาเล้ียงดูในโรงเรือนพรางแสงรอยละ 70-80 ประมาณ 5-6 เดือน เพ่ือใหป รับตัวกบั สภาพอากาศกอ นนําลงปลูกหรอื จําหนาย (ภาพท่ี 23) 49

(ก) ตดั ถงุ พันธดุ ีทาบ (ข) นํากงิ่ พันธุดีแชน ํ้ายาเรงราก (ค) นํากิง่ พันธุด ลี งถุงดํา (ง) จากน้นั นําไมมาปก ผกู ดวยเชอื กฟาง เพอ่ื ปอ งกันลาํ ตน โคน ลม (จ) นาํ ตนพันธดุ เี ขา โรงเรอื นพลาสตกิ ควบคุม (ฉ) หลงั จากนัน้ นําเขา โรงเรอื นพรางแสงรอ ยละ ความช้นื ประมาณ 2-3 เดือน 70-80 ประมาณ 5-6 เดอื น (ช) ตน พันธดุ ีอายุ 1 ปค รึ่ง ถึง 2 ป พรอมลงปลกู หรอื จาํ หนา ย ภาพที่ 23 การปฏิบตั หิ ลังการทาบกิ่ง (ก-ช) 50

6.3.2 การขยายพนั ธุมะคาเดเมียโดยการเสียบกิ่ง นยิ มขยายพันธุในตนทีม่ ีอายุมากแลว การเสียบกง่ิ เปน การขยายพนั ธุพืชแบบไมอาศัยเพศ โดยการนํากิ่งพืช 2 ชนิด มาเช่ือมตอกันให เจริญเปนตนเดียวกัน สวนของพืชที่เจริญเปนราก เรียกวา ตนตอ (rootstock) หรือ stock และสวนที่ นาํ มาตออยบู นตน ตอเปนสว นที่เจรญิ เปนกงิ่ กาน ออกดอกติดผลตอ ไป เรียกวา กิ่งพันธุดี (scion) ซึ่งเปน สวนหน่งึ ของก่งิ พชื ที่มีตามากกวาหนงึ่ ตาขน้ึ ไป มาเช่อื มตอกบั ตนตอ การเสยี บกงิ่ มะคาเดเมียจะประสบความสําเร็จไดนั้น ตองมีการเช่ือมตอระหวางเนื้อเยื่อตนตอ และกงิ่ พันธุด ี การลําเลยี งน้ําและอาหารสามารถผานรอยตอได เนอื้ เย่ือบรเิ วณรอยตอ (graft union) เกิด จากเนอื้ เย่อื ของตนตอและกง่ิ พนั ธดุ มี าเรียงตวั อยูดว ยกนั โดยไมม กี ารรวมตัวของเซลลระหวางพืชทั้งสอง ชนดิ เนื้อเยือ่ ท่เี กดิ ขึน้ ถกู สรางข้นึ มาสมานเปน แผล เซลลพาเรนไคมาจาํ นวนมากประกอบกันเปนเน้ือเยื่อ แคลลัส (callus) เกดิ ขึน้ ภายใน 2-3 วนั รอยแผลทเี่ กดิ จากการเฉือนก่ิงจะมีสวนท่ีตายไปและมีการสราง สาร Nicrotic เพือ่ รกั ษาแผล และสารน้ีจะหายไปเม่ือเนอ้ื เยื่อเกดิ การเช่ือมตอ กนั แลว หรือยงั อยใู นชองวา ง ระหวางเซลลก็ได อาจพบเห็นเซลลที่ตายและเปนจากเนื้อเยื่อ การเกิดรอยตอไดน้ันตองวางใหเน้ือเย่ือ แคมเบยี ม ตน ตอ และกิง่ พันธดุ ีอยแู นบหรือใกลกันมากท่ีสุด แลวจะมีการสรางแคลลัส (callus) ใหมข้ึน จากทั้งสองสวนจนเติมชองวางระหวางกันเรียกวา Callus bridge ซึ่งจะมีการพัฒนาเปนเนื้อเยื่อเจริญ Vascular cambium ภายใน 2-3 สัปดาห และมีการสรางทอน้ํา (xylem) และทออาหาร (ploem) เชือ่ มกนั ตอ ไป การปรับสภาพแวดลอมภายนอกใหเหมาะสมเปนปจจัยท่ีสําคัญในการเสียบกิ่ง อุณหภูมิท่ี เหมาะสมตอการแบงเซลลบริเวณรอยตออยูระหวาง 12.8-32.0 องศาเซลเซียส เมื่อเกิดเนื้อเยื่อเจริญ แคลลัส (callus) ข้ึน ตอ งควบคุมความชื้นบริเวณรอยตอ ใหเหมาะสม เนือ่ งจากเซลลมีผนงั บางและเตง จงึ แหง ตายไดง าย จาํ เปนตอ งพันดว ยพลาสตกิ หรือใชถ ุงพลาสติกคมุ ทบั และเปนการปอ งกันแผลไมใหมีการ ตดิ เชอ้ื ที่ทาํ ใหเนาตายไดเ ชน กนั นอกจากน้ันความสัมพันธของระยะการเจริญเติบโตของตาบนกิ่งพันธุดี จะตอ งพอเหมาะกับการพัฒนาของเนอื้ เย่ือบรเิ วณรอยตอดวย คือ ข้นั ตอนการเสรมิ ทอนํ้า ทออาหารตอง เกดิ ขึ้นอยางสมบูรณก อนทจ่ี ะมีใบใหมเจริญจากกิง่ พนั ธุดี มฉิ ะนน้ั จะเกดิ การแหงตายของตาได การเขา กนั ได (compatibility) ของพชื ทง้ั สองชนิดมสี ว นตอความสําเรจ็ ในการตอ กง่ิ การเลือกใช ตนตอ และกิ่งพันธุท่ีมีความใกลชิดกันทางพฤกษศาสตรจะตอกันไดดี และรอยตอเจริญเหมือนเปน ตนเดยี วกัน (สรุ นิ ทร, 2547) ทักษะและประสบการณของผูปฏิบัติงานมีสวนสําคัญ เชน มีดท่ีใชเฉือนกิ่งตองคมสามารถ เฉือนกิ่งไดโดยไมทําใหเน้ือเย่ือชอกชํ้าหรือเสียหาย การเลือกใชวิธีเสียบกิ่งกับตนพืชท่ีอยูในระยะการ เจริญเตบิ โต ลอกเปลอื กไดห รือระยะพักตัว และการดูแลเอาใจใสอยางใกลชิดภายหลังการปฏิบัติงานมี สวนตอความสาํ เรจ็ ของงานดว ย ตนตอจากการเพาะเมล็ด (seedling rootstock) นิยมใชต นตอจากเมล็ดชนิดผิวเรียบ ในประเทศไทย ใชตนตอพันธุ H2, #344, OC และพันธุเชียงใหม 700 (#741) ซึ่งเปนพันธุท่ีมีระบบรากเจริญเติบโตดี และแผกวา ง ปจจบุ นั นิยมใชต น ตอจากพนั ธุ H2 เปน หลกั การควนั่ กง่ิ เปนการเตรียมก่งิ พนั ธุสาํ หรับการเสียบกง่ิ เน่ืองจากการควั่นก่ิงหรอื ใชลวดรัดกิ่งเปน การตัดทออาหาร (phloem) ของพืชทําใหอาหารที่ถูกสรางจากใบและกิ่งสวนบนไมสามารถสงไปยัง สว นลาง จงึ เกิดการสะสมอาหารและฮอรโ มนท่กี ง่ิ และใบในสว นบน ทําใหกงิ่ ควน่ั เปนกง่ิ พนั ธุดีท่ีเหมาะสม สําหรบั การเสยี บกง่ิ 51

การเตรียมตอตอสําหรับการเสียบก่ิงมะคาเดเมีย 1) หลงั จากเพาะเมลด็ ประมาณ 25-30 วัน เมล็ดจะงอก และมใี บเล้ยี งใหถอนลงถงุ เพาะขนาด 6x12 น้วิ ถึง 6x16 นว้ิ 2) วางถุงเพาะในโรงเรือนพลางแสงประมาณรอยละ 50 เรียง 4-5 ถุง เวนรองทางเดินประมาณ 50 เซนติเมตร 3) การดูแลรักษาตนกลาเมื่อตนกลาตั้งตัวดีแลวประมาณ 3 เดือน ใสปุยสูตร 15-15-15 อัตราตนละ 1 ชอนชา หรือตารางเมตรละ 200-300 กรัม ใสปุย 2-3 เดือนตอครั้ง ใสปุย 46-0-0 ประมาณ 50 กรมั ผสมน้าํ 1 บวั (5 ลิตร) รดสลับกับปุย 15-0-0+โบรอน กอนที่จะเตรียมเสียบยอด 2-3 เดอื นตอคร้ัง และพน ธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริมทางใบ และสารปองกันกําจัดโรคและ แมลง เพ่ือใหตนตอมีความสมบูรณ เลี้ยงตนตอมีความสูงประมาณ 60-80 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลาง 0.5-1 เซนติเมตร อายุประมาณ 12-18 เดือน กอนท่ีจะเสียบยอดประมาณ 15 วัน ใหตัดปลายยอดมะคาเดเมยี จากปลายลงมาประมาณ 10-15 เซนติเมตร การเตรยี มกง่ิ พันธุสาํ หรับการเสียบกง่ิ มะคาเดเมยี 1) การดแู ลการเตรียมก่ิงพันธุที่จะใชสําหรับการเสียบก่ิง ตองคัดเลือกตนพันธุท่ีเปนพันธุดีท่ีไดรับ การแนะนํา ตนพนั ธตุ อ งมีความสมบรู ณ มีการบํารุงรกั ษา การใสปุย รดนํ้า ใหไดก ่ิงที่สมบูรณ 2) การคัดเลือกก่ิงกระโดงท่ีมีความสมบูรณ ก่ิงกึ่งออนมีสีนํ้าตาลออน มีขนาดเสนผาศูนยกลาง ประมาณ 0.5-1 เซนตเิ มตร ใบยอดอยูในชว งระยะเพสลาด 3) การควั่นกิ่ง เหมือนกับการตอนกิ่ง โดยการควั่นเปลือกผิวก่ิงบนและลางหางกันประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร เอาเปลือกออกและขดู เพ่อื ใหเย่ือท่ีผวิ ลอกออก โดยคว่ันทิง้ ไว 1 เดือนคร่ึง ถึง 2 เดือน เพือ่ ใหกงิ่ สะสมอาหารเพียงพอ 4) การเตรียมกง่ิ พนั ธทุ ่ีตัดจากตนพันธุ ตองเก็บดวยความระมัดระวัง หลังจากตัดลงมาจากตนพันธุ ตองตดั แตงใบออก แลวพันกิ่งดวยกระดาษหนังสือพิมพ หรือผาฝายชุบนํ้าใสถุงพลาสติกขนาด 20x30 น้ิว นํากิ่งพนั ธุใสตูเยน็ อณุ หภมู ิ 7 องศาเซลเซียส ประมาณ 1-3 วัน 5) นําก่ิงพันธุแชดวยสารปองกันกําจัดโรค ฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม 80% ดับเบิลยูจี (fosetyl- aluminium) อัตรา 50 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร ประมาณ 30 นาที และโมโนไนโตรฟนอล (Mono- nitrophenol) อัตรา 10 มลิ ลิลติ รตอนาํ้ 20 ลติ ร ประมาณ 15 นาที การตอ กงิ่ แบบเสียบลมิ่ (Cleft grafting) 1) กอนนํากง่ิ พนั ธุด ีมาเสยี บตอ งควน่ั กิง่ พนั ธดุ ีทง้ิ ไว 6-8 สปั ดาห 2) ตัดตนตอสูงจากดินประมาณ 25-30 เซนติเมตร กรณีตนตอเพาะในถุงและสูงประมาณ 15-20 เซนติเมตร ตดั ใหต รงตัง้ ฉากกับกงิ่ 3) ผาตนตอใหล กึ 1-2 น้วิ ไมค วรผากลางลาํ ตน ใหผ า หางจากกกลางลําตน เล็กนอ ย 4) ตัดกิ่งพันธดุ ยี าว 7-10 เซนติเมตร หรือมีขอ 3-4 ขอ พันพาราฟลมจนถึงปลายยอด พัน 2 รอบ เนน บริเวณขอ พนั ใหแ นบสนทิ เฉอื นโคนกิง่ ใหเปน รูปลม่ิ ยาวเทา รอยผา ตน ตอ รอยเฉือนก่ิงพันธุดี ตอ งเรยี บ 5) สอดกิง่ พนั ธดุ ีใหแนวเยือ่ เจรญิ ตรงกัน ถา ตนตอใหญใหวางชิดดา นใดดา นหนง่ึ ของตน ตอ 6) พนั ผา พลาสตกิ หรือเชือกฟางใหแนน หมุ รอยแผลใหมดิ พนั จากขา งบนลงลา งแลว พนั กลบั ขนึ้ บน อีกที พันใหแนนและปดสนิทเพ่ือปองกันนํ้าและเช้ือราเขาแผล หุมดวยถุงพลาสติกเพื่อรักษา ความช้นื และปอ งกนั น้าํ ฝน และหมุ กระดาษนอกถงุ เพ่อื ปอ งกันแดด 52

