Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำอริยะถึงในหลวง

คำอริยะถึงในหลวง

Description: รวมคำพูดจากผู้ทรงคุณธรรม พระเกจิอาจารย์หลายรูป ที่กล่าวถึงในหลวง รัชกาลที่ 9 พร้อมประวัติย่อและคุณงามความดีของแต่ละท่าน

Search

Read the Text Version

“คําอริยะถงึ ในหลวง” คํากลาวจากผทู รงคุณธรรมทมี่ ตี อ.. \"ในหลวงรัชกาลท่ี 9\" พรอ มประวตั ยิ อ ของพระอาจารยแ ตล ะรปู อยากใหเปด ใจรบั ขอมลู อีกดาน แลว ตดั สินเอาเองวา ขา วลอื และเรื่องท่ไี มเ คยเหน็ ดวยตา กบั \"คําของพระอรยิ ะ\" สิง่ ไหนนาเชอื่ ถือกวา กนั !!! โจโฉ : ชมรมผลดี



เนือ้ หาภายใน 1. \"ในหลวงไมไ ดร วยท่ีสดุ ในโลก\" นิตยสารตา งชาตบิ ดิ เบอื นความจรงิ 2. คาํ พูดจากผทู รงคณุ ธรรมทมี่ ีถึงในหลวง พรอ มประวตั ิยอของแตล ะทา น 3. ภาคผนวก : วธิ อี ธฐิ านจติ ถวายในหลวง และการฝกสงพลงั เมตตาแบบงาย : ประวัตแิ ละผลงานของบุคคลทชี่ ื่นชมในหลวง รัชกาลท่ี 9 : สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรนิ ายก เจา คุณนรรัตน ราชมานติ , หลวงปูแ หวน สจุ ิณโณ หลวงตาพระมหาบวั ญาณสัมปน โน , หลวงปูดู พรหมปญโญ หลวงพอ พธุ ฐานโิ ย , หลวงปูส ิม พุทธฺ าจาโร , หลวงพออุตตมะ พระอาจารยวนั อตุ ตฺ โม (อดตี อปุ ฏฐากหลวงปูมน่ั ) ครูบาพรหมจักร , หลวงปูบ ุญฤทธ์ิ ปณฺฑโิ ต อ.พร รัตนสุวรรณ (ผูเชย่ี วชาญพระไตรปฎก) ดาวนโ หลดหนังสือ อา นออนไลน และฟงเวอรชัน่ เสียงอานหนงั สือไดท ่ี www.jozho.net (ปจ จุบันผลิตเปนซีดีเสยี งแลว ซ่ึงมขี อมลู เพม่ิ เติมอกี พอสมควร)

ขอมลู ทั้งหมด ไมเ กย่ี วกบั กลุม การเมอื ง \"ไมไ ดโจมตสี ไี หน ไมไดวา รา ยใคร ไมไดเขา ขางใคร\" ตองการนําเสนอความจริงในประเด็นวา… \"ตา งชาตลิ าอาณานิคมดวยวิธใี หม\" โดยแทรกซมึ ใหรายผนู าํ สูงสดุ ของแตล ะประเทศ เพือ่ ยึดครองประเทศนนั้ ๆ ในทางออ ม ประเทศไทยก็เปน หนงึ่ ในนน้ั เพราะมีทรัพยากรมหาศาล กระบวนการน้ี มมี าต้ังแตสมัยยงั ไมเ ปลี่ยนแปลงการปกครอง ดวยการตั้งใจทาํ ลายสถาบนั หลัก ใหลมไปทลี ะขนั้ เร่มิ ดวยสถาบันศาสนา ทีโ่ ดนกระทํามาตลอด แตไ มคอยไดผล จงึ เปลย่ี นมาเปน.. \"สถาบนั พระมหากษตั รยิ \" ซงึ่ ปจ จบุ นั ไดผลคอ นขา งกวาง และพี่นองไทยบางกลุม กอ็ าจตกเปนเคร่ืองมือของตา งชาติ หรอื กลมุ ผูทเ่ี ขาใจผิด โดยไมรตู วั !!! \"ไมเช่ือไมเปน ไร แตอยากใหเ ปด ใจอา นใหจ บสกั ครงั้ \"

เกร่ินนํา สืบเนอ่ื งจากมีกลมุ บุคคล ท้งั จากไทยและตา งชาติ สรา งสือ่ หลายรปู แบบ เพื่อโจมตีใสร ายสถาบันพระมหากษตั ริย อยางตอ เน่ือง และเผยแพรไปใน วงกวา ง ดว ยทุนและความเปนมอื อาชพี ของพวกเขา ทําใหสอื่ เหลานน้ั ดูนาเชอ่ื ถือ สง ผลใหผูรบั สื่อคลอ ยตามไดโดยงา ย ตัวอยางเชน นติ ยสารตา งชาตใิ ชข อมลู บิดเบือนเพอ่ื จัดอันดบั ให \"ทรงเปน กษตั รยิ ทร่ี วยท่สี ุดในโลก\" สงผลใหม กี ารขยาย ผลตอ ไปในหลายสื่อ ทําใหเกิดการเขาใจผิดตามมาอีกหลายดา น จากการมชี วี ิตทีต่ องคลุกคลีอยกู ับผูศกึ ษาและปฏบิ ตั ิธรรม และภายหลงั มาจดั ทําเว็บไซตธ รรมะ ผลิตส่ือธรรมะแจกฟรีมาหลายป เปนวิทยากรบรรยาย ธรรมดานวิทยาศาสตรท างจิต จึงมโี อกาสรบั รูขอมลู อีกแงม มุ ท่หี ลายคนอาจไม เคยไดร ูหรือไดยนิ มากอน และดวยพบวาคนกลุมใหญแ มจะหมิ่นสถาบนั แตก็ยงั เช่อื ในบาปบญุ และกฎแหงกรรม ทกุ คนลวนอยากใหป ระเทศเจรญิ แตเ ลอื กทีจ่ ะ เชื่อและเสพขอมูลเพยี งดา นเดียว ทาํ ใหเกดิ การเขา ใจผดิ ตอกันได จงึ คดิ วาคงดีตอทุกฝาย หากมกี ารนําเสนอขอมลู ในเชิงศรัทธา ท่ีมาจาก บุคคลทีน่ า เช่อื ถือและเปนกลาง เหมอื นทีเ่ ราสวนใหญ อาจตองมีศรทั ธาใน พระพทุ ธเจา เปน เบื้องตน ตอ งเช่อื มน่ั วา พระองคดีจริง รจู ริง เช่อื ถอื ได จงึ ทาํ ใหนอมนําคาํ สอนมาปฏิบัตไิ ดอ ยางจรงิ จังอีกที คาํ ชนื่ ชมท่มี ตี อในหลวง รชั กาลที่ 9 จากเหลาพระอริยะ ท่หี ลายคนลว นเคารพศรทั ธาอยูแ ลว อาจทําให ฉุกคิดไดวา ส่ิงทเ่ี ชือ่ ท่คี ิดและทาํ ไป มนั ถูกตอ งสมควรหรอื ไม และเพราะเหตุใด บุคคลท่งี ดงามไปดว ยศีลาจารวตั ร ทาํ ประโยชนใหพ ระศาสนาและประเทศชาติมา มากมาย ถงึ ไดมีความคิดไปในทางสรรเสรญิ ชนื่ ชมในหลวงพระองคนี้ทงั้ หมด

ขอ ความในหนงั สือ สวนใหญรวบรวมมาจากเสยี งเทศน หรอื หนังสือของ ผทู รงคุณธรรมแตละทานท่บี ันทกึ ไว สาํ หรับเรื่องสวนนอยทมี่ าจากคาํ บอกเลา น้ัน เหน็ วามาจากแหลงขอมลู ท่ีนาเชอ่ื ถือพอสมควร จงึ นาํ มารวมไวด ว ย แตใชเ ปน เพยี งสวนเสรมิ เหมอื นเลาสกู นั ฟงเทานั้น แตจ ุดสําคัญคือการนําเสนอประวตั ิ ผลงานของแตล ะทา นแบบยอ ส้นั เขา ใจงา ยมาเผยแพร เพอ่ื ประกาศคุณความดี ของครบู าอาจารยใ หค นรนุ หลังไดร ูจ กั ไปพรอมกนั ดวย ขอนาํ ตวั อยางขอความจากพระอาจารยทา นหนง่ึ ซงึ่ สมยั กอ นบวชเปน พระ ทานมีความสาํ เร็จทางโลก มตี าํ แหนงระดับสูงในองคก รใหญ เปน ผูป ฏบิ ตั ิ ธรรมและมีงานเขียนดานธรรมะตัง้ แตยงั เปนฆราวาส เม่ือบวชเปนพระ กเ็ นน สอนปฏิบัติเพ่ือดับทุกขอยางเดียวดว ย\"การเจริญสติ\" ไมมีวัตถุมงคล ไมมีพทุ ธ พาณชิ ย ในการแสดงธรรมครั้งหน่งึ หลวงพอไดก ลาวถึงในหลวงรัชกาลที่ 9 ไว ดังนี้ ... \"… นบี่ ญุ เรานะ ท่เี รามีพระเจา อยูห วั ท่ีมีธรรมะ เราก็ตองมธี รรมะบา ง เราจะไดด ูดีเหมือนทา น เอาอยา งทา น ไมอยางนนั้ พูดแตปากปาวๆ รักในหลวง ๆ ถามวา ทาํ อะไรแบบในหลวงบา งหรอื เปลา ? .. มีทานไหม มอี ภยั ทานไหม เบียดเบยี นไหม หยาบคายไหม ซอื่ ตรงไหม ไมม ีอะไรเอาอยา งทาน แตอยาก ใหญอ ยากโต หาคณุ งามความดไี มได. ..” \" .. ฉะน้นั ถา มธี รรมะชีวติ เราจะมีความสขุ ตวั เองมคี วามสุขแลวกเ็ ปนแบบอยาง ที่ดใี หค นอน่ื เหน็ ดวย อยา งเวลาเราคิดถึงแบบอยา งของผูปกครองทดี่ ี เราก็นึกถึง ในหลวงของเรา น่ีทา นมีคุณสมบตั คิ รบเลย เปน โมเดลที่ดี เปน บญุ นกั หนาแลว นานๆ จะเกิดพระเจาแผนดินอยา งนีส้ ักทีหนึง่ พระเจาแผนดนิ ทีม่ ีบารมีขนาดนี้ คุณธรรมขนาดน้ีไมใชค นธรรมดาหรอก ตองระดับพระโพธิสัตวถ ึงจะทาํ ได. . \"

ขอสงวนนามพระอาจารยทานนี้ไว ดวยไมแนใ จจะมีอะไรกระทบถึงทา น อกี เพราะปจจุบนั ทานก็ถูกเขาใจผิดเชนเดยี วกนั แมส่ิงที่กลาวหาทง้ั หมด จะถกู สอ่ื ตแี ผค วามจริงไปแลววา \"ทา นไมผ ิดแมแ ตขอเดียว\" กย็ งั มคี นบางกลมุ ปกใจเชื่อ วาทานผดิ อยูเหมือนเดมิ การนาํ คาํ พูดของทานมา เปนเพียงแคตวั อยางเล็กนอ ย ของครบู าอาจารยทเ่ี ปนความศรัทธาสว นบคุ คลของผูเ รียบเรียงเทานน้ั \"ขาวลือ\" ถกู ใชเปน เครื่องมือในการทําลายฝายตรงขามเสมอมา ไมว าจะ เปน สงครามในอดีต หรอื การหวังกอบโกยผลประโยชนจากตา งชาติในปจ จบุ ัน หลายประเทศถูกตางชาติยดึ ครอง (โดยทางออม เชนทางเศรษฐกิจ) ก็เริม่ ตน ดว ย.. การปลอ ยขาวลือทําลายผูนาํ เปน อันดบั แรก ซ่ึงปจ จุบนั \"ลอื \" ไปไดไ ว กวาอดีต เพราะผลของความเจริญทางดานเทคโนโลยี และสอ่ื ออนไลน ธุรกิจ การคาก็อาศัยขาวลอื ในรูปของ \"งานวจิ ยั \" ที่มักแสดงผลดา นดแี ตไมบ อกขอเสยี เพือ่ สงเสรมิ สินคา ตัวเอง หรือเพ่ือทําลายคแู ขง สนิ คาสขุ ภาพหลายอยางทัง้ ท่ีมงี านวจิ ยั รบั รอง แตตอ มาก็พบวาไมไดผ ล จรงิ หรือหลอกลวง สารเคมีในอาหารและของใชหลายอยา งอันตรายมากกวาที่คิด แตกลับถูกบดิ เบือนและยงั มีการใชแบบไมร ะวัง เชน ซลิ ิโคนในครมี นวด-ยาสระ ผมท่ีอาจกอ ปญ หาผมรวง - ฟลอู อไรด และสารฟอกขาวที่อันตรายโดยเฉพาะกบั เด็กแตกลับมอี ยูในยาสฟี น นํ้ายาบวนปาก - สารแทนความหวาน น้ําตาล 0% อาจทาํ ใหอวนกวาเดิม กอ มะเรง็ ทาํ ลายสมอง - ครีมลา งหนาทอ่ี างวารักษาสิวแต กลบั เปนสาเหตขุ องสิว “ยาลดไข” ทช่ี วยไดแคบรรเทาแตไ มไดช วยรักษา เพราะ รางกายจะหายเองได แตก ลับสงผลตอระบบภมู คิ ุม กันใหตาํ่ ลง ขดั ขวาง กระบวนการซอมตวั เอง สว นผสมแท 100% แตมี 1% อาหารเสริมหลายชนดิ มี ขนาดและปริมาณนอยหรือเกินกวารางกายรับได หลายชนิดขาดสารเสริมฤทธิท์ ี่ ทาํ ใหไ ดผ ลจรงิ เทา กบั กนิ ฟรี หรือกนิ แลว ทาํ รา ยตวั เอง สงปญหาตอสุขภาพระยะ ยาว ฯลฯ

หากศึกษาศาสตรแตละดานใหลกึ จะพบวา ความรแู ละขอมูลที่ออกมา จากนักวชิ าการ-นักวิทยาศาสตรหรอื ระดับสากลทด่ี นู า เช่อื ถือ อาจไมใชขอมลู ท่ี เชื่อถือไดจ ริง แตม กั เปนขอมูลเพอ่ื ประโยชนของฝายเขาเทาน้ัน ยิ่งเกง เรยี นสูงก็ ยง่ิ บดิ เบือนขอมลู ไดอยา งแยบคาย ดังน้นั การเปดใจฟงขอมลู และคาํ พูดของ บุคคลผเู ปย มคุณธรรมและอยูในเพศท่ีละวางทางโลกแลว นาจะเปนประโยชน มากกวาการเชือ่ ลมปากของ \"คนไมมีศลี \" หรือแคเ พราะวาเปน .. \"ตางชาติ หรอื สากล\" การพดู ใหฟง ทกุ วันแมจ ะไมเปนความจริง หากผูถูกกลา วหาไมม โี อกาสแก ตัว เมอื่ ปลอยไวไ มน านคนฟงจะเชอื่ วา เปน เรือ่ งจริง หรือเกดิ การไขวเ ขวและเริ่มมี อคติในใจ เปนหลักจติ วิทยางายๆ ท่กี ลมุ ผูไมห วงั ดที ําอยางตอเน่อื งหลายปจ น ไดผ ล และกอความแตกแยกทําลายชาตไิ ดย ิ่งกวา สมยั พมาบกุ เผากรุงศรีอยธุ ยา เนอื้ หาท่รี วบรวมมาไวใ นหนังสอื เลม นี้ หวังวา จะเปนจดุ เล็กๆ ท่จี ะชวยใหพ่ี นองชาวไทยหลายคนไดม องเหน็ ความจรงิ ไดกวางข้ึน ผเู ขยี นไมม ีสีไมฝก ใฝก ลมุ การเมอื ง (แตพ อผมเสื้อแดง พ่ีผมเสื้อเหลือง) ผมรกั และเขา ใจคนทุกสี ยงั มีความเชอ่ื วา ระดบั มวลชนของทุกสี ทุกกลมุ ลว นทํา ดวยหวังดีตอ ประเทศ ตา งคิดวาตนเปนฝา ยถูก โดยเลือกเช่ือขอมูลที่ตางกัน หาก มีสง่ิ ใดไมสมควร หรือผิดพลาดประการใด ตองกราบขออโหสิกรรมตอทุกทาน ไว ณ ท่นี ี้ หวังเปน อยางยงิ่ วา สุดทายคนไทยจะรวมเปนหนง่ึ ไมแตกแยก แบง ฝาย กลับมารักและเคารพ พระเจา อยูห วั องคเดียวกนั เหมือนเดิม ดวยความปรารถนาดีตอทุกฝา ย ทุกสี ทกุ กลมุ ดวยความบรสิ ทุ ธิ์ใจ โจโฉ (ธ.ค.2554)

