Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการความรู้เทคโนโลยีการผลิตมะคาเดเมีย

การจัดการความรู้เทคโนโลยีการผลิตมะคาเดเมีย

Description: การจัดการความรู้เทคโนโลยีการผลิตมะคาเดเมีย

Keywords: เทคโนโลยีการผลิตมะคาเดเมีย,การผลิตมะคาเดเมีย,การจัดการความรู้

Search

Read the Text Version

การจดั การความรู “เทคโนโลยีการผลิตมะคาเดเมีย” Technology of Macadamia Production สถาบนั วิจยั พืชสวน กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ ISBN: 978-616-358-456-4

พมิ พค รั้งที่ 1 : สิงหาคม 2563 จาํ นวน 100 เลม ลิขสิทธข์ิ องกรมวชิ าการเกษตร หามคัดลอกขอความ หรือสว นใดสว นหนง่ึ ของหนงั สอื ไปเผยแพรโ ดยไมไ ดรับอนญุ าต สถาบนั วิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร การจัดการความรู เทคโนโลยกี ารผลติ มะคาเดเมยี --พมิ พครง้ั ที่ 1-- กรงุ เทพฯ : บริษทั การันตี จํากดั , 2563 100 หนา 1. เทคโนโลยกี ารผลติ มะคาเดเมยี ISBN : 978-616-358-456-4 จดั พิมพโดย สถาบนั วิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร เลขท่ี 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900 โทร. 0 2579 0583 โทรสาร 0 2940 6497 เว็บไซต: http://www.doa.go.th/hort/ พิมพท ่ี การันตี Guarantee (นนทบุร)ี โทร. 02 982 8035

คาํ นํา มะคาเดเมีย เปน ไมผ ลยนื ตนขนาดใหญใบมสี ีเขียวตลอดป จดั เปน พืชสวนอุตสาหกรรมท่ีมีศักยภาพ ทางเศรษฐกจิ และเปน ที่นิยมของผูบริโภคทั่วโลก มีราคาสูง สามารถใชแปรรูปเปนผลิตภัณฑไดหลายชนิด เชน เนือ้ ในมะคาเดเมยี อบรสชาตติ าง ๆ คกุ กี้มะคาเดเมยี มะคาเดเมยี เคลอื บชอ็ กโกแลต ฯลฯ นอกจากนี้ยังมี ผลิตภณั ฑเครอื่ งสาํ อาง เชน สบู ครมี บํารุงผิว แชมพู และถา นอดั แทง จากกะลามะคาเดเมยี เปน ตน มะคาเดเมีย เริม่ นําเขามาปลูกในประเทศไทยตั้งแตป 2496 โดยกรมกสิกรรม (เดิม) ในสมัยน้ัน และมีการติดตอนําพันธุ กิ่งพันธุ และเมล็ดพันธุ เขามาปลูกศึกษาอยางตอเนื่อง และในป 2527 สาํ นกั งานคณะกรรมการพิเศษเพ่อื ประสานงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริ (กปร.) ไดสนับสนุน งบประมาณในการสั่งซ้ือพันธุเขามาใหทดลองศึกษาเพิ่มเติม ซึ่งนับเปนพระมหากรุณาธิคุณท่ี พระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงประทานใหแกกรมวิชาการเกษตร และทรงเลง็ เห็นความสําคัญของพืชน้ี ซึง่ ศนู ยวจิ ัยเกษตรหลวงเชยี งใหม สถาบนั วิจัยพืชสวน ไดดาํ เนนิ การ ศึกษาวจิ ัยมาอยา งตอเน่ือง มีบุคลากรเจาหนาท่ีท่ีมีประสบการณและถายทอดองคความรูมาสูรุนตอรุน ประกอบกับในปจจุบนั บุคลากรที่มีองคความรูเกี่ยวกับมะคาเดเมียในดานตาง ๆ บางทานก็เกษียณอายุ ราชการ บางทานก็ใกลเกษียณอายุราชการ ดังนั้น ในป 2563 สถาบันวิจัยพืชสวน และ ศูนยวิจัย เกษตรหลวงเชียงใหม จงึ ไดเ ลือกและจดั ทําองคความรูเทคโนโลยกี ารผลติ มะคาเดเมยี และไดเชญิ บุคลากร ทีท่ าํ งานและมีประสบการณเกี่ยวกับมะคาเดเมียท้ังจากอดีตและปจจุบันมาใหขอมูล และรวมวิเคราะห กระบวนการในขั้นตอนที่เปนงานประจําหรือเปนองคความรูใหมท่ีอยูในตัวบุคคลและนํามาเรียบเรียง จดั ทาํ เปน เอกสารวิชาการ การจัดการความรู “เทคโนโลยีการผลติ มะคาเดเมีย” ซ่ึงเนื้อหาสาระในเอกสาร วิชาการดังกลาว เปนการรวบรวมสถานการณการผลิตและการตลาด ลักษณะทางพฤกษศาสตร ของมะคาเดเมีย ประวตั แิ ละการพฒั นาพนั ธุ พันธแุ ละการพฒั นาพนั ธุของกรมวิชาการเกษตร เทคโนโลยี การผลิต เทคโนโลยีหลังการเก็บเกีย่ ว และการแปรรปู จงึ หวังเปน อยางย่งิ วา เอกสารวชิ าการฉบบั นี้จะเปน ประโยชนต อ เกษตรกร ผปู ระกอบการ นกั วชิ าการ และผูท่ีสนใจท่ัวไปสามารถนําไปใชในการพัฒนาการ ผลติ ใหไ ดผ ลผลติ สงู และมีคุณภาพไดมาตรฐานสรา งความมั่นคงและรายไดเพ่ิมข้ึนแกทุกภาคสวน รวมถึง ชวยอนรุ กั ษสงิ่ แวดลอ ม สุดทายสถาบันวิจัยพืชสวน ขอขอบพระคุณทานท่ีปรึกษา คณะทํางาน และทุกฝายท่ีเก่ียวของ ทีร่ วมดาํ เนินการฯ จนบรรลุผลสําเร็จและจะเปนประโยชนที่ใชในการพัฒนาพืชมะคาเดเมียใหกาวหนา อยางยั่งยนื (นางสาวศริ ิพร วรกุลดํารงชยั ) ผูอ ํานวยการสถาบนั วจิ ยั พืชสวน สิงหาคม 2563

สารบญั หนา 1 เรือ่ ง 3 บทที่ 1 ทมี่ าและความสําคญั บทท่ี 2 สถานการณการผลติ และการตลาด 3 8 2.1 สถานการณก ารผลติ มะคาเดเมียของโลก 13 2.2 สถานการณก ารผลติ มะคาเดเมียของประเทศไทย 2.3 แนวโนมการตลาดของมะคาเดเมีย 16 บทที่ 3 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข องมะคาเดเมยี 16 3.1 การจาํ แนกชั้นทางพฤกษศาสตร 18 3.2 ลกั ษณะทว่ั ไป และชนดิ ของมะคาเดเมยี 3.3 ระยะการพฒั นาของผลมะคาเดเมยี 27 บทที่ 4 ประวัตแิ ละการพฒั นาพนั ธุมะคาเดเมยี 28 บทที่ 5 การปรับปรงุ พันธุมะคาเดเมียของกรมวิชาการเกษตร 33 บทท่ี 6 เทคโนโลยกี ารผลิตมะคาเดเมีย 6.1 ปจจัยของสภาพแวดลอ มทีม่ ีอทิ ธพิ ลตอ การเจริญเตบิ โตของมะคาเดเมยี 42 6.2 การขยายพนั ธุมะคาเดเมยี 42 6.3 วธิ กี ารขยายพันธุ 43 6.4 การจัดทรงตน และการตัดแตง กิ่ง 6.5 การจัดการนา้ํ และเขตกรรม 46 6.6 การจดั การปุย 55 6.7 ศตั รูพชื และการปอ งกันกาํ จัด 57 บทท่ี 7 เทคโนโลยีหลงั การเก็บเกีย่ ว และการแปรรปู 7.1 วทิ ยาการหลงั การเกบ็ เกีย่ ว 59 7.2 การแปรรูป 61 7.3 การเกบ็ รักษาผลผลติ 69 7.4 การขนสง 7.5 การกาํ หนดมาตรฐาน 69 7.6 ปจจยั ทมี่ ีผลตอ การกาํ หนดราคา 70 7.7 เครือ่ งมอื แปรรปู มะคาเดเมยี 71 7.8 การแปรรปู เพ่ือเพิ่มมลู คา เอกสารอา งอิง 72 คําขอบคุณ 73 78 78 81 91 98 I

สารบัญตาราง ตารางท่ี 1 พ้ืนทป่ี ลกู และปรมิ าณการผลิตมะคาเดเมยี ในประเทศตา ง ๆ พ.ศ. 2558-2563 หนา ตารางท่ี 2 สถานการณก ารเพาะปลูกมะคาเดเมียของแตละจงั หวัด ป 2561 3 9 ตารางท่ี 3 การนาํ เขามะคาเดเมยี แบบทงั้ กะลาและทีมีเฉพาะเมลด็ เนือ้ ในของประเทศไทย 12 ป 2562 13 ตารางที่ 4 การสงออกมะคาเดเมียแบบทั้งกะลาและที่มีเฉพาะเมล็ดเน้ือในของประเทศ 18 ไทย ป 2562 27 ตารางที่ 5 ลกั ษณะของผวิ กะลา ผล ใบแก ใบออ น และสดี อกของ M. tetraphylla และ 39 M. integrifolia ตารางท่ี 6 ลักษณะของเปลือกหุม เมล็ดหรอื กะลาและเน้ือในของมะคาเดเมยี พันธุเชยี งใหม 700 (#741) อายุ 1-8 เดือน (ธันวาคม 2536-กรกฎาคม 2537) ที่หวยฮอ งไคร และแมจ อนหลวง จ.เชียงใหม ตารางท่ี 7 ลักษณะของพนั ธเุ ชยี งใหม 400 พนั ธเุ ชยี งใหม 700 และพันธุเชียงใหม 1000 II

สารบัญภาพ ภาพท่ี 1 สัดสว นการผลิตมะคาเดเมยี ของแตละประเทศและผลรวมท้งั หมดระหวา งป หนา ค.ศ. 2003-2019 4 ภาพที่ 2 อัตราการเตบิ โตของตลาดมะคาเดเมยี ในทวปี ตา ง ๆ 4 ภาพที่ 3 รอ ยละการผลติ ผลไมเปลือกแขง็ ชนดิ ตาง ๆ ของโลก ป 2562 5 ภาพท่ี 4 พ้ืนทป่ี ลูกมะคาเดเมียในสาธารณรฐั แอฟรกิ าใต ป พ.ศ. 2562 6 9 ภาพที่ 5 พื้นทีป่ ลูกมะคาเดเมียของประเทศไทย ระหวาง ป 2557-2561 10 ภาพที่ 6 ผลผลิตมะคาเดเมียทเ่ี กบ็ เกี่ยวได และราคาจําหนา ยเฉลย่ี ป 2557-2561 19 ภาพท่ี 7 ลกั ษณะผวิ กะลา (ก) และ (ข) ผล (ค) และ (ง) ใบออ น (จ) และ(ฉ) ใบแก (ช) 20 และ (ซ) และสีดอก (ฌ) และ (ญ) ของ M. tetraphylla และ M. integrifolia 21 ภาพที่ 8 ตาํ แหนง ทเ่ี กดิ ชอดอกของมะคาเดเมยี ภาพที่ 9 ลกั ษณะชอดอกและตําแหนงทีด่ อกเรม่ิ บานบนชอ โดยจะเร่ิมบานที่ระดับ 2/3 22 22 ของชอ 24 ภาพที่ 10 ลักษณะการบานของดอกมะคาเดเมีย (ก-ฉ) 25 ภาพท่ี 11 สวนประกอบของดอกมะคาเดเมยี (ก-ซ) 26 37 ภาพที่ 12 ลกั ษณะการออกดอกของมะคาเดเมยี 37 ภาพที่ 13 สวนประกอบของผลมะคาเดเมีย 37 ภาพท่ี 14 ลกั ษณะชอ ผลของมะคาเดเมยี 41 41 ภาพท่ี 15 ลักษณะทรงพมุ ดอก และผลของ พันธุ เชยี งรายสายตนเบอร 5 (CR D4-5) 45 ภาพที่ 16 ลกั ษณะทรงพมุ ดอก และผลของ พนั ธุ เชียงรายสายตนเบอร 7 (CR D4-7) 47 ภาพที่ 17 ลกั ษณะทรงพุม ดอก และผลของ พนั ธุ เขาคอสายตนเบอร 27 (KK D4-27) 49 50 ภาพที่ 18 ลักษณะทรงพมุ ดอก และผลของ พันธุ พนั ธุเชียงใหม 1 (A4) 55 ภาพที่ 19 ลกั ษณะทรงพมุ ดอก และผลของ พันธุ เชียงใหม 2 (849) 56 ภาพท่ี 20 ข้นั ตอนการเพาะเมลด็ ตน ตอ (ก-ฉ) 57 58 ภาพที่ 21 การเตรียมฮอรโมน IBA 6,000 ppm (3,000 มลิ ลิกรมั /500 มลิ ลลิ ติ ร) (ก-ง) ภาพที่ 22 การทาบก่ิงแบบเสยี บขา ง (Modified veneer side grafting) (ก-ญ) 58 ภาพท่ี 23 การปฏิบัติหลงั การทาบกงิ่ (ก-ช) 59 60 ภาพท่ี 24 การตอกิง่ แบบเสยี บลิม่ (Cleft grafting) (ก-ฑ) ภาพท่ี 25 การจัดทรงพมุ ตน (ก-ฉ) ภาพท่ี 26 การใหน้ําชวง อายุ 1-4 ป แบบพน ฝอยขนาดเล็กมากหรือหยดน้ํา ภาพท่ี 27 การใหน้ําชว ง อายุ 5 ปขนึ้ ไป แบบพนฝอยขนาดเลก็ หรอื แบบพน เหว่ยี ง ขนาดเล็ก ภาพท่ี 28 ระบบนํา้ สําหรับแปลงมะคาเดเมีย ภาพที่ 29 คลมุ โคนดวยฟางชว ยรักษาความชน้ื ของดนิ ชวงฤดูแลง ภาพท่ี 30 วธิ ีการใสปยุ เคมี III

ภาพที่ 31 สัตวฟนแทะในกลุมกระรอก (Squirrel family (Sciuridae)) ศัตรูมะคาเดเมีย หนา ทพี่ บในแปลงทดลองมะคาเดเมยี ณ ศูนยวจิ ยั เกษตรหลวงเชียงใหม 61 (แมจอนหลวง) ต.แมนาจร อ.แมแจม จ.เชยี งใหม (ก-ค) 62 ภาพท่ี 32 สัตวฟ นแทะในกลุมหนู (Rat and mice family (Muridae)) ศัตรูมะคาเดเมยี ท่ีพบในแปลงทดลองมะคาเดเมยี ณ ศูนยว ิจยั เกษตรหลวงเชียงใหม 63 (แมจอนหลวง) ต.แมนาจร อ.แมแจม จ.เชียงใหม (ก-ค) 63 ภาพที่ 33 สตั วฟ นแทะในกลมุ อน (Mole rat family (Rhizomyidae)) ศัตรมู ะคาเดเมยี 65 ที่พบในแปลงทดลองมะคาเดเมีย ณ ศนู ยวจิ ยั เกษตรหลวงเชียงใหม 65 (แมจ อนหลวง) ต.แมน าจร อ.แมแ จม จ.เชยี งใหม 65 66 ภาพที่ 34 ลักษณะการเขาทาํ ลายของสัตวฟนแทะศัตรมู ะคาเดเมยี 66 ภาพท่ี 35 เพลี้ยออนดาํ สม และลกั ษณะการเขา ทาํ ลาย ภาพที่ 36 ลักษณะการเขาทาํ ลายของเพลี้ยไฟในผลมะคาเดเมยี 67 ภาพที่ 37 เพลีย้ แปง และลกั ษณะการเขาทําลาย ภาพท่ี 38 หนอนเจาะผล และลกั ษณะการเขาทาํ ลายผลมะคาเดเมยี 68 ภาพที่ 39 ลกั ษณะอาการใบไหมท ่ีเกดิ จากเชื้อรา Neopestalotiopsis clavispora 68 69 ในใบมะคาเดเมยี 70 ภาพท่ี 40 ลักษณะอาการใบไหมท ่ีเกดิ จากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides 70 71 ในใบมะคาเดเมีย 72 ภาพที่ 41 ลักษณะอาการใบไหมท ี่เกดิ จากเชื้อรา Phytophthora cinnamomi 72 ภาพท่ี 42 การปลกู พชื แซมชวยในการควบคุมวัชพืช 79 ภาพท่ี 43 เกบ็ ผลแกท่ีรว งใตตน เพอื่ นาํ ไปกะเทาะเปลอื กเขียวออก 80 ภาพที่ 44 กะเทาะเปลือกนอก (Dehusking) และผึ่งลมเพ่อื ลดความชืน้ (ก-ง) 80 ภาพที่ 45 ทําการคดั เมล็ด (Sorting nut in shell) (ก-ข) 81 ภาพที่ 46 การลดความชน้ื เมลด็ (Drying) (ก-ข) 82 ภาพที่ 47 การอบเพ่อื กะเทาะเมล็ด (ก-ง) 83 ภาพที่ 48 เมล็ดท้ังกะลาใสกระสอบตาขายไนลอนโปรงเตรยี มขนสง 84 ภาพท่ี 49 เครื่องกะเทาะเปลือกเขียวและหลกั การกะเทาะภายในเคร่อื ง 86 ภาพท่ี 50 เครือ่ งอบเมลด็ มะคาเดเมียแบบกระบะและหลักการสลับลมรอน 88 ภาพที่ 51 เครือ่ งกะเทาะเมลด็ มะคาเดเมียระดับเกษตรกร 89 ภาพท่ี 52 เครอ่ื งกะเทาะเมล็ดมะคาเดเมียระดับอุตสาหกรรม 90 ภาพท่ี 53 มะคาเดเมียอบเกลือ ภาพท่ี 54 คกุ กม้ี ะคาเดเมยี ภาพที่ 55 ไอศกรมี มะคาเดเมีย ภาพท่ี 56 น้ํามนั นวดมะคาเดเมีย ภาพที่ 57 สบนู ้าํ มันมะคาเดเมีย ภาพท่ี 58 ถา นกะลามะคาเดเมยี ภาพที่ 59 ถานมะคาเดเมียชว ยใหข าวหรอื อาหารสุกเรว็ ขนึ้ IV

ภาพที่ 60 การนําผงถานมะคาเดเมยี มาประยุกตใ ชลงไปในเสนใย เพ่อื ทอเปนเสื้อผาหรือ หนา 90 สนบั เขา ภาพท่ี 61 ผลติ ภณั ฑจากถานมะคาเดเมียเพอ่ื สขุ ภาพ 90 V