7) การดูแลตนกลาที่เสียบก่ิงแลว ชวง 1-4 สัปดาห การรดนํ้าตองระวังไมใหถูกแผลและก่ิง สังเกต แตกยอดกิง่ พันธุดจี ะแทงทะลพุ าราฟลมออกมา คอยปลดิ กง่ิ ที่แทงจากตน ตอออกใหห มด เลย้ี งกงิ่ ยอด พนั ธุด ีใหสมบูรณแ ละเหลอื ไวเพยี ง 1 กงิ่ (ภาพท่ี 24) (ก) อุปกรณใ นการเสยี บกงิ่ (ข) ตน กลาหลงั เพาะเมลด็ ประมาณ 25-30 วนั (ค) ถอนลงถุงเพาะขนาด 6x12 น้ิว ถึง 6x16 น้วิ (ง) ตนตออายุประมาณ 12-18 เดอื น (จ) ตดั ตนตอสงู ประมาณ 20-30 เซนตเิ มตร (ฉ) ผาตรงกลางตน ตอลกึ 2.5-5 เซนตเิ มตร 53

(ช) เตรียมก่งิ พันธดุ ที ี่คว่ันทิ้งไว 6-8 สปั ดาห (ซ) การเฉอื นกง่ิ พันธุ 2 ดา นเปนรูปลม่ิ พันพาราฟลมจนถึงปลายยอด (ฌ) สอดก่ิงพันธุดใี หแ นวเนอ้ื เยอื่ ตรงกนั พันพลาสติก (ญ) ตนพันธุดหี ลงั เสียบก่ิง บริเวณแผลเสียบก่งิ (ฎ) ตน พันธดุ ีหลังเสียบกง่ิ 1 เดือนคร่ึง (ฏ) ตนพันธุดหี ลงั เสียบกงิ่ 3 เดอื น 54

(ฐ) ตนพนั ธุดหี ลังเสยี บกิง่ 6 เดือน (ฑ) ตนพันธดุ หี ลงั เสียบกิ่ง 1 ปครง่ึ ภาพท่ี 24 การตอ กงิ่ แบบเสียบลิ่ม (Cleft grafting) (ก-ฑ) การปฏบิ ัติหลงั การเสยี บกิ่ง 1) ดูแลในโรงเรอื นสภาพปรกติพรางแสงรอยละ 70-80 รดน้ําเชาเย็น ไมควรรดนํา้ ใหโดนบริเวณแผล เสยี บกง่ิ โดยตรง 2) ตัดแตงตนพันธุดี โดยใหเหลือก่ิงหรือลําตนประธานเพียง 1 ตน จนตนสูงจากโคนตนประมาณ 70-80 เซนติเมตร ใหเ ลี้ยงแตกกิง่ แขนงออก 2-3 กิ่ง 3) พนสารเคมีปอ งกนั เชอ้ื รา ทกุ ๆ 1 เดือนตอ ครัง้ 4) ตนพนั ธุดีอายปุ ระมาณ 2 ป นับต้ังแตการเพาะเมล็ด พรอมลงปลกู จําหนา ยหรือจาํ หนาย 5) หลังจากนาํ ตนพันธุด ีลงปลูกใหต น พันธุเจรญิ เตบิ โตประมาณ 3 เดือน ใหกรีดพลาสติกบริเวณจุด เสียบก่งิ ออก 6.4 การจัดทรงตน และการตัดแตง กง่ิ 6.4.1 การจดั ทรงตน การจดั ทรงตนในระยะแรกหลังการปลูก มคี วามจาํ เปน อยางมากเพ่อื ทจี่ ะไดท รงพุมที่ลักษณะตรง ตามความตองการและมีทรงตนที่ดีตอไปในอนาคต ซึ่งปกติจะเริ่มจัดทรงตนในชวง 6-12 เดือนแรก เน่ืองจากตนยังมีขนาดเล็กและอายุยังนอยอยู หากเราทําการตัดแตงกิ่งเพื่อบังคับทรงตนใหเปนไป ตามความตองการชาเทา ไหร ก็จะย่งิ ทําไดล ําบากและทําใหพชื โตชาเทา น้ัน 6.4.2 การตัดแตง กิง่ การจัดทรงตนในระยะแรกหลังการปลูก จะตองบังคับใหมีก่ิงหรือลําตนประธานเพียง 1 ก่ิง เทา นั้น ก่งิ แขนงอน่ื ๆ ควรตดั ออก และเมอ่ื ก่งิ ประธานสูง 80-100 เซนติเมตร และยังไมแตกก่ิงขางใหตัด ยอดประธานออกเพือ่ ใหแตกยอดใหมแ ละใหม กี ง่ิ ขา งออกอยา งนอย 3 ก่งิ กิง่ ท่แี ตกยอดใหมเ ลอื กไวเปนก่งิ ประธานท่ีจะข้นึ ตรงตอ ไป และเลือกกิง่ ขา งหรอื ก่ิงแนวท่ีทํามุมกวางกับลาํ ตน ไวประมาณ 2 ก่งิ ก่ิงอ่ืนท่ีทํา มุมแคบจะตองเดด็ หรอื ตดั ออก (ภาพที่ 25) การตดั แตงระยะท่ีใหผลผลิตแลวจะตัดเฉพาะกิ่งที่เปนโรค ทํามุมแคบ ก่ิงหัก และกิ่งท่ีทรงพุม ชนกันหรอื ทับซอนกนั ดานนอกเทาน้ัน หรอื ตัดเพอ่ื ควบคุมทรงพุมดานนอก โดยตัดแตงกิ่งในรูปแบบทรง ปรามดิ เนอ่ื งจากการตดั แตงกิง่ ในรูปทรงน้ี สามารถฟนฟูตนมะคาเดเมียท่ีมีอายุมาก ตนทรุดโทรมใหตน สมบูรณ มปี รมิ าณผลผลติ ท่ีไดคณุ ภาพเพ่ิมมากยิ่งข้ึน 55

(ก) ตัดยอดสงู จากพน้ื ดนิ 80 เซนติเมตร เพอ่ื กระตุน (ข) หลงั ตดั ยอด มีกง่ิ เกิดมากเลอื กกงิ่ ขางไว 2-3 ก่ิง ใหแ ตกก่ิง และตัดกง่ิ ทอี่ ยสู งู ระดบั เขาทิ้ง และกง่ิ กลาง 1 กิ่งทเี่ หลือใหตดั ทงิ้ (ค) ลกั ษณะตน หลงั ตดั คร้งั แรก (ง) เกดิ กงิ่ ใหมทป่ี ลายกิ่งกลางเหนอื ฉตั รแรก เลอื กกง่ิ ทาํ มมุ กวา งไว 2 กงิ่ และกงิ่ กลางตงั้ ตรงขนึ้ ไป (จ) ก่ิงทท่ี ํามุมแคบกบั ลําตนควรตัดออก (ฉ) ตดั กิ่งกระโดงหรอื กง่ิ ทเี่ กดิ จากตน ตอระดบั ดิน และกงิ่ ทเี่ กดิ โคนลําตน ออก ภาพที่ 25 การจัดทรงพมุ ตน (ก-ฉ) 56

6.5 การจดั การน้าํ และเขตกรรม 6.5.1 การจัดการนา้ํ การวางระบบนํ้าจะแบงออกเปน 2 ชวงอายุ โดยชวงแรก อายุ 1-4 ป ใหแบบพนฝอยขนาด เลก็ มาก หรือน้าํ หยด (ภาพที่ 26) ชว งทีส่ อง อายุ 5 ปข้ึนไป ใหแ บบพน ฝอยขนาดเล็ก หรือแบบขอเหวี่ยง ขนาดเลก็ (ภาพที่ 27) โดยตน มะคาเดเมยี แตล ะชวงอายุมคี วามตองการนํ้าในปรมิ าณทแ่ี ตกตา งกัน ดังน้ี ตน มะคาเดเมยี อายุ 2 เดอื นแรก ควรไดรับน้าํ ตน ละ 20-30 ลติ รตอ สปั ดาห ตน มะคาเดเมยี อายุ 1-3 ป ควรไดรบั น้ําตน ละ 130-150 ลิตรตอ สปั ดาห ตน มะคาเดเมยี อายุ 4-7 ป ควรไดร บั นาํ้ ตน ละ 200 ลติ รตอสปั ดาห ตน มะคาเดเมียอายุ 7 ปข้นึ ไป ควรไดรบั นาํ้ ตน ละ 800 ลติ รตอสัปดาห ชวงการออกดอกและติดผลระยะแรกบนทสี่ ูงของประเทศไทย จะเปนชวงฤดูหนาว จนถึงเขาฤดูรอน เดือนเมษายน ควรมกี ารใหนาํ้ อยางสมํ่าเสมอ สว นชวงการพฒั นาของผล เดือนพฤษภาคม จนถงึ เดอื นสงิ หาคม เปนชวงฤดูฝนไมจ ําเปน ตอ งใหน ํา้ ยกเวน กรณที สี่ ภาพอากาศมีความแหง แลง ภาพที่ 26 การใหน้าํ ชวง อายุ 1-4 ป แบบพนฝอยขนาดเล็กมากหรือน้าํ หยด 57

ภาพท่ี 27 การใหนํา้ ชว ง อายุ 5 ปข้นึ ไป แบบพนฝอยขนาดเลก็ หรอื แบบพนเหวย่ี งขนาดเลก็ ภาพท่ี 28 ระบบนา้ํ สาํ หรับแปลงมะคาเดเมยี 58

6.5.2 การคลุมโคน การคลมุ โคนจะเปน ประโยชน ในฤดแู ลง ชวยรักษาความช้ืนของดิน ปองกันการพังทลายของดิน ถาปลูกในพ้ืนท่ีลาดเอียงในสวนท่ีระยะปลูกชิด จะมีใบรวงคลุมดินอยูมาก และใบแหงท่ีสะสมอยูใตตน ยงั คงสภาพไดน านไมยอ ยสลายงาย ในการตดั แตงกงิ่ ประจําปแลวนําใบหรอื กง่ิ ขนาดเล็ก ๆ มาบดหรอื ยอย แลวคลุมทับใบแหงท่ีรวงอยูกอนแลวใหหนา 2-5 เซนติเมตร จะชวยปองกันการชะลางหนาดินได (ภาพท่ี 29) (อุทัย และคณะ, 2551ก) ภาพท่ี 29 คลมุ โคนดวยฟางชวยรักษาความช้นื ของดนิ ชวงฤดูแลง 6.6 การจัดการปุย มะคาเดเมียเปนพืชท่ีตองการธาตุอาหารใชในการเจริญเติบโตและติดดอกออกผลในปริมาณมาก ปรมิ าณทใ่ี สค วรคํานึงถงึ ธาตอุ าหารในแปลงปลูก ลักษณะดิน อายุตนและความสมบูรณของตน ธาตุอาหาร หรือปยุ ท่จี าํ เปนมี 2 ประเภท คือ 6.6.1 ปยุ อินทรยี  เปนปุยท่ีไดจ ากวสั ดอุ นิ ทรีย มธี าตอุ าหารทีเ่ ปน ประโยชนสําหรับการเจริญเติบโต ของพชื ผลิตจากวสั ดอุ นิ ทรยี  เชน มูลวัว มูลไก มูลคา งคาว ปยุ หมกั เศษใบไม การใสป ุย อนิ ทรียม ะคาเดเมยี ในชวงอายุ 1-3 ป ควรใสป ยุ คอก ปละ 10-20 กโิ ลกรัมตอตน อายุ 4 ป ข้ึนไปควรเพิม่ ปรมิ าณเปน 30-50 กิโลกรัมตอตน และคลุมดินใตทรงพุมหางจากโคนตน 30 เซนติเมตร ดวย ฟางขาว เศษหญา หรอื ปุย หมกั เพื่อรักษาความชน้ื เพม่ิ ธาตอุ าหารแกร ากบริเวณผิวดิน และเพิ่มปริมาณราก ขนออน 6.6.2 ปยุ เคมี ปท ี่ 1 ใชป ุย 15-15-15 อตั รา 600 กรมั ตอ ตนตอ ป ผสมปุยยูเรีย 120 กรัม ปท ่ี 2 ใชปยุ 15-15-15 อตั รา 1,200 กรมั ตอ ตน ตอป ผสมปุยยูเรีย 240 กรัม ปท ่ี 3 ใชป ยุ 15-15-15 อตั รา 1,800 กรมั ตอ ตน ตอ ป ผสมปยุ ยูเรีย 360 กรัม ปท ่ี 4 ใชปุย 15-15-15 อตั รา 2,400 กรัมตอตนตอป ผสมปุยยูเรีย 480 กรมั ปท่ี 5 ใชปุย 12-12-17-2 (Mg) อตั รา 3,000 กรัมตอ ตน ตอป ผสมปุย ยูเรยี 600 กรัม 59

หลงั จาก 5 ปข้ึนไป ใหเพ่ิมข้ึนปละ 500-600 กรัมตอตน และเพิ่มแมปุยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม ในสดั สว น 2:1:2 โดยใช 46-0-0 อตั รา 18 กิโลกรมั 18-46-0 อัตรา 9.5 กิโลกรัม และ 0-0-60 อตั รา 13.5 กโิ ลกรัม ผสมกันรวมนา้ํ หนักปยุ ท่ีใส 41 กโิ ลกรมั ตอ ไร (จิตอาภา และคณะ, 2562) แบงใส 4 ครั้งตอ ป คอื ครั้งที่ 1 ปลายตลุ าคม ถงึ ตน พฤศจกิ ายน ครัง้ ท่ี 2 เดอื นมกราคม ถึง กมุ ภาพนั ธ คร้ังท่ี 3 เดอื นพฤษภาคม ถงึ มิถนุ ายน ครงั้ ท่ี 4 เดือนสงิ หาคม ถึง กันยายน อัตราปุยท่ีใชขึ้นอยูกับสภาพดินซ่ึงจะตองวิเคราะหดินอยางนอยปละ 1 ครั้ง หรือรวมกับ การวเิ คราะหใ บพชื ประกอบดว ยเพอื่ เพิ่มความแมนยํา (ภาพท่ี 30) ภาพที่ 30 วิธีการใสป ุย เคมี 60