ตวั อยา งสอ่ื ตา งชาตบิ ิดเบือนความจริง \"ในหลวง\" ไมไดท รงราํ่ รวยที่สดุ ในโลกตามทีน่ ิตยสารตางชาติอาง สาํ นกั งานทรัพยส นิ สวนพระมหากษตั รยิ  ไดเผยขอมลู ประจําป พ.ศ. 2553 และช้ีแจงสรุปความไดวา ตามท่ี \"นิตยสารฟอรบ ส\" ไดล งบทความวา .. ใน หลวงเปนพระมหากษตั รยิ รวยท่สี ดุ ในโลกนนั้ ไมเปนความจริง พระราชทรัพย ของในหลวง คือ .. \"ทรพั ยส ินสวนพระองค\" สว นทรัพยส ินสว นพระมหากษตั รยิ  เปน.. \"ทรพั ยส ินของรฐั และของแผนดนิ \" ซึง่ มรี ัฐบาลโดย รมต.กระทรวงการคลงั เปนประธานกรรมการเปนผูร ับผิดชอบ แตกย็ ังมีผเู ขาใจผดิ เรอ่ื งนี้อยูไมนอย “หลังป พ.ศ.2479 พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั ไดพระราชทานพระ บรมราชานญุ าตให ส.ป.ก. นาํ ทดี่ ินประมาณครงึ่ หนึง่ (ประมาณกวา 44,000 ไร) ไปจัดสรรใหประชาชนไดมีทท่ี ํากนิ และไดทรงต้ังกองทุนข้ึนมาเพื่อสนับสนุนการ พัฒนาบนท่ดี นิ เหลานี้ดว ย ” ทีด่ นิ ในความดูแลของสํานักงานทรัพยสนิ ฯ ไมไดถูกใชเพือ่ แสวงหา ผลประโยชนอยา งเชน เอกชนทัว่ ไป โดยทด่ี นิ 93% ใหเ ชากับหนวยราชการ องคกรท่ีทํางานเพ่ือสังคม และประชาชนท่มี รี ายไดนอย และชุมชนอีกกวารอย แหง ในอตั ราที่ต่ํามาก (แทบเหมือนใหฟร)ี มที ี่ดินประมาณ 7% เทาน้นั ทีใ่ หเ อกชนเชาในเชงิ พาณชิ ย มกี ารลงทนุ หลักในสองกิจการ คือ ธนาคารไทย พาณิชย (SCB) และ บริษทั ปนู ซิเมนตไ ทย(SCG) เปนการลงทนุ ของสํานกั งาน ทรพั ยส ินฯ

สรุปคือ : ในหลวงไมไดทรงรํา่ รวยท่ีสดุ ในโลก และนติ ยสารระดบั โลกก็ บดิ เบือนขอมลู อยา งไมน าเชื่อ !! ในขณะทผ่ี นู าํ ประเทศอนื่ ที่อาจรวยมากกวา กลับไมเ อาทรัพยส นิ หลายสว นมารวมไวใ นการจัดอันดบั เปน การบดิ เบือนขอ มลู อยา งจงใจและไมนาใหอภัย มกี ารนําประเด็นน้ีมาขยายตอไปในวงกวาง จนมี ประชาชนหลงเขา ใจผดิ จํานวนมาก พระบรมมหาราชวงั .. ถอื เปนสมบตั ิของชาติ ท่ีดินถนนราชดําเนนิ ถอื เปน สมบตั ิของประชาชนทุกคน ทรัพยสินจํานวนมากท่ีนาํ มาจัดอันดับ.. \"เปนสมบตั ขิ องแผนดิน\" ไมส ามารถนาํ ไปตรี าคา หรอื จําหนายจายโอนได หลายสว นเปนทรพั ยส นิ ประจําตาํ แหนงท่ีตองสงตอใหกบั พระเจาอยูห ัวรชั กาล ตอไป การถือครองหุนตางๆ เปนในนามของสํานักงานทรัพยส นิ ฯ ซ่ึงกระทรวงการคลังดูแล ดอกผลท่ไี ดถูกนาํ มาทาํ ประโยชนใ หสงั คมมากมาย โดยจัดต้ังเปน มลู นธิ แิ ละจดั ทําโครงการเพ่ือประโยชนของสังคมในหลายดาน สามารถดรู ายละเอียดไดจ ากเว็บไซตของสํานกั งานทรัพยสินฯ สมบัติของแผนดินท่มี ีมลู คา มหาศาล กลับถูกสือ่ ตา งชาติบดิ เบอื นวาเปน พระมหากษัตรยิ ร วยท่สี ดุ ในโลก อกี คร้งั ท่ีทําใหเ ห็นวากระบวนการสรางขาวเพอ่ื ทํารายประเทศไทย ตองการลมสถาบนั ฯ มีพลังและครอบคลมุ ไปถงึ ส่อื หลกั ของ โลกไดแ คไหน ดงั นั้นการเชอ่ื ขอมูลจากบุคคล\"ท่ีมศี ลี \" นาจะมนี ํ้าหนกั กวาส่ือ สาธารณะ ที่คนยคุ ใหมบ ชู า ปกใจเชอื่ ยิ่งกวาคนชาติเดียวกนั และบรรพบุรุษของ ตนเอง !!! ???

คํานาํ ประเทศที่มีศูนยรวมจิตใจใหประชาชนไดยดึ เหน่ียว จะสงผลให ประชาชนรักสามคั คี และกอเปนพลงั เหนยี วแนน ทีส่ ามารถคานอาํ นาจ นักการเมืองชวั่ และอาํ นาจครอบงาํ จากตา งชาติได คนไทยสวนใหญไมร ูวา ท่กี าํ ลงั ผจญกับความลาํ บากหรอื เศรษฐกิจไมดนี ้ัน ในความจรงิ .. เราสบายและ มคี วามสุขมากกวาอกี หลายประเทศ ( เราลาํ บากเพราะนักการเมืองโกงกนิ และ ความเหน็ แกตัวของคนในสังคมมากกวา ) ซ่งึ ดูไดจาก.. กรุงเทพฯ และเมืองไทย ถกู จัดเปนสถานท่ีนาเทยี่ วอนั ดับตนๆ ของโลก ประเทศไทย เปนจดุ ยทุ ธศาสตรแ หงภมู ิภาค มีทรพั ยากรมหาศาล (ซึ่งกาํ ลังตรวจพบเรื่อยๆ) แรงงานมฝี ม ือ สถานทที่ องเทยี่ ว เปนคลงั อาหารและครัวของโลก ฯ ประเทศไทยเปนประเทศเดยี ว ทีต่ างชาติพยายามจะยึดครองไมวา จะ ทางตรงหรือทางออ ม แตก็ไมเ คยสําเรจ็ เพราะเรามสี ถาบันพระมหากษัตรยิ เ ปน ท่ี ยึดเหน่ียวจติ ใจคนทั้งชาติ หากไมมสี ถาบันใหย ึดเหนี่ยว ผูคนจะแตกแยกความ สามัคคงี ายข้นึ นักการเมืองมีโอกาสทําอะไรไดอิสระไมตองเกรงใจใคร และ ตางชาตกิ ็สามารถซอื้ ตัวนกั การเมืองหรือรว มมอื กบั คนเหลาน้ี ในการขายสมบัติ ของชาติ หรอื กอบโกยออกกฎหมายแอบแฝงใหตางชาติเอาเปรยี บเราไดง า ย ข้ึน(กวาทุกวนั น้ี) เปรียบสถาบนั คือเจาของประเทศ คนเปนเจา ของบา นยอ มจะไมขาย บา นตัวเองเพือ่ แลกผลประโยชนอันเล็กนอย แตคนทีม่ าเชา บาน หรือมา ทําหนา ทแ่ี คช ่ัวคราว ลองคดิ ดูวา.. หากตางชาตเิ สนอใหแคพนั ลาน เพือ่ ใหอนุมตั ิ แลกเปล่ียนผลประโยชนซึ่งกัน เขาจะเลอื กทําเพือ่ ตนเองหรอื เพ่ือผลประโยชนข อง ประเทศ แนน อนวาโอกาสจะทําเพอื่ ตนเองเปนไปไดมากกวา เพราะไมนานก็ ตอ งลงจากอํานาจอยแู ลว

มีตัวอยา งแลวในหลายประเทศ ท่ีเปนการยึดครองประเทศแบบทางออม โดยสนับสนุนการลม การปกครอง ลมผนู ําทางจิตวญิ ญาณสงู สุดกอน แลวจึง สนบั สนุนคนของตน หรอื คนท่ตี กลงกันได ชวยทง้ั เงนิ และแรงกดดนั ตา งๆ เพือ่ ให ไดค รองอํานาจ ตอ จากนัน้ กส็ ามารถทาํ อะไรกไ็ ด กอบโกยกันเตม็ ท่ี เชน ให สมั ปทาน-สิทธพิ เิ ศษตา งๆ รวมถงึ ขายสมบตั ิของชาติ (ไฟฟา ประปา น้าํ มัน ฯ) เปนสง่ิ หนึ่งทหี่ ลายประเทศกําลงั เจอ ซง่ึ สง ผลใหเ กิดขบวนการกอการรา ย.. เพื่อแกแ คน เอาคืน !!! ยกตัวอยางการบกุ ถลมอิรัก (จนวนั นย้ี ังไมเ จอนวิ เคลยี ร ตามท่อี างเพ่ือไป บุกถลมเขาเลย) การสนบั สนุนฝายตอ ตานในลเิ บยี เปน สองประเทศทเี่ หน็ ไดช ัด ตราบใดที่ผนู ําทางจติ วญิ ญาณเหลานี้ไมถ ูกโคนลม พวกฝรงั่ จะเขามากอบโกย ผลประโยชนไดย ากมาก จงึ มีการสนบั สนุนทั้งทางตรงและทางออ มใหโคน ลม ผนู าํ เหลา นใ้ี หไ ดกอน อางเหตผุ ลสารพดั วา ไมใชประชาธปิ ไตย (แตในพมากบั จนี และ มาเลเซียกม็ ีการเมืองทก่ี ึ่งเผด็จการ ก็ไมเหน็ มนั ทาํ อะไร) ในความจรงิ บางประเทศยงั ไมส ามารถใชป ระชาธปิ ไตยได เชน ในอริ กั ลเิ บยี หรือแมในจนี เอง (ซ่ึงปจจุบันเศรษฐกจิ ขึ้นอันดับตนๆของโลกแลว ) ความ เปน จรงิ ของโลกทเี่ ห็นไดคือ หากปลอยเสรีเต็มที่ ในขณะประชาชนยงั ไมพรอม จะเกดิ ปญ หามาก หากประชากรไรการศึกษา ขาดศีลธรรม และแบงเปน ชนเผาจํานวนมากอยางในหลายประเทศ ถาผูนําไมเขมแขง็ ไมเ ด็ดขาด ไมมี อาํ นาจมากพอ จะควบคุมใหเ กดิ ความสงบในประเทศไมไ ด หลงั ลม ซดั ดัม กเ็ กดิ การนองเลือด แยงอํานาจภายในประเทศ วนุ วาย ฯลฯ

สหรัฐอเมรกิ า ระบุในแบบเรียนวา .. \"ประเทศท่ีจะใชระบอบ ประชาธิปไตย คนในประเทศตองมีการศึกษามากกวา 75%\" ลีกวนยู นายกฯ คนแรกของสงิ คโปร ทาํ ใหป ระเทศทีเ่ ลก็ กวาไทยถงึ ..800เทา แทบไมมที รัพยากร อะไรเลย กลายเปนประเทศพัฒนาและร่ํารวยภายในเวลาไมก่ีป เขากลา วไววา ..\" แนวคดิ ประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนแบบตะวันตกใชไมไดกบั เอเชยี \" โทมสั เจฟเฟอรสนั อดตี ประธานาธบิ ดขี องอเมรกิ า กลา วไววา .. \"ภัยคุกคามรา ยแรง ท่ีสุดของประชาธิปไตยคอื พลเมอื งทไ่ี มมีการศกึ ษา\" น่เี ปนส่งิ ทเี่ ราไมเคยใหความรูกบั คนทั่วไปวาประชาธปิ ไตยจะไดผลตอเม่ือ คนสว นใหญตองมีคณุ ภาพ เสยี งทุกคะแนนจะมผี ลดตี อประเทศ ตองเปน เสยี ง จาก.. คนดมี ีศลี ธรรม มีความรอบรู คดิ เปน ไมทําผดิ กฎหมาย มวี ิจารณญาณมากพอ กลัน่ กรองขอมลู ได หรอื เปนคนทีม่ ีคณุ ภาพนน่ั เอง เสยี งสว นใหญห ากมาจาก.. คนเสเพล ตดิ ยา ขายยา เปดบอ น เลีย่ ง ภาษี เหน็ แกตวั งมงายไหวไ ดก ระทง่ั เจลลดไข หากเสยี งสว นใหญเปน แบบน้ี จะมีวิจารณญาณในการเลอื กผนู ําและใชส ทิ ธิไดถ ูกตอง และดีตอสว นรวมไดจรงิ หรอื ดงั นน้ั ในแตล ะประเทศ จงึ ควรมีรปู แบบการปกครองเปน ประชาธิปไตยใน ลกั ษณะทแี่ ตกตา งกันไป หรอื อาจตองมีการปกครองรูปแบบเฉพาะใหเ หมาะสม กับทอ งถน่ิ ประชาธิปไตยคอื ..“ประโยชนของสวนรวมเปน ใหญ” ไมใ ชท ุกคนตอง เทาเทียมกนั ในความเปน จริง ถงึ เปนโลกประชาธิปไตย ก็ไมม ีทางเทา เทียมกันอยู แลว เชน เราไมควรกินขา วกอ นพระ ไมค วรน่งั สงู กวา พระหรอื พอ แม ควรหลกี ทางใหนายกฯ ควรเสียสละใหเด็กสตรีและคนชรา มนั เปนวัฒนธรรม คณุ ธรรม เปนเรื่องของคนดมี จี ิตสํานึก ไมใชก ารเสียเปรียบหรือมสี ิทธิไมเ ทา เทียมคนอื่น