บทที่ 1 ทม่ี าและความสาํ คญั มะคาเดเมีย เปนไมประเภทยืนตนขนาดใหญ ใบมีสีเขียวตลอดปและไมผลัดใบ (evergreen tree) ลักษณะของผลมีเปลือกแข็งและหนา (nut) มีแหลงกําเนิดในบริเวณใกลเขตรอนและฝนตกชุกของรัฐนิวเซาท เวลส และควีนสแลนด เครือรัฐออสเตรเลีย นอกจากนี้ยังมีการนํามาขยายพันธุในพื้นที่ตาง ๆ ท่ัวโลก เชน มลรัฐฮาวายในประเทศสหรฐั อเมรกิ า สาธารณรฐั กัวเตมาลา สาธารณรัฐเคนยา สาธารณรฐั ซมิ บบั เวสาธารณรฐั มาลาวี สาธารณรัฐแอฟริกาใต รวมท้ังประเทศไทย (Xavier et al., 2016) คุณประโยชนของมะคาเดเมียมี หลายประการ อาทิ เนอื้ ใน (kernel) ของมะคาเดเมยี มีคณุ คา ทางโภชนาการสูง เหมาะกบั ผูท ่ตี องการควบคุม ปริมาณคอเลสเตอรอล ประกอบดวยวิตามินและเกลือแรชนิดตาง ๆ (Akhtar et al., 2008) สวนของเนื้อใน สามารถนาํ มาแปรรปู เปน ผลิตภณั ฑท ั้งเพือ่ การบรโิ ภคและไมบริโภค (เหรยี ญทอง และคณะ, 2556) โดยท่ัวไป นิยมนําผลมะคาเดเมียมาบริโภคเปนอาหารวาง (snack) ประเภทขบเค้ียว เนื่องจากมีรสชาติอรอย จน ไดร บั การยกยองใหเปนราชาแหง พืชเค้ยี วมัน สามารถนํามาจําหนายทั้งในรูปแบบสินคาเกษตรสําเร็จรูป และแบบกึ่งสําเรจ็ รูป ประกอบดวย มะคาเดเมียท่ีมีกะลา (inshell macadamia nut) ที่ผานการอบแหง มะคาเดเมียที่มีเฉพาะเมล็ดเนื้อใน (macadamia kernel) ท่ียังไมผานและผานการแปรรูป (Angko, 2004) นํามาใชเปนสวนผสมในอาหารประเภทตาง ๆ เชน ขนมคุกก้ี เบเกอร่ี ชนิดตาง ๆ ใชเปนสวนผสมใน อาหารคาว หรือนํามาสกดั นา้ํ มันเพือ่ ใชเปน สวนผสมในงานดานเภสัชกรรมและเครือ่ งสําอาง (Cazzola et al., 2018) นอกจากนกี้ ะลาของผลมะคาเดเมยี ยงั สามารถนาํ มาผลิตเพ่ือใชเปนเช้ือเพลิงใหพลังงาน เชน การทาํ ถาน เปน ตน (Xavier et al., 2016) สําหรับประเทศไทย มะคาเดเมียถูกนําเขามาใน ป พ.ศ. 2496 โดย องคการบริหารวิเทศกิจแหง สหรฐั อเมริกา (United States Operation Mission: USOM) ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยไดสงมอบเมล็ดมะคาเดเมีย ชนิดผิวเรยี บแกก รมกสกิ รรม (ปจ จุบนั คอื กรมวชิ าการเกษตร) ซ่ึงมีการทดลองปลูกในเขตพ้ืนที่จังหวัดจันทบุรี เชียงใหม และตาก (กรมวิชาการเกษตร, 2538) ตอมาภายหลัง วันที่ 16 กุมภาพันธ 2527 พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไดทรงเสด็จพระราชดําเนินและทรงปลูกตนมะคาเดเมียท่ีขุนวาง (ศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชียงใหมในปจจุบัน) (กรมวิชาการเกษตร, 2544) ดวยพระมหากรุณาธิคุณจึงทําให กรมวิชาการเกษตรไดเริ่มตนดําเนินการวิจัยเกี่ยวกับมะคาเดเมีย ตั้งแตป พ.ศ. 2528 และยังคงวิจัยตอเน่ือง จนถึงปจ จุบนั นอกจากน้ีมะคาเดเมียเปนพืชที่สามารถนํามาปลูกเพื่อใชปรับปรุงสภาพปาเส่ือมโทรม หรือ ชวยรกั ษาความชุม ช้นื ของแหลงตนนํ้า รวมทั้งเปนพืชท่ีมีศักยภาพในการนํามาปลูกในพ้ืนที่ที่มีการทําไร เล่ือนลอยเพื่อสรางพื้นที่ปา ในป พ.ศ. 2561 พื้นท่ีปลูกมะคาเดเมียในประเทศไทยมี 10,733 ไร พ้ืนที่ เกบ็ เกีย่ วผลผลติ 4,701 ไร ซ่ึงพนื้ ท่ปี ลูกมะคาเดเมียอยูภายใตการกํากับดูแลของโครงการพัฒนาดอยตุง โครงการพระราชดําริ เกษตรกรรายยอย วิสาหกิจชุมชน รวมท้ังผูประกอบการเอกชนรายใหญและ รายยอย ครอบคลุมพ้ืนที่ 9 จังหวัด ไดแก เชียงราย เลย เพชรบูรณ ตาก ลําปาง เชียงใหม พิษณุโลก แมฮองสอน และชัยภูมิ และพ้ืนที่ปลูกหลัก ไดแก เชียงราย เลย และเพชรบูรณ (ศูนยเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สาร, 2562ก) โดยสามารถใหผ ลผลิตรวม 1,996,700 กโิ ลกรมั คิดเปน ผลผลติ ตอไร จํานวน 927 กิโลกรัม เมล็ดทม่ี ีกะลาราคา 80-100 บาทตอกิโลกรัม เมล็ดเน้ือในราคา 800-1,200 บาท ตอ กิโลกรมั 1

สถาบันวิจัยพชื สวน กรมวิชาการเกษตร ไดศกึ ษาและพฒั นาองคความรูเทคโนโลยีการผลิตมะคาเดเมีย อยางตอเน่ือง ในปจจุบันไดรวบรวมและพัฒนาสายพันธุมะคาเดเมีย รวมท้ังถายทอดขยายตนพันธุ สเู กษตรกร ไดแก พนั ธเุ ชยี งใหม 400 เชยี งใหม 700 และ เชียงใหม 1000 ซึง่ เปนพันธทุ ี่เจริญเติบโตไดใน พนื้ ท่ปี ลูกและสภาพอากาศทแ่ี ตกตา งกนั อกี ท้ังมกี ารศกึ ษาและพัฒนาสายพนั ธใุ หส ามารถปลูกในพนื้ ทที่ มี่ ี ความหลากหลายจากระดบั ทะเลทีแ่ ตกตางกัน วธิ ีการในการขยายพันธุ และปจจยั ท่สี งผลตอผลผลิต เชน การจัดทรงพุม และการตัดแตงกง่ิ การจัดการระบบนาํ้ การจัดการธาตุอาหาร การจัดการวชั พืช แมลง และ โรคที่กอใหเกดิ ความเสยี หายกับตน และผลผลิต เทคโนโลยีการเกบ็ เกย่ี วและหลังการเกบ็ เกี่ยว การกาํ หนด มาตรฐานของผลผลิต การแปรรูปผลผลิตมะคาเดเมียอยางครบวงจรดวยเคร่ืองมือและเคร่ืองจักรกล ขนาดเล็ก รวมถึงการเพิ่มมูลคามะคาเดเมียดวยการแปรรูปเปนผลิตภัณฑท่ีหลากหลาย สถาบันวิจัย พืชสวนจึงไดรวบรวมองคความรูในดานตาง ๆ ของการผลิตมะคาเดเมียใหมีผลผลิตสูง และมีคุณภาพ ไดมาตรฐานมาจดั พมิ พ ซ่งึ จักเปนประโยชนต อเกษตรกรและผูประกอบการ เพราะการปลูกมะคาเดเมีย ซึ่งเปนไมยืนตนท่ีใหผลผลิตยาวนานจะชวยพัฒนาความเปนอยูของเกษตรกรที่ปลูกมะคาเดเมียใหมี ความมั่นคง สรางรายไดท ่ยี ัง่ ยืนรวมทั้งผูป ระกอบการแปรรูป เนอื่ งจากตลาดยังเปดกวาง มีรายไดเพ่ิมข้ึน มีคุณภาพชีวติ ที่ดีทําใหชุมชนเขม แข็ง และชว ยอนุรกั ษส่งิ แวดลอ มดวยอกี ทางหนึ่ง 2

บทที่ 2 สถานการณก ารผลติ และการตลาด 2.1 สถานการณก ารผลติ มะคาเดเมยี ของโลก มะคาเดเมยี มี 2 ชนิด ทใ่ี ชร บั ประทานได คอื มะคาเดเมียชนิดผิวเรียบ (Macadamia integrifolia Maiden & Betche) และ ชนดิ ผวิ ขรุขระ (M. tetraphylla L.) ซ่งึ นยิ มปลกู เชิงการคาในประเทศแถบเขต รอนและกึ่งเขตรอน การซื้อ-ขาย มะคาเดเมียสามารถแบงเปน 2 ประเภท ไดแก มะคาเดเมียแบบเมล็ดทั้งกะลาและ มะคาเดเมียที่มีเฉพาะเมล็ดเนื้อใน จากรายงานการประชุมในป พ.ศ. 2558 ซึ่งจัดโดย International Nut and Dried Fruit Council พบวา สาธารณรัฐประชาชนจีน มีพ้ืนท่ีปลูกมะคาเดเมียมากท่ีสุดในโลก คือ 406,250 ไร และมีพื้นที่ปลูกใหมตอปมากที่สุด คือ 62,500 ไร แตอยางไรก็ตามจากการคาดการณ ป พ.ศ. 2563 พบวา สาธารณรัฐแอฟริกาใตผ ลติ มะคาเดเมียทม่ี ีเมลด็ ท้ังกะลาไดส งู ท่ีสดุ ในโลกประมาณ 64,800 เมตริกตัน รองลงมา ไดแ ก เครือรัฐออสเตรเลยี ผลิตไดประมาณ 58,000 เมตรกิ ตนั สาธารณรัฐประชาชนจีนผลิตไดประมาณ 50,000 เมตรกิ ตัน และ สาธารณรฐั เคนยาปรมิ าณ 47,000 เมตรกิ ตนั ตามลําดบั (ตารางท่ี 1) ตารางท่ี 1 พืน้ ทปี่ ลกู และปริมาณการผลติ มะคาเดเมยี ของประเทศตาง ๆ พ.ศ. 2558-2563 ประเทศ พนื้ ที่ปลกู พื้นท่ี ผลผลิตมะคาเดเมยี แบบเมลด็ ท้ังกะลา (เมตรกิ ตัน) (ไร) ปลกู ใหม 2558 2559 2560 2561 2562 2563 (ไร) จนี 406,250 62,500 5,000 8,000 12,000 20,000 30,000 50,000 แอฟรกิ าใต 121,875 9,375 46,950 50,500 54,000 57,600 61,200 64,800 ออสเตรเลีย 109,375 6,250 43,945 46,000 50,000 53,000 55,000 58,000 เคนยา 109,375 4,500 24,000 27,500 32,000 36,000 42,000 47,000 กัวเตมาลา 62,500 6,250 8,867 9,050 9,225 9,400 9,575 9,800 สหรฐั อเมริกา 51,000 - 16,500 16,500 16,500 16,500 16,500 16,500 มาลาวี 37,863 1,688 6,559 7,573 6,967 7,803 7,178 8,040 บราซิล 37,500 2,500 6,000 6,300 6,600 6,900 7,200 7,500 เวยี ดนาม 12,500 12,500 100 500 1,000 2,000 3,000 5,000 โมซมั บิก 6,250 3,125 500 1,000 2,000 5,000 8,000 10,000 รวม 594,488 108,688 158,421 172,923 190,292 214,203 239,653 276,640 ทีม่ า: SAMAC (2018) 3

เม่ือพิจารณาขอมูลสัดสวนการผลิตมะคาเดเมียของประเทศที่มีการปลูก พบวา มีแนวโนมการผลิต มากขน้ึ จากป ค.ศ.2003-2019 (พ.ศ.2546-2562) (ภาพที่ 1) ออสเตรเลีย แอฟริกาใต้ กวั เตมาลา เคนยา สหรัฐอเมริกา มาลาวี จีน อืนๆ ภาพที่ 1 สดั สวนการผลิตมะคาเดเมียของแตล ะประเทศและผลรวมทงั้ หมดระหวา งป ค.ศ. 2003-2019 (ท่มี า: SAMAC, 2020) นอกจากนผ้ี ลผลิตมะคาเดเมยี ที่ไดย ังมคี วามสัมพันธกับอัตราการเติบโตทางการตลาด ซึ่งพบวา บริเวณพ้ืนท่ีตาง ๆ มีอัตราการเติบโตของตลาดมะคาเดเมียแตกตางกัน โดยทวีปอเมริกาเหนือ มีอัตรา การเติบโตทางการตลาดสูงท่ีสุด (ภาพท่ี 2) เนื่องจากมีการขยายพ้ืนที่ปลูกใหมเพื่อใหไดผลผลิตเพิ่ม มากขึ้น สวนทวีปอเมริกาใต ยุโรป เอเชีย และออสเตรเลีย มีอัตราการเติบโตของตลาดปานกลาง และทวีป แอฟรกิ ามอี ัตราการเตบิ โตของตลาดนอ ยที่สุด เนือ่ งจากเปน ทวปี ท่มี ีการผลติ มะคาเดเมียมาอยางยาวนาน (Mordor intelligence, 2020) อเมริกาเหนือ แอฟริกา เอเชีย อเมริกาใต้ ออสเตรเลยี ภาพท่ี 2 อตั ราการเตบิ โตของตลาดมะคาเดเมียในทวีปตาง ๆ (ที่มา: Mordor intelligence, 2020) 4

เม่ือเปรียบเทียบสัดสวนการผลิตมะคาเดเมียท่ีมีเฉพาะเมล็ดเน้ือในกับผลไมเปลือกแข็งชนิดอื่น ๆ พบวา การผลิตมะคาเดเมียมีสัดสวนเพียงรอยละ 1 ของผลผลิตผลไมเปลือกแข็งทั้งหมด (ภาพท่ี 3) แตอ ยางไรกต็ าม การผลติ มะคาเดเมยี มแี นวโนมเพ่มิ มากขนึ้ ตามความตอ งการของตลาด ซ่ึงในป พ.ศ. 2563 ตลาดการสงออกมะคาเดเมียท่ีใหญที่สุด คือ สาธารณรัฐแอฟริกาใต สหรัฐอเมริกา ยุโรป และเอเชีย ตามลาํ ดับ Almonds kernel Brazil nuts kernel Cashews kernel Hazelnuts kernel Macadamias kernel Pecans kernel Pine nuts kernel Pistachios in shell Walnut kernel ภาพท่ี 3 รอ ยละการผลติ ผลไมเ ปลือกแขง็ ชนดิ ตาง ๆ ของโลก ป พ.ศ. 2562 (ทมี่ า: SAMAC, 2020) ปจจุบันตลาดมะคาเดเมียโลกในภาคอุตสาหกรรมประกอบดวยบริษัทตาง ๆ เชน Hamakua Macadamia Nut, MacFarms, Mauna Loa Macadamia Nut Corp, Nambucca Macnuts, Wondaree Macadamia Nuts, Eastern Produce, Golden Macadamias, Ivory Macadamias, Kenya Nut และ Macadamia Processing เปน ตน เมื่อวิเคราะหตลาดการผลิตมะคาเดเมียโดยอางอิง จากลักษณะทางภูมิศาสตรแ ละพนื้ ท่ปี ลกู พบวา มีการมุงเนนตลาดมะคาเดเมียทางเอเชีย มีการจัดกลุม ตลาดโดยอางอิงจากพื้นฐานของโรงงานอุตสาหกรรม ตําแหนง ประเภท และการนําไปประยุกตใช นอกจากนี้ยังมีการจัดประเภทของตลาดมะคาเดเมียออกเปน 3 กลุม ตามรสชาติ ไดแก รสชาติดั้งเดิม รสอบเกลอื และรสหวานมัน และยังจดั ประเภทตลาดในดา นการนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชน ไดแก อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมเครื่องสําอางและผลิตภัณฑเพ่ือสุขภาพ (Market Wacth, 2020) ประเทศ 5 อนั ดบั แรกของโลกทม่ี ีการผลติ จําหนาย และนาํ เขามะคาเดเมยี มดี ังนี้ 1. สาธารณรัฐแอฟริกาใต การเพิ่มพื้นท่ีปลูกมะคาเดเมียในสาธารณรัฐแอฟริกาใต จากฐานขอมูลภาคอุตสาหกรรมในป พ.ศ. 2562 พบวา มีพ้ืนที่ปลูกเพิ่มขึ้น 37,263 ไร โดยจังหวัด KwaZulu-Natal มีพ้ืนที่ปลูกมะคาเดเมีย เพม่ิ ข้ึนสงู สดุ ตดิ ตอกันสองป โดยมีพื้นที่ปลูกใหมเพิ่มข้ึน 14,675 ไร (คิดเปนรอยละ 39) รองลงมา คือ จังหวัด Mpumalanga (รอ ยละ 36), Limpopo (รอ ยละ 21), Cape (รอ ยละ 3) และจงั หวัดอื่น ๆ (รอยละ 1) ตามลําดับ (ภาพที่ 4) พน้ื ที่ปลูกท้งั หมดในสาธารณรฐั แอฟรกิ าใตม ีประมาณ 279,850 ไร โดยผลผลิตมะคาเดเมียท่ีได มีแนวโนมเพิ่มสูงข้ึนแบบเทาตัวและมีอัตราผลผลิตท่ีเพ่ิมสูงข้ึน ซ่ึงสัมพันธกับพื้นที่ปลูกท่ีเพ่ิมขึ้น อยา งตอ เนื่อง 5

ภาพที่ 4 พ้ืนท่ปี ลูกมะคาเดเมียในสาธารณรัฐแอฟรกิ าใต ป พ.ศ. 2562 (ท่ีมา: SAMAC, 2020) สายพันธุมะคาเดเมียท่ีไดรับความนิยมในการปลูกอยางตอเนื่องจากป พ.ศ. 2561 คือ สายพันธุ Beaumont ซ่ึงมีปริมาณเพิ่มข้ึนรอยละ 28 สวนในป พ.ศ. 2563 พบวา สายพันธุ Nelmak ไดรับความนิยม ในการปลูกเพิม่ ขน้ึ ตรงกนั ขามกับสายพนั ธุ A4 ที่มคี วามนิยมลดลง นอกจากนี้สายพันธุอื่น ๆ ที่นิยมในการปลูก โดยทวั่ ไป ไดแก สายพนั ธุ 816, 814 และ 788 ผลผลิตมะคาเดเมยี ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต ป พ.ศ. 2562 แบบท้ังกะลามีปริมาณ 59,050 ตัน (ที่ระดับความชื้นของเมลด็ เนอ้ื ในรอยละ 1.5) โดยเพิ่มข้นึ จากป พ.ศ. 2561 จํานวน 2,500 ตนั ซ่งึ ผลผลิต มะคาเดเมียของแอฟริกาใตมากกวารอยละ 98 ถูกผลิตเพื่อการสงออก โดยการสงออกในป พ.ศ. 2562 มีมูลคาสูงถงึ 4.8 พนั ลานแรนด หรือประมาณ 8.6 พันลา นบาท โดยสงออกเปนมะคาเดเมียท่ีมีเฉพาะเมล็ด เน้ือในปริมาณ 34,556 ตัน หรือประมาณรอยละ 55 ของการสงออกมะคาเดเมียทั้งหมด สําหรับภาพรวม การสงออกเม่ือแยกตลาดเปนมะคาเดเมียที่มีเฉพาะเมล็ดเนื้อใน มีปริมาณการสงออก 11,058 ตัน โดย สง ผลผลติ ออกไปยังประเทศแถบอเมรกิ าเหนือรอ ยละ 41 แถบยุโรป รวมทงั้ สหราชอาณาจักรรอยละ 47 แถบเอเชียกลางรอยละ 7 และเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยเฉพาะสาธารณรัฐประชาชนจีนรอยละ 2 สําหรบั มะคาเดเมียแบบทั้งกะลา มปี รมิ าณการสง ออก 28,056 ตัน หรือประมาณรอ ยละ 45 ของผลผลิต เพื่อการสงออกท้ังหมด ซึ่งตลาดการสงออกที่สําคัญ ไดแก ประเทศในแถบเอเชียตะวันออก และเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต โดยราคามะคาเดเมยี แบบทง้ั กะลาจะมรี าคา 74.13 แรนด หรอื ประมาณ 130 บาทตอกิโลกรัม และราคามะคาเดเมยี ทมี่ ีเฉพาะเมล็ดเนอ้ื ในจะมีราคา 261.11 แรนด หรือประมาณ 480 บาทตอกโิ ลกรัม 2. เครือรัฐออสเตรเลีย มะคาเดเมียท่ีปลูกท่วั ไปในเครอื รัฐออสเตรเลียจะเร่มิ ใหผลผลิตเมอ่ื ตนมอี ายุ 15 ปขนึ้ ไป แตล ะตน สามารถใหผลผลิตประมาณ 12-20 กิโลกรัมตอป ป พ.ศ. 2561 ผลผลิตมะคาเดเมยี ในเครือรัฐออสเตรเลีย มี 53,000 เมตริกตัน(SAMMAC,2018) โดยพ้ืนที่ปลูกเริ่มมีการขยายตัวเพ่ิมขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2558 เกิด จากการลงทุนเพื่อใหเกิดความยั่งยืนดวยการเพ่ิมประสิทธิภาพดานการผลิต ซ่ึงสงผลกระตุนใหเกิดการ สง ออกผลไมเปลอื กแข็งตง้ั แตป  พ.ศ. 2556 เพมิ่ สงู ขึ้นเทาตัว ตอมาในป พ.ศ. 2561 มีการขยายพื้นที่ปลูก ในทุกภูมิภาค เชน ภูมิภาค Emerald North ในเมือง Bundaberg, Emerald และ Mackay ในรัฐ 6