6.7 ศตั รูพชื และการปอ งกนั กําจดั ศัตรูพืช (Pest) ไดแก สัตวศัตรู (Animal pest) โรคพืช (Plant disease) แมลงศัตรู (Insect pest) และวัชพืช (Weed) จัดวาเปนปญหาสําคัญของการทําการเกษตร เนื่องจากสรางความเสียหาย ใหกับพืช ผลผลิตและคุณภาพลดลง ทําใหตนพืชออนแอลง โทรมลง และอาจตายในที่สุด ทําใหตอง หาแนวทางและวิธีการตาง ๆ เพ่ือควบคุมศัตรูพืชใหมีปริมาณลดลง จนไมกอใหเกิดความเสียหาย ทางเศรษฐกิจตอพืช ในแตละปเกษตรตองสูญเสียท้ังเงิน เวลา และความรูตาง ๆ ในการควบคุมศัตรูพืช เปน จาํ นวนมาก ดงั นั้น จงึ จาํ เปนตองศกึ ษาเก่ยี วกับศัตรพู ชื และวธิ ีการควบคมุ เพอื่ ใชเปนพ้นื ฐานของการ จัดการศัตรูพชื ในการผลติ พชื ใหไ ดผ ลผลติ ตามศกั ยภาพของพนั ธุกรรมพืช 6.7.1 สตั วศัตรูและการปองกนั กาํ จัด กลุมกระรอก (Squirrel family; Sciuridae) ไดแก กระรอกดินขางลาย (Menetes berdmori), กระรอกหลากสี (Variable Squirrel, Collosciurus finlaysoni) และ กระเลน็ (Himalayan striped squirrel, Tamiops macclelend) (ภาพที่ 31) (ก) กระรอกดนิ ขางลาย (Menetes berdmori) (ข) กระรอกหลากสี (Collosciurus finlaysoni) (ค) กระเล็น (Tamiops macclelend) ภาพที่ 31 สัตวฟ น แทะในกลมุ กระรอก (Squirrel family; Sciuridae) ศตั รมู ะคาเดเมียทพี่ บในแปลง ทดลองมะคาเดเมีย ณ ศูนยว ิจยั เกษตรหลวงเชียงใหม (แมจอนหลวง) ต.แมนาจร อ.แมแจม จ.เชียงใหม (ก-ค) กลุมหนู (Rat and mice family; Muridae) ไดแก หนูฟานเหลือง (Maxomys surifer), หนูปา อินโดจีน (Indochinese forest rat, Rattus andamanensis) หนูขนเสี้ยน (Spiny rats, Niviventer sp.) หนูทองขาวบาน (Rattus rattus) และ หนหู ริ่งปาเล็กขนเส้ยี น (Mus pahari) (ภาพที่ 32) 61

(ก) หนฟู านเหลอื ง (Maxomys surifer) (ข) หนูขนเส้ยี น (Niviventer fulvescens) (ค) หนหู ริ่งปาเลก็ ขนเสย้ี น (Mus pahari) ภาพที่ 32 สตั วฟนแทะในกลมุ หนู (Rat and mice family; Muridae) ศัตรูมะคาเดเมียทีพ่ บในแปลง ทดลองมะคาเดเมีย ณ ศูนยว ิจยั เกษตรหลวงเชยี งใหม (แมจ อนหลวง) ต.แมน าจร อ.แมแจม จ.เชยี งใหม (ก-ค) กลมุ อน (Mole rat family; Rhizomyidae) ไดแก อน ใหญ (Rhizomys sumatrensis) ลกั ษณะการทาํ ลาย จะเริ่มทําลายผลมะคาเดเมยี เม่อื ผลแกใ กลเ กบ็ เกยี่ ว และยังนําเอาผลไปกิน ในรังหรอื ที่อน่ื ๆ ทําใหผลผลิตเสียหาย ผลผลติ และคุณภาพลดลง (ภาพที่ 33) การปองกันกาํ จัดสัตวฟ นแทะในมะคาเดเมยี โดยวธิ ีผสมผสาน กรณกี ระรอก วางกรงดักท่ีมีกลวย หรือขนุนเปน เหยือ่ ลอ มัดติดกบั กิง่ ไมในทรงพุมบนตน หรือบริเวณคาคบ และในกรณีหนู วางกรงดักท่ีมี ขา วโพดหรอื ผลมะคาเดเมียเปนเหย่ือลอ โดยวางท่ีโคนตน รอยทางว่ิงหนู หรือบริเวณที่พบรอยกัดทําลาย การใชสารกําจัดหนูประเภทออกฤทธ์ิชา ไดแก โบรไดฟาคูม (brodifacoum 0.005 เปอรเซ็นต) หรือ โฟลคมู าเฟน (flocoumafen 0.005 เปอรเซ็นต) ชนิดกอนขี้ผ้ึง หนักกอนละ 5 กรัม โดยวางใสทอพีวีซี เสนผาศูนยกลางประมาณ 9 เซนติเมตร ยาวประมาณ 50 เซนติเมตร หรือผูกแขวนดวยลวดมัดติดกับ กิ่งไมในทรงพุมบนตน และวางบริเวณโคนตน หรือบริเวณท่ีพบรองรอยของสัตวฟนแทะ จุดละ 3 กอน ใหค รอบคลมุ พื้นที่ทั้งหมด เริ่มวางสารกําจัดหนูตั้งแตมะคาเดเมียเร่ิมออกดอก จนกระท่ังเก็บเก่ียวหรือ เมื่อพบวา ประชากรสตั วฟ น แทะเริ่มสูงขึ้นและพบรอยกัดทําลายมากขึ้น โดยแตละครั้งวางสารกําจัดหนู หา งกนั 3-4 สปั ดาห จํานวนคร้งั ในการวางข้ึนอยกู บั ประชากรสตั วฟนแทะขณะนั้น จนกระทั่งเกบ็ เกยี่ วผล (วชิ าญ และคณะ, 2562) 62

อน ใหญ (Rhizomys sumatrensis) ภาพที่ 33 สัตวฟนแทะในกลุมอน (Mole rat family; Rhizomyidae) ศัตรูมะคาเดเมียท่ีพบในแปลง ทดลองมะคาเดเมีย ณ ศูนยวิจยั เกษตรหลวงเชยี งใหม (แมจ อนหลวง) ต. แมนาจร อ. แมแ จม จ. เชียงใหม ภาพท่ี 34 ลักษณะการเขา ทาํ ลายของสัตวฟนแทะศตั รมู ะคาเดเมยี 6.7.2 แมลงศตั รแู ละการปองกนั กาํ จัด เพลีย้ ออ นดําสม (black citrus aphid: Toxoptera aurantii (Boyer de Fonscolombe)) ลกั ษณะการทาํ ลาย ตัวออ นและตวั เต็มวยั ของเพล้ียออนจะดูดกินนํ้าเล้ียงจากยอด ใบออน และ ชอดอกตมู สว นของพืชที่ถกู ทาํ ลายจะบดิ งอ และเกดิ ราดาํ จากนาํ้ หวานที่เพลย้ี ออ นผลติ ออกมา การปอ งกันกําจัด 1) ตัดแตง กง่ิ ใหโ ปรง ลดความทึบของทรงพมุ เพอ่ื ลดการสะสมของแมลง 2) หมั่นสาํ รวจยอด ใบออ น และชอดอกอยเู สมอ 3) เมือ่ พบการเขา ทาํ ลาย ใหตัดสว นท่ีพบเพลี้ยออนออกไปทําลายนอกแปลง 63

เพลี้ยไฟ พบ 4 ชนดิ คอื เพลี้ยไฟหลากสี (color thrips: Thrips coloratus Schmutz) เพล้ียไฟพริก (chili thrips: Scirtothrips dorsalis Hood) เพลย้ี ไฟมะละกอ (papaya thrips: Thrips parvispinus Karny) และ เพล้ียไฟดอกถัว่ (flower bean thrips: Megalurothrips usitatus Bagnall) ลกั ษณะการทาํ ลาย ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ําเล้ียงบริเวณยอดออน ใบออน ชอดอก และ ผลออ น พบมากชวงดอกบาน การทําลายทําใหใ บบดิ งอ ดอกแหง และรว ง ผลเปนแผลข้กี ลากสีน้ําตาล การปอ งกนั กําจดั 1) หมั่นสํารวจยอด ใบออน ดอก และผลออน 2) หากพบการระบาด พนดว ยสารฆา แมลง ฟโพรนิล 5% เอสซี อัตรา 20 มลิ ลิลติ รตอ น้าํ 20 ลิตร หรือ อมิ ดิ าโคลพริด 70% ดับเบิลยูจี อตั รา 3 กรมั ตอน้าํ 20 ลิตร หรือ สไปนีโทแรม 12% เอสซี อตั รา 10 มลิ ลิลิตรตอ นาํ้ 20 ลติ ร หรือ คารบ าริล 85% ดับเบิลยูพี อัตรา 60 กรมั ตอน้ํา 20 ลติ ร อยางใดอยางหน่ึง เพลีย้ แปง แปซฟิ ก (Pacific mealybug : Planococcus minor (Maskell)) ลักษณะการทําลาย ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ําเล้ียงบนยอด ใบ ก่ิง และขั้วผล มักพบอยู เปน กลมุ รวมกับมด สว นของพชื ทถี่ กู ทาํ ลายมกั พบราดําจากน้ําหวานทเี่ พลย้ี แปง ผลิตออกมา การปองกนั กําจดั 1) ตัดแตง ก่ิงใหโปรง ลดความทึบของทรงพมุ เพอ่ื ลดการสะสมของแมลง 2) หม่นั สํารวจยอด ใบ ก่งิ และผล อยูเสมอ หากพบเพลย้ี แปงใหตัดสวนท่ีพบออกไปทําลาย นอกแปลง เพลีย้ หอยเกล็ด (lesser snow scale : Pinnaspis buxi (Bouché)) ลักษณะการทาํ ลาย ดูดกินน้ําเล้ยี งจากกิง่ กาน ใบ ผล และลําตน การปองกนั กาํ จัด 1) ตดั แตง ก่งิ ใหโ ปรง ลดความทึบของทรงพุม เพอ่ื ลดการสะสมของแมลง 2) หมัน่ สาํ รวจกง่ิ กา น ใบ และผล อยเู สมอ หากพบเพลยี้ หอยใหต ัดสวนท่ีพบออกไปทําลาย นอกแปลง หนอนเจาะผล พบ 2 ชนดิ คอื หนอนเจาะผลเงาะ (rambutan fruit borer : Deudoric epijarbas (Moore)) และ หนอนเจาะผล (yellow peach moth : Conogethes punctiferalis (Guenée)) ลักษณะการทาํ ลาย หนอนเจาะเขา ไปกัดกนิ อยูภายในผล ทาํ ใหผ ลผลิตเสียหาย รว งหลน การปองกนั กาํ จัด 1) ตัดแตง กิ่งใหโ ปรง ลดความทึบของทรงพมุ เพ่ือลดการสะสมของแมลง 2) ระยะผลหมนั่ สํารวจ หากพบการเขาทาํ ลาย ใหเกบ็ ผลท่ีถูกทาํ ลายออกไปท้งิ นอกแปลง (บุษบง และคณะ, 2561) 64

ภาพท่ี 35 เพลีย้ ออ นดาํ สม และลักษณะการเขา ทาํ ลาย ภาพที่ 36 ลกั ษณะการเขา ทําลายของเพลีย้ ไฟในผลมะคาเดเมยี ภาพท่ี 37 เพลี้ยแปง และลักษณะการเขาทาํ ลาย 65

ภาพที่ 38 หนอนเจาะผล และลกั ษณะการเขาทาํ ลายผลมะคาเดเมยี 6.7.3 โรคและการปอ งกันกําจัด โรคใบไหม (leaf blight) เกิดจากเชอื้ รา Neopestalotiopsis clavispora ลักษณะอาการ อาการเร่มิ จากเปนจุดแผลขนาดเลก็ สีนํ้าตาล ขอบแผลมสี เี หลือง กระจายท่ัวใบ และเม่ืออาการรนุ แรงจดุ แผลจะขยายรวมกัน ทาํ ใหเ กดิ เปนใบไหม (ภาพท่ี 39) การปองกันกําจัด 1) ทําลายสว นท่ีเปน โรค โดยการนําไปเผาท้งิ นอกแปลงปลกู 2) ตดั แตงก่ิงใหโ ปรง ลดความทบึ ของทรงพมุ เพือ่ ลดการสะสมของโรค ภาพที่ 39 ลกั ษณะอาการใบไหมท ีเ่ กดิ จากเช้ือรา Neopestalotiopsis clavispora ในใบมะคาเดเมยี โรคใบจดุ (leaf spot หรือ anthracnose) เกดิ จากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides ลักษณะอาการ อาการเริ่มจากเปนจุดแผลขนาดเล็ก สีน้ําตาล จากน้ันจะขยายใหญขึ้นเปน จุดกลม ขอบแผลมสี ีนาํ้ ตาลแดง กระจายท่วั ใบ และเมอ่ื อาการรนุ แรงจุดแผลจะขยายรวมกนั ทาํ ใหใบแหง ตาย แสดงอาการทั้งบนใบออน ใบแก เปลือกผล และทําลายผลท่ีใกลจะแกดวย ทําใหผลแหงแข็ง คาเปลอื ก และผลหอ ยตดิ อยูกับตน (ภาพท่ี 40) 66