การเสมอเทาเทยี มกนั ไมม จี ริงในโลก สดุ ทา ยตองแบง สิทธติ ามคุณวุฒิ วัยวฒุ ิ แมเปน แคหวั หนา หอ ง เปนครู ทหาร ตาํ รวจ ยังไงก็ตองมีสทิ ธิพเิ ศษ เหนอื คนธรรมดาไมทางตรงก็ทางออมอยูแลว ถาจะใหเทาเทียมกนั กต็ องจบั ผูห ญงิ มาเกณฑท หารเหมือนผูชายดว ยจรงิ ไหม?? เพราะจะไดมสี ทิ ธเิ ทาเทียมกัน การใหเ กยี รติใหสิทธพิ ิเศษแกผนู ํา หรอื ผทู ่ดี าํ รงตําแหนงสูงสดุ จึงเปน เรอ่ื งปกติท่ี ประชาชนควรกระทําในทุกระบอบการปกครอง ประชาธปิ ไตยเปน สิง่ ที่ดี แตกต็ อ งมีระดบั และความเหมาะสมตา งกนั ไป ไมอ ยางนัน้ จะกลายเปนเอ้ือประโยชนใหคนรวย หรอื คนมีอาํ นาจไปซะหมด เชน การเทา เทยี มกนั ในการคาขาย ปลอยใหค นรวยมีสิทธลิ งทนุ คาขายแขง กับคนจน ผลคือ... รานคา สง ตางชาติเขามาทําใหผูคา รายยอยลม จมไปเกือบหมด ประเทศ เพราะไมมปี ญ ญาสูเขาไดเลย ประเทศจนี ไมไดใ ชระบอบประชาธิปไตย แตทาํ ไมถงึ เจรญิ เปน อนั ดับหนึง่ ของโลกได?? วิธกี ารท่ีดีท่ีสดุ ไมไดหมายถึงตอง เปนส่งิ ทดี่ ที ส่ี ดุ กับทุกคน มันตอ งมีความพอเพียงและสมดลุ สอดคลอ ง กับผคู น และวถิ ชี วี ติ ของคนในแตล ะชาติ ดังนั้นในหลายประเทศ จงึ จําเปน ตอ งมรี ปู แบบการปกครองทีเ่ หมาะสม กับประชากรของตนเอง ฟุตบอลยังตอ งมีหวั หนาทีม ประเทศกค็ วรมีศูนยรวมใจ ของคนท้ังชาติ ไมวา จะเปนบุคคล/องคก รหรือสถาบัน ซง่ึ จะทําใหเ กิดความ สามัคคแี ละรวมพลงั เปนหน่ึงเดยี วกันไดง า ยขนึ้ สาํ หรบั ประเทศไทย เราใชร ะบอบ ประชาธปิ ไตยโดยมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข แลวกท็ าํ ใหป ระเทศเรา รอดพนหายนะจากการยดึ ครองทง้ั ทางตรงและทางออมจากตา งชาติ เปน ชาติ เดียวในภมู ภิ าคท่ีรกั ษาเอกราชมาไดจนทุกวันนี้

หากยังมีผนู ําทางจิตวญิ ญาณ ที่ครองใจคนในชาติใหเปนหนึ่งเดยี วได จะไมส ามารถกอบโกยและยดึ ครองประเทศเหลานั้นได(เต็มท)ี่ เปนเรอื่ งท่ฝี า ยจอ ง ทําลายรูดี จงึ พยายามใสร า ยปายสี สรางหลักฐานเทจ็ และมกี ระบวนการสราง ขาวลอื อยา งตอ เน่ืองมาเปนสิบๆ ป มผี ใู หญซ่ึงเปน ประธานชมรมธรรมะแหง หนงึ่ เคยเลา ใหฟงกอนเสียชวี ติ วา กระบวนการน้ีเทเงินลงมาในสมัยกอ น 150 ลาน เพอื่ จางคนไปปลอ ยขาวลอื ตามตลาดและรา นเสริมสวยโดยตรง โดยหวังผลระยะ ยาว เพราะเหน็ ชดั วา คนไทยเชอ่ื ขาวลอื งาย และผูถกู กลาวหาก็ลงมาแกขา วเอง ไมได แหลง ที่ปลอ ยไดดที ่ีสุดคือ ตลาดและรานเสรมิ สวย ปากตอปากท่สี งตอ กนั มาเปน สบิ ป สง ผลใหเ ราหลายคนคงไดย ินขาวลอื ตา งๆ เก่ยี วกบั บคุ คลสําคัญ บางทา น ท่ีนา จะคิดบางวา เรอ่ื งบางสถานที่ ใครมันจะเขาไปรลู ะเอียดไดขนาด น้นั แลว มีมาทกุ วันไมซ า้ํ เร่ือง ผมเองเคยโดนใสร า ยมากบั ตวั ถึงไดรูวา.. แมไ มมี ความจรงิ แตคนมนั ก็ปนเรื่องใสรายไดอยางไมนาเชอ่ื เหมือนกนั !!! กระบวนการ ลมสถาบัน วางแผนระยะยาว ทาํ กนั เปนทมี ท้ังจากผูไมหวังดี และผูท่ีทําดวยความ บริสทุ ธ์ิใจกม็ ี เกดิ จากความเชือ่ ผดิ ๆ วาถาเปลี่ยนการปกครองแลวประเทศจะดี ขนึ้ ยึดมั่นแคเ พียงวา ประชาธิปไตยคือสทิ ธเิ ทา เทียม ทุกคนตอ งเทา กัน โดยเอา แบบฝร่งั บางประเทศท่ี ไมม วี ัฒนธรรม ไมมีจริยธรรม ไมมปี ระเพณี การสรา งขาวลอื เพ่ือใสร า ยยังมอี ยมู าจนถงึ ปจ จบุ นั เชน สงคนไปปลอย ขา วลือบนรถแท็กซี่ พรอ มโชวบ ัตรประชาชนวา.. นามสกุลเดยี วกบั ตํารวจหรอื คนดัง อางวา รลู กึ รจู รงิ รมู าจากวงใน หรืออางวา เปน ตาํ รวจ/ทหาร สนทิ เท่ียวเลาไปทวั่ โดยเฉพาะบนแท็กซี่ ตลาด ฯลฯ มกี ารทําใบปลิวแจก เขยี น เปน หนังสอื เชิงนิยายอิงประวัตศิ าสตร ผลิตเปน คลปิ วดี โี อ ทําเปน เสียงอาน สารคดชี ดุ ยาว ถกู เผยแพรใ นอนิ เตอรเน็ตและวิทยชุ มุ ชน หยบิ เอาเรื่องจรงิ เพียง เลก็ นอย มาเติมแตง ขอความจากนักประพนั ธมืออาชพี ทอ่ี านหรือฟง แลวก็ชวนให นา เช่อื ไดโดยงาย

หากพิจารณาสักหนอยจะพบวา .. ขอมลู ละเอียดทุกซอกมุมขนาดนั้น ไมมีทางท่ีคนนอกจะรูได ยกเวน เจาของเร่ืองเขียนเอง บางอยางยอนอดีตไป ไกล หลายอยา งอยูในที่ลับเกินคนทั่วไปเขาถงึ แมคนสนทิ ก็ยังเขาถงึ ไดไ มทุกเวลา และยอ มเปน ไปไมไดท ีเ่ หลา คนสนิทจะพรอมใจกัน\"ทรยศ\"มาเลา ใหฟ ง ขอมูล เผยแพรส ว นใหญ มกั อางไดยนิ มาแบบน้ัน พนักงานที่น่นั เลาแบบน้ี แตหา หลักฐานจรงิ ไมได เปนแคขาวลือ แตค นฟงก็ดนั เชอ่ื และบอกตอกันไป นาจะคดิ บางวา เรอ่ื งแบบน้ีพูดมัว่ ๆอาจติดคกุ ได มีประโยชนอะไรเอามาพดู ทาํ ไมตองโชว บตั รใหดู บางคนอางวาฟง จากคนรับใชคนใกลชดิ ซ่ึงเขาเห็นวาเปนคนบา น เดียวกันเลยเลา ใหฟง ถามวาเร่อื งใหญโ ตและมผี ลตอชวี ิตคนเลา ขนาดนี้ จะกลา เส่ียงมาเลา ใหค นพง่ึ รูจ ัก ดว ยเหตุผลแควาเปน .... \"คนบา นเดียวกนั \" เทา นั้น หรอื ??!! ตัวอยางนติ ยสารตางชาติลงขอมูลบิดเบือนใหเปนกษัตริยรวยท่ีสุดในโลก เปนตัวอยางชัดวา.. มีการพยายามโจมตีใสรายทานจริง ขอมูลมากมายแสดง ถงึ พระอัจฉรยิ ะภาพและพระบารมขี องในหลวง มใี หพ สิ จู นและตรวจสอบไดเสมอ \"คนดียอ มเหน็ ความดขี องผอู ่นื ไดง า ย\" ลองสวดมนตปฏิบตั ธิ รรมสกั พัก หากจิต ของทานเปยมดวยเมตตา ก็จะเขาใจไดไมยากวา ทําไมในหลวง ถึงเปนท่ี สรรเสรญิ ชื่นชมของเหลา พระอริยะมากมายหลายรูปขนาดนี้ \"รักพอ \" ตองรว มปกปองโดยใหข อ มูลทีถ่ ูกตอ งแบบเขาใจงายหลายแงมุม ความรักบังคบั ไมไ ด เขามีสิทธ์ไิ มรกั พอ เรา อยามองเขาเปนศตั รู อยา ดาทาํ รายเขา เขาไมเชอ่ื ไมร กั ก็สิทธขิ์ องเขา ไมม ีพอคนไหนดใี จทีเ่ หน็ ลกู ทะเลาะกนั เร่ือง..\"รัก หรือไมร ักทา น\" ไมมีทางที่ทุกอยางจะจบลงดว ยดีเพราะ..\"คาํ ดา และความโกรธ\" ใจเยน็ พยายามอธบิ ายใหเ ขาใจไดจ ริงเทา นั้น หากพยายามถงึ ที่สุดแลว ก็ตองรจู กั ปลอ ยวาง และเช่ือมน่ั วา.. ทุกคนมีกรรมเปน ของตน ใครทาํ อะไรไว ตอ งไดส่งิ นั้น คืนเสมอ !! สําหรับลมปากของคนที่อา งวารักพอ ซะมากมาย ควรยอ นดตู ัวเองวา ไดทาํ ความดีอะไรตอบแทนแผน ดินไวเ พียงพอกบั ทเี่ พียรบอกรกั พอ แลวหรือยัง??

“ถอ ยคาํ ของพระอรยิ ะ ท่กี ลา วถึง ในหลวงรัชกาลที่ 9”

พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห ัวรชั กาลท่ี 9 ทรงเปน ทีย่ อมรับจาก พระอรยิ ะและผูทรงคุณธรรมหลายทาน วาทรงสนพระทัยในการศึกษาปฏิบัติ ธรรม ท้ังทฤษฎแี ละการปฏิบัติสมาธิ-วปิ สสนากรรมฐาน ทรงสนใจจริงจงั ท้ัง ขณะทรงออกบวชและหลงั ทรงลาสิกขาแลว ยังทรงนมิ นตพระกรรมฐานใหมา แสดงพระธรรมเทศนาในพระราชวังเปนประจาํ ดงั ปรากฏหลักฐานในหนงั สอื และ เสียงเทศนข องครูบาอาจารยมากมาย พระองคค ือผูท รงญาณขัน้ สงู ใหลองสงั เกตดูวา ไมว า ในหลวงเสด็จไปทีไ่ หน จะทรงนงิ่ มาก ๆ ในขณะท่ีคนอ่ืนขยับแลว ขยับอีก ครูบาอาจารยทา นกลา ววา .. \"นค่ี ือลักษณะของผูท่ีทรงฌาณขัน้ สูง\" จงึ ทําให. . ทรงนิ่งเฉย ไดในทกุ สถานที่ แมว า จะทรงเหน่ือย หรือตองเจอสภาวะกดดนั ตางๆ ก็ทรงประทับน่ิงไมขยับเขย้ือนเปน เวลานาน หรอื ตลอดท้งั วัน (อยากใหทกุ ทานลองน่ังนงิ่ ๆ สกั ชั่วโมง จะรูวาทํายากแคไหน)

: รวมคําพูดจากพระอริยะหลายรปู ที่กลาวถงึ ในหลวงรชั กาลที่ 9 \"พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห ัวทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกิจทางพระพทุ ธศาสนา อยางสมบรู ณ มาตง้ั แตพระชนมพรรษายงั นอย ทรงพอพระราชหฤทัยในการฟง เทศน ท่มี อี ยูเปนประจํา เมื่อไดทรงพบปะกับพระมหาเถระผูใ หญ กม็ พี ระราช ปุจฉา และทรงสดบั ขอธรรมนั้นๆ อยเู นืองๆ \" “...พระภกิ ษพุ ระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัวทรงพระผนวชดวยพระราช ศรทั ธาทีต่ ัง้ มนั่ ในพระพุทธศาสนาอยางแทจริง ประกอบดวยพระปญ ญา และได ทรงปฏิบตั พิ ระธรรมวินัยอยา งเครงครดั ...” “...ดา นท่เี ปน การสว นพระองคนัน้ กท็ รงปฏิบตั ิพระองคย ดึ มนั่ อยใู น คณุ ธรรม ของพระพทุ ธศาสนา มีราชธรรม เปน ตน ทรงศึกษาพระพุทธศาสนา และทรงนําไปปฏบิ ัติอยางจรงิ จัง ทรงบําเพ็ญพระราชกุศลเปนการสวนพระองคใน โอกาสตา งๆ และบาํ รุงพระสงฆ ผปู ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบเปน จํานวนมากมิไดข าด ...” สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรนิ ายก ทรงไดรับการยอมรบั โดยคณะสงฆจ ากทุกนกิ ายวา .. ทรงเปนนกั ปรยิ ตั ิที่เปน พหสู ตู (รอบร)ู และทรงเปนนักปฏบิ ตั ิท่เี ครงครัด (พ.ศ.2555 ผูน ําชาวพทุ ธทกุ นิกายทัว่ โลก 32 ประเทศ ทูลถวายใหเ ปน ผนู าํ สูงสดุ )

\"ในหลวงพระองคน ี้ ทานเปนพระโพธสิ ัตวนะ ..\" ทานเจา คณุ นรรตั นราชมานติ (พระผเู ครงครัดในศลี ลงทําวัตรไมเคยขาด สละตาํ แหนงไปบวชตลอดชีวิต ผูม ีตบะแกกลา สามารถจดั พิษงู ไดด วยสมาธิ โดยไมต องไปหาหมอ ) ------------------ \"พระองคมวั แตเปนหวงคนอื่น แตไมทรงหวงพระองคเองบางเลย..\" หลวงปแู หวน สุจิณโณ (พระอรยิ ะเจา ท่ีชาวไทยรูจักกันดี มขี อ วัตรปฏิบัติที่เครงครัด ทรงคณุ ธรรม) ------------------ \" ไมรวู า พอ หลวงแมหลวงของไทยทํางานปรารถนาความเปนอะไร ทาํ งานกนั จนไมม ีเวลาพกั ผอน\" ..... \"พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวสมเดจ็ พระนางเจา พระบรมราชนิ ี นค้ี ือหวั ใจของชาตไิ ทยเรา ใหพากันเทิดทนู อยาพากันดถู กู เหยียดหยามทาํ ลาย\" หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปนโน วัดปาบานตาด (พระผูไดร ับการชน่ื ชมจากหลวงปมู นั่ และพระอรยิ ะหลายรูป สรางประโยชนใ ห ประเทศชาติมากมาย ผมกับเลบ็ ของทาน กลายเปนพระธาตตุ งั้ แตยังมชี วี ิตอยู ฟงเรอ่ื งราวทง้ั หมดไดจาก สารคดีพระคุณหลวงตา และซดี ีเสยี งอาน หลวงตาวัด ปา นบานตาด ดาวนโ หลดฟรีที่ www.jozho.net ) -------------------- หลวงปสู ิม พทุ ฺธาจาโร ไดกลาวรบั รองไวด วยองคเองทเี ดียววา \" ครบู าขาวป วัดพระพุทธบาทผาหนามเคยเปนชา งนาฬาคิริง สว นในหลวงองคป จ จบุ ันเปนชา งปาเลไลยกนะ..!!! \" ( หมายเหตุ : ชา งปาเลไลย คือพระโพธิสัตว )