ควีนสแลนด และภูมิภาค Yamba south ในเมือง Ballina และ Clarence Valley ในรัฐนิวเซาทเวลส (AgriOrbit, 2018) ซึง่ มีความสมั พันธกบั การผลติ เชื้อเพลิงดวยมะคาเดเมยี ภายในประเทศท่ีเตบิ โตเพ่ิมขึน้ ตามลําดับ ทางภาคอุตสาหกรรมมีปริมาณการปลูกมะคาเดเมีย 6,000 ลานตน ครอบคลุมพื้นที่กวา 100,000 ไร และผูปลูกมากกวา 850 ราย เครือรัฐออสเตรเลยี เปนประเทศที่มีมูลคาการผลิตมะคาเดเมีย ของโลกรอยละ 70 มีการสงออกมะคาเดเมียไปยังประเทศตาง ๆ ท่ัวโลก มากกวา 40 ประเทศ ดวย แนวโนม การเปลย่ี นแปลงของผบู รโิ ภคที่หันมาใหความสนใจดานโภชนาการ และในระดับนานาชาติท่ีให ความสําคัญกับการเติบโตดานการตลาดของมะคาเดเมีย จึงกลายเปนสิ่งผลักดันตลาดมะคาเดเมีย ภายในประเทศอีกดวย ใน ป พ.ศ. 2563 เครือรัฐออสเตรเลียยังคงเปนประเทศอันดับตน ๆ ในการผลิต มะคาเดเมยี แตการบริโภคภายในประเทศลดลงเมื่อเทียบกับสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐประชาชนจีน ผลผลิตมะคาเดเมียทไี่ ดจากเครือรัฐออสเตรเลียมีรอยละการสงออกสูงสุด เม่ือเปรียบเทียบจากจํานวน ผลผลิตภายในประเทศที่มีปริมาณ 12,760 เมตริกตัน โดยแบงเปนการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ เพียง 3,347 เมตริกตัน โดยมีรัฐนิวเซาทเวลส และรัฐควีนสแลนด เปนแหลงผลิตหลักและกําลังมีการ ขยายพนื้ ทป่ี ลูกมากข้นึ (Mordor intelligence, 2020; WorldAtlas, 2018) 3. สาธารณรัฐประชาชนจนี การบริโภคของสาธารณรัฐประชาชนจนี ป พ.ศ. 2556 มปี รมิ าณเพิ่มสงู ขึ้น 5,843 เมตริกตัน ตอมาในป พ.ศ. 2558 มีปรมิ าณลดลงเหลือ 1,657 เมตรกิ ตัน แตป พ.ศ. 2559 กลับมีการบริโภคเพ่ิมขึ้น 4,055 เมตริกตัน สาธารณรัฐประชาชนจีนเปนประเทศท่ีมีการนําเขาและสงออกมะคาเดเมียแบบท่ีผานการแปรรูป ขอมูลจาก Australian Macadamia Society พบวา ชวงระยะเวลา 5 ปที่ผานมา สาธารณรัฐประชาชนจีนมีการนําเขา มะคาเดเมียจากตลาดโลกประมาณ 1,294 ตัน จนส้ินสุดป พ.ศ. 2559 สาธารณรัฐประชาชนจีนนําเขา มะคาเดเมียรอยละ 32 ซึ่งเปนประเทศที่นําเขามะคาเดเมียมากท่ีสุดของโลก แตหากมองในภาพรวม ของประเทศการนําเขามะคาเดเมียของสาธารณรัฐประชาชนจีนมีปริมาณลดลงอยางตอเน่ือง โดยในป พ.ศ. 2553 มปี ริมาณการนําเขา 10,000 เมตริกตัน และลดลงเหลือ 4,500 เมตริกตัน ในป พ.ศ. 2559 สาธารณรัฐประชาชนจีนตองการพัฒนาเพื่อกลายเปนผูผลิตมะคาเดเมียและเปนประเทศผูสงออก รายสําคญั โดยมณฑลยนู นานเปนแหลงผลิตที่สําคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน ใหผลผลิตรอยละ 80 ของผลผลติ ทง้ั ประเทศ มะคาเดเมียไดกลายเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมบนพื้นที่ราบสูงของมณฑลยูนนาน และทําใหจงั หวดั หลนิ ชางกลายเปน ศูนยกลางการซื้อ-ขายมะคาเดเมีย การเตรียมกลยุทธ Internet Plus สรางรูปแบบการคาออนไลนมะคาเดเมียโดยเฉพาะ รวมทั้งการเปนเจาภาพจัดประชุมงาน “The 8th International Macadamia Symposium” ระหวางวันที่ 14-20 ตุลาคม 2561 ที่จังหวัดหลินซาง ภายใตการผลักดันของรัฐบาลจึงทําใหมณฑลยูนนานไดมีสวนรวมในการกําหนดราคามะคาเดเมีย ในตลาดโลก และชวยสง เสริมพฒั นาประสทิ ธิภาพดา นการปลูกมะคาเดเมียใหไดมาตรฐาน (กรมสงเสริม การคาระหวางประเทศ, 2561; WorldAtlas, 2018) 7

4. สาธารณรัฐเคนยา ในป พ.ศ. 2561 สาธารณรัฐเคนยามีการจําหนายผลผลิตมะคาเดเมียปริมาณ 6,435 ตัน โดย ความตอ งการของตลาดเพิ่มข้นึ ประมาณรอ ยละ 3.93 เมื่อเปรียบเทียบกบั ป พ.ศ. 2560 และระหวา งป พ.ศ. 2558- 2561 สาธารณรัฐเคนยามีการสง ออกมะคาเดเมียเพ่มิ ขน้ึ ในปรมิ าณรอยละ 35.45 และมูลคามีการเติบโตเพิ่มขึ้น รอยละ 159 ในป พ.ศ. 2561 สรางรายไดใ หกบั ประเทศ 87.59 ลานดอลลารส หรฐั หรอื ประมาณ 2,800 ลา นบาท ซึ่งมูลคาการสงออกเพ่ิมขึ้นจากป พ.ศ. 2560 ประมาณรอยละ 14.24 ที่มีมูลคาการสงออก 75.12 ลานดอลลาร สหรัฐ หรือ ประมาณ 2,400 ลานบาท เมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2560-2561 ในป พ.ศ. 2561 สาธารณรัฐเคนยา มสี วนแบงการตลาดในตลาดโลกรอยละ 14.8 โดยประเภทของผลิตภณั ฑ ไดแก มะคาเดเมียผลสดหรือทําใหแหง แบบท้ังกะลาและท่ีมีเฉพาะเมล็ดเน้ือใน (Wamucii, 2020ก) ราคามะคาเดเมียในสาธารณรัฐเคนยาไดมีการ ปรับเพิ่มสูงขน้ึ โดยป พ.ศ. 2558 มีราคา 10.6 ดอลลารสหรัฐตอกิโลกรัม หรือประมาณ 340 บาทตอกิโลกรัม ป พ.ศ. 2560 มรี าคา 12.15 ดอลลารส หรัฐตอกิโลกรมั หรือประมาณ 390 บาทตอกิโลกรัม และในป พ.ศ. 2561 ราคาเพม่ิ เปน 13.52 ดอลลารสหรัฐตอกิโลกรัม หรือประมาณ 430 บาทตอกิโลกรัม มีการปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 11.28 ดงั นน้ั จึงมกี ารคาดการณราคามะคาเดเมีย ในป พ.ศ. 2563 อยูระหวาง 12.15-13.52 ดอลลารสหรัฐตอ กโิ ลกรัม หรอื ประมาณ 390-430 บาทตอ กโิ ลกรัม (Wamucii, 2020ข) 5. สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา เปนประเทศท่ีมีผูบริโภคมะคาเดเมียมากที่สุดในโลก โดยมีอัตราการบริโภคอยู ระหวา ง 8,800-9,800 เมตรกิ ตนั นอกจากนส้ี หรฐั อเมริกาเปน แหลงผลิตและสงออกมะคาเดเมียที่สําคัญ และยังมกี ารนําเขา มะคาเดเมยี มากทส่ี ุดอกี ดว ย ผลผลิตจะนาํ มาบริโภคภายในประเทศเปนสวนใหญ โดย แหลงผลิตมะคาเดเมียเพือ่ ใชในการบริโภคภายในประเทศ คอื มลรัฐฮาวาย รองลงมา คือ มลรัฐฟลอริดา และมลรัฐแคลิฟอรเนีย (WorldAtlas, 2018) สําหรับบริเวณพ้ืนที่ปลูกที่มีความสมบูรณในมลรัฐฮาวาย ใหผ ลผลติ มะคาเดเมียไดอยางนอย 1,255 กิโลกรัมตอไร ในขณะที่พื้นท่ีท่ีมีความสมบูรณตํ่าสามารถให ผลผลิตไดป ระมาณ 933 กิโลกรมั ตอไร ซึ่งเมอ่ื เปรยี บเทยี บกับการผลิตในแปลงปลูกที่มีการจัดการระบบ ท่ีดขี องเครอื รฐั ออสเตรเลีย พบวา สามารถใหผ ลผลติ ไดป ระมาณ 717-896 กิโลกรัมตอไร (Agricultural marketing resource center, 2017) 2.2 สถานการณก ารผลติ มะคาเดเมยี ของประเทศไทย 1) พ้นื ท่ีปลกู และผลผลติ มะคาเดเมยี พ้ืนทปี่ ลูกมะคาเดเมยี ในประเทศไทย ป พ.ศ. 2561 มเี น้อื ที่ 10,733 ไร แบงเปน พืน้ ที่ที่เกบ็ เกยี่ วผลผลิต ไดป ระมาณ 4,701 ไร (ภาพท่ี 5) และมีแนวโนมการขยายพ้ืนท่ีปลูก โดยพื้นที่ปลูกและพ้ืนท่ีเก็บเก่ียวผลผลิตได เพิม่ ขน้ึ จาก ป พ.ศ. 2560 จาํ นวน 493 และ 277 ไร ตามลาํ ดับ 8

ภาพที่ 5 พ้ืนท่ีปลูกมะคาเดเมียของประเทศไทย ระหวางป พ.ศ. 2557-2561 (ที่มา: ศูนยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร, 2562ก.) พื้นที่ปลูกท่ีอยูภายใตการดูแลของโครงการพัฒนาดอยตุง โครงการพระราชดําริ เกษตรกรรายยอย วิสาหกิจชุมชน รวมท้ังผูประกอบการเอกชนรายใหญและรายยอย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 9 จังหวัด จงั หวดั ที่มพี ืน้ ทป่ี ลูกมากที่สุด คือ เชียงราย (อ. แมสรวย, อ. แมฟา หลวง) รองลงมา คือ เลย (อ. ภเู รอื , อ. นาแหว) เพชรบูรณ (อ. เขาคอ, อ. หลมสัก, อ. น้ําหนาว) ตาก แมฮองสอน (อ. เมือง, อ. ปางมะผา) ลําปาง เชียงใหม (อ. แมแตง, อ. แมริม, อ. จอมทอง, อ. แมแจม, อ. สะเมิง, อ. แมวาง) พิษณุโลก (อ. วังทอง) และชัยภมู ิ ตามลําดับ สามารถใหผลผลติ รวม 12,704,721 กโิ ลกรมั คดิ เปนผลผลติ 2,565 กิโลกรัมตอไร (ตารางท่ี 2) (ศูนยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร, 2562ก.) ตารางที่ 2 สถานการณก ารเพาะปลกู มะคาเดเมียของแตล ะจงั หวัด ป พ.ศ. 2561 ที่ พนื้ ท่ยี นื ตนทง้ั หมด (ไร) ผลผลิตทเ่ี กบ็ ผลผลติ ราคาขายเฉล่ีย จงั หวดั ใหผ ลผลติ ยงั ไมให รวม เกี่ยวได (กิโลกรมั /ไร) (บาท/ (กโิ ลกรมั ) กิโลกรมั ) ผลผลติ 250.50 1 เชียงราย 3,852 4,039 7,891 12,323,811 3,199 109.48 80.00 2 ตาก 512 - 512 309,000 604 58.42 100.00 3 เลย 233 1,053 1,286 60,700 261 - 4 เพชรบูรณ 158 553 711 1,900 12 100.00 5 ลาํ ปาง 107 - 107 8,560 80 - - 6 เชยี งใหม 42 - 42 - - 246.12 7 พิษณุโลก 26 10 36 750 29 8 แมฮองสอน 18 123 141 - - 9 ชยั ภูมิ 5 27 - - รวมท้ังหมด 4,953 5,780 10,733 12,704,721 2,565 ท่มี า: ศูนยเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร, (2562ก.) กรมวิชาการเกษตรมศี ูนยว จิ ัยทีด่ าํ เนนิ งานวจิ ัยมะคาเดเมียจํานวน 6 ศูนย ไดแก ศูนยวิจัยและพัฒนา การเกษตรท่สี ูงเชียงราย (อ. แมส รวย) มีพื้นท่ปี ลกู 200 ไร ตน สวนใหญมีอายุประมาณ 30 ป จํานวน 4,000 ตน ศูนยวิจัยพืชสวนเลย (อ. ภูเรือ) มีพ้ืนท่ีปลูก 50 ไร อายุ 5-10 ป ประมาณ 900 ตน และอายุ 30 ป 100 ตน ศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม (แมจอนหลวง และขุนวาง) พ้ืนท่ีปลูกรวม 50 ไร อายุ 10 ป จํานวน 100 ตน 9

อายุ 20 ป จาํ นวน 100 ตน และ อายุ 30 ป จํานวน 200 ตน ศูนยวิจัยการเกษตรท่ีสูงเพชรบูรณ (อ.เขาคอ) มีพื้นที่ปลูก 20 ไร อายุ 10-15 ป จํานวน 400 ตน ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรตาก พ้ืนท่ีปลูก 12 ไร อายุ 3-5 ป จํานวน 130 ตน และ อายุ 30 ป จาํ นวน 100 ตน และศนู ยว จิ ัยและพฒั นาการเกษตรแมฮองสอน พ้ืนที่ปลกู 10 ไร อายุ 20-30 ป จาํ นวน 200 ตน สามารถใหผลผลติ รวม 117,000 กโิ ลกรมั ราคาจาํ หนายผลผลติ มะคาเดเมยี ราคาจาํ หนา ยผลผลติ มะคาเดเมยี ต้ังแตป  พ.ศ. 2557 พบวา มะคาเดเมยี มีราคา 278.22 บาทตอ กโิ ลกรัม แตล ดลงในป พ.ศ. 2558-2559 และเพิ่มสูงขึ้นในป พ.ศ. 2560 โดยขอมลู ในป พ.ศ. 2561 มะคาเดเมยี แบบท้ัง กะลามรี าคา 246.12 บาทตอ กโิ ลกรมั (ภาพท่ี 6) (พิจิตร, 2558; ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร, 2562ข.) ภาพท่ี 6 ผลผลิตมะคาเดเมียทเ่ี กบ็ เก่ียวได และราคาจาํ หนา ยเฉลี่ย ป พ.ศ. 2557-2561 (ที่มา: ศนู ยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร, 2562ข.) การผลติ มะคาเดเมียในจังหวัดเลย พบวา มะคาเดเมียแบบท้งั กะลาทย่ี ังไมผานการแปรรูปมีราคา 80-100 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งในป พ.ศ. 2558 และ 2559 มีพ้ืนท่ีปลูกมะคาเดเมีย 1,220 และ 1,210 ไร ตามลาํ ดบั ตอมาในป พ.ศ. 2560 มีพ้นื ทีเ่ พ่ิมข้ึนเปน 1,728 ไร พ้ืนท่ีเก็บเก่ียวผลผลิตได 759 ไร จากเกษตรกร 668 ครัวเรอื น โดยพน้ื ท่ีสวนใหญอ ยูในเขตอาํ เภอภเู รือ นาแหว และดา นซา ย ซึง่ อาํ เภอภเู รือมีการปลกู มาก ทสี่ ดุ และพ้ืนทีป่ ลูก 1 ไร จะใหผลผลติ ประมาณ 530 กิโลกรมั ในเขตอําเภอนาแหว และภูเรือมีการแปรรูปมะคาเดเมียเปนผลิตภัณฑตาง ๆ ซึ่งมีการวางจําหนาย ในรา นขายของฝาก หางสรรพสนิ คา สนามบนิ และมพี อ คากลางทําหนา ที่รบั ซ้อื เพอื่ สงออกจําหนา ยใหกับ สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และสาธารณรัฐเกาหลี เปนตน การแปรรูป ผลผลิตชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพม่ิ ข้นึ ประมาณ 2-3 เทา ซ่งึ ไดม ีการวางแผนเพื่อจดั ต้ังกลุมวิสาหกิจ โดย มุงเนนการแปรรปู และการพฒั นาบรรจุภณั ฑใ หมคี วามหลากหลาย ป พ.ศ. 2545 ไดมีการรวบรวมกลุม เกษตรกร และจัดต้ังเปนกลุมเกษตรกรผูปลูกมะคาเดเมียตอเน่ืองไปในป พ.ศ. 2546 ซ่ึงไดรับการ สนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย กระทรวงวิทยาศาสตรฯ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี ทม่ี บี ทบาทชวยเหลอื ในการนําสว นตาง ๆ ของมะคาเดเมียมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑ ปจจุบนั ประกอบดวยสมาชิกประมาณ 15-20 คน เม่ือรวมจํานวนเครือขายทั้งกลุมเกษตรกรและผูแทน จําหนายจะมีท้ังหมด 150 คน โดยมีวิสาหกิจชุมชนบานบอเหมืองนอย จังหวัดเลย เปนตัวแทนในการ 10

รบั ประกนั ราคามะคาเดเมียใหก บั เกษตรกรจากจังหวัดตาง ๆ ทั่วประเทศท่ีนําผลผลิตมาจําหนาย ไดแก เชียงใหม เชยี งราย แมฮ องสอน และตาก โดยมีการรับซ้ือมะคาเดเมียในราคารับประกันสําหรับสมาชิก ผลสด (Fresh green macadamia) ราคา 60-75 บาทตอกิโลกรัม สําหรับเกษตรกรนอกกลุมราคา 45- 50 บาทตอกิโลกรัม เม่ือนํามาแปรรูปผานการอบไมมีการกะเทาะเปลือกออกราคา 450-500 บาทตอ กโิ ลกรัม และเนอ้ื ในกะเทาะเปลือกออก สามารถแบงออกเปน 3 เกรด คอื เกรด A มีลักษณะผลใหญและ เมล็ดไมแตกหักราคา 900 บาทตอกิโลกรัม เกรด B มีลกั ษณะผลขนาดเลก็ และไมแตกหักราคา 600 บาท ตอ กโิ ลกรัม และเกรด C มลี ักษณะผลแตกราคา 400-300 บาทตอกโิ ลกรัม สวนทเี่ ปนกะลาสามารถนํามา แปรรูปเปน ผงขดั ผิว สําหรับผลติ ภัณฑของกลมุ แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรบานบอเหมืองนอย มีช่ือวา “เกษตรภสู วนทราย” เนื่องจากเปน หมบู า นที่อยูในพนื้ ที่เขตอทุ ยานแหง ชาติภสู วนทราย และในปจจุบันมี การรับซือ้ ผลผลติ มากกวา ปล ะ 50 ตนั มีการพัฒนาผลิตภัณฑใ หม ีความหลากหลายมากกวา 20 ชนิด เชน อบเกลอื อบธรรมชาติ อบท้ังเปลือก เคลือบช็อกโกแลต แปรรปู เปน เนย นา้ํ มนั เปนตน โดยมีการจําหนา ย ราคา 300-1,200 บาทตอ กิโลกรัม จากผลผลิตท้ังหมดในปจจุบันยังคงไมเพียงพอตอความตองการของ ตลาด ในขณะเดยี วกันไดม ีการเปดศนู ยก ารเรียนรดู า นการปลูกและการแปรรูป รวมถึงมีการต้ังเปาหมาย ขยายพ้นื ท่ปี ลูกมะคาเดเมยี ใหเ พมิ่ มากขน้ึ ไมต ่ํากวา 3,000 ตน ตอป (ประชาชาตธิ ุรกจิ , 2561) การปลกู มะคาเดเมียทางภาคเหนอื ในจงั หวดั เชียงราย ไดมีการจัดต้ังวิสาหกิจชุมชนกลุมแปรรูป มะคาเดเมยี ดอยชา ง หรอื ลีซอมะคาเดเมยี (Leesoaw Macadamia) โดยมกี ารจัดจําหนายและจัดสงมะ คาเดเมีย รวมท้งั นํ้ามนั มะคาเดเมีย ซ่งึ เปนการเพาะปลูกในพืน้ ทท่ี เี่ ปลย่ี นแปลงมาจากพน้ื ท่ปี ลูกฝน ในอดตี ชวยสรางอาชีพและรายไดใหกับเกษตรกร และเปนการมอบผืนปากลับคืนสูธรรมชาติอยางย่ังยืน (วสิ าหกิจชุมชนกลมุ แปรรูปมะคาเดเมยี ดอยชา ง, 2563) 2) การนําเขา และสงออกมะคาเดเมีย การนําเขา ในป พ.ศ. 2558-2563 ปรมิ าณและมูลคาการนําเขา และสง ออกมีแนวโนมเพิม่ สูงข้ึน โดยแบง เปน ผลิตภัณฑมะคาเดเมียแบบท้ังกะลา และมะคาเดเมียที่มีเฉพาะเน้ือใน พบวา ทั้งปริมาณและมูลคา ดานการนําเขา มะคาเดเมยี ทั้งสองแบบมีสถติ ิทส่ี ูงกวาการสง ออก สาํ หรับป พ.ศ. 2562 มกี ารนาํ เขา มะคาเดเมยี แบบท้งั กะลาจากประเทศในทวีปแอฟริกาเทาน้ัน คิดเปนปริมาณ 1,404,820 กิโลกรัม มูลคา 92,414,307 บาท (ตารางท่ี 3) สวนมะคาเดเมียทม่ี เี ฉพาะเนอื้ ในมกี ารนําเขาจากเครอื รัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐสังคม นิยมเวียดนาม สาธารณรัฐเคนยา สาธารณรัฐแอฟริกาใต และสาธารณรัฐอิสลามอิหราน โดยเครือรัฐ ออสเตรเลียมปี ริมาณและมูลคา การนําเขาสูงสุด คิดเปน สดั สวนรอยละ 72.51 (ศนู ยเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอื่ สาร, 2563) 11