การปอ งกนั กาํ จัด 1) ทาํ ลายสว นที่เปน โรค โดยการนําไปเผาทิ้งนอกแปลงปลูก 2) ตดั แตงกงิ่ ใหโปรง ลดความทบึ ของทรงพมุ เพือ่ ลดการสะสมของโรค ภาพที่ 40 ลักษณะอาการใบไหมท่ีเกดิ จากเช้อื รา Colletotrichum gloeosporioides ในใบมะคาเดเมีย โรคโคนเนาหรอื เปลอื กผุ (Phytophthora trunk and stem canker) เกดิ จากเชอ้ื รา Phytophthora cinnamomi ลกั ษณะอาการ ระยะตน กลา จะเกิดเปน แผลช้ําบริเวณโคนตนในระดับดิน ทําใหโคนตนคอดลง ตนเหี่ยวแหงและตายอยางรวดเร็ว ในระยะตนโต สีของเนื้อไมบริเวณโคนตนจะเปล่ียนเปนสีเขมขึ้น ตองเอาเปลอื กไมดานนอกออกจึงสงั เกตเห็นอาการ อาการสามารถลุกลามจากโคนตน ข้นึ ไปยงั สวนของก่ิง ได (ภาพที่ 41) การปอ งกันกําจดั 1) ใชต น กลาที่มาจากแหลง ท่ีปลอดโรค 2) จัดทํารองระบายนา้ํ ในบรเิ วณสวนที่มพี ื้นทีต่ ํ่า เพอ่ื ไมใหม นี าํ้ ทว มขัง 3) ใชเ ชอ้ื ราไตรโคเดอรมา รองกน หลุม โดยคลุกเคลาเชื้อสดปริมาณ 150–300 กรัม กับดิน ในหลมุ กอ นนํากลาพืชลงปลูก 67

ภาพท่ี 41 ลกั ษณะอาการใบไหมทีเ่ กิดจากเชอ้ื รา Phytophthora cinnamomi (ทมี่ า: Plant Village, 2015) 6.7.4 วชั พชื และการปอ งกนั กาํ จดั วชั พชื ทีพ่ บมที ัง้ ชนดิ ใบแคบและใบกวา ง ไดแ ก หญา ตีนนก หญาตนี กา หญานกสีชมพู หญา ปาก ควาย หญาคา กระดมุ ใบเลก็ สาบแรง สาบกา ผกั ปลาบ หญา ยาง ลกู ใตใบ และตนี ตกุ แก การกําจัดวชั พืชในมะคาเดเมีย 1) ปลูกพชื คลุมดนิ ตระกลู ถวั่ 2) ปลูกพืชแซม 3) ใชรถหรือเครอื่ งตัดวัชพืชระหวางแถวปลูก 4) การใชส ารกาํ จัดวัชพชื * ไมค วรใชส ารเคมปี อ งกันกําจดั ศตั รมู ะคาเดเมยี และวชั พืชโดยไมจําเปน 6.7.5 การควบคมุ วัชพืช 1) ในการปลูกมะคาเดเมียระยะแรกทต่ี นยังเล็ก บรเิ วณใตทรงพุมจะตอ งกาํ จัดวัชพืชดวยการ ใชจอบถาง หรือถอนดวยมือ และคลุมดินดวยหญาแหง เปลือกถั่วหรือวัสดุอื่น หรือใช สารเคมี 2) การกาํ จัดวัชพืชในระหวางแถวปลูก ควรใชว ิธีผสมผสานโดยการใชวิธีกล เชน ปลกู ถ่ัวคลุมดิน หรือพชื แซมรว มกับการใชสารเคมบี างเพ่อื รกั ษาสภาพแวดลอ มและสรา งรายไดเพม่ิ ระยะที่ มะคาเดเมียยังไมใหผลผลิตหรือใหผลผลิตแลวก็ตามแตทรงพุมยังไมชนกัน (ภาพที่ 43) (อทุ ยั และคณะ, 2551ก) ภาพที่ 42 การปลูกพชื แซมชว ยในการควบคมุ วชั พืช 68

บทท่ี 7 เทคโนโลยหี ลงั การเกบ็ เกีย่ ว และการแปรรปู 7.1 วิทยาการหลงั การเก็บเกี่ยว การเก็บเก่ียวและการแปรรูป มีผลโดยตรงตอผลิตภัณฑมะคาเดเมีย ทั้งดานคุณภาพผลผลิต การลดความสูญเสียผลผลิต คุณภาพของผลิตภัณฑ และการเพ่ิมมูลคาสินคา ดังน้ันจึงเปนข้ันตอนที่มี ความสําคัญเพ่ือใหไดคุณภาพผลิตภัณฑที่ดี การเก็บเกี่ยวในชวงเวลาที่เหมาะสมจะทําใหไดคุณภาพและ ปริมาณผลผลิตทดี่ ี การแปรรูปเปน ผลิตภัณฑท ่ีหลากหลายชว ยเพิม่ ทางเลอื กใหผ ูบ รโิ ภคและเพ่ิมมูลคาสินคา อกี ทั้งยงั ลดปริมาณวสั ดุเหลือใชทางการเกษตรดว ยการแปรรูปเปน ผลิตภณั ฑท ่สี รางมูลคา สรางรายไดใหกับ เกษตรกร และผปู ระกอบการไดอ ีกทางหนึ่ง การเกบ็ เกยี่ วและการแปรรปู จงึ มขี ้นั ตอนทส่ี าํ คญั ดังตอไปนี้ 7.1.1 การเตรียมการเก็บเกี่ยว 1) พนื้ ทส่ี วนใหญไมสามารถใชเคร่อื งจกั รไดตองใชแ รงงานคนเก็บและเตรียมถุงหรือภาชนะสําหรับ เก็บผล 2) เตรียมเครอ่ื งมืออุปกรณก ารกะเทาะใหพ รอม 3) ทาํ ความสะอาดโรงปฏบิ ัตงิ าน และโรงเก็บเมล็ด 7.1.2 การเกบ็ เกีย่ ว 1) ใชแ รงงานคนเก็บผลแกท่ีรวงใตด ิน และตอ งกะเทาะเปลือกเขยี วออกภายใน 24 ชั่วโมง เนือ่ งจาก จะมีผลทําใหคณุ ภาพเนือ้ ในลดลง 2) การเกบ็ ผลที่รวงบนพน้ื ดนิ ทุก ควรทําทุก 3-4 วนั ในฤดฝู น เพราะถา ปลอ ยทง้ิ ไวน านเช้อื รา อาจ เขาทําลายผล สว นในฤดแู ลง หากผลถูกแสงอาทิตยโ ดยตรงนาน ๆ ผลจะแตกทําใหเ นื้อใน เหม็นหืนได (rancidity) (อทุ ยั และคณะ, 2551ก) ภาพที่ 43 เก็บผลแกท รี่ ว งใตต น เพ่ือนําไปกะเทาะเปลือกเขยี วออก 69

7.2 การแปรรูป 7.2.1 กะเทาะเปลอื กนอก (Dehusking) 1) ควรกะเทาะภายใน 24 ช่ัวโมง 2) หลังกะเทาะเปลือกนอกออก ตอ งนาํ ไปผ่ึงในทม่ี ลี มพัดผานหรือวางบนตะแกรงเปนช้ัน ๆ และใชพัดลมเปาเพ่ือลดความช้ืน ไมควรวางซอนทับกันมากเกินไป (อุทัย และคณะ, 2551ก) (ก) มะคาเดเมียท่ีไมไ ดกะเทาะเปลือก (ข) นํามะคาเดเมยี มากะเทาะเปลือกนอกออก (ค) เมลด็ มะคาเดเมยี หลงั กะเทาะเปลือกออก (ง) ผ่งึ ลมหลังกะเทาะเปลอื ก ภาพท่ี 44 กะเทาะเปลอื กนอก (Dehusking) และผงึ่ ลมเพอ่ื ลดความชนื้ (ก-ง) 7.2.2 การคดั เมล็ด (Sorting nut in shell) 1) แชเ มล็ดท่ีกะเทาะเปลอื กนอกออก คัดเมล็ดท่ีลอยนา้ํ ทงิ้ 2) ใชเครื่องคัดขนาดเมล็ด ถาเมล็ดมีเสนผาศูนยกลางต่ํากวา 1.8 เซนติเมตร ใหคัดทิ้ง เพราะมคี ุณภาพตาํ่ (อทุ ยั และคณะ, 2551ก) (ก) แชเ มลด็ (ข) คัดเมล็ดทล่ี อยนํา้ ทง้ิ ภาพที่ 45 การคดั เมล็ด (Sorting nut in shell) (ก-ข) 70

7.2.3 การลดความชื้นเมลด็ (Drying) ผึ่งเมล็ดในพน้ื ท่ีที่มีลมพัดผานสะดวกประมาณ 3-7 วัน ความชื้นจะลดลงเหลือประมาณ รอ ยละ 10-15 ขึน้ อยกู ับอุณหภมู ิและฤดกู าล (ก) มะคาเดเมยี ท่ีผานการคดั เมล็ด (ข) ผ่งึ เมลด็ เพ่ือลดความช้ืน ภาพท่ี 46 การลดความชน้ื เมล็ด (Drying) (ก-ข) 7.3 การเกบ็ รักษาผลผลติ 7.3.1 เมล็ดทัง้ กะลา (Nut in shell) 1) ลดความชื้นใหเหลือประมาณรอยละ 10 สามารถเก็บไวไดนานถึง 1 เดือน เพ่ือรอการกะเทาะ หรือขาย โดยการควบคุมและรกั ษาระบบการหมุนเวยี นของอากาศ 2) ถาเมล็ดมีไมมากนักอาจเก็บโดยการเทเมล็ดบนช้ันลวดตาขาย เกล่ียเมล็ดหนา 10-15 เซนติเมตร ต้ังในทีร่ ม มีการถายเทอากาศดี เมล็ดสามารถเก็บไวไดนานถึง 6-12 เดือน ซึ่ง แตกตา งไปตามสภาพอากาศ (อทุ ัย และคณะ, 2551ก) 7.3.2 การอบเพ่อื กะเทาะเมล็ด 1) เมล็ดทั้งกะลาสดมคี วามชืน้ รอยละ 20-25 หลงั จากผึ่งเมล็ด 3-7 วนั ความชืน้ ลดลงเหลอื รอยละ 10-15 นาํ เขา เครอ่ื งอบความรอนใชอุณหภูมิ 41 องศาเซลเซียส 3 วัน และ 51 องศาเซลเซียส อีก 3 วนั หรอื เมอ่ื เขยา เมลด็ ดูจะคลอนแสดงวาเนอื้ ในลอ นไมตดิ กะลา นํามากะเทาะกะลาออก (อุทัย และคณะ, 2551ก) (ก) เครือ่ งอบความรอน (ข) นําเมลด็ ทง้ั กะลาเขา เครอื่ งอบความรอ น 71

(ค) กะเทาะกะลาออก (ง) มะคาเดเมยี หลงั ทาํ การกะเทาะกะลาออก ภาพท่ี 47 การอบเพ่ือกะเทาะเมล็ด (ก-ง) 7.4 การขนสง เมล็ดท้ังกะลา ถาขนสงภายในประเทศ ใสกระสอบตาขายไนลอนโปรงหรือลังพลาสติก และ ระยะทางขนสง ไมเกิน 3 วัน (อุทยั และคณะ, 2551ก) ภาพท่ี 48 เมลด็ ทั้งกะลาใสก ระสอบตาขายไนลอนโปรง เตรยี มขนสง 72

7.5 การกาํ หนดมาตรฐาน มะคาเดเมยี จัดเปนพชื สวนอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจ และเปนท่ีนิยมของผูบริโภค ท่วั โลก มรี าคาสูง มีคุณคา ทางโภชนาการสูง สามารถใชแ ปรรปู เปนผลิตภัณฑไ ดหลากหลายชนิด จึงทําให การผลิตมะคาเดเมียของประเทศไทยมีการเพิ่มขึ้นในแตละป เน่ืองจากผูบริโภคในประเทศไทยมี ความตองการผลผลติ เพื่อใชบรโิ ภคสงู ดังนัน้ คณุ ภาพของเมลด็ มะคาเดเมียแบบท้ังกะลา และแบบเนื้อใน จึงเปน ส่ิงสําคญั ท่ีเกษตรกร และผูประกอบการแปรรปู มะคาเดเมีย ตองคาํ นงึ ถงึ ในการผลติ มะคาเดเมียให ไดคุณภาพ และมาตรฐาน เน่ืองจากคุณภาพจะเปนตัวกําหนดราคาในการซื้อขายใหไดราคาสูงหรือตํ่า การกําหนดมาตรฐานมะคาเดเมียแบบท้ังกะลา และที่มีเฉพาะเน้ือใน ซึ่งเปนมาตรฐานท่ีถูกกําหนดโดย United Nations Economic Commission for Europe (UNECE) Standard DDP-22 และ DDP-23 ดงั น้ี 7.5.1 การควบคมุ คุณภาพข้ันตํา่ 1) การควบคมุ คุณภาพขัน้ ตํา่ สาํ หรบั มะคาเดเมยี แบบทงั้ กะลา คณุ ภาพของกะลา คุณภาพของเมล็ดเนอื้ ใน คุณภาพผลผลติ โดยรวม - ปราศจากการแตกหัก - ปราศจากกล่นิ เหม็นหืน - เมล็ดสมบรู ณ - สะอาด - เมลด็ มีการเจรญิ เตม็ ที่ - ปราศจากเสน ใยเชอ้ื ราท่มี องเห็นได - ปราศจากขอ ตาํ หนิ - ปราศจากขอตาํ หนิ - ปราศจากแมลงศตั รูพืช สีท่ไี มส ม่ําเสมอ หรือเปนรอยดา ง สที ีไ่ มส ม่ําเสมอ หรือ - ปราศจากรอยสัตวกดั แทะ - ปราศจากความเสียหาย เปน รอยดา ง - ลักษณะภายนอกไมมีความบกพรอง - ปราศจากเสน ใยราทม่ี องเห็นได ที่เกิดจากความชนื้ - มรี ปู ทรงทดี่ ี - ปราศจากกลน่ิ หรือรสชาติผิดปกติ ทม่ี า: International Nut and Dried Fruit Council (2018) 2) การควบคมุ คุณภาพขนั้ ตา่ํ สําหรับมะคาเดเมยี แบบเฉพาะเมล็ดเนอ้ื ใน - ปราศจากการแตกหกั - เมลด็ สมบรู ณ - สะอาด - เมล็ดมีการเจรญิ เต็มท่ี - ปราศจากขอ ตาํ หนิ สที ่ไี มสมํา่ เสมอ หรือเปนรอยดาง - มรี ูปทรงทีด่ ี - ปราศจากแมลงศัตรพู ืช - ปราศจากรอยสตั วก ัดแทะ - ปราศจากเสนใยราทมี่ องเหน็ ได - ปราศจากกลิ่นเหมน็ หนื - ลกั ษณะภายนอกไมมีขอ บกพรองทเ่ี กดิ จากความชน้ื - ปราศจากกลิ่นหรอื รสชาตผิ ิดปกติ 73