หลวงปูด ู รักในหลวงมาก สวดมนตถ วายในหลวงทกุ วัน ในสมัยท่หี ลวงปูมชี วี ติ ทา นจะกําชับใหล ูกศิษย ใหเ อาบญุ จากการภาวนา รวมเขากบั บุญของพระพุทธเจา และพระอรหนั ตสาวกท้ังหลาย ถวายใหใ นหลวง รวมทั้งแผเ มตตาให เทพเทวาผูป กรกั ษาพระองคทา น ใหมีความสุขแลว กก็ รวดนํา้ ใหเจา กรรมนายเวรของพระองคท านใหไปเกิดในสคุ ตภิ ูมิ หลวงปกู ลา ววา ...\"หาก ไมมีในหลวง พระพุทธศาสนาก็ต้ังอยูไมได\" หลายคร้งั ทล่ี ูกศษิ ยจะรบั ทราบไดวา หลวงปจู ะเขาทเี่ พือ่ อธิษฐานชวยในหลวงในยามที่พระองคท รงพระประชวร หลวงปูด ู พรหมปญ โญ (พระเกจิอาจารย ทมี่ ีขอวัตรปฏบิ ตั เิ ครง ครดั เปน ทีย่ อมรับในหมนู กั ปฏิบัตธิ รรม ) ------------------ \"เวลาน้บี านเมืองของเราอยูเพราะในหลวงองคเดียวเทาน้นั ไมเคยมใี น ประวัติศาสตร ที่ในหลวงจะเสดจ็ เหยยี บแผนดินไทยไปทกุ หยอ มหญา เหมือน ในหลวงพระองคน ้ี เพราะฉะน้นั ใหสวดมนตภ าวนา นอมจติ นอมใจอธิฐานจิต ขอใหใ นหลวงทรงพระชนมายุยนื นานถึงรอ ยปสองรอยป\" หลวงพอพธุ ยังกลา วอีก เปนเชงิ วา พระจรยิ วตั รของในหลวงเปนไปเชนเดียวกันกับพระโพธิสัตว หลวงพอพุธ ฐานโิ ย (พระราชสังวรญาณ) (พระวปิ สสนาจารยผเู ครงครดั ในศลี ในธรรม และเชีย่ วชาญในวิปสสนากรรมฐาน) ดูวิธีอธิฐานจติ เพอ่ื ถวายในหลวงของหลวงพอพุธ : (ภาคผนวก) ------------------ มีผพู ดู ถงึ ผูย่ิงใหญร ะดับประเทศใหห ลวงพอฟงทานเฉยมากกอนจะปรารภวา \"เขาไมไ ดทาํ ประโยชนอะไรมากเหมือนกับในหลวงหรอก..\" หลวงพอ อุตตมะ (พระครอู ดุ มสทิ ธาจารย) วดั วังกวิเวการาม (พระชาวพมาผูเครงครัดทภี่ ายหลังยายมาจําพรรษาและสรางวดั ท่กี าญจนบรุ ี)

\"มแี ตคนไมฉลาดเทานัน้ ท่ีจะไมรวู า ในหลวงพระองคนีม้ ีดอี ยา งไร..\" พระอาจารยวนั อตุ ฺตโม (พระอุดมสงั วรวสิ ุทธิเถร) (พระอุปฎ ฐากหลวงปูม ่ัน ภูริทตั โต ทที่ ําหนา ท่ยี าวนานทส่ี ุด) ------------------ \"กระแสจิตของพระองคทานมพี ลงั พลังท่ีเกดิ จากการปฏิบัติที่ด\"ี ครูบาพรหมจักร วัดพระพุทธบาทตากผา (พระผูนยิ มการธดุ งคอ ยปู า เปนวัตร และเม่อื มรณภาพ อัฐิกลายเปนพระธาตุ) ------------------ ลูกศษิ ยท านหน่งึ ยืนยนั วา หลวงปูทา นกลา วดว ยตนเองวา .. \" ในหลวงเปนพระโพธิสัตว \" หลวงปบู ุญฤทธ์ิ ปณฺฑิโต ท่พี ักสงฆสวนทิพย จ.นนทบุรี (พระธรรมทูตท่ีแตกฉานในพระไตรปฎกและวปิ ส สนากรรมฐาน) ------------------ อ.พร ไดกลา วไวป ระมาณวา .. \"ในหลวงทรงมีพลังเมตตาสูงมาก เปน ลักษณะผูมี บุญ ผูป ฏิบตั ธิ รรม จะเขา ถงึ ธรรมไมไ ด หากไมเชื่อในพระบารมขี องพระพุทธเจา ประเทศชาติคงวุนวาย หากประชาชนไมเ ชอ่ื ในมน่ั ในพระอจั ฉรยิ ภาพ และการ เปน ผทู รงคุณธรรมของในหลวงพระองคน \"ี้ อ.พร รัตนสวุ รรณ (ผเู ชย่ี วชาญพระไตรปฎ ก ชาํ ระพระไตรปฎกฉบับอรรถกถา แตง ตาํ ราพระอภิธรรม เปนผเู ชี่ยวชาญดา นวปิ ส สนาและสมาธิ ผกู อต้ังธรรมวจิ ัย พุทธศาสนาวันอาทติ ย ศนู ยป ฏิบัตธิ รรมแคมปสน ฯลฯ )

ประวตั โิ ดยยอ ของแตล ะทา นทีก่ ลา วชน่ื ชมในหลวง ซง่ึ แตละทา นเปน ผทู รงคุณธรรม มผี ลงานในการทําประโยชนใหประเทศชาติ และพระศาสนาอยางมากมาย คนดียอมเห็นความดขี องคนอ่ืนไดงา ย คนชัว่ เห็นความดีคนอน่ื ไดยาก ผูมศี ลี ประพฤติธรรม ยอ มรเู หน็ ไดช ัดวา .. “ผูใ ดมศี ีล มคี ุณธรรม”

\"ในหลวงพระองคนี้ ทานเปนพระโพธิสัตวนะ ..\" พระภกิ ษพุ ระยานรรัตนราชมานิต (เจาคณุ นรฯ) พระผูมจี ริยวตั รงดงาม สละความสขุ ทางโลก ทถ่ี ือวามีครบทุกอยาง ท้ังฐานะ ยศและคคู รอง ออกบวชตลอดชวี ติ ฉนั มอื้ เดยี ว ไมฉ ันอาหารในวัน พระ เปน ผูเครง ครัดในพระธรรมวินยั ลงอโุ บสถทําวตั รทกุ วันโดยไมข าด แม ขณะเปน โรคมะเร็งกรามชางจนเนา เฟะ ทานกล็ งทําวตั รสวดมนตดวยสีหนาปกติ ตลอดชวี ิต ทานยอมหยุดลงทําวตั ร เพียงแคหน่ึงวัน ดวยความเกรงใจที่ พระพุฒโฆษาจารยขอรอง เนอ่ื งจากเห็นวาโดนงูกดั เทา บวมมาก แตทา นก็หาย เปนปกติในวันตอมา โดยทไ่ี มไ ดฉ ันยาหรือไปหาหมอเลย เปน ทปี่ ระหลาดใจถงึ กาํ ลงั จติ ของทา น ท่ดี บั พิษของงูรายลงได ทานเปน พระทส่ี นั โดษมาก กุฏิไมมเี ครื่องใชไฟฟา หลอดไฟสกั ดวงก็ไมมี ดื่มนา้ํ ฝนจากภาชนะท่ีทาํ จากกะลามะพราวขดั ทนี่ อนมีเพยี งจีวรเกาปูบางๆ ภายในกุฏิมีโลงศพและโครงกระดูกเพอ่ื ไวพ ิจารณาธรรมและเจริญกรรมฐาน ยนิ ดี สนทนาธรรมกบั ญาตโิ ยมเปน เวลาสัน้ ๆ เฉพาะหลงั ทําวัตรเชา-เย็นเทา นนั้ ไมร ับ กจิ นมิ นต แตจะมงุ เนนการปฏิบัตสิ มาธภิ าวนาอยูในกุฏิ ทานมุงเนน การปฏบิ ัติให เปนแบบอยางมากกวา เทศนใ หฟ ง เมื่อชาวบา นนิยมไปขอพร ทานจงึ เขยี น โอวาทไววา ... \"ทาํ ดี ดกี วา ขอพร\" ทา นสละทุกอยางแมแตเ งนิ ตราก็ไมเ คยแตะ ตอง ไมรบั ไมเก็บสะสม ปฏบิ ัตติ นเครง ครดั ตามพระวนิ ัยในทกุ ดาน ทานเจาคุณนรรัตนราชมานติ อยใู นเพศบรรพชติ เปนระยะเวลา 46 ปเตม็ จนมรณภาพ

\"พระองคมวั แตเปน หวงคนอ่ืน แตไ มทรงหว งพระองคเ องบา งเลย..\" หลวงปูแหวน สุจิณฺโณ หลวงปูแ หวน ออกบรรพชาเปนสามเณรเม่ืออายุ 9 ป ต้ังใจศกึ ษาปฏิบตั ิ จนสามารถอานตาํ ราใบลานไดแตกฉาน ทั้งภาษาขอมและลา นนาไดตั้งแตยังเปน สามเณร (วากันวา ตอนอายุ 13 ปเทา น้นั ) ขยนั ทําสมาธิภาวนา เงียบขรมึ พูด นอ ย ฉันอาหารมอ้ื เดยี ว เมอื่ อายปุ ระมาณ 30 ป ไดเ รมิ่ ออกธดุ งคเ ร่ือยมา จนมาพบกบั หลวงปูต ้อื อาจลธรรมโม ซึ่งเปน ผูชกั นาํ ใหไดมาพบและฟงธรรมจาก พระอาจารยม ัน่ ภรู ทิ ัตโต เกิดความซาบซง้ึ และเปนทางแหง การแสวงหาธรรม ตามท่ปี ระสงค หลังจากน้ันหลวงปแู หวน ไดอ อกธดุ งคไปพรอมกับหลวงปตู ้ือ ไปทางภาคอสี าน ขามไปถึง ลาว เขมร เวียดนาม พมา ทะลุกลบั มาทางเหนือของ ไทยและวนกลับมาอสิ านอีกที หลวงปแู หวนยงั คงออกธดุ งคกรรมฐาน แสวงหาทีว่ ิเวกตามปาเขาลาํ เนา ไพรเรื่อยมาจนอายุ 75 ป จงึ มาจําพรรษาที่วัดดอยแมปง จ.เชยี งใหม ตามการ นมิ นตของพระอาจารยหนู เพราะเนื่องจากหลวงปูชราภาพมากแลว และทานก็ อาพาธตองผาตดั ขาท่ีอกั เสบ สาเหตนุ า จะมาจากการเดนิ ธุดงคใ นปาเขาเปน เวลา หลายสบิ ป หลวงปูแหวน เปนพระท่มี ุงเนนการปฏบิ ตั ธิ รรมเพียงอยางเดียว เปนพระ สายวปิ สสนา ไมรบั กิจนมิ นตโดยเดด็ ขาด มีจรยิ ะวัตรงดงาม เทศนาสงั่ สอนญาติ โยมดว ยหลกั ธรรมอันลึกซงึ้ มงุ เนนการขัดเกลากิเลส จงึ เปนที่เคารพและศรทั ธา ของญาตโิ ยมเปน จาํ นวนมาก

ตวั อยางคาํ สอนของหลวงปแู หวน อดตี ก็เปนทําเมา (อยาไปสนใจ) อนาคตก็เปน ทําเมา จิตด่งิ อยใู น ปจ จุบัน รูอยูในปจจบุ ัน ละอยูใ นปจจุบนั นี้ .. จงึ เปนพทุ โธ เปนธมั โม ปจ จบุ ันกพ็ อแลว อดตี และอนาคตไมต องคาํ นงึ ถงึ เกดิ แก เจบ็ ตาย วนั คนื เดอื น ป ส้นิ ไป หมดไป อายุเรา ก็หมดไป ส้นิ ไป หมนั่ บําเพญ็ จิต บาํ เพ็ญทาน รักษาศีล ภาวนาตอไป \" บารมีตองสรางเอา เหมอื นอยากใหมะมวงของตนมีผลดก กต็ องหมั่น บาํ รุงรกั ษาเอา ไมใ ชแ หไปชื่นชมตน มะมวงของคนอ่นื ตองไปปลูก ไปบํารุงตน มะมวงของตนเอง การสรางบารมกี เ็ ชนกัน ตองสรา ง ตองทําเอาเอง \" ภายหลังหลวงปูแหวนไดห ยุดชวี ติ ธดุ งควัตร พาํ นักประจาํ อยูทว่ี ัดดอยแมปง จนมรณภาพ ในวันที่ 2 ก.ค.2528 สริ ิอายุ 98 ป ------------------

สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรินายก สมเดจ็ พระสังฆราช (เจรญิ สวุ ฑฒฺ โน) ทรงบรรพชาเปนสามเณรตง้ั แต พ.ศ.2469 ขณะอายุ 14 ป ทรงขึน้ ดาํ รงตําแหนง พระสังฆราชองคท่ี ๑๙ แหง กรุงรตั นโกสนิ ทร เมื่อ พ.ศ. 2532 จนปจ จบุ นั (ขณะเรียบเรยี งหนงั สอื เลมนี้ พ.ศ. 2554) ทรงสอบไดนกั ธรรมเอก เปรยี ญธรรม 9 ประโยค ทรงนพิ นธตํารา ทางดา นพทุ ธศาสนาไวเปนจํานวนมาก ทงั้ ตําราการศึกษาของนักเรยี นบาลี ตาํ ราพระธรรมเทศนา งานแปลเปน ภาษาตางประเทศ ฯลฯ ทา นศึกษาการ ปฏบิ ัตสิ มถภาวนาจากพระปา กรรมฐานสายพระอาจารยม่นั ไดรับการยอมรับ จากคณะสงฆและผแู ตกฉานในธรรมวา “ทรงเปน ท้งั นักปริยตั ิทีเ่ ปน พหูสูตและ นกั ปฏบิ ัตทิ ี่เครง ครัด” ทรงไดร บั แตง ตงั้ ใหทําหนาท่ีเกี่ยวกบั การศึกษาพระพทุ ธศาสนา และ งานบรหิ ารคณะสงฆมากมายหลายตาํ แหนง หลายวาระ ทรงมบี ทบาทในการ เผยแพร พัฒนา ทํานบุ าํ รงุ พระพทุ ธศาสนาในหลายๆ ดาน ท้ังในและ ตา งประเทศ ทรงบูรณะซอมสราง ปูชนียสถาน วัด เจดีย โรงเรียน โรงพยาบาล เปนจาํ นวนมาก สมเด็จฯ ไดบ อกเลา ถึงความสนพระราชหฤทัยใน พระพุทธศาสนาของในหลวงรัชกาลท9่ี ซง่ึ มีต้ังแตคร้ังทรงพระเยาวดงั นี้ ............