ตารางที่ 3 การนาํ เขา มะคาเดเมียแบบทัง้ กะลาและที่มีเฉพาะเมล็ดเนอื้ ในของประเทศไทย ป พ.ศ. 2562 ประเทศ ปริมาณ (กโิ ลกรัม) มลู คา (บาท) สัดสว น (รอยละ) แบบทง้ั กะลา ซิมบบั เว 896,300 56,521,240 61.16 แทนซาเนีย 458,520 28,293,347 30.62 แอฟริกาใต 50,000 7,599,720 8.22 รวม 1,404,820 92,414,307 100 แบบท่ีมเี ฉพาะเมล็ดเนื้อใน ออสเตรเลีย 215,017 130,420,950 72.51 เวยี ดนาม 70,920 43,871,383 24.39 เคนยา 10,671 5,564,161 3.09 แอฟริกาใต 1 3,261 0 อหิ ราน 5 2,947 0 รวม 296,614 179,862,702 100 ทม่ี า: ศูนยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (2563) การสงออก การสง ออกมะคาเดเมียของประเทศไทยแบบท้งั กะลาและที่มีเฉพาะเมลด็ เนือ้ ใน ป พ.ศ. 2562มมี ลู คา นอ ยกวาการนําเขา ประมาณ 2 เทา ซ่ึงมีการสง ออกมะคาเดเมยี แบบทัง้ กะลาสูงกวาการสงออกมะคาเดเมียทมี่ ี เฉพาะเมล็ดเนื้อใน โดยสงออกมะคาเดเมียแบบทั้งกะลาไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐ สิงคโปร ซ่ึงสาธารณรัฐประชาชนจีนเปนตลาดรายใหญท่ีสุดของไทยคิดเปนสัดสวนรอยละ 100 และมี มลู คา การจาํ หนา ยใหก บั สาธารณรัฐประชาชนจีนเพียงประเทศเดียว 121 ลา นบาท สาํ หรับการสงออกมะ คาเดเมยี ทมี่ ีเฉพาะเมล็ดเนือ้ ในมีการสง ออกไปยงั ประเทศตาง ๆ ท้ังหมด 9 ประเทศ โดยสาธารณรัฐสงั คม นิยมเวียดนาม คือ ตลาดอันดับหนึ่งสําหรับการสงออก รองลงมา ไดแก เขตบริหารพิเศษฮองกง รัฐ บาหเรน และอ่ืน ๆ (ตารางท่ี 4) (ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2562ข; ศูนยเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร, 2563) 12

ตารางที่ 4 การสง ออกมะคาเดเมียแบบทงั้ กะลาและที่มเี ฉพาะเมลด็ เนือ้ ในของประเทศไทย ป พ.ศ. 2562 ประเทศ ปรมิ าณ (กโิ ลกรมั ) มลู คา (บาท) สัดสว น (รอยละ) แบบทงั้ กะลา จนี 1,381,968 121,305,852 100.00 รวม 1,381,968 121,305,852 100.00 แบบทม่ี เี ฉพาะเมลด็ เนอื้ ใน เวียดนาม 23,134 12,489,312 75.89 ฮอ งกง 4,256 3,268,657 19.86 บาหเรน 1,005 273,360 1.66 อ่นื ๆ 1,034 425,660 2.59 รวม 29,429 16,456,989 100.00 ทมี่ า: ศนู ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (2562ข) 2.3 แนวโนมการตลาดของมะคาเดเมยี การจัดกลมุ ตลาดมะคาเดเมยี ระดบั โลก ข้ึนอยูกบั ประเทศท่มี ปี ริมาณการผลิตสงู และมกี ารบรโิ ภค มะคาเดเมียเปนหลัก ซ่ึงประกอบดวย แอฟริกาใต ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา เคนยา จีน บราซิล เวยี ดนาม เยอรมนั ญีป่ ุน และแคนาดา การวจิ ัยตลาดโลกของมะคาเดเมียใน ป พ.ศ. 2563 ใหความสําคัญ กบั อัตราการเจรญิ เติบโต เทคโนโลยกี ารผลติ ขนั้ สงู และกระบวนการผลติ เพื่อผูประกอบการอตุ สาหกรรม มะคาเดเมียเปนหลัก รวมท้งั มีการนาํ เสนอระบบเพือ่ พัฒนาการตลาดมะคาเดเมียทง้ั ในปจจบุ นั และอนาคต โดยไดต้ังเปาหมายการเติบโตของ Compound Annual Growth Rate (CARG) ที่รอยละ 6.8 ในชวง ระหวางป พ.ศ. 2563-2568 สิ่งสําคัญที่ทําใหตลาดมีการเติบโตอยางตอเนื่อง มาจากการบริโภคอาหาร สุขภาพท่ีเพ่ิมมากข้ึน และผูบริโภคสวนใหญนิยมรับประทานพืชเค้ียวมันเพ่ือเปนอาหารขบเคี้ยวในเชิง สุขภาพ รวมกับการควบคุมปริมาณอาหารในชีวิตประจําวัน นอกจากนี้การปลูกมะคาเดเมียอินทรียมี แนวโนมท่ไี ดร บั ความสนใจเพม่ิ ขนึ้ จากความตองการของผบู ริโภคในกลมุ ประเทศแถบยโุ รป อุตสาหกรรม มะคาเดเมยี เตบิ โตเพ่มิ มากขนึ้ ในตลาดโลก โดยแปรรูปเปน ผลติ ภณั ฑด า น อาหาร เครอื่ งด่มื เคร่ืองสําอาง และผลติ ภณั ฑด ูแลรางกาย ซึง่ เครือรัฐออสเตรเลีย มลรฐั ฮาวายในประเทศสหรัฐอเมริกา แอฟรกิ าใต เปน แหลง ทม่ี กี ารผลิตมะคาเดเมียใหญท สี่ ดุ ของโลก และประเทศแถบลาตินอเมริกาและเอเชียแปซิฟก มีการ ผลิตบางไมม ากนัก ดานการเติบโตผลผลติ มะคาเดเมยี เร่ิมจากการสนับสนุนของภาครัฐในแตละประเทศ เน่ืองจากมะคาเดเมียเปนสินคาท่ีมีความตองการเพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ือง เปนท่ีตองการท่ัวโลก แตยังไม สามารถตอบสนองความตอ งการของตลาดโลกได จงึ ทาํ ใหเกิดความแตกตางระหวางอุปสงคและอุปทาน จงึ มีความจาํ เปนอยางย่งิ ทจ่ี ะตองมีการลงทนุ ในภาคอตุ สาหกรรมและมีสว นรวมจากองคก รภาครัฐ จากการดําเนินงานของกลมุ Australian Macadamia Society ซง่ึ เปนหนว ยงานภาครฐั เก่ียวกับ การเกษตรกรรม และเปนหนวยงานในการดูแลผลผลิตมะคาเดเมียของประเทศออสเตรเลีย ประสบ ผลสําเร็จในการพัฒนาระบบ ‘Mactrix’ เปน ระบบทีช่ วยในการควบคุมหนอนเจาะผลมะคาเดเมียซึ่งเปน การชวยเหลือในภาคอตุ สาหกรรม และทาํ ใหกลายเปน สว นทีม่ กี ารจัดการศัตรพู ชื แบบผสมผสานไดส งู ทสี่ ดุ นอกจากนี้มีการรายงานผลการดาํ เนนิ งานวิจยั การจัดการประชุมปรกึ ษาหารือ และการกระจาย ขอมูลเพื่อสงเสริมใหมีการประยุกตใชวิธีการท่ีทันสมัยและมีกระบวนการปฏิบัติที่ดีสําหรับการปลูก มะคาเดเมียใหเพ่ิมมากข้ึน องคกร Hawaii Macadamia Nut Association มีการวิจัยเก่ียวกับหัวขอ ดังกลาวเชนเดียวกัน ไดแก การจัดการธาตุอาหาร การเก็บตัวอยางใบ การจัดการแมลงศัตรูพืช การ 13

จดั การพน้ื ที่สวน การจัดการทรงพุม และการจัดการธาตุอาหารรอง เปนตน โดยการใหป ุยกับมะคาเดเมีย ไดกลายเปนโครงการหน่ึงที่มีการศึกษาวิจัย ซึ่งรวมถึงการศึกษาปจจัยตาง ๆ ท่ีมีผลตอการใหปุย ความสาํ คัญของดนิ ตอ การปลกู มะคาเดเมีย การตรวจสอบปริมาณธาตอุ าหาร และปจ จยั อนื่ ๆ ในป พ.ศ. 2562 Southern African Macadamia Grower’s Association (SAMAC) และ South America Association ไดม กี ารดาํ เนนิ การเกี่ยวกับการควบคุมเชือ้ รา Phytopthora การตัดแตง กง่ิ การควบคมุ เพล้ยี ไฟ และไร สารเคมแี ละเทคนิคการหารองรอยการทําลายของแมลง การเล้ียงผึ้งกับ การผสมเกสร การวิจยั พันธุ การจดั การและควบคุมแมลงเจาะผลผลติ การปรบั ปรงุ พันธุ การลดการหลุด รวงของผลผลิตในเดือนพฤศจิกายน และการควบคุมอัตราแมลงศัตรู เปนตน (MarketWatch, 2020) และยงั มอี งคกรทที่ าํ งานเก่ยี วขอ งกับมะคาเดเมียในตลาดโลกในประเทศตาง ๆ ประกอบดวย National Agricultural Marketing Council ในประเทศแอฟริกาใต China’s National Industry Association (CSNC) ในประเทศจีน และ Brazilian Macadamia Producers Association ในประเทศบราซิล (Mordor Intelligence, 2020) การขยายตัวในสาธารณรัฐแอฟริกาใต และเครือรัฐออสเตรเลีย พบวา มีพื้นท่ีปลูกมะคาเดเมีย ประมาณ 37,500 - 43,750 ไรตอป ขณะที่สาธารณรัฐประชาชนจีนกําลังขยายพ้ืนที่เพิ่มข้ึน และใน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามยังคงใหผลผลิตต่ํา พื้นที่เพาะปลูกใหญท่ีสุดถูกครอบครองโดยเครือรัฐ ออสเตรเลีย และสาธารณรัฐแอฟริกาใต ซึ่งยังคงมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยปจจัยดังกลาวเปนสิ่งที่ชวย ขบั เคล่อื นดานการตลาด และมกี ารคาดการณว า การผลิตและการบรโิ ภคจะเพมิ่ สงู ข้ึนในอนาคตนอกจากนก้ี าร วิเคราะหตลาดโลกของมะคาเดเมียในป พ.ศ. 2563-2568 โดยจัดแบงตามลักษณะภูมิศาสตร ซ่ึงประเทศ ที่เปนผูผลิตและบริโภคมะคาเดเมีย ไดแก สาธารณรัฐแอฟริกาใต เครือรัฐออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา สาธารณรฐั เคนยา สาธารณรฐั ประชาชนจีน สหพันธสาธารณรัฐบราซิล สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สหพนั ธส าธารณรัฐเยอรมนี ญี่ปุน และแคนาดา ไดถูกนํามาวิเคราะหเพ่ือขยายพื้นที่ปลูก และนําเสนอ ผลผลิตทมี่ ากขึน้ ตามความตอ งการของตลาดโลก ภายใตก ารเตบิ โตของตลาดมะคาเดเมียโลกที่เพิม่ ขน้ึ ทุกป โดยเฉพาะในกลมุ ผูรักสุขภาพในระดับ สากล มะคาเดเมียยังเปนพืชชนิดเดียวที่ไมถูกกีดกันทางการคาจากองคการคาโลก (WTO) และกําลัง กลายเปนพืชเศรษฐกิจชนิดใหมท่ีไดรับความสนใจจากเกษตรกรทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ปจจุบัน เกษตรกรไทยเร่ิมหันมาสนใจปลูกมะคาเดเมียกันอยางกวางขวาง ทั้งในพ้ืนท่ีภาคเหนือและภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดแก เชียงใหม เชียงราย ตาก เพชรบูรณ เลย นครราชสีมา อุดรธานี และชัยภูมิ เปนตน จากขอ มลู พืน้ ทป่ี ลูกของผูเขารวมอบรมเชงิ ปฏิบัติการ เรอ่ื ง การถา ยทอดเทคโนโลยีการปลูก การ ดแู ลรักษา การแปรรปู หลงั การเกบ็ เกย่ี วมะคาเดเมยี อยางครบวงจร ฯลฯ ป พ.ศ. 2556 พบวา พ้ืนที่ปลูก ของเอกชนท่ีเขารวมอบรมซึ่งไดแจงกับศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม มีดังน้ี ไรสามารถ จังหวัดตาก (อ.พบพระ) มีพ้ืนท่เี พาะปลูกทง้ั หมด 2,200 ไร รองลงมาคือ จังหวัดเพชรบูรณ (อ.น้ําหนาว และเขาคอ) มีพ้ืนที่เพาะปลูกรวม 754 ไร จังหวัดเชียงราย มีพื้นท่ีเพาะปลูกรวม 620 ไร จังหวัดเชียงใหม มีพ้ืนท่ี เพาะปลกู รวม 400 ไร จังหวัดเลย (อ.ภเู รือ) มพี ืน้ ท่เี พาะปลกู รวม 130 ไร และจังหวัดลําปาง (เมืองปาน) มีพนื้ ที่เพาะปลูกรวม 120 ไร พันธุที่ปลูกสวนใหญ ไดแก พันธุเชียงใหม 1000 เชียงใหม 700 เชียงใหม 400 344 H2 และ OC มะคาเดเมียมีราคาการรับซ้ือ-ขาย อยูในระดับมาตรฐานสากล แตกตางจากพืช เศรษฐกิจชนิดอน่ื ท่ีมีราคาการรับซ้อื -ขายเปลีย่ นแปลงและไมแนน อน (เทคโนโลยชี าวบา น, 2563) แนวโนม ดา นการผลติ และบรโิ ภคมะคาเดเมียเพ่ิมสูงขึ้นเทาตัวจากอดีต ประเทศที่ยังคงใหความ สนใจอยา งตอเน่ือง ไดแก สาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐเคนยา ซ่ึงไดมีการพัฒนาระบบการ 14

ผลิตภายในประเทศ ภายในป พ.ศ. 2573 สาธารณรัฐประชาชนจีน ไดวางแผนเพ่ือเปนตลาดผูผลิต มะคาเดเมียรายใหญท ีส่ ุด เน่ืองจากเกษตรกรในประเทศยอมรับการปลกู พชื ชนดิ นี้ ดานการบริโภคคาดวา มีแนวโนม เพิม่ สงู ข้นึ เชน เดียวกัน โดยเฉพาะการบริโภคเพ่ือเปนอาหารสุขภาพชวยปองกันโรคท่ีเกิดจาก ลกั ษณะการใชช ีวติ ท่ีไมถูกสขุ ลกั ษณะ เชน เบาหวาน และการบรโิ ภคนํ้ามันสกดั จากมะคาเดเมียยังคงเปน เรื่องหลัก เนื่องจากไดรับการพิจารณาใหเปนนํ้ามันสกัดจากพืชเคี้ยวมัน ท่ีดีที่สุดในโลก (WorldAtlas, 2018) กรมวิชาการเกษตรมีการวางแผนดานการผลิตกลาพันธุมะคาเดเมียเพื่อตอบสนองตอความ ตอ งการของเกษตรกรจาํ นวน 50,000 ตนตอป แบงเปน ศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชียงใหมจํานวน 15,000 ตนตอป ศนู ยว จิ ัยและพัฒนาการเกษตรท่ีสูงเชียงรายจํานวน 5,000 ตนตอป ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย จํานวน 2,500 ตน ตอ ป ศูนยว จิ ัยพชื สวนเลยจาํ นวน 15,000 ตนตอป ศนู ยวิจยั และพัฒนาการเกษตรท่ีสูง เพชรบูรณจํานวน 10,000 ตน ตอป และศนู ยว ิจัยและพัฒนาการเกษตรตากจํานวน 2,500 ตนตอป ซ่ึงจะ สามารถนําไปปลูกไดในพื้นทีป่ ระมาณ 2,000 ไรต อป ซงึ่ แผนผลิตกลา พันธมุ กี ารดําเนินงานอยางตอเนื่อง ซง่ึ เปนการเพ่ิมพืน้ ที่ปลูกมะคาเดเมยี ในประเทศมากข้นึ อกี ทางหนึ่ง 15

บทท่ี 3 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตรข องมะคาเดเมยี 3.1 การจําแนกชัน้ ทางพฤกษศาสตร macadamia nut, Queensland nut, Australian nut, ช่อื ภาษาองั กฤษ (English name): bopple nut, bush nut, bauple nut, nut oak มะคาเดเมยี ชอ่ื ภาษาไทย (Thai name): ชือ่ วิทยาศาสตร (scientific name): Macadamia integrifolia Maiden & Betche, M. tetraphylla L อาณาจกั ร (Kingdom): Plantae Haeckel, 1866-plants อาณาจักรยอ ย (Subkingdom): ไฟลัม (Phylum): Viridaeplantae Cavalier-Smith, 1981-green plants ไฟลมั ยอ ย (Subphylum): Tracheophyta Sinnott, 1935 ex Cavalier-Smith, 1998 Spermatophytina (auct.) Cavalier-Smith, 1998-seed อินฟราไฟลมั (Infraphylum): ชั้น (Class): plants ชน้ั ยอย (Subclass): Angiospermae auct. อนั ดับ (Order): Magnoliopsida Brongniart, 1843-dicotyledons วงศ (Family): สกลุ (Genus): Rosidae Takhtajan, 1967 ชนดิ (Species): Proteales Proteaceae Macadamia Integrifolia และ tetraphylla จากการจําแนกลักษณะโดยสถาบัน Global Biodiversity Information Facility (2020) มะคาเดเมีย ทีพ่ บในปจ จบุ นั มีประมาณ 22 ชนิด (species) ไดแก 1. Macadamia angustifolia R.Virot 2. Macadamia claudiensis C.L.Gross & B.Hyland มีถิ่นกําเนิดที่ภาคเหนือของรัฐควีนสแลนด เครือรฐั ออสเตรเลีย 3. Macadamia erecta J.A.McDonald & R.Ismail มีถนิ่ กําเนิดท่ีเกาะ Sulawesi ประเทศอนิ โดนเี ซีย 4. Macadamia francii (Guillaumin) Sleumer 5. Macadamia grandis C.L.Gross & B.Hyland มีถ่ินกําเนิดที่ภาคเหนือของรัฐควีนสแลนด เครอื รัฐออสเตรเลยี 6. Macadamia heyana (Baill.) Sleum. 7. Macadamia hildebrandii van Steenis มีถน่ิ กําเนิดที่เกาะ Sulawesi ประเทศอินโดนเี ซยี 8. Macadamia hybrid 9. Macadamia integrifolia var. Kampong Maiden & Betche มีถน่ิ กําเนิดทีภ่ าคเหนือของ รัฐนวิ เซาทเ วลส เครอื รัฐออสเตรเลยี 10. Macadamia integrifolia Maiden & Betche มีถ่นิ กาํ เนิดที่ภาคเหนอื ของรัฐนิวเซาทเ วลส เครอื รัฐออสเตรเลีย 16

11. Macadamia jansenii C.L. Gross & P.H. Weston มีถ่ินกําเนิดท่ีภาคตะวันออกเฉียงใต ของรฐั ควนี สแลนด เครอื รัฐออสเตรเลยี 12. Macadamia leptophylla (Guillaumin) R.Virot 13. Macadamia minor F.M.Bailey 14. Macadamia neurophylla (Guillaumin) R.Virot 15. Macadamia rousselii (Vieillard.) Sleumer 16. Macadamia ternifolia F.Muell. มีถ่นิ กําเนิดท่ีภาคตะวันออกเฉียงใตของรัฐควีนสแลนด เครือรัฐออสเตรเลีย 17. Macadamia tetraphylla L.A.S.Johnson มีถิ่นกําเนิดที่ภาคเหนือของรัฐนิวเซาทเวลส เครือรัฐออสเตรเลยี 18. Macadamia vieillardii (Brong. & Gris) Sleumer 19. Macadamia whelanii (F.M.Bailey) F.M.Bailey มีถ่ินกําเนิดที่ภาคเหนือของรัฐควีนส แลนด เครือรัฐออสเตรเลยี 20. Macadamia praealta (F.Müll.) F.M.Bailey 21. Macadamia youngiana F.Müll. ex Benth. 22. Macadamia ternifolia var. integrifolia (Maiden & Betche) Maiden & Betche (Global Biodiversity Information Facility, 2020) โดยมะคาเดเมียทั้ง 22 ชนิด สวนใหญไมสามารถนํามาบริโภคได เนื่องจากมีรสขม มีสารพิษ ยกเวน มะคาเดเมียชนิดผิวเรียบ (Macadamia integrifolia Maiden & Betche) และ ชนิดผิวขรุขระ (M. tetraphylla L.) ซึ่งปลูกเปนการคาอยูในปจจุบัน โดยเนนการผลิตของพันธุชนิดผิวเรียบ (M. integrifolia) เปนหลัก ท้ังน้ี M. integrifolia เปนชนิดกะลาผิวเรียบ (smooth-shelled type) มีสวนประกอบของน้ํามันรอยละ 75-79 และน้ําตาล (total sugar) เฉลี่ยรอยละ 4.57 สวน M. tetraphylla เปนชนิดกะลาผิวขรุขระ (rough- shelled type) ซง่ึ มสี วนประกอบของนํ้ามนั ต่ํา แตม ีนํ้าตาลสงู กวา ชนิดกะลาผิวเรียบประมาณรอ ยละ 6-8 ซึง่ เม่ือนําชนิดกะลาผิวขรุขระไปทอดแลว สี โครงสราง และรสชาติของเน้ือในจะเปนรองชนิดกะลาผิว เรยี บ ลกั ษณะทัว่ ไปที่สําคญั ของมะคาเดเมยี ทั้ง 2 ชนดิ มีความแตกตา งกนั (ตารางท่ี 5, ภาพท่ี 7) ดงั น้ี 17