3) ปจ จัยดานองคประกอบทางเคมีและเช้อื จลุ นิ ทรีย Australian Southern African Brazilian Macadamia Association (ABM) ปจจัย Macadamia Society Macadamia Growers’ 1.5% ± 0.3% (AMS) Association (SAMAC) ≤1.0% 1) องคประกอบทางเคมี ≤3 meq/kg or ≤5 ความชื้น < 1.8% ไมเ กิน 2% meq/kg (some markets) ปราศจากไขมันอ่มิ ตัว ≤0.5% ≤0.5% < 30,000 cfu/g ระดับสาร peroxide ≤2 meq/kg ≤3 meq/kg < 20,000 cfu/g < 350 cfu/g (2 years shelf life); < 3 cfu/g 2< x <3 meq/kg ไมพ บเช้อื ในปริมาณ นํา้ หนัก 250 กรมั (1 year shelf life) 2) เชอื้ จลุ ินทรีย ปริมาณจุลินทรียท ม่ี ีชีวิตทง้ั หมด < 30,000 cfu/g < 20,000 cfu/g ปรมิ าณยสี ตแ ละรา < 20,000 cfu/g < 20,000 cfu/g ปรมิ าณเช้ือโคลฟิ อรม - < 300 cfu/g ปริมาณเชื้อ E. coli < 3/g ไมพ บ (AS 2013.15-2006 (BS 5763 method) test method) ปริมาณเชื้อ Salmonella ไมพบเชื้อในปริมาณ ไมพบ น้ําหนัก 250 กรัม (ISO 6579 or BAM (AS 2013.10-2009 method) test method) ทีม่ า: International Nut and Dried Fruit Council (2018) 4) การควบคมุ การปนเปอน โดยควบคุมปรมิ าณการปนเปอ นของสารอะฟลาทอ็ กซนิ เปนหลัก ประเทศ Aflatoxin B1 (ppb) Total Aflatoxin (B1-B2-G1-G2) (ppb) ออสเตรเลยี - 15 บราซลิ - 10 สหภาพยุโรป 2 4 อนิ เดีย - 10 สหรฐั อเมรกิ า - 20 ทม่ี า: International Nut and Dried Fruit Council (2018) 5) การควบคุมคุณภาพดานความเช่ือมน่ั 5.1) มมี าตรการปฏิบตั ิดานการเกษตรท่ีดี (Good Agricultural Practices: GAP) 5.2) มมี าตรฐานการปฏบิ ตั ดิ า นการผลิตอาหารที่ดี (Good Manufacturing Practices: GMP) 5.3) มมี าตรการปฏบิ ัติดา นการเกบ็ รักษาผลผลติ ทีด่ ี 5.4) มแี นวทางการวิเคราะหจ ุดวกิ ฤตทีต่ องมีการควบคมุ 74

7.5.2 มาตรฐานและการคัดเกรดมะคาเดเมยี มาตรฐานและการคัดเกรดมะคาเดเมีย ไดมีการกําหนดเกณฑคุณภาพดวยการจัดจําแนก มะคาเดเมียแบบทั้งกะลาและที่มีเฉพาะเมล็ดเน้ือใน ในสายพันธุตาง ๆ ท่ีเจริญมาจากสปชีส Macadamia integrifolia, M. tetraphylla, M. ternifolia และพนั ธลุ ูกผสม โดยมะคาเดเมียแบบทั้งกะลาและที่มีเฉพาะ เมล็ดเน้ือในจะถูกจดั แบง ประเภทตามพ้ืนฐานความเสยี หายท่ีเกดิ ขึ้นกบั ผลผลิต 1) คณุ ภาพ เปลือกของมะคาเดเมียจะตองไมมีความเสียหาย สมบูรณ แข็งแรง ปราศจากขอตําหนิและ เสน ใยเชอ้ื ราท่ีมองเห็นได มีรูปทรงทีด่ ีไมผ ิดปกติ สําหรบั เมลด็ เนือ้ ใน เมล็ดจะตองปราศจากกล่นิ เหมน็ หนื มีการเจริญเตม็ ที่ ปราศจากขอ ตําหนิ ไมป รากฏสีทไ่ี มส มาํ่ เสมอหรอื เปน รอยดางท่ีเดนชัดเมื่อเปรียบเทียบ กบั บริเวณสวนทเี่ หลือของเมลด็ กลิ่นดานผลผลิตโดยรวม (แบบทั้งกะลาและท่ีมีเฉพาะเน้ือใน) จะตองมีความสมบูรณและ ปราศจากเสนใยเชือ้ ราทม่ี องเห็นได ปราศจากศัตรูพืช รอยสตั วก ัดแทะ ลกั ษณะภายนอกไมม ขี อ บกพรอง ทเี่ กิดจากความชน้ื ปราศจากหรอื รสชาตทิ ผ่ี ดิ ปกติ 2) การจดั ประเภทมะคาเดเมยี การจดั จําแนกใชเกณฑข อ บกพรอ งที่ยอมรับได 2.1) การจัดประเภทมะคาเดเมียแบบท้ังกะลา ขอบกพรองทยี่ อมรับได ระดบั การรบั ได* ประเภท 1 ประเภท 2 (1) การยอมรับไดส าํ หรับกะลาทไี่ มผา นขอ กาํ หนดขัน้ ตํ่าสุด จะตองไมเกิน 57 กะลามเี ศษวัตถอุ ื่น ๆ เกาะติด 12 มรี อยสตั วก ดั แทะ 23 มีโรคแมลงศัตรูพืช 00 (2) การยอมรบั ไดโ ดยรวมสาํ หรบั เมล็ดเนอ้ื ในทีไ่ มผ านขอกาํ หนดข้ันตา่ํ สดุ จะตองไมเกิน 7 10 มเี ชือ้ รา 0.5 1 มรี สชาตหิ รือกลนิ่ ผดิ ปกติ 23 เมลด็ เนื้อในหดตวั 23 มีเน้อื เหนียวหรอื มีจดุ สนี ้ําตาล 23 เมลด็ เน้อื ในไมส มบรู ณ และสายพันธุแตกตา งกนั 23 เสือ่ มสภาพ และถูกทาํ ลายจากสตั ว 35 (3) การยอมรับไดดา นขนาด มะคาเดเมยี แบบทั้งกะลาทไ่ี มเ ขาเกณฑขั้นตํา่ สุดท่ีขนาดเสนผา ศนู ยก ลาง 00 15.87 มม. (5/8 นิว้ ) ไมผ า นการรับรองดานขนาด 10 10 (4) การยอมรบั ไดจ ากขอบกพรองอืน่ ๆ มีการปนเปอ นจากวสั ดุแปลกปลอม 12 * รอยละของขอบกพรองบนเปลือกกะลามะคาเดเมีย โดยเปรียบเทยี บจากปรมิ าณหรือน้ําหนัก 75

2.2) การจัดประเภทมะคาเดเมียทีม่ ีเฉพาะเมล็ดเนอ้ื ใน ขอบกพรองทยี่ อมรับได ระดับการยอมรบั ได* ประเภท 1 ประเภท 2 (1) การยอมรบั ไดสาํ หรบั เมล็ดเนอ้ื ในทไ่ี มผา นขอกาํ หนดข้นั ต่ําสุด 7 10 จะตอ งไมเ กนิ เมลด็ เจรญิ ไมเต็มที่ เน้อื ในไมส มบูรณ 35 มีเชือ้ รา 11 มีกลนิ่ เหม็นหนื หรือถกู ทําลายจากสตั ว มกี ารเนา หรือเสือ่ มสภาพ 12 ไมมีกลิน่ หรอื รสชาติ 00 มโี รคแมลงศตั รพู ชื 00 (2) การยอมรบั ไดด านขนาด ขนาดผลผลติ ทไี่ ดไมเ ปนไปตามท่กี าํ หนด 77 (3) การยอมรบั ไดด านขอบกพรองอื่น ๆ มกี ารปนของมะคาเดเมยี พันธุอ ื่น หรือชนิดพนั ธไุ มต รงตามเกณฑ 10 10 ทางการคา มกี ารปนเปอ นจากวสั ดุแปลกปลอม มกี ารแตกหกั เปนผง 0.25 0.25 *รอ ยละของขอบกพรองของเมล็ดเนอ้ื ในมะคาเดเมยี โดยเปรยี บเทียบจากปริมาณหรือนํ้าหนัก ที่มา: International Nut and Dried Fruit Council (2018) 3) ขอกําหนดดา นขนาด ขอ กําหนดดานขนาดของมะคาเดเมียจะถูกนํามาพิจารณารวมกับการจัดประเภทของมะคาเดเมีย ดงั น้ี - มะคาเดเมยี แบบท้ังกะลา จะใชเกณฑจากการวัดขนาดเสนผาศูนยกลางท่ีระยะส้ันที่สุด ของเปลอื กกะลา (มีหนวยเปน มิลลเิ มตร หรือ นิว้ ) - มะคาเดเมียที่มีเฉพาะเมล็ดเนื้อใน จะใชเกณฑจากการวัดขนาดเสนผาศูนยกลางที่ ระยะกวางทส่ี ดุ รวมกบั ขอกําหนดดานขนาดทีก่ ําหนดไว 3.1) ขอกาํ หนดดานขนาดของมะคาเดเมยี แบบท้งั กะลา ขนาดทก่ี าํ หนด เสนผา ศูนยกลาง (มิลลเิ มตร) เสนผา ศูนยก ลาง (นวิ้ ) ใหญ (พิเศษ) ใหญกวาหรือเทากบั 28 มิลลเิ มตร ใหญก วา หรอื เทากับ 1.1 นว้ิ ใหญ 23-28 มลิ ลเิ มตร 0.9-1.1 น้วิ กลาง 18-23 มิลลเิ มตร 0.7-0.9 นิว้ เลก็ 16-18 มิลลเิ มตร 0.6-0.7 น้ิว ต่าํ กวากาํ หนด เลก็ กวา 16 มลิ ลเิ มตร เล็กกวา 0.6 น้วิ ทมี่ า: International Nut and Dried Fruit Council (2018) 76

3.2) ขอ กําหนดดานขนาดของมะคาเดเมียทีม่ ีเฉพาะเมลด็ เนอ้ื ใน ชนิด ลกั ษณะ ขนาด 0 เมล็ดเต็ม (wholes): ควรประกอบดวย เมล็ดผา นตารางขนาด 6.25 มิลลิเมตร เมลด็ ทีส่ มบรู ณไ มม ีการแตกหกั อยา งนอย หรอื 0.25 นวิ้ นอ ยกวารอยละ 1 รอ ยละ 95 1 เมล็ดเต็ม (wholes): ควรประกอบดวย เมลด็ ผานตารางขนาด 6.25 มิลลิเมตร เมลด็ ทส่ี มบรู ณไ มม ีการแตกหกั อยางนอย หรอื 0.25 น้วิ นอยกวารอ ยละ 1 รอยละ 90 2 เมล็ดเต็ม และซีกใหญ (wholes and เมล็ดผานตารางขนาด 7.8 มลิ ลิเมตร halves): ควรประกอบดวยเมล็ดที่สมบูรณ หรือ 0.3125 นิ้ว นอยกวารอยละ 2 ไมม ีการแตกหักอยางนอ ยรอยละ 50 3 เมล็ดซกี ใหญและหักครึง่ (cocktail): เมลด็ ผา นตารางขนาด 6.25 มลิ ลเิ มตร ควรประกอบดวย หรือ 0.25 น้วิ นอยกวา รอ ยละ 2 - เมลด็ ที่แตกหักครง่ึ หนึ่งหรอื ยงั มีเมลด็ เนอ้ื ในสวนใหญอ ยา งนอยรอยละ 90 - เมล็ดทสี่ มบรู ณไ มม กี ารแตกหกั อยา งนอ ยรอ ยละ 15 4 เมล็ดหักครง่ึ (halves and pieces): เกรด L: เมล็ดขนาดใหญกวา 16 ควรประกอบดว ย มิลลเิ มตร - เมลด็ ท่แี ตกหักครงึ่ หน่ึงอยางนอย เกรด M: เมล็ดมีขนาดอยรู ะหวาง รอ ยละ 50 14-16 มลิ ลเิ มตร - เมลด็ ท่ยี ังมเี นอื้ ในสวนใหญจ ะตอ ง เกรด S: เมลด็ มีขนาดอยรู ะหวา ง ไมเกินรอ ยละ 5 ของเมลด็ ท่แี ตกหกั 10-14 มลิ ลเิ มตร ครึง่ หนงึ่ 5 เมล็ดซีกเลก็ (large diced): - เมลด็ ผานตารางขนาด 7.8 ควรประกอบดว ยเนือ้ ในทม่ี ขี นาดเลก็ มิลลิเมตร x 25 มิลลเิ มตร กวา เมลด็ ท่ีแตกหกั คร่งึ หนงึ่ นอ ยกวารอ ยละ 5 - เมล็ดผา นตารางขนาด 2.34 มลิ ลเิ มตร หรือ 0.09 น้ิว นอ ยกวารอยละ 2 77