\"พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงปฏิบตั พิ ระราชกิจทางพระพุทธศาสนา อยา งสมบูรณ มาตั้งแตพระชนมพรรษายังนอย ดังท่ีไดเ คยทราบไว ไดท รงพอ พระราชหฤทยั ในการฟง เทศนทม่ี ีอยเู ปนประจํา ในคราวบาํ เพ็ญพระราชกุศล ถวายที่ พระบรมศพรัชกาลที่ ๘ แมจ ะเปนเทศนกัณฑย าว ก็ทรงพอพระราช หฤทยั ฟง ทรงเรม่ิ สนพระราชหฤทัยในพระพุทธศาสนา เมอ่ื ไดทรงพบปะกับ พระมหาเถระผใู หญ กม็ ีพระราชปุจฉาและทรงสดับขอ ธรรมน้ันๆ อยเู นืองๆ โดยเฉพาะมีโอกาสเฝาสมเด็จพระสังฆราชเจา วดั บวรนิเวศวิหาร(ม.ร.ว.ชื่นนพวงศ) ไดท รงสดบั ฟง ธรรมเปนครั้งคราวตลอดมา ทาํ ใหท รงเขาพระราชหฤทัยในธรรม และสนพระราชหฤทยั ในพุทธศาสนามากข้นึ \" พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั ภมู ิพลอดุลยเดชไดเ สดจ็ ออกทรงพระผนวช ระหวา งวนั ท่ี 22 ตลุ าคม - 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2499 ในระหวา งนนั้ ไดทรง ศึกษาและปฏิบตั ิตามพระธรรมวนิ ยั อยางเครงครดั ดังท่ี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก ไดทรงเลา ถึงพระราชจรยิ วตั รของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ขณะทรงพระผนวช วา ... “พระภิกษุพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว จะไดทรงพระผนวชตามราชประเพณี เพียงอยางเดยี วเทานนั้ หามิได แตทรงพระผนวชดว ยพระราชศรัทธาท่ตี ง้ั มน่ั ใน พระพทุ ธศาสนาอยา งแทจริง มไิ ดเ ปน บุคคลจําพวกทเี่ รียกวา “หัวใหม” ไมเห็น ศาสนาเปน สาํ คญั แตไดทรงเหน็ คุณคาของพระศาสนา ฉะนัน้ ถาเปนบุคคล ธรรมดาสามญั ก็กลา วไดวา ...บวชดวยศรทั ธา เพราะทรงผนวชดวยพระราชศรทั ธา ประกอบดวยพระปญ ญา และไดท รงปฏิบตั ิพระธรรมวินัยอยางเครงครัด...”

สมเดจ็ พระสงั ฆราช ยังไดทรงกลา วถงึ พระราชจรยิ วัตรของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัววา ... “ ในดานหนา ที่ราชการนน้ั กท็ รงปฏิบตั ิ พระราชกรณยี กิจทางพระพุทธศาสนา ตามราชประเพณีโดยมิไดขาดตกบกพรอง เชน... พระราชกรณียกจิ เนื่องในเทศกาลสาํ คัญทางพระพุทธศาสนา พระราชทาน พระบรมราชปู ถมั ภในการบรู ณปฏิสังขรณพ ระอารามตา งๆ ทงั้ ในกรุงเทพฯ และ ในหวั เมือง พระราชทานแตงตงั้ สมณศักด์ิ แดพระสงฆในการเอ้ืออํานวยแกการ ปกครองคณะสงฆ และเชิดชูผทู รงศลี ทรงธรรมใหเปน ท่ปี รากฏ ตลอดถึง พระราชทาน พระบรมราชูปถัมภ การสง่ั สอนและการเผยแผพระพุทธศาสนา ท้ังในประเทศและตา งประเทศ ในดา นที่เปนการสวนพระองคนน้ั ก็ทรง ปฏิบตั พิ ระองคย ดึ มนั่ อยูในคุณธรรม ของพระพุทธศาสนา มีราชธรรม เปนตน ทรงศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา และทรงนาํ ไปปฏิบัตอิ ยา งจรงิ จัง ทรงบาํ เพญ็ พระราช กุศลเปน สวนพระองคในโอกาสตางๆ และบาํ รุงพระสงฆผูปฏบิ ตั ดิ ีปฏบิ ตั ิชอบเปน จาํ นวนมากมิไดข าด...” [ขา วหนา หน่ึง ก.ย.2555] ผูน าํ สงู สุดของชาวพุทธทุกนิกายทั่วโลก จาก 32 ประเทศ มมี ติทูลถวายตําแหนง “ผนู ําคณะสงฆส ูงสุดแหง โลกพระพทุ ธศาสนา” แด. . สมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสังฆราช (เจริญ สวุ ฑฺฒโน) ในฐานะผูท รงไดร ับการเคารพอยา งสูงสุด ทรงเปน ทเ่ี ทดิ ทูนยอมรบั ของพุทธศาสนิกชนทว่ั โลกและคณะสงฆทกุ นิกาย

[เรื่องเลาแถมพเิ ศษ] คุณบรรณศาลา ศษิ ยผูใกลชิดไดเขยี นเลา ในหนงั สือหลวงตาวัดปาบาน ตาดวา เมื่อครัง้ ชมุ ชนหลังวดั บวรเกิดไฟไหม ชาวบานเขา ไปกราบขอความ ชว ยเหลอื จากทา นเจาประคุณ สกั พกั ทานเสด็จข้ึนตึกกรรมฐานช้ันหา ทรงมอง ขนึ้ ไปบนทองฟา โบกพระหัตถ 3 ครง้ั ก็บงั เกดิ กลุมเมฆและฝนตกลงมาอยา ง หนกั ดับไฟที่กาํ ลังไหมส นิทจงึ หยุดตก ประชาชนดีใจน้าํ ตานองหนา ตางกม ลง กราบกับพน้ื ไปตลอดทางที่ทานเสดจ็ กลับกฏุ ิ ซ่ึงเปน พระเมตตาทีช่ าวบา นยา นวดั บวรฯ จดจํากันไดด ี และสื่อมวลชนไดล งขาวหนาหนงึ่ “อศั จรรยบารมี พระสังฆราช” สามารถดขู าวยอนหลงั ไดจ ากอินเตอรเน็ต พลงั จากจติ มีจรงิ เปนท่ียอมรับในวงการวิทยาศาสตรบ างสาขาบางแลว บางประเทศในยุโรป ถงึ กับจา งนักพลงั จติ เขาทํางานเปนเจา หนาที่รัฐ และมกี าร คนควาวิจยั อยางจริงจัง ศกึ ษาขอ มูลไดจ ากวารสารของศาสตรด านน้ีโดยตรง ตวั อยางเชน..วิชาพลังกายทิพยเพ่อื สุขภาพถูกยอมรับเปน แพทยท างเลือกแขนง หนง่ึ ไปท่ัวโลก ยงั มีอีกหลายอยางท่ีคิดวา..\"งมงาย\" แตวิทยาศาสตรก าํ ลังพสิ จู นได เร่ือยๆ ฝากถงึ คนรุนใหมว า.. นักวิทยาศาสตรตวั จริง หากไมไดศึกษาอยา งลกึ ซ้ึง ไมไ ดท ดลองจนละเอียด เขาจะไมย อมบอกวา “ส่ิงนั้นไมมจี รงิ ” เพยี งแคเพราะ ตนเองไมเ ชือ่ แตจ ะบอกแควา .. “มนั ยงั พิสูจนไมได” ไมใ ชป ดประตู ปกใจคดิ วาส่งิ ท่ีตนเองไมเ ห็นและทาํ ไมได ไมม ีทางมจี ริง หลายส่งิ ท่ีพสิ ูจนไดใ นภายหลงั ลวน เกดิ จากสมมุติฐานจากความเชื่อวาไมมีจรงิ จากคนทว่ั ไปมากอนแทบทง้ั ส้ิน --------------------------------

\"… ไมรูวา พอ หลวงแมหลวงของไทย ทาํ งานปรารถนาความเปนอะไร ทํางานกันจนไมมีเวลาพกั ผอน...\" หลวงตาพระมหาบัว ญาณสมั ปนโน (วัดปาบา นตาด จ.อดุ รธานี) \" พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั สมเด็จพระนางเจา พระบรมราชินนี คี้ ือ หวั ใจของชาตไิ ทยเรา ใหพ ากนั เทิดทูน อยา พากันดถู ูกเหยียดหยามทําลาย เชน อยางจะทาํ ลายจะไมใหม พี ระเจา อยูห ัว มนั คนเกดิ มาแลว พอแมตายหมด มแี ต ลกู กําพราหยิมแหยมๆ มนั ใชไมไดนะ สกลุ ใดที่มีคนคบั แคบอยูในบานนัน้ เมือง นน้ั แลว สกลุ นน้ั ไมเ จรญิ สกุลใดทม่ี ีความกวา งขวาง มีจิตใจอนั กวา งขวาง พจิ ารณารอบคอบเพ่ือทําประโยชนแกสว นรวมผูน้ันเปนผูดี พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูข องพวกเราคือหวั ใจของคนไทยท้ังชาติ ใหพ า กันทะนุถนอมนะ อยาพากนั ไปทําลาย จะมแี ตลกู หยอมแหยมๆ พอแมผูใหความ รม เยน็ ไมมมี นั ไมเ กิดประโยชน อยา งไรตอ งรักษาสวนใหญเ อาไว ในประเทศไทย เราก็คือ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั -สมเดจ็ พระนางเจาพระบรมราชินี นี้คอื หวั ใจของชาตใิ หพากันเคารพเทดิ ทนู อะไรที่เปน หลกั ใหญของชาตขิ องสว นรวมให พากนั รักษา พากันเทิดทูน อยาพากันทําลายโดยอวดดี \" หลวงตาพระมหาบัว ออกบวชเมอื่ อายุ 20 ป ต้งั ใจศึกษาและปฏิบัติ อยา งจรงิ จัง สอบไดนักธรรมเอกและเปรยี ญ 3 ประโยคไดภายใน 7 พรรษา หยดุ เรียนบาลีไวแ คน ัน้ เพื่อมามุงเนนการปฏบิ ตั ิสมาธภิ าวนา เพราะเชือ่ มน่ั วา การจะ หลดุ พนตองดวยการปฏบิ ตั ิอยา งจรงิ จังเทา นนั้ จึงมุง หนา ไปทางปา เขาแถว นครราชสมี า ทา นมงุ มั่นกบั การปฏบิ ัตมิ าก โดยน่งั สมาธิเต็มกาํ ลงั คราวละ 9-10 วัน โดยเวน 2 คนื บา ง 3 คืนบา ง จนกนแตก ปฏิบตั เิ ขมขนไมคอยไดฉ นั อาหาร นานๆ จึงออกบิณฑบาตครง้ั หนึ่ง บางคราวหายไปนาน จนชาวบา นเปนหว ง นึกวามรณภาพ ตองสง คนมาดู

หลวงตาปฏบิ ัติจริงจงั ตอเนอื่ งถงึ 9 ป จนสน้ิ สงสัยในหลักธรรม รแู จง ใน อรยิ สจั และประกาศไดว า ชาติน้ีทา นจะเกดิ เปน ชาติสุดทา ยไมก ลบั มาเกิดอีกแลว หลายคนไดป ระจกั ษกบั ตาแลววา..ผม,เล็บและแมแตชานหมาก กลายเปนพระ ธาตตุ ้งั แตขณะทานยงั มีชวี ิตอยู เสน ผมกลายเปนเสน แกว ใส หลงั วันพระราชพธิ ี เพลงิ ศพ กป็ รากฏผลึกแกว ใสในกระดูกทานจํานวนมาก หลวงตาเปน พระสมถะสันโดษ แมจ ะมีชื่อเสียงมคี นศรทั ธามากก็ตาม ทานยงั วางตวั เหมือนเดมิ ไมถอื ตวั เขา พบงาย ออกเดนิ บิณฑบาตจนกระทงั่ เดนิ ไม ไหว จึงเมตตาใหพระเลขา(ทานปว )อุมบาตรไปแทน (ดวยเมตตาอยากใหญ าติโยม ไดท ําบญุ กบั ทาน) หลวงตาฉันมอื้ เดยี วในบาตร อยกู ุฏิไมเ รียบงา ยหลงั เล็ก บริขาร ก็ของธรรมดาและใชอ นั เดิมตอเนอื่ งมาเปน เวลานาน ผาขนหนแู มขาดแลว ก็ยังใช ตอ จนหมดสภาพ วัดเปน วดั ปา แทๆ ไมมนี ้ําไมม ีไฟ ไมมีโทรศัพท (พ่งึ จะมามีนํา้ ในตอนหลงั ) ไมมีพทุ ธพาณิชย ไมมีเทพเจาใหก ราบไหว มีพระประธานไวร ะลึกถงึ พระพทุ ธเจากับรูปครบู าอาจารยเ ทา นนั้ โบสถ กุฏิ ศาลา สรางดวยไมแ ละใชมา เปน เวลานาน ไมเ นนกอสรางวตั ถใุ หญโ ต เนน สรา งคนและชว ยโลกเปน สาํ คัญ เมื่อจบกจิ ทางการปฏบิ ัติ ทา นจึงใชเวลาทีเ่ หลือเพื่อเมตตาสงเคราะหส ัตว โลกโดยไมเ ลือกชนชั้นวรรณะ สนับสนุนทนุ กอสรา งและอปุ กรณการแพทยแก สถานพยาบาลท่ัวประเทศกวา 200 แหง มอบทนุ สรางโรงเรียน เรอื นจาํ ,สถานี รถไฟ สะพานลอย มลู นธิ สิ งเคราะหเ ด็กพกิ ารและสัตว ชว ยเหลอื ทหาร ตาํ รวจ หนว ยงานราชการอีกหลายแหง แมญ าตโิ ยมจะทาํ บุญกับทา นมากมาย ทา นก็ แจกจา ยกลับคืนสสู งั คมหมด โดยบางครงั้ ถงึ กับเงนิ เกล้ียงบญั ชขี องวัดปา บา นตาด เลยทเี ดียว หลวงตาเปรียบเหมือนพระมหาบรุ ษุ ผูก อบกชู าติไทยใหพนจากหายนะ โดยทําโครงการผา ปาชว ยชาตนิ าํ ทองคาํ และเงนิ มหาศาลเขาคลังหลวงจนประเทศ ไทยมเี สถยี รภาพทางการเงนิ แมเ จอวกิ ฤตเศรษฐกจิ ก็ไมล าํ บากเทา ประเทศอนื่