3.2 ลักษณะทัว่ ไป และชนิดของมะคาเดเมีย ตารางท่ี 5 ลกั ษณะของผวิ กะลา ผล ใบแก ใบออน และสีดอกของ M. tetraphylla และ M. integrifolia ลกั ษณะ M. integrifolia M. tetraphylla 1. ผวิ กะลา ชนิดผิวเรยี บ (smooth shell type) ชนดิ ผิวขรขุ ระ (Rough shell type) 2. ผล กลมหรือคอนขา งกลม ผวิ เรียบหรอื คอ นขา งยาวรีหรอื รปู รา งกลม คอ นขางเรียบ ปลายสองขางเรียว ผิวขรขุ ระ 3. ใบแก ใน 1 ขอมี 3 ใบ ยกเวนขณะยังเปนตนออน ปกตใิ น 1 ขอมีใบ 4 ใบ แตอาจมี 3-5 ใบ มี 2 ใบ ขณะท่ียงั เปน ตน ออ น มี 2 ใบ สวนใหญม ใี บส้นั (10-30 เซนติเมตร) ใบมีขนาดใหญ และยาว (อาจถึง 60 กา นใบ ยาวประมาณ 1.2 เซนติเมตร เซนติเมตร) ไมมีกานใบหรือมีแตส้ันมาก ขอบใบมกั ไมม หี นามหรือมหี นามนอ ยกวา ขอบใบหยักมีหนามมาก 4. ใบออน สีเขยี วออ นหรอื สเี ขยี วปนเทา (bronze) สมี ว งหรอื สีแดงเขม 5. สีดอก ขาวครมี ชมพู ทม่ี า: จาํ รอง (2544ข) (ก). ผวิ กะลา M. integrifolia ผิวเรียบ (ข) ผวิ กะลา M. tetraphylla ผิวขรุขระ (ค) ผล M. integrifolia รูปรางกลม (ง) ผล M. tetraphylla รปู รา งคอ นขางยาวรี 18

(จ) ใบออน M. integrifolia สีเขียว (ฉ) ใบออ น M. tetraphylla สีมว งหรอื แดงเขม (ช) ใบแก M. integrifolia ใบส้นั ขอบใบ (ซ) ใบแก M. tetraphylla ใบมขี นาดใหญ มหี นามนอ ย และยาว ขอบใบหยกั มีหนามมาก (ฌ) สดี อก M. integrifolia สีขาวครีม (ญ) สดี อก M. tetraphylla สชี มพู ภาพท่ี 7 ลกั ษณะผิวกะลา (ก) และ (ข) ชอ ผล (ค) และ (ง) ใบออ น (จ) และ(ฉ) ใบแก (ช) และ (ซ) และสีดอก (ฌ) และ (ญ) ของ M. integrifolia และ M. tetraphylla 3.2.1 ลักษณะการเจรญิ เตบิ โต ไมยืนตนขนาดใหญ ไมผลัดใบ (evergreen tree) ทรงพุมแผกวางถึงต้ังตรง ลําตนสูง 10-20 เมตร และกวา งประมาณ 8-12 เมตร แตกตา งกนั ไปตามพันธุ ซงึ่ รูปรางทรงพุมมีตั้งแตทรงปรามิดถึงทรง กลม ลกั ษณะทรงพมุ โปรงถงึ แนนทบึ แลวแตพ นั ธุ 19

3.2.2 ลาํ ตน เปลือกผิวขรุขระ แตไมยน หรือเปนรอง สีน้ําตาล ความหนาเปลือกประมาณ 7-10 มิลลิเมตร เสนผา ศนู ยกลางลาํ ตน 18-30 เซนติเมตร ทกุ สว นของตนไมมขี น ยกเวน ที่ตา ก่งิ ออ น และสวนของชอ ดอก ก่งิ ยอยมีลักษณะกลมและมีจดุ เลก็ ๆ กระจายทัว่ ทัง้ ก่งิ ใน 1 ป มีการผลใิ บมากกวา 3-4 ครั้ง แตกตางกัน ไปตามสภาพพ้ืนที่ ก่ิงใหมท่ีแตกยาว 20-50 เซนติเมตร มีขอ 5-10 ขอ กิ่งแขนงสวนใหญจะไมเกิดเมื่อ ยอดกําลงั เจรญิ เติบโตและจะเกดิ การผลิใบและแตกกงิ่ แขนงทีเ่ หนอื ขอ 3.2.3 ราก มะคาเดเมียเปนพืชระบบรากแกว (tap root system) ซ่ึงเปนรากแรก (primary root) ท่ีเจริญเติบโต มาจากรากแรกเกิด (radicle) ท่ีงอกออกจากเมล็ด แลวพุงลงสูดิน พัฒนาของรากแขนง (lateral roots) ท่ีเกิดบนรากแกว โดยผิวรอบนอกของรากขนาดใหญเปนช้ันของ epidermis ซ่ึงจะมีรากขนออน (root hair) แตกออกมาโดยรอบเพื่อทาํ หนา ท่ีดดู นา้ํ และเกลอื แรจ ากดิน รากขนออนมีอายุส้ันมากเพียงประมาณ 3 เดือนก็จะหลดุ ออกไป (อุทัย และคณะ, 2551ก) 3.2.4 ใบ ใบเดีย่ วเกิดทีข่ อบนกิง่ ยอ ย เรยี งตวั แบบฉตั ร ทกุ ขอ มใี บ 3 ใบ และทซ่ี อกใบทุกใบมีตา 1 ตา ใบรูปไข หวั กลบั (obovate) ถึงรูปหอกหัวกลับ (oblanceolate) หรอื รูปโลแ คบ (narrowly elliptic) ความยาวเฉลี่ย 12.6 เซนตเิ มตร (8.0-20.0 เซนตเิ มตร) แผนใบกวางเฉลีย่ 4.4 เซนติเมตร (2.5-8.0 เซนติเมตร) พื้นท่ีใบเฉล่ีย 45.4 ตารางเซนติเมตร (23.0-105.0 ตารางเซนตเิ มตร) ขอบใบมหี นามเลก็ นอยถึงไมมี ปลายใบมน (obtuse) แหลมส้ัน (mucronate) ถึงแหลม (acute) ฐานใบเรียวยาว (cuneate) ถึงปาน (obtuse) แผนใบเปนคล่ืน เล็กนอยถงึ เปน คลนื่ มาก แผน ใบมกั มว นหอ ลง เน้อื ใบหนาคลา ยหนงั ผวิ ใบเปนมัน ไมมีขน ใตทองใบเปนมัน ใบแกส ีเขยี วถึงเขียวเขม ใบออ นท่ีผลิใหมสีเขยี วออนถงึ สเี ขียว แตบางพันธุในทอ่ี ากาศหนาวเย็น สียอดออนจะ เปน สเี ขยี วออกแดง เชน พันธุ 741 เสนกลางใบและเสนใบเห็นชัด กานใบหนา 0.19 เซนติเมตร (0.12-0.40 เซนตเิ มตร) ความยาวเฉลยี่ 1.12 เซนตเิ มตร (0.5-2.0 เซนติเมตร) (Trochulias et al., 1984) 3.2.5 ชอดอก จากการศึกษา พบวา ชอ ดอกเกิดบริเวณซอกใบหรือเหนือรอยแผลที่ใบรวง (ภาพท่ี 8) และเกิด กบั กงิ่ แขนงทมี่ ีอายุมากกวา 1 ป เปน ชอ แบบ raceme ยาวเฉล่ีย 17.9 เซนติเมตร (7.0-30.0 เซนติเมตร) แต ละชอ มีจํานวนดอกยอยเฉล่ยี 100-300 ดอกตอชอ ขึน้ อยูกบั พนั ธุและสภาพแวดลอ ม ภาพที่ 8 ตําแหนง ที่เกดิ ชอ ดอกของมะคาเดเมยี 20

3.2.6 ดอก ลกั ษณะชอ ดอกและตาํ แหนง ทด่ี อกเริ่มบานบนชอโดยจะเร่มิ บานท่ีระดับ 2/3 ของชอ โดยบานลง ปลายชอ กอน แลว ถงึ บานขน้ึ บนชอ (ภาพที่ 9) แตละดอกมีกานดอกยอยยาว 0.3 - 0.4 เซนติเมตร กาน ดอกสเี ขยี วถึงสีเขียวเขม ตัวดอกยาว 0.7 - 1.0 เซนติเมตร เปนดอกสมบูรณเพศ มกี ลีบดอกและกลบี เลยี้ ง รวมกนั เรยี ก กลบี รวม (perianth) ทาํ หนาท่ีคลา ยกลบี ดอก 4 อัน ติดกนั เปน หลอดสขี าวหรอื ขาวครมี ยาว ประมาณ 0.7 เซนตเิ มตร กวาง 1 มิลลเิ มตร เกสรตวั ผู มี 4 อนั แตละอันมีอบั ละอองเกสร 2 พู ยาว 1.8 - 2.0 มิลลิเมตร กานเกสรตวั ผูส นั้ ตดิ บนสวนของกลีบรวม เกสรตัวเมีย มียอดเกสรเล็กมาก ที่ผิวหนาเปน เสน มีขนนมุ ๆ ปลายกานชูเกสรตัวเมยี เปนแบบไมสมมาตร กานชูเกสรตัวเมียรูปเรียวยาวคลายไมขีดไฟ ความยาวรวมของรังไขและกานชูเกสรตัวเมีย 1.2-1.7 เซนติเมตร รังไขมี 1 ชอง รูปไข (ovoid) รังไขมีขน หนาแนน เปนแบบ superior มีไขออน 2 อัน โดยไขออนอันใหญจะปฏิสนธิและอีกอันหนึ่งจะฝอไป (Sedgley, 1981) จานรองดอก ไมมีขน สูงประมาณ 0.5-0.6 มิลลิเมตร อยูใตสวนของรังไข (ภาพที่ 10 และ 11) ดอกจะเรมิ่ บานทร่ี ะดบั 2/3 ของชอ และบานลงปลายชอ กอ น แลว ถึงบานข้ึนบนชอ ภาพที่ 9 ลกั ษณะชอดอกและตําแหนง ท่ีดอกเรม่ิ บานบนชอ โดยจะเริม่ บานทรี่ ะดบั 2/3 ของชอ 21

ภาพท่ี 10 ลักษณะการบานของดอกมะคาเดเมีย (ก-ฉ) (ท่ีมา: จาํ รอง, 2538ก) ก. ดอกตมู ยงั มีสเี ขยี ว ข. เรมิ่ เปล่ยี นสี ค. กา นเกสรตวั เมยี เรม่ิ งอดันกลบี รวมออก ง. กา นเกสรตัวเมยี ดันกลบี รวมโผลดานเดียว จ. ปลายกลบี รวมเรม่ิ แตก ฉ. ขณะดอกบานกลบี รวมจะโคงงอกลับดานหลงั ภาพที่ 11 สว นประกอบของดอกมะคาเดเมยี (parts of the flower) (ก-ซ) (ทีม่ า: จํารอง, 2538ก) ก. รังไข (ovary) ข. สว นของกลบี รวมงอเขา ดา นหลัง (perianth) ค. ยอดเกสรตวั ผู (anther) ง. กานชเู กสรตัวผู (filament) จ. ยอดเกสรตวั เมยี (stigma) ฉ. กา นชเู กสรตัวเมีย (style) ช. กา นดอก (pedicel) ซ. จานรองดอก (disk) การออกดอก ดอกของมะคาเดเมียชนิดผิวเรียบ (M. integrifolia) มีสีขาว หรือสีครีม เปนดอกสมบูรณเพศ ชอดอกแบบ raceme คือ ดอกยอยมกี า นดอกติดอยูบนกานชอดอกเดียวกัน ชอดอกยาวหอย คลายหาง กระรอก มีดอกยอย 100-300 ดอกตอชอ (Urata, 1954) (ภาพท่ี 12) จากการประมาณการจํานวน ชอดอกตอตนของมะคาเดเมีย อายุ 15 ป ท่ีปลกู ในมลรัฐฮาวาย พบวา มีชอดอกถึง 10,000 ชอตอชวงฤดู การออกดอก ชอ ดอกจะเกิดบรเิ วณซอกใบ หรอื เหนอื รอยแผลทีใ่ บรว ง และเกดิ กบั ก่งิ แขนงทอี่ ายมุ ากกวา 1 ป ตําแหนงทด่ี อกยอ ยเรม่ิ บานบนชอ เกิดชวงประมาณ 2/3 ของชอดอก นับจากโคนชอ ทิศทางการบาน 22

ไมแนนอน จํานวนวันต้ังแตดอกเร่ิมบานจนถึงบานหมดชอข้ึนอยูกับสภาพพ้ืนที่ จากการศึกษา พบวา ตนมะคาเดเมียที่ปลูกในสภาพพ้ืนท่ีสูง (1,300 เมตรจากระดับทะเล) ใชเวลาเฉลี่ยนานกวาในสภาพที่ต่ํา (300-500 เมตรจากระดับทะเล) คือ 6-8 วัน (ดอยแมจอนหลวง อ. แมแจม จ. เชียงใหม) และ 3-6 วัน (ศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไคร อ. ดอยสะเกด็ จ. เชียงใหม) ตามลาํ ดับ (จํารอง, 2538ก) ลักษณะการบานของดอก เร่ิมที่สวนกลางของกานเกสรตัวเมียจะยืดตัวโคงดันกลีบรวม (perianth) ออกดา นขาง ขณะเดยี วกันปลายกลีบรวมจะคอย ๆ แตกมวนงอไปดานหลัง ระยะเวลาตั้งแต กานเกสรตัวเมีย โคงดันกลีบรวมจนกระทั่งกลีบรวมแตกใชเวลาประมาณ 20-30 นาที ดอกของมะคา เดเมยี เปนแบบ protandrous คือ เกสรตัวผูแกและแตกออกกอนท่ีเกสรตัวเมียพรอมที่จะรับการผสม โดยอบั เรณูแตกออกและปลอยละอองเกสรลงบนยอดเกสรตัวเมียภายใน 1-2 วันกอนดอกบาน (Urata, 1954) ดังนั้นการปลูกมะคาเดเมียควรมีการปลูกหลายพันธุในพ้ืนที่เดียวกัน จะทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้น มากกวาการปลูกเพยี งพนั ธุเดยี วรอ ยละ 31-90 เนือ่ งจากมกี ารผสมขา มพนั ธุ สาํ หรบั มะคาเดเมียทป่ี ลูกในประเทศไทย ชวงเวลาการออกดอกจะขึ้นอยกู บั สภาพพ้ืนที่และพันธุ ในสภาพบนท่ีสูงท่ีระดับ 800-1,300 เมตรเหนือระดับทะเล จะออกดอกมาก 2 ชวง คือ ระหวางเดือน กรกฎาคม-สงิ หาคม และเดือนธันวาคม-กมุ ภาพันธ สว นในสภาพพ้ืนที่ตํ่ากวา 800 เมตรเหนือระดับทะเล จะออกดอกคร้ังเดยี วชวงเดอื นธนั วาคม-กุมภาพนั ธ การติดผลและการพัฒนาของผลจะแตกตา งกันไปตาม สภาพพ้ืนที่และชวงเวลาการออกดอก ในสภาพพื้นที่สูงอากาศหนาวเย็น เชน แมจอนหลวง จํานวนผล ออ นตอชอประมาณ 9-12 ผล จากจํานวนดอกยอยประมาณ 126-134 ดอก และสามารถพัฒนาถงึ แกเก็บ เก่ียวไดประมาณ 4-5 ผลตอชอ มีการติดผลประมาณรอยละ 3-4 สวนในพ้ืนท่ีตํ่ากวา 700 เมตรเหนือ ระดับทะเล เชน ศนู ยศกึ ษาการพัฒนาหว ยฮองไคร (350-400 เมตร) เนือ่ งจากอากาศรอน จาํ นวนผลออน ตอชอ นอ ย ประมาณ 4-6 ผล จากจาํ นวนดอกยอย 134-139 ดอก และแกเก็บเก่ยี วไดเพยี ง 1-2 ผล มกี าร ติดผลประมาณรอ ยละ 0.83 เนอ่ื งจาก เอธลิ ีนจะถูกสรางข้นึ ในระยะ 3-4 สปั ดาหหลงั ดอกบาน ซง่ึ เปนระยะ สาํ คญั ที่มผี ลตอ การรวงของผลออน (Nagao and Sakai, 1985; Sakai and Nagao, 1985) และผลท่ีรวง ในระยะ 10 สัปดาหหลังดอกบานไปถึงชวงระยะผลแกอายุ 28-30 สัปดาห อาจเกิดจากการแกงแยงใน กระบวนการสังเคราะหอาหารของผลที่จะเพิ่มนํ้าหนักแหงและการสะสมนํ้ามัน (Jones, 1939; Jones and Shaw, 1943) ในสภาพสวน ระยะวิกฤติของการรวงของผลออนในระยะการพัฒนาผล ซึ่งมีการเจริญอยาง รวดเร็วในชวง 3-8 สัปดาหห ลังดอกบาน ในสวนท่ปี ลูกมะคาเดเมียท่ีไมมีระบบชลประทาน การรวงของผล คอนขางเพ่ิมข้ึนอยางเห็นไดชัด (Nagao and Hirae, 1992) โดยเฉพาะพ้ืนท่ีท่ีตํ่ากวา 500 เมตรเหนือ ระดบั ทะเล ซึ่งมคี วามช้ืนนอยมกั เกิดการขาดนา้ํ อยา งรนุ แรงในชว งท่ีเกิดคลืน่ ความรอ น ความแหงแลงและ มลี มแรง ระหวางชว งวิกฤติในระยะผลกาํ ลังพัฒนา ระยะแรกผลจะรวงมาก เมื่อสภาพขาดนํ้าตามมา ซ่ึง อาจไปจํากดั การทํางานของระบบรากเพราะน้ําเปนวัตถุดิบและตัวกลางของกระบวนการสังเคราะหแสง และเคลอื่ นยา ยสารอาหารไปสูสว นตาง ๆ (Stephenson and Gallagher, 1987) ถาอณุ หภูมิสูงและเกิด การขาดนา้ํ รวมดว ยบอย ๆ จะทําใหเกิดการสลดั ผลออ น ซ่ึงผลกระทบอาจเกิดจากอุณหภูมิและการขาด นํ้า อาจมีสวนไปขัดขวางการดําเนินกิจกรรมในดานสรีรวิทยาของพืช เชน กระบวนการหายใจ และการ เคลือ่ นยายคารโบไฮเดรตใหก ับผล ดังนั้นสภาพแวดลอม เชน อุณหภมู แิ ละความชน้ื จงึ มอี ิทธพิ ลตอการรว ง ของผลออน ถาอุณหภูมิสูงข้ึนผลออนจะรวงมากข้ึน โดยเฉพาะถาอุณหภูมิกลางวันชวง 30-35 องศา เซลเซียส จะกระตุนใหผลออนรวงมากระหวางชวง 10 สัปดาหแรกหลังดอกบาน (Nagao and Hirae, 1992) 23

ภาพท่ี 12 ลักษณะการออกดอกของมะคาเดเมีย 3.2.7 ผล (nut in husk) ผลมลี กั ษณะเปลือกแขง็ เมล็ดเดียว (nut) ผลรูปรา งกลม ปลายผลมนถงึ แหลม เสน ผาศูนยกลาง 2.38-3.09 เซนตเิ มตร ยาว 3.08 - 4.40 เซนติเมตร มีเปลือกหุมผล (pericarp หรือ husk) หนา 2.86 - 3.60 มิลลิเมตร สีเขียวถึงเขียวเขม ซึ่งประกอบดวยเปลือกช้ันนอกเปนช้ันผิวมีคลอโรฟลล ช้ันกลางเปน พาเรนไคมา และทอ น้ําทออาหาร ชั้นในเปนเซลลผนังบาง สีนาํ้ ตาลเขม (ภาพท่ี 13) น้าํ หนักตอผล 14.39 - 23.40 กรมั จาํ นวนผลตอชอ 1-17 ผล (ภาพท่ี 14) เม่ือแกเต็มที่และแหงเปลือกหุมผลจะแตกออกเอง ตามรอยตะเขบ็ ดา นเดยี ว (Hartung and Storey, 1939; Strochschen, 1986) 3.2.8 เมล็ด (nut in shell) เมล็ดมีเสนผาศูนยกลาง 2.19 - 2.65 เซนติเมตร ยาว 2.33 - 2.78 เซนติเมตร รูปทรงกลมหรือ คอ นขา งกลม เมลด็ ประกอบดว ยเปลือกหุมเมล็ดหรือกะลา (shell) ลกั ษณะแขง็ ผิวเรยี บถงึ ขรุขระเล็กนอ ย สีนํ้าตาลออนถึงนํ้าตาลเขม มีจุดประถึงไมมี กะลาหรือเปลือกหุมเมล็ด หนา 1.93 - 2.76 มิลลิเมตร ภายในเปลือกหมุ เมล็ดมีเน้ือใน (kernel) สขี าวหรือขาวครมี รปู ทรงแบนถงึ กลม ฐานทรงกลม น้ําหนักสด 1.91 - 3.54 กรมั ตอผล และน้ําหนกั แหง 1.16 - 2.60 กรัมตอ ผล เนือ่ งจากเมลด็ มะคาเดเมยี ไมมีช้นั สะสม อาหาร (endosperm) ดังนั้นอาหารจึงไปสะสมอยูในเซลลที่เปนสวนประกอบของตนออน ท่ีเรียกวา ใบเลี้ยง (cotyledon) จะเห็นวาใบเล้ียงเปนสวนท่ีเดนชัดที่สุด และเปนเนื้อในของเมล็ดนั่นเอง เนื้อใน ประกอบดวยใบเล้ียงขนาดใหญ 2 อันประกบกัน และมียอดแรกเกิด (plumule) ลักษณะคอนขางกลม สอดอยรู ะหวา งใบเล้ียงท้ังสอง เน้ือในมีรสชาติ มัน กรอบเม่ืออบสุก เมล็ดมะคาเดเมียจัดเปนเมล็ดจริง (true seed) ท่ีกะลาหรือเปลือกหุมเมล็ดมี รอยแผลเปน (hilum) และรู micropyle ขนาดเล็กสีขาว (อทุ ัย และคณะ, 2551ก) 24