ชนดิ ลักษณะ ขนาด 6 เมล็ดแตกหักเปนช้นิ เล็ก (chips): - เมลด็ ผา นตารางขนาด 7.8 x 25 ควรประกอบดว ยเนือ้ ในขนาดเล็ก มลิ ลิเมตร หรอื 0.3125 x 1 นวิ้ อยางนอ ยรอ ยละ 95 - เมล็ดผา นตารางขนาด 2.34 มลิ ลิเมตร หรือ 0.09 นิ้ว นอยกวา รอ ยละ 2 7 เมลด็ แตกหกั เปนเกลด็ (bits and - เมล็ดขนาดเลก็ กวา เมล็ดทแ่ี ตกหกั diced): ควรประกอบดว ยเนอ้ื ใน ไปแลวครึง่ หน่งึ คอื ขนาดเล็ก - เมลด็ ผา นตารางขนาด 7.8 มลิ ลเิ มตร หรอื 0.3125 นวิ้ อยางนอยรอ ยละ 95 - เมล็ดผา นตารางขนาด 2.34 มลิ ลิเมตร หรอื 0.09 นว้ิ มากกวารอ ยละ 10 8 เมลด็ แตกหกั ละเอียด (fines): - เมลด็ ท้ังหมดจะตองผา นตาราง ควรประกอบดว ยเนือ้ ในท่ีแตกหกั ขนาด 6.25 หรือ 0.25 นว้ิ มขี นาดเล็ก หรือถกู สบั - เมลด็ สว นมากจะตองผานตาราง ขนาด 2.34 มิลลิเมตร. หรอื 0.09 น้ิว ที่มา: International Nut and Dried Fruit Council (2018) 7.6 ปจจัยทมี่ ผี ลตอการกําหนดราคา 1) ปริมาณไขมัน เพื่อใหไดมะคาเดเมียท่ีมีรสชาติท่ีดีที่สุด ควรเก็บเกี่ยวผลผลิตในชวงท่ีมีปริมาณ นํ้ามนั สูงสดุ 2) สีของเนื้อใน โดยท่ัวไปเปนสีขาวครีมสม่ําเสมอ ถาสีน้ําตาลเขมหรือสีดําแสดงถึงการท่ีเนื้อใน มีอายุการเก็บรักษานานและเหม็นหนื 3) ขนาดของเน้ือใน เปนปจจัยท่ีสําคัญตอการประเมินคุณภาพ ถาขนาดเน้ือในเพ่ิมขึ้น คาจัดการ จะลดลง ขนาดเนื้อในควรมขี นาดใหญและสมบรู ณ ไมมกี ารแตกหัก ไมม ีสง่ิ ปนเปอน 7.7 เครือ่ งมือแปรรูปมะคาเดเมีย ศูนยวิจัยเกษตรวิศวกรรมเชียงใหม โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสนับสนุน การวิจัยกรมวิชาการเกษตร ไดวิจัยและพัฒนาชุดเคร่ืองมือแปรรูปมะคาเดเมีย 4 เคร่ือง ไดแก เคร่ืองกะเทาะเปลือกเขียว เครื่องอบลดความช้ืน เคร่ืองกะเทาะกะลาระดับอุตสาหกรรม และ เคร่ืองกะเทาะกะลาระดับเกษตรกรรม ซ่ึงสามารถแปรรูปไดครบวงจรและลดตนทุนจากการนําเขา เคร่ืองมอื ราคาแพงจากตางประเทศ ดังน้ี 78

7.7.1 เครอ่ื งกะเทาะเปลือกเขียวมะคาเดเมยี เครื่องกะเทาะเปลือกเขียวมะคาเดเมียนี้ไดพัฒนามาจากเครื่องกะเทาะเปลือกเขียวของ เครือรฐั ออสเตรเลยี หลกั การทํางานของเคร่อื งเร่มิ จากการปอนผลมะคาเดเมยี ใสใ นชองปอน ผลมะคาเดเมีย จะถูกลําเลียงเขามาในเคร่ืองกะเทาะ โดยในเคร่ืองมีชุดเกลียวกะเทาะยาว 1,150 มิลลิเมตร เสนผาศูนยกลาง 90 มิลลิเมตร ชุดเกลียวกะเทาะมีระยะพิตช 68 มิลลิเมตร ชุดถายทอดกําลังโดยใช มอเตอรไฟฟาขนาด 1 แรงมา เปนตนกําลังขับผานเกียรทดสอบอัตราทดที่ใช 1:10 โดยสงกําลังดวย เฟองโซขนาด 8 นวิ้ ไปขบั เฟองโซขนาด 6 น้ิว ความเร็วรอบ 330 รอบตอนาที เกลียวกะเทาะทําหนาที่ 2 อยาง คอื ทําหนาท่ลี ําเลียงผลมะคาเดเมยี พรอมกบั กะเทาะเปลอื ก มชี ุดแผน กดผลมะคาเดเมยี อัดติดกับ ชุดเกลียวลําเลียง เม่ือโดนแรงแผนกดเมล็ดมะคาเดเมียไดอัดกับเกลียวกะเทาะทําใหเปลือกแตกรวง ลงดานลาง สวนผลมะคาเดเมียซึ่งมีขนาดโตกวาชองทางออกเปลือกจะถูกลําเลียงออกยังดานทาย ของเครื่อง ความสามารถในการกะเทาะเปลือก 600 กิโลกรมั ตอชั่วโมง และสามารถกะเทาะเปลือกออกได รอยละ 99.5 เครื่องท่ีวิจัยและพัฒนาใชวัสดุท่ีมีอยูภายในประเทศไทย มีระบบการทํางานที่ไมซับซอน เกษตรกรสามารถใชงานงา ย การดูแลรกั ษางายและซอมแซมไดงาย มีจุดคุมทุนอยูที่ 5,181 กิโลกรัมตอป ที่อายุการใชงาน 5 ป ราคาเครื่อง 30,000 บาท (ภาพท่ี 49) โดยมีการถายทอดตนแบบเครื่องกะเทาะ ใหภ าคเอกชนนาํ ไปผลิตเปนเชิงการคา (สนอง และคณะ, 2553ก) ภาพที่ 49 เครือ่ งกะเทาะเปลอื กเขียวและหลกั การกะเทาะภายในเคร่อื ง (ทมี่ า: สนอง และคณะ, 2553ก) 7.7.2 เครอ่ื งอบเมล็ดมะคาเดเมยี โดยนําเคร่ืองอบลําไยทั้งเปลือกแบบสลับทิศทางลมรอนขนาดบรรจุลําไย 2 ตัน มาพัฒนา อบเมล็ดมะคาเดเมยี เคร่ืองอบประกอบดว ย 4 สว นหลกั คือ ตวั เครื่องอบกระบะ ชุดสลับทิศทางลมรอน ชดุ ทอ กระจายลมรอ น และชดุ ฝาครอบกระบะรวมท้งั ดัดแปลงเพิม่ ชอ งทางเปด-ปดระบายอากาศรอนช้ืน ออกทางดานลางของกระบะขนาดเคร่ืองอบ 2.4x2.4x0.9 เมตร ชุดสลับทิศทางลมรอนอยูดานหนา เครื่องอบตอจากหัวพัดลมเปาแบบไหลตามแกน ปริมาตรลม 1.27 ลูกบาศกเมตรตอวินาที ภายในมี แผนวาลว ปกผเี สื้อ ขนาด 50x50 เซนติเมตร ใชโยกเปด-ปดเพื่อสลับทิศทางไหลของอากาศรอนใหไหล ผา นทอกระจายลมทางดานบนและลางของกระบะชวยใหลมรอนกระจายท่ัวเตาชุดทอกระจายลมรอน เปนปลองลมเจาะรูรอบปลอง 3 ดาน ขนาด 5 เซนติเมตร ดานละ 13 รู โดยปลองลมมี 4 ทอ ติดต้ัง ดานบน 2 ทอ ดานลาง 2 ทอ ชุดฝาครอบกระบะแบบปดกระบะใหอากาศรอนไหลวนอยูภายในได มีชอ งทางเปด-ปด ไดสาํ หรบั ระบายความชื้นออกทางดา นบน สามารถอบแหงกะลามะคาเดเมียไดมากสุด คร้ังละ 2,000 กโิ ลกรมั (ภาพที่ 50) (สนอง และคณะ, 2553ก) 79

ภาพท่ี 50 เคร่ืองอบเมล็ดมะคาเดเมยี แบบกระบะและหลกั การสลับลมรอ น (ที่มา: สนอง และคณะ, 2553ก) 7.7.3 เครื่องกะเทาะเมลด็ มะคาเดเมียระดับเกษตรกร เคร่ืองกะเทาะแบบใชแรงคนในการทํางานโดยการจับหมุนพวงมาลัยท่ีมีน้ําหนักสมดุลกับ ตุมน้ําหนักหนาซึ่งมีใบมีดบน ทําใหการทํางานไมตองออกแรงมาก ใบมีดบนเคล่ือนลงดวยความเรง เล็กนอยกระแทกตรงแนวราวของเมล็ดซึง่ วางอยกู ับใบมีดลา งทําใหกะลามะคาเดเมียแตกออกเปน 2 ซีก เหมอื นการผา คร่ึงกะลา เนื้อในเมล็ดสะอาดไมมีเศษกะลาฝงเน้ือ ความสามารถในการกะเทาะ ไดเน้ือใน เต็มเมล็ดสูงกวารอยละ 90 จุดเดนของเคร่ืองกะเทาะระดับเกษตรกร คือ ใชแรงนอยในการทํางาน ทาํ งานไดต อเนอ่ื งไมเ ม่ือยลา กะเทาะไดเ นื้อในเต็มเมล็ดสูงกวาเครื่องกะเทาะแบบอื่น ๆ ท้ังแบบใชตนกําลัง และใชแรงคน มีความสามารถในการทํางาน 5.5 กิโลกรัมตอชั่วโมง มีจุดคุมทุนอยูท่ี 2,852 กิโลกรัมตอป ท่ีอายุการใชงาน 5 ป โดยมีการถายทอดตนแบบเคร่ืองกะเทาะใหภาคเอกชนนําไปผลิตเปนเชิงการคา (ภาพที่ 51) (สนอง และคณะ, 2553ข) ภาพท่ี 51 เครื่องกะเทาะเมลด็ มะคาเดเมียระดบั เกษตรกร (ทม่ี า: สนอง และคณะ, 2553ข) 80

7.7.4 เครื่องกะเทาะเมลด็ มะคาเดเมยี ระดบั อตุ สาหกรรม เครอ่ื งตนแบบท่ีพัฒนาหลักการทํางานจากเครื่องกะเทาะเมล็ดมะคาเดเมียของโรงงานแปรรูป มะคาเดเมยี โครงการพระราชดาํ รดิ อยตงุ สวนประกอบหลกั มี 3 สวน คือ โครงเคร่ือง ชุดใบมีดเคลื่อนที่ และชุดใบมีดอยูกับท่ี นอกจากนี้ยังมีชุดประกอบแยกอีก 2 สวน คือ ชุดเกลียวลําเลียงเมล็ด และ ชุดคัดขนาดเมล็ดหลักการทํางานใชการเบียดอัดและเฉือนเมล็ดระหวางชุดใบมีดเคล่ือนท่ีกับชุดใบมีด อยูกับทกี่ ะเทาะไดเ มลด็ เนื้อในเต็มเฉล่ียรอยละ 61.68 เมล็ดแตกรอยละ 11.97 กะเทาะบางสวนรอยละ 11.64 ไมถ ูกกะเทาะรอ ยละ 4.99 ความสามารถในการทาํ งาน 191.87 กโิ ลกรมั ตอ ชว่ั โมง มีจดุ คมุ ทนุ อยูที่ 2,334 กโิ ลกรัมตอป ทอี่ ายกุ ารใชง าน 5 ป โดยมีการถายทอดตนแบบเคร่ืองกะเทาะใหภาคเอกชนนําไป ผลติ เปนเชิงการคา (ภาพที่ 52) (สนอง และคณะ, 2553ก) ภาพที่ 52 เครื่องกะเทาะเมลด็ มะคาเดเมียระดบั อตุ สาหกรรม (ท่มี า: สนอง และคณะ, 2553ก) 7.8 การแปรรปู เพ่ือเพ่ิมมูลคา ปจ จุบนั มีการพัฒนาการแปรรปู มะคาเดเมียเปนผลิตภัณฑใหมีความหลากหลาย เพ่ือเพ่ิมมูลคา สินคา และเปนการขยายตลาดและกลุมลูกคา ทั้งมะคาเดเมียสําหรับการบริโภคท่ีมีทั้งแบบดั้งเดิม คือ มะคาเดเมยี อบเกลือ และแบบทเ่ี อาใจกลุม วัยรุนและผูรักสุขภาพ เชน มะคาเดเมียอบสมุนไพร มะคาเดเมีย เคลือบชอ็ กโกแลตและไวทช็อก และแมคบอล (มะคาเดเมียผสมตะไคร) รวมทั้งการแปรรูปมะคาเดเมีย เปนผลติ ภณั ฑเ ครอื่ งสําอาง อาทิ น้ํามนั มะคาเดเมีย โลชนั ครมี บาํ รุงผวิ เปน ตน นอกจากนี้ภาคเอกชนได นาํ มะคาเดเมียมาแปรรปู ผลิตภณั ฑห ลายชนดิ เชน ผลิตภณั ฑเนยถั่วมะคาเดเมีย น้ําผ้ึงจากดอกมะคาเดเมีย มะคาเดเมยี กระจก มะคาเดเมยี บอลรสขิง มะคาเดเมียอบรสตาง ๆ แปรรูปเปนผลิตภัณฑเคร่ืองสําอาง เชน มะคาเดเมีย มอยสเ จอไรซิง โลชนั คาเดเมยี บตั เตอร ครมี เปนตน ซ่ึงผลิตภณั ฑท ี่มีความหลากหลาย เหลาน้ี เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมใหมเพ่ือเพมิ่ มูลคาสินคา ซงึ่ จะชว ยสรางโอกาสทางการตลาด และเพมิ่ รายได ใหก ับผูป ระกอบการ ทําใหส ามารถแขงขันในตลาดไทยและตลาดโลกได กรมวิชาการเกษตร ไดด าํ เนินการแปรรปู ผลติ ภณั ฑม ะคาเดเมยี สําหรับบรโิ ภค ไดแ ก มะคาเดเมีย อบเกลือ คกุ กี้เนยสด (ผสมมะคาเดเมีย) ไอศกรีมมะคาเดเมีย ผลติ ภณั ฑมะคาเดเมียสําหรับเครื่องสําอาง ไดแก โลชันมะคาเดเมีย นํ้ามันนวดมะคาเดเมีย แชมพูนํ้ามันมะคาเดเมีย สบูน้ํามันมะคาเดเมีย และ ผลติ ภัณฑมะคาเดเมียสําหรบั ใชใ นครวั เรือน ไดแ ก ถานอัดแทงจากเปลอื กมะคาเดเมยี ดังน้ี 81