หากไมม ีเงนิ ทนุ สาํ รองซ่ึงภายหลงั ทองคําไดทวคี ูณเพ่ิมขน้ึ อีกถึง 5 เทา ประเทศไทยคงลําบากกวา นม้ี าก อาจตองขายสมบัติชาติประทังชวี ิตเหมือน ประเทศอ่นื นักลงทนุ จะไมกลามาลงทุน การกยู ืมเพ่ือบริหารประเทศจะทาํ ไดยาก เพราะไมมีหลกั ประกัน เรารอดพนหายนะทางการเงินมาได สว นหนึง่ เพราะหลวง ตาเปนผนู ําโครงการชว ยชาติ ทา มกลางเสยี งคัดคานไมเห็นดว ยและมองทา น แงล บ ผานไปสิบกวาป ถงึ เหน็ ผลวา สงผลดอี ยางไร สมดงั ที่ หลวงปูม่นั เคย ทาํ นายไวในอดตี วา.. \"พระมหาบัวผูน ี้ จะทาํ ประโยชนใหญใหแกประเทศชาติ และพระศาสนาในอนาคต\" หลวงตาเปน พระทตี่ รงไปตรงมา พูดจาโผงผาง คนทีเ่ สพแตส่อื อยา งเดียว อาจเขาใจทา นผดิ ไป หากไดไปกราบทา นที่วดั จะไดส ัมผัสถึงกระแสเมตตาและ จะรูเองวาทานใจดแี คไ หน หลายคนเจอมากบั ตัวเองในเร่อื งอภนิ หิ ารตางๆ การอานใจและส่งั สอนคนแตกตา งกันไป คนบางคนก็ตองพดู ดีๆ บางคนก็ตองดุ ดว ยคาํ รุนแรงถึงจะเอาอยู \"เรื่องคําหยาบ\" อยากยกตัวอยางในพระไตรปฎก ถงึ พระอรหันตท านหนงึ่ พูดคาํ หยาบเปนประจาํ แตกลับไมผ ิดศลี เพราะน่ันเปนจริต วาสนา เปน คาํ เคยชนิ ตดิ มาจากชาตกิ อน ปราศจากการปรงุ แตง พูดหยาบแตจิต ไมห ยาบไปดว ย ซ่งึ หลายคนอาจเคยเจอ คนแกใ จดีที่พูดคําหยาบดา แรงๆ แตเ รา กลับไมรสู ึกอะไร รูสึกวาทานเมตตาเราดว ยซา้ํ อันน้ียกตวั อยาง ใหเ หน็ วา สิง่ ที่เราไดฟงไดยิน หรือไดร ับการบอกเลามา อาจไมใชอยางทคี่ ดิ ก็ได เรื่องการบรรลุธรรมเชนกนั หากศกึ ษากนั จริง พระวนิ ยั จะมีขอปลีกยอย เยอะมาก ถาสําเร็จจริงก็อาบัตแิ คเล็กนอยเทา น้ัน หากกลาวกบั พระดว ยกนั หรือ เปน การรายงานผลการปฏิบัติใหเ หลานักปฏบิ ตั ิฟง เปนการพดู ความจรงิ เลา สภาวธรรม ไมไดแสดงเพ่ือยกตนขม ทา น หรอื เพ่ือหวงั ลาภยศนนั้ ตามพระวนิ ัย ไมถือวาผิด หลายคนไมไดศึกษาใหลกึ ซ้งึ ก็คิดเหมาไปหมดวา พระองคไหนบอก วา ตนบรรลุธรรม คืออาบตั ปิ าราชกิ และองคไหนพดู คําหยาบคือผิดศีลไมใชพ ระ อริยะ ซ่ึงความจรงิ แลว \"ไมใช\"

เรือ่ งของธรรมะน้ันลกึ ซ้งึ เกินกวาจะทองจาํ แคห ลักการ หลายคนทีไ่ ดฟง เทศนของหลวงตา และไดส มั ผสั กับองคจ ริงของทา นที่วดั ก็คงจะหายสงสยั เอง แต ปจ จบุ นั กย็ ังมคี นปรามาสและเขา ใจทา นผดิ อยู ซง่ึ สง ผลเสยี และหายนะอนั ใหญ หลวงใหกบั ชีวติ พวกเขา การปรามาสพระอรยิ ะเปนกรรมแรงมาก กอนจะปกใจ เชอื่ อะไรจึงอยากใหไ ตรต รองใหด ี และกอนจะวา ใครควรจะสํารวจตนเองดว ยวา มคี วามดีและทําความดีไวมากพอหรือยงั ดังน้ันถา ไมแ นใจอะไร อยา เทย่ี วไป กลาวหาดา ใครเลยจะดกี วา ไมศ รัทธาไมศึกษาและพิสูจนจนแนชัดก็อยา ลบหลู ผมเองเคยปรามาสหลวงตา ดว ยฟงจากสื่อ จนเกดิ ความเขาใจผิด ตอมาไดศ ึกษาจริยวตั รของทาน ไดพ บองคทา น จงึ ไดรูวาท่ีเคยรูเหน็ มา เปน การ เขาใจผิดทั้งหมด ยงั โชคดที ่กี ราบขอขมาตอหนา ทา นไดท ัน สําหรบั คนท่ีไมทัน กก็ ราบขอขมาหนาหง้ิ พระก็ยังดนี ะครบั ยงั ไมส ายหรอกท่จี ะกลับตวั แกไขความผิด ทีเ่ กิดจากความไมรู และยงั สามารรว มบญุ ถวายหลวงตาไดกบั โครงการตางๆ ของวัดปาบานตาด โครงการสงเคราะหโ ลก การสรางเจดียถ วายหลวงตา ดรู ายละเอียดทั้งหมดไดที่ www.luangta.com หรือโทรตดิ ตอ มูลนิธิเสียงธรรม เพื่อประชาชน 042-214-114 และ 042-214-115 (วนั เวลาราชการ) สาํ หรับทานทีอ่ ยากรเู รื่องลกึ ๆ สามารถอา นไดจ ากหนังสอื หลวงตาวดั ปา บา นตาดซ่งึ รวบรวมเนอ้ื หาโดยคุณหลวงและคณะ ดาวนโหลดเสียงอา นทผี่ มจัดทาํ ไวไดฟรีท่ี www.jozho.net มีเวอรช นั่ DVD เปนการเลา เร่ืองพรอมภาพ ซ่งึ จะมี รายละเอยี ดที่ทําใหหลายคนตองแปลกใจวา หลวงตาทานทําประโยชนให ประเทศชาติและมีคณุ วิเศษ เปย มเมตตา สมถะกวาที่พวกเราเคยคิดไวม ากมายแค ไหน ขอยกตัวอยางคํากลาวจากเหลาพระอริยะ พระเกจิอาจารยแตละทา น ซึ่งได กลาวถึงหลวงตาพระมหาบวั ไวดังน้ี …

\"ทา นมหาบัวนแี่ หละที่จะเปน ท่พี งึ่ ของหมูคณะในวันขางหนานะ\" .. \"ในอนาคต เบือ้ งหนา พระมหาบวั ผนู ้ี..จกั ทาํ ประโยชนใ หญใหแ กประเทศชาตแิ ละพระศาสนา\" (พระอาจารยม่นั ภรู ิทตั โต กลา วพยากรณไ วเมื่อ พ.ศ. 2482 ) \"เมตตาของหลวงตามหาบัว ที่ไดออกมาทําโครงการผาปาชวยชาติน้นั เปรยี บเสมอื นกับผนื แผนฟา ท่ีหมคลุม(ปกปอง)แผนดนิ ไทยไวท ั้งหมดเลยทเี ดียว..\" สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรนิ ายก \"ถา ไม( ทรงคุณธรรม)\" ถงึ ข้นั \"จริงๆ แลว ละก็ จะถามปญ หาแบบนไ้ี มไดหรอกนะ!\" หลวงปแู หวน สจุ ณิ โฺ ณ กลา วชมหลวงตาในการสนทนาถามปญ หาธรรมครง้ั หน่ึง \"บญุ อะไร ก็ไมเทาบญุ ท่ีทํากบั หลวงตามหาบัว... เสยี ดายทโี่ ยมพอโยมแมของ อาตมาตายไปเสยี กอ น หาไมแลว จะตองใหมาทําบุญกับหลวงตาเสียเลยทีเดียว..\" (หลวงพอสงั วาล เขมโก พระอาจารยของหลวงพอสนอง กตปุญโญ วัดสงั ฆทาน) \"ทานเปนพระอรหันตน ะองคน้ี ขารูมานานแลว \" หลวงปดู ู พรหมปญโญ \"ธรรมะทีท่ านอาจารย(พระมหาบวั ) แสดงใหพ วกเราฟงนัน้ สามารถยดึ ถือเปน หลักประพฤตปิ ฏบิ ัติไดถกู ตอ ง ไมม ีผดิ พลาดแมแตเปอรเ ซน็ ตเดยี ว\" ทาน ก.เขาสวนหลวง (แมชผี ูเครงครดั การปฏิบตั ิ จนเปน ท่ียอมรบั ของคณะสงฆ) พระเกจอิ าจารยอกี จํานวนมาก ที่สรรเสริญในคณุ ของหลวงตาพระมหาบวั เชน หลวงพอ พุธ ฐานิโย , หลวงพอ แนน สุภทั โท , พระอาจารยแบน ธนากโร หลวงพอ ปราโมทย ปาโมชฺโช , คณุ ดังตฤณ (เสยี ดายคนตายไมไดอาน) หลวงตาพระมหาบัวมรณภาพเมอ่ื วันที่ 30 ม.ค.2554 สิริอายุ 98 ป ( 79 พรรษา )

หลวงปูด รู ักในหลวงมาก ในสมยั ทห่ี ลวงปมู ีชีวติ ทา นจะกําชบั ใหล ูกศิษยข องทา นเอาบญุ จาก การภาวนา รวมเขากบั บญุ ของพระพุทธเจา และพระอรหนั ตสาวกทงั้ หลาย ถวายใหในหลวง รวมทง้ั แผเ มตตาใหเทพเทวาผปู กรักษาพระองคทา น ใหม ี ความสุขแลวกก็ รวดน้ําให เจากรรมนายเวรของพระองคทาน ใหไ ปเกดิ ในสุคตภิ มู ิ หลวงปูก ลา ววา .. \" หากไมมีในหลวง พระพุทธศานากต็ ง้ั อยไู มได \" หลายครง้ั ทลี่ ูกศษิ ยจะรบั ทราบไดว า หลวงปจู ะเขาที่เพื่ออธิษฐานชว ยในหลวงในยามที่ พระองคทรงพระประชวร หลวงปูสอนวา นักปฏบิ ัตติ อ งไมลมื ประเทศชาติศาสนา พระมหากษัตริย เพราะสามสถาบนั น้เี กือ้ กลู ใหเราไดร บั ความรมเย็นเปนสุข ไดรับความสปั ปายะ แกก ารปฏิบัตธิ รรมสืบตอกนั มาถึงปจจบุ ัน สาํ หรับองคของหลวงปดู เู องน้ัน ตงั้ แตบดั น้ันจนกระทง่ั ทุกวนั นี้ แมก าลเวลาลว งเลยไปหลายสบิ ป กิจวตั รท่ีทานทาํ อยมู ไิ ดข าด คอื การสวดมนตถวายพระพรแดในหลวงทุกวันตลอดมา ขอใหมี พระชนมายยุ ่ิงยืนนานเปน ม่งิ ขวญั คนไทยตลอดไป หลวงปูดไู ดก ลา วไวอกี วา \"เพราะพระเจา แผนดนิ (ร.9) ทา นปฏิบัติ(ธรรม) ตอไปพทุ ธศาสนาใน เมืองไทยจะเจริญข้นึ เพราะทา นเปนผนู าํ เปน แบบอยา ง\" นอกจากนีห้ ลวง ปูยังกาํ ชบั ใหแผเมตตาใหป ระเทศชาติ ดังเชน ...การอธษิ ฐานชวยประเทศชาติ ของ หลวงปเู กษม เขมโก (สสุ านไตรลักษณ ) [ หลวงปเู กษม จะมีคาถากํากบั ดว ยวา \"รัฐะ ปาลา สมัคคา สทา โหนตุ\" ]

ประวตั ยิ อ หลวงปูดู พรหมปญโญ ตอนทารกทานพลัดตกนาํ้ แตอ ศั จรรย ทา นไมจมและลอยไปติดอยูขางรวั้ จึงเชือ่ วาเปนผูม ีบญุ มาเกดิ ไดออกบวชเมื่อ อายุ 21 ป (พ.ศ.2468) สนใจศึกษาทัง้ ดา นปรยิ ตั ิและปฏิบัติ เดินทางหาความรู จากพระอาจารยห ลายทา นหลายจังหวัด เริ่มออกธุดงคในป พ.ศ.2486 หลวงปดู ู เปนผมู ีเมตตาสงู มากเปน ท่เี คารพนบั ถือของประชาชนในวงกวาง การสอนศิษย เนน การภาวนาเปน หลักและมีรปู แบบการภาวนาอีกแบบดว ยการ..สวดมนต คอื \"บทสวดจกั รพรรดิ\" เปน กศุ โลบายเพอ่ื ใหค นมาใหมไดฝ กภาวนา ทท่ี ําไดงาย ในเร่ืองของวัตถุมลคลน้ัน การทีท่ านสรางหรืออนุญาตใหสรา ง ก็เพราะ เห็นวาบคุ คลจาํ นวนมากยังขาดท่ียึดเหนย่ี วทางดา นจิตใจ จิตยังไมมกี ําลงั พอจะยึด หลักธรรมเพียงอยา งเดยี ว ตองอาศยั วัตถเุ ปนเคร่ืองระลกึ เครอ่ื งกระตุน ดว ย ทา น เคยพูดวา ... “ตดิ วตั ถมุ งคลยงั ดีกวา ที่จะไปใหต ิดวตั ถุอปั มงคล” แตสิ่งท่ีทานยก ไวเหนอื กวา ความศักด์ิสิทธของวัตถุมงคลนัน้ ก็คอื การปฏิบัติ การภาวนา ที่เปนสดุ ยอดแหงเคร่ืองรางของขลงั บางคนมาหาทานเพอื่ ตองการของดเี ชน เครอื่ งรางของขลงั มักจะไดร ับคาํ ตอบจากทานวา ... “ ของดนี น้ั อยทู ต่ี ัวเรา พทุ ธัง ธัมมัง สงั ฆัง นแ่ี หละของดี ” .. \"คนเราตองทําใหด ี เมอ่ื ดีแลว จึงรวย แลว จะ ไดไมซ วย” “พระจะดตี องหมดอยาก ถายังอยากอยกู ็ไมใ ชพ ระด\"ี สขุ ภาพหลวงปูเรม่ิ ออนลาลงมาก เพราะพักผอนนอยและมีภารกจิ มาก ในวนั ท่ี 16 ม.ค. 2533 ทานไดพ ดู วา .. “ ไมมีสว นใดในรางกายท่ีไมเ จบ็ ปวดเลย ถา เปน คนอืน่ คงเขา หอง ICU ไปนานแลว ” พรอ มทง้ั พูดหนกั แนน วา.. “ขาจะ ไปแลว นะ” หลวงปดู ไู ดกลาวโอวาทคร้ังสุดทา ยไววา “ถึงอยา งไรกข็ อใหอยาได ละท้ิงการปฏบิ ัติ ไดชื่อวา เปน นกั ปฏิบัติก็เหมือนนักมวย ขนึ้ เวทแี ลวตอ งชก อยามัวแตต้ังทา เงอะๆงะๆ ” คืนนั้นหลวงปูก ลับเขากุฏิ และมรณภาพในเวลา ประมาณ 5 นาฬิกา วนั ท่ี 17 มกราคม พ.ศ.2533 สิรอิ ายหุ ลวงปดู ู พรหมปญโญ 85 ป 8 เดอื น (65 พรรษา)