(1) ช (2) ก ง ก ข ข ค ค ง จ ฉ ภาพที่ 13 สว นประกอบของผลมะคาเดเมยี ท่ีมา: จาํ รอง (2538ก) (1) ผลของมะคาเดเมยี รูปผาซกี ตามยาว (2) เปลือกหุมผล (pericarp or husk) (ก) กา นผล (peduncle) (ก) เปลือกชั้นนอก (exocarp) (ข) เมล็ด (seed) (ข) เปลือกชั้นกลาง (mesocarp) (ค) กะลาหรอื เปลือกหุม เมลด็ (shell or seedcoat) (ค) เปลอื กช้ันใน (endocarp) (ง) เน้อื ใน (kernel) (ง) แนวทอนา้ํ ทอ อาหาร (vascular bandle) (จ) รอยแผลเปน (hilum) (ฉ) รูหายใจ micropyle (ช) โคนกานชูเกสรตวั เมยี 25

ภาพที่ 14 ลกั ษณะชอผลของมะคาเดเมยี 26

3.3 ระยะการพฒั นาของผลมะคาเดเมยี แบง ไดเปน 2 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 เปน ระยะการพัฒนาอาหารสะสม (Radspinner, 1971) ชวงระยะนีเ้ ริม่ ตงั้ แตห ลังดอก บาน และใชเวลานาน 12-14 สัปดาห (Nissen and Stephenson, 1981; Jubert, 1986) ระยะที่ 2 เปนระยะการสรางน้ํามัน (Radspinner, 1971) และเปนชวงระหวางท่ีนํ้าหนักแหง ของคัพภะเพิ่มขึ้น (Jones, 1939; Nissen and Stephenson, 1981) ชว งน้เี รมิ่ จากสน้ิ สุดระยะที่ 1 และ ใชเวลานาน 13-17 สปั ดาห (Nissen and Stephenson, 1981; Jubert, 1986) การเจริญเติบโตของผลท่ีออกดอกชวงธันวาคม การพัฒนาผลอยูในชวงฤดูรอนผานถึงฤดูฝน การพัฒนาผลเปนไปอยางรวดเร็วชวง 8-12 สัปดาหแรก แตกตางกันตามสภาพพ้ืนที่ หลังจากน้ันการ พัฒนาของผลเปนไปอยางชา ๆ จนถึงสัปดาหท่ี 24 (6 เดือน) ขนาดของผลคอนขางคงท่ี สวนชุดท่ีออก ดอกเดือนสงิ หาคม ดอกบานชว งปลายฤดูฝน และการพัฒนาของผลอยูระหวางฤดหู นาวผานฤดูรอนถึงฤดู ฝน การพฒั นาของผลจงึ ชากวา ซ่ึงเปนไปอยางรวดเร็วชวง 18-20 สปั ดาหแรกหลังดอกบาน หลังจากน้ัน การเจรญิ เปนไปอยา งชา ๆ จนถึงสปั ดาหท่ี 24-28 ขนาดของผลจะคงท่ี จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลง ภายในของผลมะคาเดเมยี ระหวางการเจริญเติบโตของผล จะมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกหุม เมลด็ หรอื กะลา (shell) และ เนื้อใน (endosperm) ของมะคาเดเมีย (ตารางที่ 6) ตารางท่ี 6 ลกั ษณะของเปลอื กหุม เมล็ดหรอื กะลาและเนื้อในของมะคาเดเมีย พันธุเชยี งใหม 700 (#741) อายุ 1-8 เดือน (ธนั วาคม 2536-กรกฎาคม 2537) ท่หี วยฮองไคร และแมจ อนหลวง จ.เชยี งใหม อายุ หวยฮองไคร* แมจ อนหลวง* (เดือน) เดือน สภาพกะลา สภาพเนอ้ื ใน เดอื น สภาพกะลา สภาพเน้อื ใน 1 ม.ี ค. ออ น สีเขยี วออน เปนนา้ํ ใส ธ.ค. ออ น สีเขียวออน เลก็ มาก เปน นํ้าใส 2 เม.ย. ออ น สีเขยี วออน ออ น สขี าวใส ม.ค. ออ น สีเขียวออน ขนาดใหญข้ึน ออ น สขี าวใส 3 พ.ค. เรมิ่ แข็ง สนี ้ําตาล ออ นเรม่ิ แขง็ สีขาว ก.พ. ออ น สเี ขียวออน ออน สขี าว 4 มิ.ย. แข็ง สนี ้าํ ตาลเขม แข็ง สีขาว ม.ี ค. เริม่ แข็ง สนี าํ้ ตาลออน เรม่ิ แข็ง สขี าว 5 ก.ค. แข็ง สีน้าํ ตาลเขม แขง็ สีขาว เม.ย. แข็ง สีนาํ้ ตาล เรมิ แข็ง สขี าว 6 ส.ค. แขง็ สนี ํ้าตาลเขม แข็ง สขี าว พ.ค. แข็ง สนี ้ําตาลเขม แขง็ สขี าว 7 มิ.ย. แข็ง สนี ้ําตาลเขม แข็ง สขี าว 8 ก.ค. แข็ง สีนาํ้ ตาลเขม แข็ง สขี าว ทมี่ า: จํารอง (2538ก) หมายเหต:ุ *- ศูนยศ กึ ษาการพัฒนาหว ยฮอ งไครอ ันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ ระดบั ความสงู 350 – 400 เมตร จากระดบั ทะเล - ศูนยวจิ ยั เกษตรหลวงเชียงใหม (แมจอนหลวง) ระดับความสงู 1,300 เมตรจากระดบั ทะเล 27

บทท่ี 4 ประวตั แิ ละการพฒั นาพนั ธมุ ะคาเดเมีย 4.1 ประวตั ิความเปนมา มะคาเดเมีย เปนไมผลยืนตนขนาดใหญใบมีสีเขียวตลอดป ไมผลัดใบ (evergreen tree) ผลมเี ปลอื กแข็งและหนา มเี มลด็ เดียว (nut) มีอายุการใหผลผลิตยาวนาน เปนพืชทม่ี ีถิ่นกําเนิดบริเวณปา นํา้ ฝนชายทะเล (coastal rain forest) ทางตอนใตของรฐั ควนี สแลนด และทางเหนือของรัฐนวิ เซาทเวลส (Hamilton et al., 1980) ซึง่ อยรู ะหวางเสน รงุ ท่ี 25 และ 27 องศาใต (Trochoulias et al., 1984) ของ เครอื รัฐออสเตรเลีย ค.ศ. 1000 พบคร้งั แรกโดย ชนเผาอะบอรจิ ิน (ชนเผา ผอู ยูอาศัยด้ังเดิมของเครือรัฐออสเตรเลีย) ค.ศ. 1828 ค.ศ. 1843 โดยรจู ักและเรยี กช่อื วา “Kindal Kindal” มะคาเดเมียถูกพบครั้งแรกโดย Mr. Allan Cunningham นักพฤกษศาสตรชาว ค.ศ. 1857 อังกฤษ ค.ศ. 1858 Mr. Friedrich Wilhelm Ludwig Leichhardt นักพฤกษศาสตร และนักสํารวจชาว ค.ศ. 1881 เยอรมัน พบมะคาเดเมียข้ึนท่ีบริเวณอาวมอรตัน (Moreton Bay) ใกลกับเมืองบริสเบน (Brisbane) รฐั ควนี สแลนด (Queensland) เครือรฐั ออสเตรเลยี และไดเก็บตัวอยาง ค.ศ. 1890 ค.ศ. 1892 พืชไวท่ีสวนพฤกษศาสตรเมืองเมลเบิรน (Melbourne) รัฐวิคตอเรีย (Victoria) เครือรัฐ ออสเตรเลยี Baron Sir Ferdinand Jacob Heinrich Von Mueller ชาวเยอรมัน ผูอํานวยการสวน พฤกษศาสตรแหงเมืองเมลเบิรน (Melbourne) รวมกับ Mr. Walter Hill ชาวสก็อต ผูอํานวยการสวนพฤกษศาสตรคนแรกแหงเมืองบริสเบน (Brisbane) เครือรัฐ ออสเตรเลีย ไดสํารวจและเก็บตัวอยางของพืชน้ีท่ีบริเวณแมนํ้าไพน อาวมอรตัน รัฐควีนสแลนด พบวาอยูในวงศ Proteaceae โดยที่คนพบขณะน้ันเปน Macadamia ternifolia Mr. Mueller Hill ไดขอจดทะเบียนเปนพืชสกุลใหม (Genus) คือ Macadamia เพอื่ ใหเ กียรตติ ามนามสกลุ ของผูท่เี ขานบั ถอื คอื Dr. John Macadam มะคาเดเมียไดถูกนําเขาไปปลูกคนควาและพัฒนาเปนอุตสาหกรรมในประเทศ สหรัฐอเมริกา ท่ีเมือง Kukuihaele มลรัฐฮาวาย (Hawaii) โดย Mr. William Herbert Purvis ชาวสก็อต ท่ีไปดําเนินธุรกิจโรงงานน้ําตาล โดยซ้ือเมล็ดมะคาเดเมียที่เปน Macadamia integrifolia แปลงรวบรวมพันธุมะคาเดเมียแปลงแรก อยูท่ี The Frederickson Estate เมือง Rous Mill รัฐนิวเซาทเวลส เครือรัฐออสเตรเลีย โดยรวบรวมพันธุพืชในสกุลมะคาเดเมียไว จาํ นวน 250 ตน Mr. Edward Walter Jordan และ Mr. Robert Alfred Jordan ไดนํามะคาเดเมีย ไปปลกู ที่เกาะโออะฮู (Oahu) มลรัฐฮาวาย ประเทศสหรฐั อเมริกา 28

ค.ศ. 1892-1894 คณะกรรมการที่ดินเพ่ือการเกษตรและปาไมของรัฐ (The Territorial Board of Agriculture and Forestry) ไดน าํ มะคาเดเมียแบบผลผิวขรุขระ (M. tetraphylla) ปลูกใน โครงการปรับปรุงพ้ืนที่วางเปลาใหมีสภาพเปนปา (Reforestation project) บริเวณ เทือกเขาแทนทาลัส (Tantalus) หลงั เมืองโฮโนลูลู (Honolulu) ประเทศสหรัฐอเมริกา โดย ภาคเอกชนทส่ี นใจปลูกในสภาพปา จะไดรบั การยกเวน ภาษที ด่ี ินจากรัฐ Mrs. Lousise Sales แหงสมาคมผูรักขุนเขา (Trial and Mountain Club) ไดนํา เมล็ดมะคาเดเมียจากสวนของ Mr. Edward Walter Jordan และ Mr. Robert Alfred Jordan ปลูกตามบริเวณดงั กลาว เจา หนา ทเี่ กษตรของสถานีทดลองเกษตร ประเทศสหรฐั อเมริกา ดําเนินการคัดเลือก ตนพันธุดีจากตนที่ปลูกโดยรัฐและเอกชน จํานวน 80,000-100,000 ตน สามารถ คัดเลือกตนพันธุดี 13-15 ตน ไดแก พันธุ Keauhou, Nuuanu, Kohala, Pohau, Kakea, Ikaika, Wailua, Keaau, Kau, Mauka, Maka, Purvis และ Pahala และ พันธุที่คัดเลือกโดยเอกชน 2 พันธุ คือ Chong 6 และ Honokaa Special หลังจาก นน้ั ไดม ีการขยายพนั ธแุ พรก ระจายการปลูกไปตามแหลง ตา ง ๆ ทัว่ โลก ค.ศ. 1922-1925 Mr. Ernest Sheldon Van Tassel เร่ิมตนปลูกเปนการคาครั้งแรกจากเมล็ด ซึ่งไม ประสบความสําเร็จเทาทค่ี วร ค.ศ. 1924 Mr. Walter Pierre Naquin เรม่ิ ปลกู มะคาเดเมยี สูธรุ กจิ โดยใชพ นั ธดุ ีจากการแนะนาํ ของสถานที ดลองเกษตรและมหาวทิ ยาลัยฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา การคัดเลือกพันธมุ ะคาเดเมยี ไดด ําเนินการโดยสถานีทดลองเกษตรของมลรัฐฮาวาย (Hawaiian Agricultural Experiment Station) ภายใตการควบคุมของกระทรวง เกษตร และตอมาป ค.ศ. 1936 ไดอยูในความดูแลของมหาวิทยาลัยฮาวาย โดย คดั เลอื กตนที่ปลูกดวยเมล็ดจากแหลงตาง ๆ ซ่ึงสวนใหญจากเกาะโออะฮู (Oahu), เกาะคาไว (Kauai), เกาะมาอิ (Maui) และ ฮาวาย (Hawaii) ค.ศ. 1948 เร่ิมปลูกมะคาเดเมียเปนอุตสาหกรรมอยางเปนทางการในมลรัฐฮาวาย โดยไดรับ คาํ แนะนาํ และใชพนั ธจุ าก Hawaii Agricultural Experiment Station ค.ศ. 1950 มีการนํามะคาเดเมียจาก มลรัฐฮาวายไปปลูกที่มลรัฐแคลิฟอรเนีย (California) ประเทศ สหรฐั อเมริกา สําหรับปทนี่ าํ เขาปลกู ในมลรัฐฟลอริดา (Florida) ไมท ราบปแ นชัด ค.ศ. 1975 เร่ิมปลูกมะคาเดเมียเปนอุตสาหกรรมอยางเปนทางการในรัฐโอคแลนด (Auckland) ประเทศนวิ ซแี ลนด โดยนาํ เขา มาจากเครือรัฐออสเตรเลยี (ไมทราบปแ นช ดั ) ตอ มามกี ารปลกู มะคาเดเมียแพรก ระจายไปในประเทศในแถบลาตินอเมริกาและสาธารณรัฐแอฟริกาใต โดยมีมลรัฐฮาวายเปนแหลงผลิตและปลูกเปนการคาที่ใหญท่ีสุด คือ มีการผลิตมากกวารอยละ 80 รองลงมา คือ เครือรัฐออสเตรเลีย นิวซีแลนด สาธารณรัฐมาลาวี สาธารณรัฐเคนยา สาธารณรัฐ แอฟรกิ าใต รัฐอสิ ราเอล สาธารณรัฐคอสตารกิ า สาธารณรฐั กวั เตมาลา สาธารณรัฐซิมบับเว สหรฐั เมก็ ซิโก และสหพนั ธสาธารณรฐั บราซลิ ตามลําดับ และในชว งตอมาก็มีการปลูกมะคาเดเมียปลูกในราชอาณาจักร ไทย สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม สาธารณรฐั ประชาชนจีน สาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี และ ราชอาณาจักร เนปาล 29

4.2 การพฒั นาพันธุมะคาเดเมียในประเทศไทย พ.ศ. 2496 เร่มิ นําเขามาปลูก โดยองคก ารบริหารวิเทศกิจแหงสหรัฐฯ (USOM) ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดส งเมลด็ พันธุมะคาเดเมยี ชนิดผลเปลือกเรียบ (M. integrifolia) มาใหกรมกสิกรรม (เดิม) ดําเนนิ การเพาะเมลด็ ทส่ี ถานีกสิกรรมบางกอกนอ ย พ.ศ. 2496 สง ปลูกที่สถานกี สกิ รรมพลิว้ (ศูนยว ิจัยพืชสวนจันทบุร)ี จาํ นวน 4 ตน พ.ศ. 2498 ปลูกที่สถานีกสิกรรมฝาง (ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรเชียงใหม) จํานวน 10 ตน และ สถานีกสิกรรมดอยมเู ซอ (ศนู ยว จิ ยั และพฒั นาการเกษตรตาก (ดอยมูเซอ)) จํานวน 8 ตน พ.ศ. 2499 ปลกู ทสี่ ถานีกสิกรรมแมโ จ (ศูนยวจิ ัยพชื ไรเชยี งใหม) จํานวน 3 ตน พ.ศ. 2511 นายประสิทธ์ิ พมุ ชูศรี เจาของสวนชาระมิงค ท่ี อ. เชียงดาว จ. เชียงใหม ติดตอขอกิ่ง พนั ธุ จากทางมหาวิทยาลยั ฮาวาย ผา นศูนยศึกษาและวัฒนธรรมตะวันออก-ตะวันตก (East-West Center) ม.ร.ว. จักรทอง ทองใหญ ซึ่งขณะนั้นดํารงตําแหนงเปน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เมื่อเดินทางไปราชการที่มลรัฐฮาวาย ไดเจรจากับ นายบารอน โกโต เพ่ือขอพันธุมะคาเดเมีย จากมหาวิทยาลัยฮาวายใหแกกระทรวง เกษตรและสหกรณ ซึ่งในขณะน้ันกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกาหามนํามะคาเดเมีย ออกนอกประเทศ แตในท่ีสุดก็ไดรับการอนุญาตโดย Mr. E.T. Fukunaga เปนผูมอบ กิ่งพันธจุ ํานวน 3 พันธุ คอื #246 #333 และ #508 พ.ศ. 2515 นายไพโรจน ผลประสิทธิ์ แหงกองคน ควาและทดลองกสิกรรม (เดิม) ไดติดตอขอพันธุ ชนดิ เสยี บก่ิงแลว จากมหาวิทยาลัยฮาวาย 4 พันธุ และทดลองปลูกท่ีสถานีกสิกรรม ฝาง (ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรเชียงใหม) ไดแก พันธุ #246 #333 #508 และ #660 และเริม่ ใหผลผลิตเม่อื ป พ.ศ. 2520 แตการจดบันทกึ ไมแนนอน พ.ศ. 2526 เมอื่ วันที่ 26 สิงหาคม 2526 นายดําเกิง ชาลีจันทร ซ่ึงขณะน้ันดํารงตําแหนงหัวหนา สํานักงานการเกษตรทีส่ ูง (ปจจบุ ันมรณภาพ) สถาบันวิจยั พชื สวน กรมวิชาการเกษตร ไดรับมอบหมายใหเปนหัวหนาโครงการวิจัยและพัฒนามะคาเดเมีย ไดติดตอกับทาง เครือรฐั ออสเตรเลียผานบริษัทเอกชน คือ บริษัท JFB โดยนายอวยชัย วีรวรรณ เพ่ือ ส่งั ซือ้ พันธุและเมล็ดพันธุ ไดแก เมล็ดพันธุดีโฟร (D4) จํานวน 200 กิโลกรัม ใหกรม วชิ าการเกษตร จาํ นวน 150 กโิ ลกรัม และนายประพัฒน สทิ ธิสงั ข เจาของสวนมะมวง จ.เชียงใหม จํานวน 50 กิโลกรมั เม่ือวันที่ 17 กันยายน 2526 กรมวิชาการเกษตรไดส่ังซื้อตนพันธุดีทาบกิ่ง จํานวน 500 ตน แบงเปนพันธุ #741 จํานวน 300 ตน และพันธุ #800 จํานวน 200 ตน ซ่ึง ตน พันธมุ กี ารเจรญิ เตบิ โตชา เพราะสงมาแบบลางราก (Bare root) แตละพันธุมีการ ตายรอยละ 10-15 ตนพันธุท่ีเหลือแบงปลูกที่สวนวังน้ําคางของ อ.พันธุเลิศ บูรณะ ศิลปน พันธุล ะ 20 ตน ทเี่ หลอื ทงั้ หมดปลูกที่ศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม (แมจอน หลวง) อ.แมแ จม จ.เชยี งใหม พ.ศ. 2527 เมอ่ื เดือน พฤษภาคม-มิถุนายน 2527 กรมวิชาการเกษตรติดตอขอผูเชี่ยวชาญมะคาเดเมีย จากรัฐนวิ เซาทเ วลส เครือรัฐออสเตรเลีย คือ Mr. Tim Trochoulias เพื่อใหคําแนะนําและ สํารวจพ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมสําหรับปลูกมะคาเดเมียในประเทศไทยเปนเวลา 3 สัปดาห (14 กรกฎาคม ถงึ 7 สิงหาคม 2527) และสง่ั ซือ้ พันธุสําหรับทดลอง 8 พันธุ คือ พันธุ #246 #333 #344 #508 #660 #741 #800 และ เฮชทู (H2) รวม 1,200 ตน โดยใชเงินจาก 30