7.8.1 การแปรรปู มะคาเดเมียอบเกลือ อปุ กรณ ลําดับ อปุ กรณ 1 เคร่ืองคัดขนาดเมล็ดกะลามะคาเดเมยี 2 ตอู บลดความชืน้ 3 เครื่องกะเทาะเมลด็ มะคาเดเมีย 4 เครอื่ งบรรจุแบบสุญญากาศ 5 ถงุ บรรจุแบบสญุ ญากาศ ขนาด 100 กรัม 6 ตาชัง่ 7 เกลอื ปน วิธีทาํ 1) นาํ เมลด็ มะคาเดเมยี คดั ขนาดดวยเคร่ืองคดั 2) ลดความช้นื ดว ยวธิ กี ารอบที่อุณหภมู ิ 50 องศาเซลเซยี ส เปน เวลา 5 วนั 3) กะเทาะเมลด็ และคัดแยกเนอื้ ในจากกะลามะคาเดเมีย 4) คดั แยกเน้อื ใน แบงเปน 3 เกรด คือ เมลด็ เตม็ เมล็ดแตก และเมล็ดเนาเสีย 5) ลางทําความสะอาดเนอ้ื ใน และทิง้ ไวใ หพอหมาด 6) ชั่งนํ้าหนักเนอ้ื ในและเกลอื อัตราสว น เนอื้ ใน 1 กโิ ลกรมั ตอ เกลือ 4 กรัม 7) นําเน้อื ในคลกุ เคลา กบั เกลือใหเขากัน 8) อบดวยตอู บไฟฟา ท่ีอุณหภมู ิ 70 องศาเซลเซียส เปนเวลา 3 วัน 9) บรรจถุ ุงแบบสุญญากาศ สามารถเก็บไดท อ่ี ณุ หภมู ิ 4 องศาเซลเซียส เปนเวลา 1 ป ภาพท่ี 53 มะคาเดเมียอบเกลือ 82

7.8.2 คุกกี้เนยสด (ผสมมะคาเดเมยี ) ปรมิ าณ หนว ย สวนประกอบและสตู ร 400 กรัม ลาํ ดับ สว นผสม 1 ชอ นชา ½ ชอ นชา 1 แปงสาลีอเนกประสงค (ตราบัวแดง) 300 กรัม 2 ผงฟู 230 กรมั 3 เกลอื ปน 1 ฟอง 4 เนยสด (ชนิดเค็ม) 1 ชอ นชา 5 นาํ้ ตาลทรายปน 100 กรัม 6 ไขไก 7 วานิลลา 8 มะคาเดเมยี วธิ ีทํา 1) รอนแปง ผงฟู เขาดว ยกัน 1-2 คร้งั แลวพักไว 2) ตเี นย เกลอื ใหเ ปน ครีม คอย ๆ ใสน้ําตาลทลี ะนอ ยจนหมด 3) ใสไขไกลงไป ตผี สมใหเขากันดี ใสว านิลลา 4) ผสมแปง สาลี โดยแบงแปงเปน 2-3 สวน ใสทลี ะสว นผสมมะคาเดเมยี และผสมใหเขา กนั (อยาผสมนานจะทาํ ใหแปง เหนียว) พักแปง ไวประมาณ 10-15 นาที 5) ชอ นตักสวนผสมใสถ าดทท่ี าเนยขาว ใชช อ นสอมกดใหเ ปน รปู ทรง นําเขาอบอุณหภมู ิ 180-200 องศาเซลเซยี ส ประมาณ 20-25 นาที หรอื จนกระทัง่ ขนมมสี ีเหลอื งทองสวย ภาพที่ 54 คกุ กี้มะคาเดเมยี 83

7.8.3 ไอศกรมี มะคาเดเมยี สวนผสม ปริมาณ หนวย สวนประกอบและสูตร 400 กรมั ลาํ ดับ 600 กรัม 1 นมสด 2½ ชอนชา 2 วปิ ปง ครมี 4 ฟอง 3 วานิลลา 4 ไขไ ก (เฉพาะไขแดง) 150 กรมั 5 นํา้ ตาลทราย ¼ ชอ นชา 6 เกลอื 100 กรมั 7 มะคาเดเมยี วิธีทํา 1) ผสมไขแ ดง นาํ้ ตาลทราย เกลือปน และวานลิ ลาเขาดวยกนั 2) ผสมนมสด และวิปปง ครีมเขากนั 3) นําสว นผสมในขอ ท่ี 2 คอ ย ๆ เทลงไปในสวนผสมขอที่ 1 คนไปเร่อื ย ๆ จนเปน เนือ้ เดยี วกนั 4) นําสว นผสมทไี่ ดจ ากขอที่ 3 ไปตงั้ ไฟ ประมาณ 30 นาที หรือใหได อุณหภมู ิ 82-90 องศาเซลเซยี ส 5) นาํ สวนผสมทีต่ งั้ ไฟแลวไปกรอกลงในถังปน ไอศกรีม 6) เครือ่ งจะทาํ การปนไอศกรีม ประมาณ 30-45 นาที หลังจากน้ันเติมเมล็ดมะคาเดเมียที่แตกหัก เปนชิ้นเล็ก (chips) ลงไป ปน จนเปนไอศกรมี ใชเ วลารวมประมาณ 60 นาที 7) นําไอศกรมี บรรจลุ งกลอ งพลาสติก แลวนําไปแชจ นแขง็ 24-48 ชัว่ โมง 8) เสริ ฟไอศกรมี โรยหนาดวยมะคาเดเมยี (chips) ภาพท่ี 55 ไอศกรมี มะคาเดเมยี 84

7.8.4 โลชันมะคาเดเมยี สวนประกอบและสตู ร ลําดับ สารเคมี ปริมาณ คุณสมบตั ขิ องสาร (รอยละ) 1 น้ํา 67.0 ใชท าํ ละลาย 2 Propylene glycol 2.0 สารใหค วามชุมชน้ื 3 2% carbopol 934 solution 20.0 สารเพม่ิ ความขน 4 Stearic acid 3.0 ใหความชมุ ช้นื 5 น้าํ มนั มะคาเดเมยี 3.0 ใหความชมุ ชื้น 6 Cremophor A25 2.0 สารทช่ี ว ยใหน ํา้ กบั น้ํามันเขากันได 7 Triethanolamine 1.2 สารเพ่มิ ความขน 8 Phenoxy ethanol 0.4 สารกันเสีย 9 Paraben conc. 1.0 สารกันเสีย 10 น้ําหอม qs ใหก ลน่ิ หอม รวม 100 ท่มี า: เหรียญทอง และคณะ (2556) หมายเหตุ: ปริมาณทีแ่ สดงในตารางสําหรบั การทาํ โลชันมะคาเดเมยี 100 กรมั หากเพิ่มปรมิ าณ สามารถเพ่มิ ตามสดั สวน ขา งตน qs คือ ใสใ นปรมิ าณที่เหมาะสม วธิ ที าํ 1) นําน้ํามาละลายกับ Propylene glycol และ 2% carbopol 934 solution ไดของเหลวขุน นาํ ไปตม จนไดอ ณุ หภูมิประมาณ 75 องศาเซลเซียส 2) นํา Stearic acid, นํ้ามันมะคาเดเมีย และ Cremophor A25 มาชั่งรวมกัน นําไปตมจนได อุณหภูมปิ ระมาณ 70 องศาเซลเซียส 3) คอย ๆ เทสว นผสมขอ 2 ลงในขอ 1 แลวคอย ๆ กวนจนเขา กนั 4) นํา Triethanolamine คอ ย ๆ เติมลงขอ 3 กวนใหเขา กัน จะไดข องเหลวทีม่ คี วามเขม ขนมากข้นึ 5) ลดอุณหภูมิของโลชันโดยนําภาชนะไปแชน้ําแลวกวนไปดวยพรอม ๆ กัน จนเหลืออุณหภูมิ ประมาณ 40 องศาเซลเซยี ส 6) นาํ Phenoxy ethanol Paraben conc. และ นา้ํ หอม เติมลงไปใหขอ 5 แลวกวนใหเขากันอีก ครั้ง จะไดโลชนั มะคาเดเมยี สขี าวทบึ (เหรยี ญทอง และคณะ, 2556) 85

7.8.5 นํ้ามนั นวดมะคาเดเมีย สว นประกอบและสตู ร ลาํ ดบั สารเคมี ปริมาณ คุณสมบัตขิ องสาร (เปอรเซน็ ต) 1 Mineral oil 9 ใหค วามชมุ ชน้ื 2 Macadamia oil 60 ใหค วามชุม ชน้ื และบาํ รงุ ผวิ 3 Rice bran oil 30 ใหค วามชุม ชน้ื และบํารงุ ผวิ 4 Essential oil 1 ใหกลิ่นท่ผี อ นคลาย รวม 100 ทีม่ า: เหรยี ญทอง และคณะ (2556) หมายเหตุ: ปรมิ าณท่ีแสดงในตารางสาํ หรบั การทํา 100 กรมั หากเพ่ิมปรมิ าณ สามารถเพิ่มตามสัดสวนขางตน วธิ ีทํา 1) นําสาร Mineral oil, Macadamia oil และ Rice bran oil ชั่งรวมกนั กวนใหเ ขากันไดของเหลว ใสสีเหลือง 2) แตง กลน่ิ โดยเตมิ Essential oil ลงไปกวนใหเขา กนั ไดน้ํามันนวดตวั สีเหลอื งใส มกี ลิน่ หอม ภาพที่ 56 นํ้ามนั นวดมะคาเดเมยี 86

7.8.6 แชมพนู า้ํ มนั มะคาเดเมีย สวนประกอบและสตู ร ลาํ ดับ สารเคมี ปรมิ าณ คุณสมบัตขิ องสาร (เปอรเซ็นต) 1 นํ้า 73.4 ใชท ําละลาย 2 Propylene glycol 2.0 สารใหความชมุ ช้ืน 3 Texapon-8000 15.0 สารชาํ ระลาง 4 Comperlan KD 5.0 สารใหฟอง 5 Cocamidopropyl Betain (KT) 3.0 สารเพม่ิ ความคงตัวใหฟอง 6 Cremophor RH-40 0.5 ชวยละลายนํา้ มัน ใหเ ขากับนํ้า 7 น้ํามันมะคาเดเมยี 0.1 ใหความชุมชน้ื 8 นา้ํ หอม qs ใหก ล่ินหอม 9 Paraben conc. 1.0 สารกนั เสีย 10 สี qs ใหค วามสวยงาม รวม 100 ทีม่ า: เหรยี ญทอง และคณะ (2556) หมายเหต:ุ ปรมิ าณทแี่ สดงในตารางสําหรับการทํา 100 กรมั หากเพ่ิมปริมาณ สามารถเพ่ิมตามสดั สวนขางตน qs คือ ใสในปริมาณท่เี หมาะสม วธิ ีทํา 1) นาํ นา้ํ มาละลายกบั Propylene glycol จนไดของเหลวใส 2) นาํ Texapon-8000, Comperlan KD และ Cocamidopropyl Betain (KT) มาชง่ั รวมกัน คอย ๆ กวนใหเขากันจะไดของเหลวทีม่ ีความขนเหนียว 3) คอ ย ๆ เทสว นผสมขอ 1 ลงขอ 2 แลวคอ ย ๆ กวนจนเขากนั จะไดของเหลวทม่ี ีความขน และ ใส 4) นาํ Cremophor RH-40, นาํ้ มันมะคาเดเมยี และ น้ําหอม ผสมใหเ ขากัน แลว คอ ย ๆ เตมิ ลง ขอ 3 กวนใหเ ขากัน จะไดของเหลวทีม่ คี วามขน ขนุ มัวเลก็ นอย ไมใ ส 5) นาํ Paraben conc. และ สีเตมิ ลงไปในขอ ที่ 4 แลวกวนใหเขา กนั อีกครั้ง จะไดแ ชมพูทีม่ ีความขน ขนุ มวั เลก็ นอย ไมใส 7.8.7 สบนู า้ํ มันมะคาเดเมยี สว นผสม ปริมาณ หนวย สวนประกอบและสูตร 1 กิโลกรมั ลําดับ 40 มิลลลิ ิตร 10 มลิ ลิลิตร 1 เบสสบกู ลเี ซอรนี 10 มิลลิลิตร 2 กลเี ซอรนี เหลว 4 มิลลิลติ ร 3 น้ําผ้งึ 4 น้ํามันมะคาเดเมีย 5 หัวน้ําหอม 87