\"เวลานบ้ี านเมืองของเราอยูเ พราะในหลวงองคเ ดียวเทา น้ัน” หลวงพอพุธ ฐานโิ ย (พระราชสงั วรญาณ) วดั ปาสาลวัน จ.นครราชสีมา หลวงพอ พุธตง้ั ใจออกบวชดวยตัวเองเมื่ออายุ 15 ป สอบนกั ธรรมตรไี ด พรรษาแรก สอบนักธรรมเอกไดเ ม่ืออายเุ พยี ง 18 ป สอบไดเปรยี ญ 4 ประโยค และออกธุดงคต้งั แตย งั เปน สามเณร ไดม โี อกาสเรยี นวปิ สสนากรรมฐานเร่ิมแรก โดยการฝากตัวเปน ศษิ ยของทานพระอาจารยเ สาร กันตสโี ล และตอมาจงึ ไป ฝากตวั เปน ศิษยของ หลวงตาพระมหาบวั ญาณสมั ปน โน ในภายหลัง ป พ.ศ. 2489 หลวงพอพุธอาพาธหนักเปนวณั โรคจนหมอไมรบั รักษา แตไดหลวงปฝู น อาจาโร สอนใหเพงอาการ 32 โดยใหพ ิจารณาถึงความตายใหม าก หลวงพอพธุ ก็ ตง้ั ใจนงั่ สมาธิ เดินจงกรม ภาวนาจนจิตรวมเปนสมาธิในระดบั ทีล่ ึก และจิตก็ แสดงความตาย (เปน นมิ ิต) ใหเ ห็นจนเขา ใจในธรรมชาตขิ องความตาย ไมนาน โรคก็บรรเทาดวยธรรมโอสถจากการทําวปิ สสนากรรมฐาน และตอ งใชเวลาถงึ 10 ป โรคจงึ หายขาดโดยที่ไมไดพ ึง่ หมอ ใชธ รรมะรักษาเพียงอยา งเดยี ว หลวงพอ พธุ สรางประโยชนใ หสว นรวมมากมาย เปน องคอุปถัมภโรงเรียน โรงพยาบาล หนวยงานราชการและมูลนิธิตางๆ บรรยายใหความรูด า นการปฏิบตั ิ สมาธวิ ปิ ส สนาใหก บั นักเรียนนกั ศกึ ษา,องคกรและบคุ คลท่ัวไปหลายจังหวดั การ สอนของหลวงพอพุธ เนน การขดั เกลาเพอ่ื ความหลดุ พน การทาํ สมาธิ-เจรญิ สติ เปน หลัก คําสอนของทานมีทั้งขัน้ สูง และระดับงา ยสําหรับเด็กเยาวชนและบคุ คล ท่วั ไป หลวงพอ พธุ ฐานโิ ย เปน พระสายวิปส สนาทีเ่ ครง ครัด มีจริยวตั รทงี่ ดงาม สมถะ สันโดษ เรยี บงา ย เปนท่ียอมรับนับถือของคณะสงฆ และนกั ปฏิบตั ธิ รรม จาํ นวนมาก เปนพระแทท ี่กราบไดอยา งสนทิ ใจ หลวงพอพธุ มรณภาพใน วนั ท่ี 15 พ.ค.2542 สิริอายุ 78 ป / ตดิ ตามอานเกล็ดคาํ สอนของหลวงพอพุธ กบั หนังสอื ฐานยิ ปชู า โดย ดร.ดาราวรรณ เดนอุดม ไดรวมรวมไวเปนตอนส้นั ๆ เขาใจงาย ขอรับหนงั สอื ไดท .่ี . วัดวะภูแกว www.thaniyo.com หรอื ดาวนโหลด แบบเสยี งอา นหนงั สือทผ่ี มบนั ทกึ เสียงไวไดฟ รีท่ี www.jozho.net

หลวงปสู ิม พุทธฺ าจาโร (สํานักสงฆถ้าํ ผาปลอ ง เชียงใหม) ไดก ลาวไววา ..\"ครบู าขาวป วดั พระพุทธบาทผาหนามเคยเปนชา งนาฬาคริ งิ สว นในหลวงองคปจ จบุ นั เปน ชา งปา เลไลยกน ะ..!!!!!\" คัมภรี อนาคตวงศบันทึกวา พระพทุ ธองคท รงพยากรณวา ในอนาคต ชา งปา เลไลยกจะไดตรสั รเู ปน พระพุทธเจา ในอนาคต(พระโพธสิ ัตว) เปนองคที่ 10 ตอจากพระศรีอารยิ เมตไตร กอ นหนาทีห่ ลวงปูสิม พุทฺธาจาโรจะเขาวังเพ่ือรบั พระราชทานเล่ือนสมณ ศักดิ์ หลวงปูสิม พุทฺธาจาโร ไดประสพอุบตั เิ หตุ \"ตกเหว\"!! ท่หี ลังกุฏทิ ถ่ี ํ้าผา ปลอง ซ่งึ มคี วามลึกถงึ ราว \"5 เมตร\" ซ่งึ หากเปน คนธรรมดา การกลิง้ ตกลงไปลกึ เพยี งน้นั หากไมโ ดนแงหินภเู ขาอนั คมกริบแทงตายก็ตอ งบาดเจบ็ สาหสั อยางไม ตอ งสงสัยเปนแนนอน แตห ลวงปทู า นกลับไมไดถงึ แกก าลมรณภาพหรอื บาดเจ็บสาหสั อยา งที่ นา จะเปน แตประการใด ๆ เลย เวน แตม แี ผลช้าํ ที่บริเวณใบหนา และตามลําตวั เล็กนอยเทานั้น สรา งความแปลกใจใหแกบรรดาศิษยานุศิษยผทู ่ี มีโอกาสไดเขา กราบใกลชิดและทกุ ๆ คน กย็ ิ่งแปลกใจย่ิงขึ้นไปอกี เมอื่ หลวงปสู ิมทานบอก เปนนยั ภายหลงั เหตุการณร ายแรงทส่ี ุดนั้นวา ... \" จริงๆแลว ทีต่ ายของหลวงปู ก็อยทู ่ีกน เหวนนั่ แหละนะ ..!!!???\" จนกระท่ังเมื่อหลวงปสู ิมไดเขาไปรับพระราชทานเล่ือนสมณศักด์ิในวนั ท่ี 12 สงิ หาคม พ.ศ. 2535 และละสังขารอยางกะทนั หันในอีก \"2\" วันตอ มา แทท่ี จริงแลว การทีห่ ลวงปูสิมทานยังไม \"ละสังขาร\" ตอนทีต่ กเหวและ \"อยตู อ\" มาอีก เดือนเศษดว ยความยากลําบากขนั ธเปน ท่ยี ิง่ น้ัน จุดประสงคที่มีอยเู พยี งสถานเดยี ว ก็คือ \"เพ่ือถวายกุศลในหลวงเปน ครงั้ สดุ ทาย\"โดยตรงเพียงเทา นนั้ ... \"เทา น้ัน\" เทา นจี้ ริงๆ.....!!!!!

เม่ือถึงเวลาเดนิ ทางไปพระราชวัง หลวงปูอาพาธหนักมาก แตทา นก็ อดทนจนเสรจ็ พิธี เม่ือเขน็ รถของหลวงปกู ลับออกมาจากประตูพระท่นี ่ัง อมรนิ ทรวนิ ิจฉยั พอทา นเห็นคณะทไ่ี ปรอรับ หลวงปูสิมทา นกป็ รารภกับพระ อปุ ฏฐากวา \"นนทเ อย ..หลวงปูหมดภาระแลว หมดเรื่องหมดราวเสยี ท.ี .!!\" แลว ทานก็ละสงั ขารอยูในทา สีหไสยาสนใ นกุฏิหลงั จากกลบั ไปถงึ วัด ได 1 วัน (หมายเหตุ :หลวงปไู มไดต องการไปเพ่ือรับพระราชทานยศ แตทานตอ งการไป ถวายพระพรและถวายกุศลแดในหลวง จึงอดทนแมอ าพาธหนกั ประคองลม หายใจสุดทา ยท่ีเหลือ เพื่อถวายกุศลแดใ นหลวงเปน ครง้ั สดุ ทา ยจริงๆ ) ประวตั ิโดยยอ : หลวงปสู มิ พทุ ฺธาจาโร หลวงปสู มิ ตั้งใจออกบวชดว ยตัวเองตง้ั แตอายุ 17 สามเณรสิมไดฟ ง ธรรมและไดเ หน็ ขอ วตั รของพระอาจารยมั่น เกดิ ความเล่อื มใสเปน อยา งมากจึงขอ ถวายตวั เปน ศิษย โดยขอญตั ติใหมมาเปนธรรมยตุ ิกนิกายโดยมีพระอาจารยมนั่ เปน ประธานในพธิ ี และตามพระอาจารยมน่ั ไปจําพรรษาในจงั หวดั นครพนม เม่ือ อายุครบจึงไดอปุ สมบท และจาํ พรรษาอยกู บั พระอาจารยสิงห ขนฺตยาคโม ซึ่ง สอนใหพ จิ ารณาอสุภกรรมฐานโดยขดุ ศพขึน้ มาพจิ ารณา และหลวงปูส มิ ปฏิบตั ิ อยางเครงครดั โดยถือการไปเยย่ี มปาชา เปนธดุ งควตั ร (ขอปฏบิ ัติท่ที าํ เปนประจํา) ป พ.ศ. 2479 (พรรษาที่ 8) สมเด็จพระมหาวีรวงศ( อว น ติสฺโส) สงั ฆ นายกรปู แรกของไทย ไดเ อยปากขอตวั หลวงปูสิม กบั ทานพระอาจารยส ิงหวา \"พระองคน มี้ ลี ักษณะเปนผูม ีบุญบารมี ผมขอตัวไปอยูดวยจะขดั ของหรอื เปลา\" หลวงปูสมิ จงึ ไดรวมเดนิ ทางมากับสมเดจ็ ฯ ทว่ี ดั บรมนวิ าสมาจาํ พรรษาและศึกษา พระธรรมวินยั ทําใหห ลวงปูสิม ไดร บั ความรแู ตกฉานในพระธรรมวนิ ยั มากขึน้

หลวงปสู มิ อยูรบั ใชสมเด็จฯ และรบั ทาํ หนา ที่อบรมสัง่ สอนกรรมฐาน ใหแกพระเณรจํานวนมาก ตอ มาไดขออนุญาตเดนิ ธุดงคมาโปรดญาตโิ ยมทีบาน เกิดตามคาํ อาราธนา ไดก อตัง้ สาํ นักสงฆ และพัฒนาตอมาเปนวดั สันติสงั ฆารามใน ปจจุบัน (ซงึ่ มีสาขาอีก9 แหง ) หลวงปูสมิ ชื่นชอบการปลกี วเิ วกไปตามปาเขาและถา้ํ ตา งๆ ไดจ าริกธดุ งค ไปบาํ เพ็ญเพยี ร ณ สถานทีว่ เิ วกหลายแหง ในภาคอิสานและเหนือ วดั สันติธรรมที่ เชียงใหมกเ็ กิดจากดําริของหลวงปสู ิม โดยลกู ศิษยตั้งใจสรางถวายทาน แมจ ะ ชอบการปลีกวิเวกออกธดุ งค แตเม่ือเกิดเหตุจําเปน หลวงปูสมิ กต็ องลงไปชว ยเปน รกั ษาการเจาอาวาสวัดอโศการาม และเปนเจา อาวาสวดั ปา สทุ ธาวาสอยรู ะยะหน่ึง ตามคําขอของพระผใู หญ และตอ มา(พ.ศ.2510) จงึ ไดข อวางภารกจิ ท้งั หมดเพราะ มปี ญหาเร่ืองสุขภาพและไดมาจําพรรษาที่วัดถา้ํ ผาปลอ งตลอดมา หลวงปูสิมเปน พระที่ขยนั เอาจรงิ มาต้ังแตเปนสามเณร เชน การขดุ สระนํ้า ท่คี นอนื่ ทิ้งงานทอกันไปหมดแลว แตกลบั เหลือสามเณรสิงขดุ อยูคนเดียวดวย ความมงุ มั่น เม่อื เปน เจาอาวาสทา นก็มเี มตตากบั พระลกู วัด เมือ่ พระเณรอาพาธ ทานจะเฝา จนกวา ผปู ว ยอาการจะดีขึ้น เม่อื ครงั้ ชาวบานท้ังสต่ี าํ บลไดอาราธนาหลวงปูใหมาเปน ประธานในการ ทาํ ฝายนํา้ ลน ลาํ น้าํ อนู ทานก็ลงมือทําอยา งเต็มที่ คือเรม่ิ งานต้ังแตต ีสี่ หยุดพักฉัน อาหารตอนสบิ โมงเชา และทาํ งานตอจนถึงหน่งึ ทุม จงึ ทาํ วตั รสวดมนตแ สดง ธรรม แลว ทาํ งานตอกวา จะไดจ ําวัดกส็ ที่ ุม หรือบางวันถึงตีสอง จะเห็นไดวาถา เปน ประโยชนต อสวนรวมทา นก็พรอมจะทุมเทใหอ ยางเต็มที่ โดยท่ีในเรอ่ื งกจิ ของ สงฆ ทานกม็ ิไดมีขอวัตรใดบกพรองเลย

หลวงปสู มิ เนน ยํ้าใหเ หน็ ความสําคญั ของการปฏบิ ัติภาวนาวา เปน หนทางอัน สูงสดุ ทจี่ ะทําใหคนพน ทุกข ดังคาํ สอนตอนหน่ึงวา \"ทางพระสอนให ละชวั่ ทําความดี แตกไ็ มใหต ดิ อยใู นความดี ใหบาํ เพ็ญจติ ใหย่ิงขึน้ จนถึงไมต ดิ ดีติด ชั่วจงึ จะพน จากโลกน้ีไปได เพราะแมค ุณความดีจะสง ผลใหเปน สุขไปเกิดในสุคติโลกสวรรค เปนเทพ อินทร พรหม กต็ าม แตเม่อื กําลงั ของกุศลกรรมความดนี ั้นๆ หมดลง กย็ อมตอง กลับมาเวียนวายตายเกดิ อกี ทางพระจงึ มุงสอนใหมุงภาวนา ทาํ จิตใหรวม ระวังตั้ง ม่ัน ทําจิตใหม ปี ญ ญารูความเปนจริงดวยตนเอง จนถอดถอนอุปาทานความยึดม่นั ถอื มน่ั ตางๆ ออกเสยี จึงจะเปนไปเพ่ือความส้ินภพส้ินชาติ หมดทกุ ขหมด ยากโดยแทจ รงิ \" หลงั จากธุดงคไปหลายแหง และหมดภารกิจทางคณะสงฆ ในป พ.ศ. 2510 หลวงปูส ิมไดม าจาํ พรรษาถาวรทวี ดั ถํา้ ผาปลอง ในคนื วนั ท่ี 13 สิงหาคม 2535 หลังจากพาพระเณรและญาตโิ ยมนั่งภาวนาถึงเวลาประมาณ 21.30น. ทา นนั่งพัก ตรวจดบู รเิ วณภายในถ้ําอีกประมาณ 20 นาที คลายกับเปน การอําลา กอนกลับเขากุฏทิ ่ีพักดานหลงั ภายในถ้ําผาปลอง และไดม รณภาพในเวลา ประมาณตสี าม สิรริ วมอายุของหลวงปูสิม พุทฺธาจาโร 82 ป 9 เดือน ( 63 พรรษา ) -------------------

\"เขาไมไดท าํ ประโยชนอ ะไรมากเหมือนกับในหลวงหรอก\" หลวงพอพูดถึงผยู ่ิงใหญร ะดบั ประเทศคนหนงึ่ หลวงพอ อตุ ตมะ (พระครูอุดมสิทธาจารย) วัดวังกว ิเวการาม จ.กาญจนบรุ ี พระเกจิอาจารยช ่ือดังเปนทีน่ ับถือของชาวไทยเชือ้ สายมอญและชาวพทุ ธ ท่ัวไป ชนื่ ชอบการธดุ งคบําเพญ็ เพียรบนปาเขาเปนวตั ร เปน เวลานานหลายป ทา นเปน ชาวพมา ออกบวชเปน สามเณรเม่ืออายุ 18 ป และต้ังใจบวชตลอด ชีวิต ขยนั ศึกษาท้งั ทางปรยิ ัตแิ ละปฏิบัติ โดยสอบไดนกั ธรรมเอกและเปรียญ 8 ประโยค (สูงสดุ ของพมาขณะนั้น) และมีความรูในดานวิปส สนากรรมฐาน และ รอบรูใ นเรอื่ งพุทธอาคมเปน อยางดี (จงึ สามารถธดุ งคใ นปาเขาสมยั กอนซึง่ อันตรายมาก) ภายหลังทานจงึ ไดธ ุดงคเขา มาจาํ พรรษาในประเทศไทยและไดร วมกบั ชาวบา นสรางสํานักสงฆข้นึ ในจังหวัดราชบุรี ตอมาไดรับอนญุ าตจากกรมการ ศาสนาใหใชช ือ่ วา วัดวงั กว ิเวการาม หลวงพอ อตุ ตมะไดรบั การยอมรับเขาเปน คณะสงฆไ ทยและไดร บั การเลือ่ นยศตามลาํ ดบั จนสุดทา ยไดรบั พระราชทานเลื่อน สมณศักดิ์เปน พระราชอุดมมงคลพหลนราทร เมื่อ พ.ศ. 2534 มรณภาพในวนั ที่ 18 ตลุ าคม พ.ศ. 2549 สริ ิอายุรวม 97 ป -------------------------------------