สํานกั งานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.) ซง่ึ นับวา เปน พระมหากรุณาธคิ ุณทพ่ี ระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงประทานใหแกกรมวิชาการเกษตรและทรงเล็งเห็น ความสาํ คญั ของพืชนใี้ นอนาคต พ.ศ. 2528 กรมวิชาการเกษตรส่ังพันธุเพ่ิมเติม 2 พันธุ คือ โอซี (OC=Own Choice) และ เอซ วาย (HY=Rankine) พรอมทั้งดําเนินการทดลองปลูกเปรียบเทียบพันธุจํานวน 10 พนั ธุ ในสภาพพนื้ ทต่ี าง ๆ ทั่วประเทศ 15 แหง พ.ศ. 2528-2538 ศูนยว ิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม (สาํ นักงานการเกษตรที่สูงเดิม) สถาบันวิจัยพืชสวนได ดําเนินการศึกษาการเจริญเติบโต การออกดอกติดผล ผลผลิตและคุณภาพ พบวา มะคาเดเมยี เริม่ ใหผลผลิตตงั้ แตป พ.ศ. 2533 โดยพันธุ #344 #508 #660 และ #741 เปน พันธทุ ใี่ หผ ลผลิตสูงและคณุ ภาพอยใู นมาตรฐานสากลที่กาํ หนด เหมาะสมกบั สภาพ พืน้ ทป่ี ลูกในแตล ะระดบั แตกตางกนั พ.ศ. 2539 เสนอคณะอนุกรรมการวิจยั ปรบั ปรงุ พนั ธุและขยายพนั ธุพ ชื กรมวชิ าการเกษตร ใหเ ปน พนั ธุแนะนาํ ของกรมวิชาการเกษตร และผานคณะอนุกรรมการ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2539 ใหเปนพันธุแนะนําแกเกษตรกร จํานวน 3 พันธุ ไดแก พันธุเชียงใหม 400 (#660) พันธุเ ชยี งใหม 700 (#741) และพันธเุ ชยี งใหม 1000 (#508 ) พ.ศ.2540-2544 ศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชยี งใหม สถาบันวิจัยพืชสวนไดดําเนินการศึกษาการผสมเกสร แบบพบกันหมดของมะคาเดเมียสายพันธุคัด 6 สายพันธุ ไดแก พันธุ #508 #660 #741 #344 #246 และ H2 พบวา มะคาเดเมยี แทบทุกพันธุที่ศึกษาผสมขามไดดีกวา ผสมตวั เอง ยกเวน พันธุ #246 และ H2 ทสี่ ามารถผสมตวั เองได และพันธุที่เปนคูผสม ไดด ี คือ พันธุ #246 H2 และ #508 พ.ศ.2535-2546 คัดเลอื กจากตน เพาะเมลด็ D4 H2 และ OC ชุดท่ี 1 ทดสอบและเปรียบเทียบพันธุ 8 สายพันธุ ไดแก WW1, KW86, KK27, MCL20, MCL82, FNG21, FNG77, MS2 ณ ศูนยวิจัย เกษตรหลวงเชียงใหม (ขนุ วางและแมจอนหลวง) ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรท่ีสูง เชยี งราย (วาว)ี ศนู ยว ิจัยและพัฒนาการเกษตรตาก (ดอยมูเซอ) ศนู ยวิจัยการเกษตรที่ สูงเพชรบูรณ (เขาคอ ) และศนู ยว จิ ยั พืชสวนเลย (ภเู รอื ) พ.ศ.2539-2552 คัดเลือกตนมะคาเดเมียจากตนเพาะเมล็ดพันธุ D4 และคัดเลือกพันธุมะคาเดเมียที่ นาํ เขาจากตา งประเทศ ปลกู ทดสอบเปรียบเทียบพันธุ 15 สายพันธุ จากมลรัฐฮาวาย ไดแก #508 #741 #788 #791 #792 #849 #294 และจากเครือรัฐออสเตรเลีย ไดแก Daddow, A4 และ A16 และพันธุที่ไดจากการคัดเลือกในประเทศไทย ไดแก CHR1 WW3 KK6 KK7 KK8 ปลกู ทดสอบ ณ ศนู ยวจิ ยั เกษตรหลวงเชียงใหม (แมจอน หลวง) ศนู ยว จิ ยั การเกษตรท่สี ูงเพชรบูรณ (เขาคอ ) ศนู ยว จิ ัยและพฒั นาการเกษตรที่สงู เชียงราย (วาว)ี พ.ศ.2548-2553 คัดเลอื กพันธุมะคาเดเมียจากตนเพาะเมล็ดชุดที่ 2 ที่ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตร ที่สูงเชียงราย (วาว)ี ศนู ยวจิ ัยการเกษตรทสี่ งู เพชรบรู ณ (เขาคอ ) ศนู ยว จิ ยั เกษตรหลวง เชียงใหม (แมจ อนหลวง) และศนู ยวจิ ัยและพฒั นาการเกษตรตาก (ดอยมูเซอ) ป พ.ศ. 2548-2552 คัดเลือกพันธุมะคาเดเมียจากตนเพาะเมล็ดชุดที่ 3 ที่ศูนยวิจัยและ พัฒนาการเกษตรท่ีสูงเชียงราย (วาวี) ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรแมฮองสอน 31

พ.ศ.2555-2558 (ทาโปง แดง) และศนู ยวจิ ัยเกษตรหลวงเชยี งใหม (แมจ อนหลวง) ดาํ เนินการทดลองเรื่อง การอนุรักษแ ละศึกษาเชื้อพันธุกรรมมะคาเดเมีย ณ ศูนยวิจัย พ.ศ. 2563 พ.ศ.2563-2564 พชื สวนเชียงราย ศูนยวิจัยการเกษตรที่สูงเพชรบูรณ (เขาคอ) ศูนยวิจัยเกษตรหลวง เชยี งใหม และศนู ยวจิ ยั และพฒั นาเกษตรท่ีสงู เชยี งราย อยูในขั้นตอนการเสนอใหพ จิ ารณาเปน พนั ธุแนะนํา 2 พันธุ คือ พันธุเชียงใหม 1 (A4) และ พนั ธเุ ชียงใหม 2 (849) ศูนยว ิจยั เกษตรหลวงเชยี งใหม สถาบนั วิจยั พชื สวน ดําเนินการศึกษาและปรบั ปรุงพนั ธุ มะคาเดเมยี อยางตอเน่ือง และคาดวา จะไดมะคาเดเมียพันธุใหมท ีเ่ หมาะสมกับพืน้ ทตี่ ่าํ กวา 700 เมตรจากระดบั ทะเล เพอื่ เสนอขอรับรองพนั ธกุ บั กรมวิชาการเกษตรตอ ไป (อทุ ยั และคณะ, 2551ก) 32

บทท่ี 5 การปรบั ปรงุ พนั ธมุ ะคาเดเมียของกรมวชิ าการเกษตร ประเทศไทย ไดนําพันธุมะคาเดเมยี จากตางประเทศเขามาปลูกเปนการคาในประเทศ เปนพันธุ ทค่ี ัดเลือกและแนะนําโดยมหาวทิ ยาลยั ฮาวาย ซง่ึ จะใชช ่อื เปน ภาษาทอ งถนิ่ ฮาวาย แตบุคคลท่ัวไปจะนิยม เรียกช่ือเปนตัวเลข ในออสเตรเลียมีพันธุปลูกท่ีเริ่มแพรหลายมากข้ึนแตมีบางพันธุที่ยังไมไดนําเขามา ทดสอบปลกู ในประเทศไทย 5.1 แหลง พันธจุ ากตางประเทศ กรมวชิ าการเกษตร โดยโครงการอนรุ ักษเ ชือ้ พันธุกรรมมะคาเดเมีย ไดรวบรวมพันธุมะคาเดเมีย จากตางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย จํานวน 59 สายพันธุ และพันธุที่ไดจากตน เพาะเมล็ดของพันธุ OC D4 และ H2 จํานวน 26 สายตน พันธุมะคาเดเมียที่นิยมปลูกสามารถแยกได ตามแหลงทคี่ ัดเลือก ดังนี้ พนั ธุท คี่ ัดเลอื กจากสหรัฐอเมรกิ า ไดแ ก พนั ธุ Keauhou (HAES 246), Purvis (HAES 294), Ikaika (HAES 333), Kau (HAES 344), Kakea (HAES 508), Keaau (HAES 660), Mauka (HAES 741), Pahala (HAES 788), Makai (HAES 800), HAES 814, 816, 842, 849, 856, 888, 889, 892, 894, 895, 896, 920 ฯลฯ แตท ี่ใชปลูก เปน การคาในฮาวายมี 8 พันธุ ไดแก Keauhou (HAES 246), Kau (HAES 344), Kakea (HAES 508), Keaau (HAES 660), Mauka (HAES 741), Makai (HAES 800), Purvis, Pahala และ Dennison พนั ธุท ่คี ดั เลือกจากออสเตรเลีย ไดแ ก พันธุ Hinde (H2), Own choice (OC), Daddow, Heilscher, Elimbab, Prabert-2 Hidden Valley (A4) และ Hidden Valley (A16) และพันธทุ ่ีแนะนําใหป ลกู ในออสเตรเลยี มีหลายสายพนั ธุร วมทัง้ พันธุปลูกเดิมท่ีคัดเลือกจากฮาวายไดแก พันธุ Daddow, A4, A16, Heilscher, Kau, Keaau, Makai, Keauhou และ Mauka (อทุ ัย และคณะ, 2551ก) 5.1.1 ลกั ษณะประจาํ พนั ธุของมะคาเดเมยี พนั ธทุ ่ัวไป ท่ไี ดรวบรวมจากตา งประเทศ ไดแ ก พนั ธุเบอร 246 (Keauhou) ทรงตนพมุ กลม กิ่งกานแผกวาง ใบเขียวเปนคลื่น มีหนามมาก ปลายใบมน ดอกสีขาว ใบออนสี เขยี ว ขนาดผลใหญ (140 ผลตอ กิโลกรัม) ทนทานตอ โรคแอนแทรคโนส ทนแลงแตไมทนลม โคนลมงาย เปนตวั ใหล ะอองเรณแู กพ ันธุอ่ืนเพื่อชวยใหติดผลไดดี ขอจํากัด คือ ไมทนตอโรคผลจุด ผลแตกงาย เมื่อ ไดรับความช้นื ทําใหงอกงาย ทําใหจาํ หนายไมไ ด เหมาะในพนื้ ทรี่ ะดบั ละตจิ ดู 19.8 องศาเหนือข้ึนไป ไมมี ลมแรง (อุทยั และคณะ, 2560ข) พันธุเ บอร 294 (Purvis) เปน พันธุทม่ี หาวิทยาลัยฮาวายคัดเลือกตั้งแตป พ.ศ. 2479 แตมาต้ังชื่อในป พ.ศ. 2524 เพ่ือให เปนเกยี รติแกน ายวลิ เลยี่ ม เพอรวิส ซึ่งเปนผไู ดร ับการยอมรับวาเปนผูนาํ มะคาเดเมยี มาปลกู เปนคนแรกใน มลรัฐฮาวาย เพราะเม่ือปลูกทดสอบตามแหลงตาง ๆ มักแสดงอาการขาดธาตุอาหารใหเห็นเสมอ พันธุ #294 ตดิ ผลดก ขนาดผลใหญ เปอรเซน็ ตเกรด 1 เนอื้ ในสูง 37-41 เปอรเ ซน็ ต 33

พนั ธุเบอร 333 (Ikaika) เร่ิมตนคัดเลือกในป พ.ศ. 2479 และไดรับการต้ังชื่อพันธุในป พ.ศ. 2495 ทรงพุมใหญ มีการ เจรญิ เติบโตดี ปรับตวั เขา กบั สภาพแวดลอ มไดด ีมาก ใบใหญสีเขียวเขม ขอบใบมีหนามแหลมจํานวนมาก (Hamilton et al., 1952) ติดผลดกเปนพวง ขนาดผลเล็ก ประมาณ 174 ผลตอกิโลกรัม กะลาคอนขาง หนา มีเนอ้ื ในหลงั กะเทาะรอยละ 31-35 การติดผลสงู แตค ณุ ภาพไมแนนอน บางปเ ปอรเซน็ ตเ กรด 1 เนอื้ ใน (kernel recovery) ลดลงตํ่ากวา 30 เปอรเซ็นต จึงไมแนะนําใหปลูกตอไป พันธุ #333 ออนแอตอ อาการท่เี รียกวา Quick decline คอื แหง ตายอยา งรวดเรว็ เมอ่ื อายุตนมากข้ึนโดยเฉพาะในมลรัฐฮาวาย (Nagao and Hirae, 1992) รวมทงั้ ในประเทศไทย พันธุเบอร 344 (Kau) ทรงตน คลายสนฉัตร ใบสีเขียว ปลายใบแหลม เปนคล่ืนเล็กนอย ใบเขียวตลอดป แมปลูกในท่ี ความอุดมสมบูรณต่ํา กะลาผิวเรียบและขรุขระเล็กนอย ดอกสีขาว ขนาดผลใหญ กะลาหนาเล็กนอย (130-150 ผลตอกโิ ลกรัม) ขอ จาํ กัด คอื ใหผลผลิตชา กวาพนั ธุอืน่ ๆ แตเม่ืออายุมากข้นึ จะใหผลผลติ สูง ถา ปลูกในพนื้ ทต่ี ํา่ กวา 700 เมตรจากระดบั ทะเล และมีความช้ืนตา่ํ จะมกี ะลาหนา ออนแอตอการเขาทําลาย ของหนอนเจาะผลและก่ิง และเพลย้ี หอย เหมาะสาํ หรับพืน้ ทรี่ ะดับ 800 เมตรจากระดับทะเลข้ึนไป และ ควรปลูกรวมกับพันธเุ ชียงใหม 400 และเชยี งใหม 700 (อทุ ัย และคณะ, 2560ข) พันธุเบอร 800 (Makai) เร่ิมคดั เลือกเมื่อป พ.ศ. 2510 และตั้งชื่อพันธุเปน มาคาอิ หรือ มาไค (Makai) ในป พ.ศ. 2520 พรอ มกบั พนั ธุ #741 ซ่ึงเปน ภาษาพ้นื เมอื งแปลวา ใกลท ะเล คัดเลอื กมาจากตนเพาะเมล็ดของพันธุ #246 ลกั ษณะทรงพุม และใบคลา ยคลึงกบั #246 คือ ทรงพุมคอนขางกลม ใบเขียว มีหนามที่ขอบใบแหลมคม ขนาดผลใหญกวาพันธุอื่น ๆ เนื้อในมีคุณภาพดีเยี่ยม รูปรางและสีสวย จึงใชเปนพันธุมาตรฐานในการ คัดเลอื กพนั ธุใหมอ นื่ ๆ เปอรเซ็นตเกรด 1 เนอื้ ใน (kernel recovery) 38-42 เปอรเซน็ ต และเปอรเซ็นต ลอยน้าํ (เปอรเซน็ ตเกรด 1) 97-100 เปอรเ ซ็นต นา้ํ หนักเมล็ดเน้อื ในเฉล่ีย 2.4–3.2 กรมั พนั ธเุ อชทู (H2 หรอื Hinde) นสิ ัยการเจริญเติบโตทรงตน ตงั้ ตรง ทรงพมุ กลมโปรง แผก วา ง ใบเขยี วเปนคล่นื ไรห นาม ปลายใบ กลมมน ดอกสขี าว ใบออ นสเี ขียว กะลาเรียบแตขรุขระเล็กนอย ขนาดผลปานกลาง กะลาหนาเล็กนอย (142 ผลตอ กิโลกรัม) ผลมีรอยบุมหรือลักย้ิมท่ีตรงขั้วของผล เจริญเติบโตทางลําตนไดดีทั่วทุกภาคของ ประเทศไทย เนอ้ื ในคอนขา งแบนเล็กนอย เปอรเซ็นตเน้ือในต่ํากวามาตรฐานเล็กนอย เปนตัวใหละออง เรณูแกพันธุอ่ืนเพอ่ื ชว ยการตดิ ผล เหมาะสาํ หรับใชเ ปน ตน ตอ (อุทยั และคณะ, 2560ข) พนั ธโุ อซี (Own Choice) คัดเลือกโดยสวนเอกชน โดยนายเอ็น เกรเบอร (Mr. N. Greber) เมืองเบียรวาห (Beerwah) รฐั ควีนสแลนด เครอื รัฐออสเตรเลยี ลักษณะทรงตนตงั้ ตรงเปน พมุ ขนาดกลาง แตกกงิ่ แขนงมาก เปนพันธุ เบา ออกดอกงายและดก ผลผลิตคอนขางสูง ท่ีปลูกที่บริเวณกลาสเฮาส เมานเทน (Glasshouse Mountain) ไดผลผลิตถึง 26 กิโลกรัมตอตน เม่ืออายุ 10 ป ขนาดผลใหญกวา เอชทู เฉล่ีย 129 ผลตอ กิโลกรัม มเี ปอรเ ซ็นตเ กรด 1 เนือ้ ใน 33-37 เปอรเซ็นต เปอรเซ็นตลอยน้ํา (เปอรเซ็นตเกรด 1) 95-100 เปอรเซ็นต น้ําหนักเนอ้ื ใน 2.7-3.0 กรัมตอเมลด็ เนื้อในคอ นขา งใหญ สแี ละคณุ ภาพดี มีขอเสีย คือ ผลไม หลนลงพื้นเม่ือแก (stick tight) ซง่ึ ตองใชแ รงงานขน้ึ เก็บตองเสียคาใชจายเพิ่มขึ้น กะลาบางและแตกหัก งายเม่ืออากาศรอนทําใหงอก ทําใหเน้ือในมีรสขม อีกทั้งทรงพุมแนนทึบ ตองตัดแตงก่ิงอยูเสมอ (อุทัย และคณะ, 2551ก) 34