วิธีทาํ 1) หน่ั เบสสบกู ลเี ซอรีนใหเ ปน ชิ้นเล็ก ๆ 2) นําไปน่ึงดว ยหมอ สองชั้น หรอื ตัง้ ไฟออ น ๆ ใหเ บสสบกู ลเี ซอรนี ละลาย 3) ปดไฟ เติมน้าํ ผง้ึ และกลเี ซอรีนเหลว คนใหเขากัน 4) เตมิ นํา้ หอม คนใหเ ขา กนั 5) เทสว นผสมทง้ั หมด ลงในพมิ พส บู ตงั้ ทง้ิ ไวใ หส บูแ ขง็ ตัว 6) แกะสบอู อกจากพมิ พ ตกแตงขอบสบูใหสวยงาม 7) หอ ดวยฟลม พลาสติกใส และตดิ ฉลากใหเ รยี บรอ ย ภาพท่ี 57 สบนู ้าํ มันมะคาเดเมยี 7.8.8 การทําถา นอัดแทงจากเปลือกกะลามะคาเดเมยี ประโยชนของการผลิตถานอดั แทง จากเปลือกมะคาเดเมีย ไดแก ใชเปนเช้อื เพลิงทดแทนฟนและ ถา นในการใหความรอ นสําหรบั ใชในครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม เปนการเพ่ิมมูลคาวัสดุและผลผลิต ทางการเกษตร ลดคาใชจาย ประหยัดเงิน เวลา และแรงงาน ชวยนําวัสดุเหลือใชทางการเกษตรมาใช ประโยชนอยา งคุมคา และมีประสิทธิภาพสูงสุด ลดปริมาณขยะ ลดการบุกรุก ทําลายปาไม ชวยในการ อนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม และลดภาวะโลกรอ น ถา นอัดแทง จากเปลือกกะลามะคาเดเมีย โดยนําเอากะลาท่ีผานการกะเทาะเปลือกออกแลวไป แปรรูปใหเ ปนถานโดยการเผา จากนั้นจงึ ทาํ การอัดแทง โดยเลือกใชว ธิ กี ารอัดแทงแบบเย็น ซง่ึ เปน การอัด วัสดุท่ีเผาเปนถานมาแลว จากน้ันนํามาผสมกับตัวประสาน คุณสมบัติของถานอัดแทงดวยวิธีน้ี คือ กอใหเกิดควนั นอยลง คาความช้นื ลดลง แตม ีคาความรอ นสงู ขึ้น ทง้ั นีข้ ึ้นอยูกับอัตราสว นผสมของวัสดุและ ตวั ประสาน (ฐานขอมลู สงเสริมและยกคุณภาพสนิ คา OTOP, 2563) ถานอดั แทงหนึง่ กอ นจะใหค วามรอ น ไดน านประมาณ 2 ช่งั โมง 88

ภาพที่ 58 ถานกะลามะคาเดเมยี วิธีทาํ ถานอดั แทง จากเปลอื กกะลามะคาเดเมยี (พจิ ิตร, 2556) 1) นําเปลอื กทก่ี ะเทาะจากเมล็ดมะคาเดเมียผสมรวมกับแกลบ ในอัตราสวน 1: 1 จากนั้นนําไปใส ภาชนะเพื่อเผาท่รี ะยะเวลา 24 ชั่วโมง แลวทง้ิ ไวใ หเย็นลง 2) นําถา นทไ่ี ดม าบดดว ยเคร่ืองบดถานใหม ีลักษณะเปนผงละเอียดมากข้นึ 3) นําผงถานที่ไดไปผสมรวมกับแปงมันและน้ํา ในอัตราสวน 1: 0.5: 0.075 คลุกเคลาสวนผสม ท้ังหมดใหกลายเปน เนอื้ เดยี วกัน 4) นําสว นผสมทไ่ี ดใ สล งไปในเครอื่ งอัดถานแทง แบบเยน็ 5) นําไปตากแดดใหแ หง เปนระยะเวลา 24 ชงั่ โมง 6) นําถา นอดั แทงเก็บใสร ักษาไวภ าชนะท่ีเหมาะสม 7.8.9 การทําถา นมะคาเดเมียเพอื่ สขุ ภาพ ดวยคุณสมบตั ิของถา นอัดแทงจากเปลือกมะคาเดเมีย ท่ีสามารถดูดซบั กล่นิ และความชนื้ ไดด ี และ สามารถปลอ ยประจลุ บและแผร ังสชี ว งคล่ืนส้ัน จึงมีประโยชนตอสุขภาพโดยกระตุนระบบการไหลเวียน โลหติ ในรางกาย อยา งไรก็ตามถานมะคาเดเมยี ทม่ี ีอายุการใชงานประมาณ 6 เดือน หลังจากน้ันสามารถ จะนาํ ไปเผาเพอื่ ทําอาหารปง ยางไดอีก เพราะใหความรอ นสงู มขี เ้ี ถานอย ไมแ ตกสะเก็ดไฟระหวา งเผาไหม และไมมีกา ซพษิ ทเี่ ปนอันตรายตอ สขุ ภาพระเหยออกมา หรอื จะนาํ ไปวางไวใตตนไมก็จะสามารถชวยเพ่ิม แรธาตใุ นดินได นอกจากนถี้ า นมะคาเดเมียยังมอี ิเล็กตรอนอสิ ระที่จับกบั อนุมูลอิสระ เชน ซูเปอรออกไซด ท่ีมีอยูใ นธรรมชาติ และยังสามารถแผร ังสอี นิ ฟราเรดไกล หรอื ฟารอนิ ฟราเรด (FIR) ซงึ่ มคี วามยาวคลืน่ 6 - 14 ไมโครเมตร เปน รังสีความรอ นที่มีพลังในการทะลทุ ะลวงสงู การนาํ ถา นมะคาเดเมยี นําไปประยุกตใช ในการประกอบอาหาร สามารถประหยัดพลังงานไดถงึ 20 เปอรเซ็นต เมื่อใชเสร็จก็นํามาตากใหแหงแลว นํากลบั มาใชใ หมไดอกี ประมาณ 1 เดือน แรธ าตุในถานจะหมดไป นอกจากประโยชนในการดูดกลิ่นอับชื้นและสารพิษของถานมะคาเดเมียแลว ยังสามารถใชทํา นาํ้ แรส าํ หรับดืม่ หรืออาบไดดวย โดยนําถานมะคาเดเมียไปตมในน้ําเดือดประมาณ 10-20 นาที เพ่ือฆา เช้ือ จากนั้นนําไปแชในน้ําดื่มซึ่งจะชวยดูดคลอรีน ขณะเดียวกันก็ปลอยแรธาตุอ่ืน ๆ ออกมาแทนที่ สาํ หรับการอาบนํา้ ไมจําเปนตองฆาเชือ้ กอ น ซงึ่ ใชไ ดน าน 3 เดอื น (จิตตล ดั ดา, 2554) สาํ หรบั การเผาถา นจากเปลือกมะคาเดเมียเพ่ือใหมีประสิทธิภาพสูงในการดูดกล่ินและใชในการ ทําน้าํ แรส ําหรับดืม่ และอาบ มวี ธิ ผี ลิตคอื เผาที่อุณหภูมิตํ่านาน 4 ชั่วโมง และคอย ๆ เพ่ิมอุณหภูมิจนได 89

ความรอนถึง 1,000 องศาเซลเซียส นาน 1 วัน พบวา ถานมะคาเดเมีย 1 กรัม ประกอบดวย รูพรุน ประมาณ 350 ตารางเมตร (จิตตล ดั ดา, 2554) ภาพท่ี 59 ถานมะคาเดเมยี ชว ยใหข า วหรืออาหารสกุ เรว็ ขึน้ (จติ ตลดั ดา, 2554) ในการนาํ ถานมะคาเดเมยี มาใชในผลิตภัณฑส ิ่งทอ โดยผสมถา นมะคาเดเมียลงไปในเสน ใยเพอ่ื ทอ เปนเสือ้ ผา สนับเขา สนบั ขอ แขน เสื้อก๊ัก ถุงนอง ถงุ เทา โดยประยุกตใชเพ่ือชวยขยายหลอดเลือด ชะลอ การสะสมไขมันในหลอดเลือดและบรรเทาอาการบวมคั่งของนํ้าหลอเล้ียงตรงไขขอ ลดการบวมของ กลามเนื้อ ผาทีม่ ีถา นมะคาเดเมยี FIR ทาํ ใหขนาดของโมเลกลุ น้ําและสารอื่น ๆ เล็กลง (ทําใหเคล่อื นทอ่ี อกจากทอ โลหติ งา ยและเรว็ ขนึ้ ) ทาํ ใหโมเลกลุ นํ้าสน่ั แลว ขนาดของโมเลกลุ น้ําและสารอนื่ ๆ มขี นาดใหญ ยากท่ีจะ กระตนุ การไหลเวียนของ ผา นทอ โลหิต (ทาํ ใหเกดิ การคง่ั คา งของสารท่เี ปนของเสยี ) กระแสเลอื ด ภาพท่ี 60 การนําผงถานมะคาเดเมียมาประยกุ ตใชล งไปในเสนใย เพ่อื ทอเปนเส้อื ผาหรอื สนบั เขา (ท่ีมา: จิตตล ัดดา, 2554) ภาพท่ี 61 ผลิตภณั ฑจ ากถานมะคาเดเมียเพ่อื สุขภาพ (ทม่ี า: จิตตลัดดา, 2554) 90

เอกสารอางอิง กรมวชิ าการเกษตร. 2538. มะคาเดเมยี . กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 62 หนา. กรมวิชาการเกษตร. 2544. มะคาเดเมีย. กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 71 หนา. กรมสงเสรมิ การคาระหวางประเทศ. 2561. เมืองหลนิ ชางเตรยี มสรางศูนยกลางการซือ้ -ขาย แมคคาเดเมีย ในมณฑลยูนนาน. กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย. เขาถึงไดจาก : https://www.ditp.go.th/contents_attach/212109/212109.pdf. (11 ก.พ. 63) จิตตลัดดา ศักดาภิพาณิชย. 2554. ถานแมคคาเพื่อสุขภาพ. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร สถาบัน ชีววิทยาศาสตรโมเลกุล วิทยาเขตศาลายา มหาวิทยาลัยมหิดล . เขาถึงไดจาก: https://old.mahidol.ac.th/th/research_innovation/2554/magca_coal/Macca_coal.pdf (25 เม.ย. 63) จติ อาภา จจิ ุบาล กุลธดิ า ดอนอยูไพร ธัญพร งามงอน และเยาวภา เตาชัยภูมิ. 2562. การทดสอบการ เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตมะคาเดเมีย โดยการใชปุยแบบเกษตรกรมีสวนรวมในพื้นที่จังหวัด เพชรบรู ณ. ศนู ยวิจยั เกษตรที่สงู เพชรบูรณ สถาบนั วจิ ัยพชื สวน กรมวชิ าการเกษตร. จํารอง ดาวเรือง. 2538ก. ลักษณะสัณฐานวิทยาและสรีรวิทยาของมะคาเดเมียในจังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธว ทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชสวน บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชยี งใหม. 172 หนา . จํารอง ดาวเรือง. 2544ข. มะคาเดเมีย (MACADAMIA NUTS). เอกสารวิชาการมะคาเดเมียประจําป 2544 สํานักวจิ ยั และพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 1 เชียงใหม กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร และสหกรณ. 71 หนา จํารอง ดาวเรือง มานพ หาญเทวี สุภัทรา เลิศวัฒนาเกียรติ ประสงค ม่ันสลุง กําพล เมืองโคมพัส เสงย่ี ม แจมจํารูญ ววิ ัฒน ภานุอําไพ มนตรี ทศานนท ธวัชชัย ศศิผลิน และอุทัย นพคุณวงศ. 2543. การทดลองเปรียบเทียบพันธุมะคาเดเมียท่ีใชปลูกเพ่ือเปนการคาตามแหลงตางๆ ที่ คัดเลอื กแลว . เอกสารการประชุมวิชาการประจําป 2543 สถาบันวิจัยพืชสวน ระหวางวันที่ 28 ก.พ. ถึง 3 มี.ค. 2543 ณ. โรงแรมธรรมรนิ ทรธ นา จงั หวดั ตรัง. ฐานขอมูลสงเสริมและยกคุณภาพสินคา OTOP. 2563. การพัฒนาคุณภาพถานอัดแทง. เขาถึงไดจาก: http://otop.dss.go.th/index.php/en/knowledge/informationrepack/344-2019-12-24- 03-18- 08?showall=1&limitstart= (14 กันยายน 2563) ดําเกงิ ชาลีจนั ทร. 2534. มะคาเดเมีย: พืชสอู นาคต. สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร. 53 หนา . เทคโนโลยชี าวบา น. 2563. ปลกู มะคาเดเมีย เจาะตลาดคนรกั สุขภาพ ไมตอ งหวงเรอ่ื งผลผลิตลน ตลาด ราคาซอื้ ขายในระดับมาตรฐานสากล. เขาถึงไดจาก: https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_24234 (9 เม.ย. 63) บุษบง มนัสมั่นคง สุนัดดา เชาวลิต สุเมธ พากเพียร และฉัตตนภา ขมอาวุธ. 2561. ชนิดและฤดูกาล ระบาดของแมลงศัตรูมะคาเดเมีย. กลุมบริหารศัตรูพืช สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. ประชาชาติธุรกิจ. 2561. “เมืองเลย” เรงเพ่ิมมูลคา “แมคาเดเมีย” เสริมรายได. เขาถึงไดจาก : https://www.prachachat.net/local-economy/news-101942 (6 ก.พ. 63) พิจิตร ศรีปนตา. 2556. การทําถานอัดแทงจากเปลือกมะคาเดเมีย. หนา 1. ใน รายงานฉบับสมบูรณ โครงการ ถายทอดเทคโนโลยีการปลกู การดแู ลรักษา การแปรรูปหลังการเก็บเกี่ยวมะคาเดเมีย 91