\"มีแตคนไมฉลาดเทา นนั้ ท่ีจะไมร วู า ในหลวงพระองคน้มี ีดอี ยา งไร\" พระอาจารยว นั อตุ ตฺ โม (พระอุดมสังวรวิสุทธิเถร) พระอปุ ฏฐากหลวงปมู ่ัน ทําหนา ทน่ี านที่สดุ พระอาจารยว ันตงั้ ใจออกบวชดว ยตวั เอง เมื่ออายุ 15 ป และไดต าม ทานพระอาจารยว ัง ฐิติสาโร ออกธดุ งคเที่ยววเิ วกตามสถานทีต่ า งๆ อยถู ึง 4 พรรษา กอ นจะกราบลาไปศกึ ษาทางปรยิ ัตธิ รรมทว่ี ัดสทุ ธาวาส และตอ มาได ไปฝากตวั เปน ศิษยพ ระอาจารยเ สาร กนตฺ สีโล ซงึ่ เปนหัวหนา ใหญฝ ายกรรมฐาน สามารถทองจาํ ปาฏโิ มกขไ ดภ ายใน 20 วนั และสอบไดนักธรรมโทในขณะเปน สามเณร และสอบไดนักธรรมเอกในไมก ปี่ ต อมา หลงั จากอุปสมบทเปน พระภิกษุแลว พระอาจารยว นั ไดมโี อกาสไปจํา พรรษาและอยูรบั ใชพระอาจารยหลยุ จนฺทสาโร ท่ีวดั ปาบานหนองผอื และใน ท่สี ุดกไ็ ดฝ ากตัวเปนศิษยรับใชใกลชิดอุปฏ ฐากพระอาจารยมั่น ภรู ทิ ตั โต ซึง่ ได เดินทางมาจาํ พรรษาที่วัดนี้พอดี ในขณะนั้นก็ไดร ับความเมตตาจากพระอาจารย มหาบวั ญาณสัมปน โนและพระอาจารยองคอื่นๆ คอยแนะนาํ ในการอุปฏ ฐากพระ อาจารยมน่ั ดวย ตอมาทา นไดลาไปปลกี วเิ วกไปภาวนาในปาอันรกทึบ มเี ร่อื งอัศจรรยใ นชวงแรกวา ทานเกดิ อาพาธอยา งหนักอาเจยี น และถาย จนหมดแรง แตส ดุ ทายไดฉันเกลือที่เหลือจากการฉันมะขามปอ มของพระอาจารย มหาบวั ที่ติดไปดว ย อาการกห็ ายเปน ปลดิ ท้ิง

ในปานัน้ เอง ทานใชความอดทนตอหญิงสาวท่ีมายวั่ ยวน ในทส่ี ุดเหน็ วา สถานที่ไมเ หมาะสม จึงตอ งหลีกออกมา แลวตดั สนิ ใจเดินทางไปธดุ งคก ับ พระอาจารยม หาบวั พอใกลว ันวสิ าขะ จึงเดนิ ทางกลบั มาอุปฏฐากพระอาจารยมน่ั เหมือนเดมิ ซึ่งพระอาจารยม ัน่ ไดใหกําลังใจและใหโอวาทวา การเจรญิ อานาปานสติ กเ็ ปนทางท่ดี ีเหมือนกัน เพราะการเจริญกรรมฐานแตละอยาง เมือ่ จิตจะรวมลงเปน สมาธิน้นั ยอมนอมลงสคู ลองอานาปานสตเิ สยี กอน จงึ รวมลง เปนสมาธิ พระอาจารยท ั้งหลายไดก ลา วไววา “กรรมฐาน 40 หองเปนนอ งของอา นาปานะ” ดังน้ี ในปต อ มาพระอาจารยวัน ก็กราบลาไปธุดงคภาวนาอีกและเมื่อ พระอาจารยมนั่ อาพาธ ทานกไ็ ดกลบั มารบั ใชอปุ ฏฐากพระอาจารยมนั่ จนถงึ วนั มรณภาพและฌาปนกจิ เสร็จ ถอื วาเปน ผูท ่ไี ดอุปฏฐากพระอาจารยม่ันได ยาวนานที่สดุ นบั เวลาไดประมาณ 5 ป เพราะปกติพระอาจารยมัน่ จะไมอยทู ใ่ี ด นานนัก เพราะทานเปน นักปฏบิ ตั จิ ึงเปลย่ี นสถานท่บี ําเพ็ญไปเรื่อยๆ หลังเสร็จกจิ พระอาจารยวนั ก็ออกธุดงคป ลกี วิเวกตามปา เขา ในภาคเหนือและลงไปภาคใตอยู หลายป จงึ เดนิ ทางกลับไปที่ภาคอสิ าน และไดกอตงั้ .. วดั ถํา้ อภัยดํารงธรรมขึ้น ซึง่ อยใู นเขตเทือกเขาภูพาน ในชว งแรกน้นั ความเปนอยใู นวดั คอนขางลําบากมากแตกเ็ หมาะแกก าร ภาวนา ตอมามีปญหาการเมืองเกิดกลมุ คอมมวิ นสิ ต พระอาจารยวันก็โดนเพงเลง็ และปองรา ยเพราะคิดวาทา นสนับสนนุ พวกอยูปา แตทา นก็ไมหนเี พราะเชอ่ื มนั่ ใน กรรมดี เคยรบั กิจนมิ นตไปเจรญิ พทุ ธมนตและตองเทศนใ หญาติโยมฟงในตอน เย็นดว ย กวาจะกลบั ถงึ วดั ก็ค่ํามดื จึงถูกทหารกราดยงิ ดวยปน M16 แตพระ อาจารยว นั และคณะ ก็เดินกลับวัดดวยอาการปกติโดยไมม ีใครเปน อะไร ภายหลงั ผูบังคับบัญชาทาหาร กไ็ ดไปกราบขอขมาเพราะเปน ความเขาใจผิดกัน (เปนชว ง ประกาศเคอรฟ ว หามออกจากบา นในยามวกิ าล ทหารคิดวาเปนผกู อการราย)

นอกจากเปนพระวปิ ส สนาจาร ท่ีมีจรยิ วตั รอันงดงามและเครงครัดใน การปฏบิ ัติ สามารถเทศนาธรรมไดล กึ ซึ้ง จนเปนทนี่ ยิ มของประชาชนผใู ฝในธรรม พระอาจารยว ัน ยังไดส รา งประโยชนใหก บั ประเทศอกี เชน สราง ร.ร.อภัยดาํ รง ธรรม และใหท นุ นักเรียนพรอมสนบั สนนุ คาใชจ า ย คา อุปกรณแ กโ รงเรยี นหลาย แหง รับอปุ ถมั ภศนู ยเ ลี้ยงเดก็ บา นเหลา ใหญ บานสองดาว บานทา ศิลา สรางอา งเก็บนํ้า ทาํ ถังกรองใหชาวบา น โครงการหลายโครงการทท่ี าํ ให ชาวบา นหลายอาํ เภอไดมนี ํา้ ประปาใช ไปชวยเหลอื แนะนําพระเณรทีไ่ ปสอบ นกั ธรรมทกุ ป กจิ วตั รประจําวันของทานคือ ตน่ื นอนเวลา 2.00 นาฬิกา ทาํ ความเพียร บาํ เพญ็ ภาวนา เดนิ จงกรม ทําวตั รสวดมนต และออกบิณฑบาตเวลา 7.00 น. ฉนั เสรจ็ บําเพ็ญภานาถึง 12.00 น. พักผอนและบําเพญ็ เพยี รตอ 14.00-16.00 น. หลังจากนนั้ รับแขก กวาดลาดวดั และทาํ งานอื่นๆ 19.00 อบรมพระเณร 22.00 จงึ จําวดั พกั ผอน จะเห็นไดว าทา นเปน พระปฏิบัติจรงิ ๆ มจี รยิ วตั รทงี่ ดงามนาเคารพ และเปนไปเพ่ือการหลดุ พนเทานนั้ เปนพระทีไ่ มส นใจลาภสกั การะ ตอนแรก ทานต้ังใจอปุ สมบทเปน พระเมอ่ื 25-26 เพราะตอ งการใหพ รรษาออ นกวาเพ่ือ พระรุนเดยี วกัน ซ่งึ แสดงใหเหน็ ถงึ การไมมักใหญใฝสูง หรอื ไมตอ งการลาภ สกั การะน่ันเอง เมื่อมีผบู รจิ าคสวนตวั ทา นก็จะเฉลย่ี ใหเพอ่ื นสหธรรมกิ หรือ อนุเคราะหไปยงั วัดตางๆ พระอาจารยวนั อตุ ตฺ โม วดั ถาํ้ อภยั ดาํ รงชัย จ.สกลนคร มรณภาพ ในวนั ที่ 27 เม.ย. 2523 สิรอิ ายุ 59 ป (ยอความจากประวัติพระอาจารยวนั อุตตฺ โม โดย พระปริยัตสิ ารสุธี) -----------------------------------

\"กระแสจิตของพระองคทา นมพี ลัง พลังทีเ่ กดิ จากการปฏิบัตทิ ีด่ ”ี ครบู าพรหมจกั ร (วดั พระพุทธบาทตากผา ) ครูบาพรหมจักรไดบรรพชาเปนสามเณรเมื่ออายุ 15 ป สอบนักธรรม ไดเม่ือบวชเปนพระภิกษุได 1 ปและเรมิ่ ออกธุดงคเมื่อพรรษาทส่ี ี่ โดยมุง หนาเขา สู ปา แสวงหาทีว่ เิ วกเพ่ือบาํ เพญ็ ภาวนาไดเ ตม็ กําลัง ทานเดินทางไปหลายจงั หวัดใน ภาคเหนอื เลยไปถงึ พมาและตามหมูบา นเกร่ียง ครูบาพรหมจกั รทานถือธดุ งควตั ร อยปู า เปน วัตร ออกบิณฑบาต-หม ผาบงั สกุ ลุ เปนวตั ร ฉันมือ้ เดยี ว เดินทาง ธุดงคไปตามปา หลายแหงรวมเวลาหลายสบิ ป ตองเจออุปสรรค ความทุกข ลาํ บากมากมาย บางคราวตอ งอดอาหารหลายวัน ภายหลังทานมาจาํ พรรษาประจาํ ท่วี ัดพระพทุ ธบาทตากผา แตเม่ือมี โอกาสแมจ ะชราภาพมากแลว ทานกย็ งั นาํ พาภกิ ษสุ ามเณร ออกเดินธุดงคไ ปอยู ตามปาหรอื ปาชาเปน ครัง้ คราว และไดก อตั้งโรงเรยี นพระปริยัตธิ รรม จดั ต้ังสํานกั ปฏิบัตธิ รรมวปิ สสนากรรมฐาน พฒั นาจนวดั พระพุทธบาท จากทเี่ คยรา งมา พนั กวา ปจ นเจรญิ รงุ เรือง เปน พระท่มี จี ริยวตั รอันงดงาม และมวี ตั รปฏิบตั ิ ทเี่ ครง ครดั อยางมาก กอ นจะละสังขาร ทา นครูบาไดต ่ืนจากจําวัดแตเ ชา ปฏิบตั ิ ธรรมตามกจิ วตั ร เมือ่ ถึงเวลาทา นลกุ นั่งสมาธิ สาํ รวมจติ สงบระงับ และมรณภาพ ในทาน่งั สมาธภิ าวนา เมื่อวันท่ี 17 ส.ค.2527 สริ ิอายุ 87 ป (67 พรรษา) หลังพระราชทานเพลิงเสร็จสิ้นปรากฏวา อฐั ิของครูบาพรหมจักรไดกลายเปน พระ ธาตุ มวี รรณะสีตางๆ หลายสี เปน ทีอ่ ัศจรรยข องคนท่ีไดพบเหน็ โอวาทของทานครบู าพรหมจักร 1.ปญญา ความรอบรู 2.สจั จะ ความจริงใจ คอื ประพฤตสิ ง่ิ ใดกใ็ หไดจ ริง 3.จาคะ สละส่งิ เปน ขา ศกึ แกความจรงิ ใจ 4.อุปปสมะ สงบใจจากส่ิงเปนขาศึกแกความสงบ รวมทง้ั ส่ีประการน้ี ทานเรยี กวา อธิษฐาน ธรรม คอื ธรรมทีค่ วรตั้งไวในใจ

หลวงปูบุญฤทธ์ิ ปณฑฺ โิ ต (ทีพ่ กั สงฆสวนทิพย จ.นนทบุรี) ลกู ศิษยทานหน่ึงยนื ยันวา หลวงปูท านกลาววา .. \" ในหลวงเปน พระโพธิสตั ว \" หลวงปูเ ปน ศิษยองคสาํ คญั ของหลวงปูช อบ ฐานสโม ซ่งึ พระและโยมใน วงพระธดุ งคกรรมฐานรจู กั ทานดเี ปนอยางย่งิ และภายหลังยงั ไดเ รยี นกรรมฐานกับ ทานพอลี ธัมมธโร ซ่ึงเปน พระอาจารยสายวิปส สนาองคสําคัญของไทยอีกรปู หนึง่ หลวงปบู ญุ ฤทธิ์ ในอดตี ทา นเปนนกั ศึกษาปรญิ ญาจากตา งประเทศ เปนขาราชการท่ีมอี นาคตสดใส แตล าออกมาบวชดว ยความเลื่อมใส ในปฏิปทา พระปาสายหลวงปูม่ัน ภรู ิทัตโต ทา นออกบวชและปฏิบตั ิแบบถวายชวี ติ ออกธุดงคตามปา เขาโดยตลอด ดวยความทท่ี า นแตกฉานในพระไตรปฎกและการ ทําสมาธิวปิ ส สนา จึงไดรบั นิมนตใ หท าํ หนาทีเ่ ปนพระธรรมทูต ไปเผยแพรพระ ศาสนาท่อี อสเตรเลียต้ังแตป ระมาณป พ.ศ.2516 ไดสอนการปฏบิ ัตภิ าวนาท้งั คนไทยและชาวตางชาติ ซึง่ ไดเ ขยี นหนังสือ เปน ภาษาองั กฤษไวใหช าวตางชาตเิ รียนเขา ใจงายข้ึนดวย ทา นอยูเผยแพรท ่ี ออสเตรเลยี ประมาณ 30 กวา ป จงึ กลับมาจาํ พรรษา ที่พักสงฆส วนทิพย จ.นนทบรุ ี จนถงึ ปจจบุ นั (2554) เปน พระวิปสสนากรรมฐาน ท่มี ขี อวัตรปฏิบัติ สมบูรณแ บบ เปนเนื้อนาบุญที่หาไดย ากยิง่ ในยุคปจจบุ ันองคหน่งึ กว็ าได