พันธุแดดโด (Daddow) เปนพันธุที่มีคุณภาพและผลผลิตสูงอีกพันธุหนึ่งของเครือรัฐออสเตรเลีย ซึ่งสูงกวาพันธุ #246 #333 และ #660 ของมลรัฐฮาวาย เม่อื ปลกู เปรียบเทียบกันในเครอื รฐั ออสเตรเลยี (Winks et al., 1987) มเี ปอรเซ็นตเกรด 1 เนื้อในประมาณ 39 เปอรเซ็นต (อทุ ยั และคณะ, 2551ก) 5.1.2 ลักษณะประจําพนั ธขุ องมะคาเดเมียพันธุท่ไี ดจากการคดั เมล็ด ไดแก พันธแุ มจอนหลวงสายตน เบอร 829 (MCL D4-829) เปนพันธุท่ีไดจากการคัดเมล็ดชุดที่ 2 (เมล็ด D4) เมื่อป พ.ศ. 2548 ทําการคัดเลือกจาก ตน เพาะเมล็ด D4 ณ ศนู ยวจิ ยั เกษตรหลวงเชยี งใหม ท่ีระดบั ความสูง 1300 เมตรจากระดับน้ําทะเล ทรง ตน รูปรางกลม (round shape) กงิ่ กานแผก วาง จงึ ตองใชระยะปลกู กวางขน้ึ ใบรปู หอกหัวกลับ ปลายใบ มนมหี นามนอ ย ใบเรียบเปนคลื่น ดอกสีขาวครีม ลักษณะตําแหนงใบบนก่ิงลูขึ้น กิ่งไมเล้ือย มีขนาดผล ใหญประมาณ 123 ผลตอ กิโลกรัม นํ้าหนักเนื้อใน 2.41-3.07 กรัม เปอรเซ็นตเนื้อในเกรด 1 (เปอรเซ็นตลอย นาํ้ ) 78-82 เปอรเซ็นต เปอรเซ็นตเกรด 1 เน้ือใน (เปอรเซ็นต recovery) เทากับ 30.01 เปอรเซ็นต ออกดอก เฉลีย่ 198.90 ดอกตอ ชอ ความยาวชอดอกเฉลี่ยเทา กบั 18.87 เซนติเมตร พันธุเชียงรายสายตนเบอร 5 (CR D4-5) เรมิ่ การคัดเลอื กพนั ธุมะคาเดเมยี จากตน เพาะเมลด็ ชดุ ที่ 2 เมอ่ื ป พ.ศ. 2548 ทาํ การคัดเลือกจาก ตน เพาะเมล็ด D4 ณ ศนู ยว ิจัยพชื สวนเชียงราย ที่ระดับความสูง 400 เมตรจากระดับน้ําทะเล เปนพันธุ พีน่ อ งกบั พันธุเชียงรายสายตนเบอร 7 ทรงตนตั้งตรง ใบรูปหอกหัวกลับ ปลายใบแหลม ใบมีหนามมาก ขนาดผลประมาณ 180 ผลตอกิโลกรัม เปอรเซ็นตเกรด 1 เนื้อใน (เปอรเซ็นต recovery) เฉลี่ย 28 เปอรเซ็นต เปอรเ ซ็นตเ กรด 1 (เปอรเ ซ็นตล อยนํา้ ) 90 เปอรเซ็นต น้ําหนักเน้ือใน 1.7-2.3 กรัม ออกดอก เฉล่ีย 212 ดอกตอชอ ขอดี คือ สามารถปรับตัวไดในสภาพพ้ืนท่ีของประเทศไทยตั้งแต 400 เมตรจาก ระดบั น้ําทะเลขึ้นไป ขอ เสยี คอื เมอื่ ผลแกจะคาอยบู นตนไมร ว งหลนเหมอื นพนั ธุอ น่ื ๆ (ภาพท่ี 15) พันธุเชียงรายสายตนเบอร 7 (CR D4-7) เร่มิ การคดั เลอื กพันธุมะคาเดเมียจากตนเพาะเมล็ดชุดท่ี 2 (เมล็ด D4) เม่ือป พ.ศ. 2548 ทรงตน รปู รางกลม (round shape) กิง่ กา นแผกวาง จึงตอ งใชร ะยะปลูกกวา งขน้ึ ใบรูปหอกหวั กลบั ปลายใบมนมี หนามนอย ใบเรยี บเปนคล่ืน ดอกสีขาวครมี ลักษณะตาํ แหนง ใบบนกิ่งลขู ้นึ กงิ่ ไมเล้อื ย ขนาดผลปานกลาง ประมาณ 156 ผลตอกโิ ลกรัม เปอรเซ็นตเกรด 1 เน้ือใน (เปอรเ ซ็นต recovery) เฉล่ีย 41.03 เปอรเซ็นต เปอรเ ซ็นตเ กรด 1 (เปอรเซน็ ตลอยนํ้า) 97 เปอรเซ็นต นํ้าหนักเน้ือใน 2.5-2.8 กรัม ออกดอกเฉลี่ย 216 ดอกตอชอ ขอ ดี คือ สามารถปรับตวั ไดในสภาพพ้ืนทข่ี องประเทศไทยต้งั แต 400 เมตรจากระดับนํ้าทะเล ขึ้นไปขอ เสยี เม่ือผลแกจะติดอยบู นตนไมรวงหลนเหมอื นพันธอุ ื่น ๆ (ภาพที่ 16) พนั ธเุ ขาคอ สายตน เบอร 27 (KK D4-27) เร่ิมคัดเลือกพันธุเมื่อป พ.ศ. 2548 ทําการคัดเลือกจากตนเพาะเมล็ดชุดท่ี 2 (เมล็ด D4) ณ ศนู ยว ิจัยเกษตรที่สูงเพชรบรู ณ (เขาคอ ) ระดบั ความสงู 800 เมตรจากระดบั ทะเล ทรงตนเปนแบบตั้งตรง ใบเขียวเขม ใบรปู หอกหวั กลบั ปลายใบมนมหี นามเล็กมาก ดอกสีขาวครีม ลกั ษณะตาํ แหนงใบบนกิ่งลูขึ้น กิง่ ไมเล้ือย ลกั ษณะเดน มขี นาดผลใหญป ระมาณ 137 ผลตอ กิโลกรัม นํ้าหนกั เนอื้ ในเฉล่ีย 2.48-2.86 กรมั เปอรเ ซ็นตเนือ้ ในเกรด 1 (เปอรเ ซ็นตลอยนํา้ ) 75-78 เปอรเซ็นต เปอรเซ็นตเกรด 1 เน้ือใน (เปอรเซ็นต recovery) 25.50 เปอรเซน็ ต ขอจาํ กดั คอื ควรปลกู ในสภาพพน้ื ท่ขี องประเทศไทยตั้งแต 800 เมตรจาก ระดบั ทะเลขึ้นไป (ภาพท่ี 17) (มานพ, 2554ก.; พิจติ ร และคณะ, 2552) 35

พนั ธแุ มฮองสอนสายตนเบอร 74 (MHS D4-74) เปนพันธุท่ีไดจากตนเพาะเมล็ด (เมล็ด D4) เมื่อป พ.ศ. 2548 ทําการคัดจากทั้งหมด 120 สายตน ทรงตนรูปรา งกลม (round shape) กิง่ กานแผก วา ง ปลายใบมนมีหนามนอ ย ดอกสีขาวครมี ใบบนกงิ่ ลขู ้นึ เลื้อย ลกั ษณะเดน ขนาดผลปานกลางประมาณ 164 ผลตอ กโิ ลกรัม นาํ้ หนักเน้อื ในเฉล่ีย 2.22-2.72 กรัม เปอรเซ็นตเนื้อในเกรด 1 (เปอรเซ็นตลอยนํ้า) 98 เปอรเซ็นต เปอรเซ็นตเกรด 1 เน้ือใน (เปอรเซ็นต recovery) 35.36 เปอรเ ซน็ ต พนั ธุวาวสี ายตนเบอร 6 (WW D4/H2-6 ) เปนพันธุท่ีไดจากตนเพาะเมล็ด (เมล็ด D4/H2) เมื่อป พ.ศ. 2548 ทําการคัดจากทั้งหมด 34 สายตน ทรงตนต้งั ตรง ใบรูปหอกหวั กลบั ปลายใบมนไมม หี นาม ดอกสขี าวครีม ใบบนก่ิงลูขึ้น เลื้อย ลักษณะเดน มขี นาดผลใหญป ระมาณ 148 ผลตอกิโลกรัม นํา้ หนกั เนอ้ื ในเฉลีย่ 2.10-2.53 กรัม เปอรเซ็นตเน้ือในเกรด 1 (เปอรเซ็นตลอยนํ้า) 90.76 เปอรเซ็นต เปอรเซ็นตเกรด 1 เนื้อใน (เปอรเซ็นต recovery) 30.24 เปอรเซ็นต ออกดอกเฉลี่ย 177 ดอกตอชอ ความยาวชอดอกเฉล่ียเทากับ 16.93 เซนติเมตร (มานพ, 2554ข.) 36

ภาพท่ี 15 ลกั ษณะทรงพุม ดอก และผลของพนั ธุเชียงรายสายตน เบอร 5 (CR D4-5) ภาพที่ 16 ลกั ษณะทรงพมุ ดอก และผลของพันธเุ ชียงรายสายตน เบอร 7 (CR D4-7) ภาพที่ 17 ลักษณะทรงพุม ดอก และผลของพันธเุ ขาคอ สายตน เบอร 27 (KK D4-27) **หมายเหตุ : พันธเุ หลานี้อยูใ นระยะการทดสอบพนั ธุในพ้นื ทท่ี ีม่ คี วามสงู จากระดบั ทะเลท่แี ตกตา งกนั ของภาคเหนอื และ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ คาดวา จะสามารถเสนอเปนพนั ธุแนะนาํ ของกรมวชิ าการเกษตรในอนาคต 37

5.2 การปรบั ปรุงพันธุมะคาเดเมียของกรมวชิ าการเกษตร กรมวิชาการเกษตรไดคัดเลือกคัดสายตน ณ ศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม (แมจอนหลวง ระดับความสูง 1,300 เมตรจากระดับทะเล) จํานวน 2 สายตน ไดแก MCL D4-829 และ MCL D4-856 ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย (ระดับความสูง 400 เมตรจากระดับทะเล) จํานวน 11 สายตน ไดแก CR D4-5, CR D4-7, CR D4-8, CR D4-9, CR D4-10, CR D4-12, CR D4-39, CR D4-72, CR D4-78, CR D4-91 และ CR D4- 108 ศนู ยว ิจัยการเกษตรทส่ี ูงเพชรบรู ณ (เขาคอ) (ระดบั ความสูง 800 เมตรจากระดับทะเล) จํานวน 2 ตน ไดแก KK D4-27และ KK D4-71 ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรแมฮองสอน (ทาโปงแดง) จํานวน 8 ตน ไดแก MHS D4-9, MHS D4-24, MHS D4-45, MHS D4-74, MHS D4-86, MHS D4-91, MHS D4-99 และ MHS D4-117 ศนู ยวจิ ยั และพฒั นาการเกษตรท่ีสูงเชียงราย (วาวี) (ระดับความสูง 1,300 เมตรจากระดับทะเล) จํานวน 7 ตน ไดแก WW D4/OC-1, WW D4/OC-11, WW D4/H2-5, WW D4/H2-6, WW D4/H2-12, WW D4/660-11 และ WW D4/800-2 และพันธุที่ไดจากงานวิจัยทดสอบพันธุ จํานวน 15 สายตน ไดแก #294, #508, #741, #788, #791, #849, #792, A4, A16, CHR#1, Daddow, KK#6, KK#7, WW#3 และ KK#8 โดยปจจุบันได รวบรวมไวในแปลงรวบรวมอนรุ ักษเ ชอ้ื พนั ธกุ รรมทั้ง 4 แหง คือ ศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม (แมจอนหลวง) จํานวน 35 สายพันธุ ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย จํานวน 15 สายพันธุ ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรที่สูง เชียงราย (วาว)ี จํานวน 15 สายพนั ธุ และศนู ยว ิจยั การเกษตรทส่ี งู เพชรบูรณ (เขาคอ) จํานวน 15 สายพันธุ เพ่ือ ใชสาํ หรับการปรับปรุงพันธตุ อ ไป (พิจิตร และคณะ, 2552; สพุ ฒั ธนกิจ, 2563) 5.2.1 ลักษณะประจาํ พันธุของมะคาเดเมียพันธุแนะนําของกรมวิชาการเกษตร พนั ธเุ ชยี งใหม 400 (Keaau หรอื HAES 660) ทรงตนตั้งตรง คลายปรามิด ใบเขียวเขม มีหนามเล็กนอย พุมเล็ก เปนพันธุเบา ออกดอกดก ใชปลูกรวมกับพันธุอ่ืนเพื่อชวยผสมเกสรยกเวน พันธุ #344 และ พันธุเชียงใหม 700 อายุเก็บเกี่ยวส้ัน (180-210 วนั ) เปอรเซ็นตเกรด 1 เนื้อใน 34-42 เปอรเซ็นต เปอรเซ็นตลอยนํ้า 93-100 เปอรเซ็นต น้ําหนักเนื้อ ใน 1.5-2.7 กรัม ขนาดผลเล็ก กะลาบาง (175-190 ผลตอกิโลกรัม) ขอจํากัด คือ ตนอายุมากข้ึน ผลผลิตอาจ ลดลง เหมาะสําหรับปลูกในพ้ืนที่อากาศเย็นในท่ีสูงระดับ 500 เมตรเหนือระดับทะเลข้ึนไป หรือหากตองการ ปลูกในระดับ 400 เมตร พ้นื ท่ีปลกู ควรอยูในเขตเสนละตจิ ูด 19.8 องศาเหนอื ขนึ้ ไป (ตารางท่ี 7) พันธเุ ชยี งใหม 700 (Mauka หรอื HAES 741) ทรงตนตั้งตรง คลา ยปร ามิด แผขา งเลก็ นอย ใบเขียวเปน คลืน่ มวนหอลง ปลายใบแหลมมีหนาม มากกวาพันธุเชียงใหม 400 และ #344 เปอรเซ็นตเกรด 1 เน้ือใน 32-39 เปอรเซ็นต เปอรเซ็นตลอยน้ํา 98 เปอรเซ็นต เน้อื ในหนกั 2.8 กรมั ผลใหญ กะลาบางปานกลาง (135-150 ผลตอกิโลกรัม) ปรับตัวไดดี ขอจํากัด คือ ไมควรปลูกในพื้นที่ต่ํากวา 700 เมตรจากระดับทะเล เพราะคุณภาพเนื้อในจะลดลง ไมควรปลูกในพนื้ ท่ีขาดนาํ้ และความช้นื ในดนิ ตาํ่ เพราะผลจะรวงงาย และมีขนาดผลเลก็ (ตารางที่ 7) พนั ธเุ ชียงใหม 1000 (Makea หรอื HAES 508) ทรงตนต้ังตรง ทรงกลม แผกวาง ใบสีเขียวออน เปนคล่ืน ปลายใบแหลมสั้น มีหนามนอยกวา พนั ธเุ ชยี งใหม 700 ขนาดผลปานกลาง กะลาหนาเลก็ นอย (148-170 ผลตอกิโลกรัม) เปอรเซ็นตเกรด 1 เน้ือใน 34-38 เปอรเซ็นต เปอรเซ็นตลอยน้ํา 84-100 เปอรเซ็นต นํ้าหนักเนื้อใน 1.7-2.5 กรัม เจริญเตบิ โตและผลผลิตดีกวา ทกุ พันธุในท่ีสงู กวาระดบั ทะเล 1,000 เมตรขึ้นไป (ชอบอากาศเย็น) ทนแลง ขอจํากัด คือ ไมทนรอน ทําใหกิ่งเล้ือย ใบไหม ตนแคระแกร็น (เมื่อปลูกในพื้นที่ตํ่ากวา 1,000 เมตร จากระดบั ทะเล) ถา พ้ืนท่ีปลูกขาดนํ้าและความชื้นในดินต่ํา ผลจะรวง และมีขนาดผลเล็ก และควรปลูก รวมกับพันธุเชยี งใหม 400 เพอื่ ชว ยในการผสมเกสร (ตารางที่ 7) (อทุ ัย และคณะ,2560ข) 38

ตารางท่ี 7 ลกั ษณะของพันธุเชยี งใหม 400 พันธุเชยี งใหม 700 และพันธุเชียงใหม 1000 พนั ธุ ลักษณะ เชียงใหม 400 เชียงใหม 700 เชยี งใหม 1000 (HAES 660) (HAES 741) (HEAS 508) 1.ความสงู ตน (เมตร) 15-20 15-20 15-20 2.ความกวางทรงพุม (เมตร) 10-15 10-15 10-15 3.น้ําหนักเมล็ด 1.นํา้ หนกั ทั้งกะลา (กรมั ) 6.4-7.9 4.6-7.6 5.2-7.4 2.นํา้ หนกั เน้อื ใน 1.5-2.7 2.0-2.9 1.7-2.5 4.ความหนากะลา บาง บาง บาง (มิลลเิ มตร) 1.93 2.28 2.30 5.จาํ นวนผลตอกิโลกรมั 175-190 135-150 148-170 6.จาํ นวนผลออนตอชอ 10-20 10-20 10-25 7.จาํ นวนผลแกตอ ชอ 5-12 3-8 5-12 8.คุณภาพผลผลิต 8.1 เปอรเ ซ็นตเ นอื้ ใน 34-42 32-39 32-39 หลงั กะเทาะ 8.2 เปอรเซ็นตเนื้อใน 93-100 88-99 84-100 เกรด 1 (เปอรเซน็ ตล อยนํ้า) 8.3 เปอรเซ็นตเกรด 1 35-41 31-37 30-38 เนื้อใน (เปอรเซ็นต recovery) 9.อายุเกบ็ เกยี่ ว (วนั ) 180-210 180-240 180-240 ทีม่ า: จาํ รอง (2538ก) หมายเหต:ุ - มะคาเดเมยี ทัง้ 3 พนั ธุ เปนชนดิ ผิวเรยี บ (smooth shell type) มชี อื่ วทิ ยาศาสตรวา Macadamia integrifolia Maiden and Betche - เปอรเซ็นตเ น้ือในหลงั กะเทาะ (เปอรเ ซน็ ต kernel) = นา้ํ หนักเน้อื ใน x 100 นาํ้ หนักทงั้ เมล็ด - เปอรเ ซ็นตเ น้อื ในเกรด 1 (เปอรเ ซ็นต floating) ไดจ าก นําเน้ือใน จํานวน 100 เมลด็ ตอ พนั ธุตอ ซา้ํ ลอยนา้ํ สะอาด เน้อื ในทลี่ อยถือวามีเปอรเซน็ ตนาํ้ มันเกนิ 72 เปอรเ ซ็นต จดั เปน เกรด 1 - เปอรเ ซน็ ตเ กรด 1 เนือ้ ใน (เปอรเ ซ็นต recovery) = เปอรเ ซ็นตเ นอื้ ในหลงั กะเทาะ x เปอรเ ซ็นตเนอื้ ในลอยนาํ้ 100 39

5.2.2 ลักษณะประจําพันธุของมะคาเดเมียที่กําลังดําเนินการเสนอขอเปนพันธุแนะนํา พันธุใ หม ไดแก พันธเุ ชียงใหม 1 (A4) เรมิ่ ทดสอบพนั ธเุ ม่ือป พ.ศ. 2540 ทรงตน รปู รา งกลม (round shape) ก่ิงกานแผกวา ง มีลักษณะ เดน คอื สามารถปรบั ตัวไดใ นสภาพพื้นทขี่ องประเทศไทย ตั้งแต 400 เมตรจากระดบั นาํ้ ทะเลขน้ึ ไป ตง้ั แต 400 (ละตจิ ูด 19.8 องศาเหนอื ) ถึง 1,300 เมตรจากระดับทะเล เปอรเซ็นตเกรด 1 เนื้อใน (เปอรเซ็นต recovery) เฉลยี่ 32 เปอรเซ็นต สงู กวา ทกุ พนั ธุ นา้ํ หนกั เน้ือในเฉล่ยี 3 กรัม และสม่าํ เสมอ ขนาดผลใหญ เฉลยี่ 123 ผลตอ กโิ ลกรมั (ท้งั กะลา) และมกี ะลาบางเฉลยี่ 0.25 มิลลิเมตร ออกดอกดกเฉลย่ี 196 ดอกตอ ชอ ใหผลผลติ ปแรกหลังปลูก 0.80 กิโลกรัมตอตน ขอจํากัด คือ ไมทนลมแรง ถึงทนลมปานกลาง ควร ปลูกรว มกับไมบังลม และ ควรมกี ารใหน ํ้าในชว งฤดแู ลง (มีนาคม-เมษายน) เพ่ือชวยในการติดผล (ภาพท่ี 18) พันธุเชยี งใหม 2 (849) เรมิ่ ทดสอบพันธุเมอื่ ป พ.ศ.2540 ทรงตน เปน แบบต้ังตรง ใบรูปหอกหัวกลบั ปลายใบมน มหี นาม เล็กนอย ใบเรียบเปนคล่ืน มีลักษณะเดน คือ เปอรเซ็นตเกรด 1 เนื้อใน (เปอรเซ็นต recovery) เฉลี่ย 29 เปอรเซ็นต สูงกวาพันธุแนะนําเดิม ไดแก เชียงใหม 700 (#741) และ เชียงใหม 1000 (#508) คือ 27 เปอรเซน็ ต และ 24 เปอรเซน็ ต ตามลําดบั ขนาดผลปานกลางเฉล่ยี 151 ผลกโิ ลกรัม (ทงั้ กะลา) และมี กะลาบางเฉล่ีย 0.26 มิลลิเมตร ออกดอกดกปานกลางเฉลี่ย 142 ดอกตอชอ ใหผลผลิตปแรกหลังปลูก 0.65 กโิ ลกรัมตอ ตน ขอ จํากัด คือควรปลกู ในสภาพพน้ื ที่ของประเทศไทยตง้ั แต 700 เมตร จากระดบั ทะเล ขึ้นไป (ภาพที่ 19) พันธุที่อยูในระหวางดําเนินการเสนอขอเปนพันธุแนะนําใหม ซ่ึงปรับปรุงพันธุโดยศูนยวิจัย เกษตรหลวงเชยี งใหม ไดแก พันธุ KK#27 CR#7 และ CR#5 โดยท่พี ันธุ KK#27 และ CR#7 เปนพันธุที่มี แนวโนมในการเจริญเติบโตดานความสูง ความกวางทรงพุม และขนาดเสนรอบวงโคนตนไดดี ในพื้นท่ี ระดบั ความสูงที่แตกตา งกัน 4 แหลง ไดแก 1) ศูนยวิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม (ขุนวาง) ที่ระดับความสูง 1,300-1,400 เมตรจากระดับทะเล 2) ศูนยวิจัยพืชสวนเลย ท่ีระดับความสูง 900 เมตรจากระดับทะเล โดยพันธุ KK#27 ใหผลผลิตปแ รกหลงั ปลกู 0.5 กโิ ลกรัมตอ ตน และพันธุ CR#7 ใหผ ลผลติ ปแรกหลงั ปลูก 0.48 กิโลกรัมตอตน 3) ศูนยวิจัยเกษตรท่ีสูงเพชรบูรณ (เขาคอ) ท่ีระดับความสูง 800 เมตรจากระดับ ทะเล และ 4) ศนู ยวิจัยพชื สวนเชยี งราย ท่รี ะดบั ความสูง 400 เมตรจากระดับทะเล สวนพันธุ CR#5 เปน พนั ธทุ ่มี ีการเจรญิ เตบิ โตดานความสูง ความกวางทรงพุม และขนาดเสน รอบวงโคนตนไดด ี ใหผลผลติ ปแรก หลังปลูก 0.4 กิโลกรัมตอตน ในแปลงเกษตรกร อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา ที่ระดับความสูง 400 เมตรจากระดบั ทะเล ซึ่งจะเสนอเปนพันธแุ นะนาํ ใหมข องกรมวชิ าการตอ ไป (อนนั ต, 2563) 40

ภาพท่ี 18 ลักษณะทรงพุม ดอก และผลของพนั ธุเชยี งใหม 1 (A4) ภาพท่ี 19 ลกั ษณะทรงพมุ ดอก และผลของพันธเุ ชยี งใหม 2 (849) 41